ก ความรู เบื้องต...

57
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

Transcript of ก ความรู เบื้องต...

Page 1: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

Page 2: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

ชุดการสอน เรื่อง กฎหมายที่ควรรู รายวิชา สังคมศึกษา 2 รหัสวิชา ส31102

กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

ชุดที่ 1 เรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

สุธีกานต ชวยพิทักษ ตําแหนงครู วิทยฐานะครูชํานาญการ

โรงเรียนสตรีทุงสง อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Page 3: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

ชุดการสอน เร่ือง กฎหมายท่ีควรรู จัดทําข้ึนเพ่ือใชเปนส่ือประกอบการเรียนการสอน ในรายวิชา สังคมศึกษา 2 รหัสวิชา ส31102 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 และใชเปนคูมือศึกษาคนควา ดวยตนเองของนักเรียน ชวยใหนักเรียนสามารถเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยครู ทําหนาท่ีเปนผูใหคําปรึกษาและติดตามผลการศึกษาอยางใกลชิด ผู จัดทําไดรวบรวมขอมูล จากแหลงเรียนรูตางๆ ท้ังหนังสือเรียน คูมือครู เว็บไซต และตําราตางๆ ท่ีเก่ียวของกับกฎหมาย โดยชุดการสอนท่ีจัดทําข้ึนมีจํานวน 6 ชุด คือ ชุดการสอนท่ี 1 เร่ือง ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย ชุดการสอนท่ี 2 เร่ือง กฎหมายแพงเก่ียวกับตนเองและครอบครัว ชุดการสอนท่ี 3 เร่ือง กฎหมายแพงเก่ียวกับนิติกรรมและสัญญา ชุดการสอนท่ี 4 เร่ือง กฎหมายอาญา ชุดการสอนท่ี 5 เร่ือง กฎหมายอ่ืนท่ีสําคัญ ชุดการสอนท่ี 6 เร่ือง กฎหมายระหวางประเทศท่ีควรรู สําหรับชุดการสอนท่ี 1 เรื่อง ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย เลมน้ี มีเน้ือหาความรูเก่ียวกับ ความหมายและความสําคัญของกฎหมาย ลักษณะของกฎหมาย ระบบของกฎหมาย ท่ีมาของกฎหมายไทย ประเภทและลําดับศักด์ิของกฎหมายไทย และกระบวนการยุติธรรม ผูจัดทําหวัง เปนอยางย่ิงวาชุดการสอนเลมน้ีจะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนและนําไปใชประโยชน ในการดําเนินชีวิตประจําวันได ขอขอบคุณผูบริหารสถานศึกษา ผูเช่ียวชาญ และคุณครูทุกทานท่ีใหคําปรึกษา ใหคําแนะนํา และชวยเหลือสนับสนุนในทุก ๆดาน จนทําใหชุดการสอนเลมน้ีสําเร็จลุลวงดวยดี

สุธีกานต ชวยพิทักษ

คํานํา

Page 4: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง หนา

คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ค มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัดช้ันป จุดประสงคการเรียนรู 1 หัวเร่ือง แนวคิด 2 บัตรคําส่ัง 4 แบบทดสอบกอนเรียน 5 ความหมายและความสําคัญของกฎหมาย 9 ลักษณะของกฎหมาย 13 ระบบกฎหมาย 17 ท่ีมาของกฎหมายไทย 21 ประเภทและลําดับศักด์ิของกฎหมายไทย 28 กระบวนการยุติธรรม 36 กิจกรรมสงเสริมทักษะการคิดปลูกจิตสํานึกการเปนพลเมืองดีรูหนาท่ีปฏิบัติตามกฎหมาย 43 แบบทดสอบหลังเรียน 48 บรรณานุกรม 52

สารบัญ

Page 5: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

ภาพที ่ หนา

ภาพท่ี 1 พระบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ พระบิดาแหงกฎหมายไทย 9 ภาพท่ี 2 การขามถนนตรงทางมาลายทําใหมีความปลอดภัยในชีวิตและชวยใหสังคม เปนระเบียบ

10

ภาพท่ี 3 การใชอํานาจตาม ม.44 13 ภาพท่ี 4 ขับรถผิดกฎจราจรตองจายเทาไร 14 ภาพท่ี 5 กฎหมายลายลักษณอักษร (จารึกเปนตัวหนังสือ) 17 ภาพท่ี 6 ระบบกฎหมายจารีตประเพณี 18 ภาพท่ี 7 จารีตประเพณีของไทย 22 ภาพท่ี 8 ศิลาจารึกหลักท่ี 1 สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช 23 ภาพท่ี 9 กฎหมายตราสามดวง สมัยรัชกาลท่ี 1 23 ภาพท่ี 10 การเลิกทาส สมัยรัชกาลท่ี 5 24 ภาพท่ี 11 รัฐสภามีหนาท่ีหลักคือการบัญญัติกฎหมาย 24 ภาพท่ี 12 การประชุมคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณากฎหมายท่ีออกโดยรัฐบาล 29 ภาพท่ี 13 ลําดับศักด์ิของกฎหมายไทย 32 ภาพท่ี 14 ตํารวจมีหนาท่ีสืบสวนสอบสวนจับกุมผูกระทําความผิด 36 ภาพท่ี 15 ศาล มีหนาท่ีพิจารณาพิพากษาคดีความตางๆ 37 ภาพท่ี 16 เจาหนาท่ีราชทัณฑมีหนาท่ีลงโทษผูกระทําความผิดตามคําพิพากษาของศาล 37 ภาพท่ี 17 ในคดีอาญาใหสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิด 38 ภาพท่ี 18 บุคคลทุกคนยอมมีสิทธิท่ีจะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย 39

สารบัญภาพ

Page 6: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

1

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

ส 2.1 เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาท่ีของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมท่ีดีงามและธํารงรักษา

ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข

ม. 4-6/1 วิเคราะหและปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ีเก่ียวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ประเทศชาติ และสังคมโลก

1. บอกความหมายและความสําคัญของกฎหมายได

2. วิเคราะหลักษณะของกฎหมายได

3. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางระบบกฎหมายลายลักษณอักษรและระบบกฎหมาย

จารีตประเพณีได

4. บอกท่ีมาและอธิบายวิวัฒนาการของกฎหมายไทยได

5. จําแนกประเภทและลําดับศักด์ิของกฎหมายไทยได

6. อธิบายข้ันตอนของกระบวนการยุติธรรมในทางอาญาและทางแพงได

7. อภิปรายเก่ียวกับความจําเปนท่ีทุกคนตองเรียนรูกฎหมาย ประโยชนของกฎหมาย และนําความรูไปปรับใชในชีวิตประจําวันได 8. มีทักษะกระบวนการในการทํางานกลุม

9. ตระหนักและเห็นความสําคัญของการปฏิบัติตนตามกฎหมาย

มาตรฐานการเรียนรู

ตัวชี้วัดชั้นป

จุดประสงคการเรียนรู

Page 7: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

2

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

1. ความหมาย ความสําคัญของกฎหมาย 2. ลักษณะของกฎหมาย 3. ระบบกฎหมาย 4. ท่ีมาของกฎหมายไทย 5. ประเภทและลําดับศักด์ิของกฎหมายไทย 6. กระบวนการยุติธรรมของไทย 7. กิจกรรมสงเสริมทักษะการคิดปลูกจิตสํานึกการเปนพลเมืองดีรูหนาท่ีปฏิบัติตามกฎหมาย

1. กฎหมายคือคําส่ังหรือระเบียบขอบังคับของสังคมซ่ึงรัฐไดตราข้ึนเพ่ือใชควบคุมความประพฤติของบุคคลในสังคมใหปฏิบัติตาม ถาผูใดฝาฝนจะ ไดรับโทษตามท่ีกําหนด กฎหมายเปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐในการบริหารและปกครองประเทศ เปนกติกาทางสังคมอยางหน่ึงท่ีชวยจัดระเบียบสังคม ทุกคนมีความเก่ียวของกับกฎหมายต้ังแตเกิดจนตาย ท้ังชวยในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเพราะฉะน้ันการปฏิบัติตามกฎหมายจึงเปนหนาท่ีของทุกคนในสังคม 2. กฎหมายเปนขอกําหนดหรือขอบังคับท่ีออกโดยผูมีอํานาจในรัฐ โดยกฎหมายจะตองมี ความยุติธรรมและบังคับใชโดยเสมอภาค พลเมืองทุกคนตองปฏิบัติตาม กฎหมายน้ันเม่ือออกมาแลว มีผลบังคับใชไดตลอดไปจนกวาจะมีการยกเลิก ถาใครฝาฝนถือวาเปนความผิดตองไดรับโทษ ตามกฎหมาย 3. ระบบกฎหมาย มี 2 ระบบ คือ ระบบกฎหมายลายลักษณเปนกฎหมายท่ีไดบัญญัติข้ึนตามกระบวนการนิติบัญญัติหรือทางรัฐสภาและบันทึกขอความเปนลายลักษณอักษร และระบบกฎหมายจารีตประเพณี เปนกฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษร แตยึดถือจารีตประเพณีและยึดถือคําพิพากษาของศาลในคดีกอน เปนบรรทัดฐานท่ีคนยอมรับและยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมา 4. ท่ีมาของกฎหมายไทยมาจากตัวบทกฎหมายหรือกฎหมายลายลักษณอักษร จารีตประเพณี และหลักกฎหมายท่ัวไป มีวิวัฒนาการมายาวนานโดยไดมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงตามกาลเวลา ใหเหมาะกับยุคสมัย โดยต้ังแตสมัยสุโขทัยถึงสมัยรัชกาลท่ี 7 แหงกรุงรัตนโกสินทรพระมหากษัตริย จะเปนผูท่ีมีบทบาทในการตรากฎหมาย จนกระท่ังไดมีการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย ผูท่ีมีหนาท่ีโดยตรงในการบัญญัติกฎหมายคือรัฐสภา กฎหมายท่ีออกมาทุกยุคทุกสมัยลวนมีเปาหมายเพ่ือใชเปนกฎ กติกา รวมกันของคนในสังคม ทําใหสังคมมีความเปนระเบียบรอยและเปนปกแผนม่ันคง

หัวเรื่อง

แนวคิด

Page 8: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

3

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

5. การแบงประเภทของกฎหมายจําแนกได 3 ประเภทใหญๆ คือ จําแนกตามองคกรท่ีจัดทํากฎหมาย จําแนกตามความสัมพันธระหวางคูกรณี จําแนกตามลักษณะการใชกฎหมาย กฎหมายจะมีลําดับศักด์ิของกฎหมายไวเพ่ือบงบอกถึงระดับสูงตํ่าและความสําคัญของกฎหมายแตละประเภท โดยกฎหมายท่ีมีลําดับช้ันตํ่ากวาจะขัดตอกฎหมายท่ีมีลําดับช้ันสูงกวาไมได 6. กระบวนการยุติธรรมมีข้ันตอนและวิธีการดําเนินการเพ่ือนําตัวผูกระทําผิดกฎหมายท้ังทางแพง ทางอาญาเขามาสูการพิพากษาคดีตามความผิดท่ีกระทําข้ึนเพ่ือคุมครองและความปลอดภัยและสิทธิของบุคคลในสังคม 7. กฎหมายมีความจําเปนตอสังคมเพราะเปนบรรทัดฐานใหคนไดปฏิบัติในแนวทางเดียวกันเพ่ือความสงบสุขของสังคม การรูกฎหมายจะไดไมทําผิดกฎหมายและไมถูกผูอ่ืนเอารัดเอาเปรียบโดยใชกฎหมายเปนเคร่ืองมือ

Page 9: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

4

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

บัตรคําสั่ง

1. นักเรียนศึกษามาตรฐาน ตัวช้ีวัด และจุดประสงคการเรียนรู กอนเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 10 ขอ โดยไมดูเฉลยกอน

และเนนคุณธรรม ความซ่ือสัตยของนักเรียนเปนสําคัญ 3. นักเรียนศึกษาบัตรเน้ือหาดวยตนเอง ถานักเรียนมีขอสงสัย ไมเขาใจ

ใหปรึกษาครูผูสอน 4. นักเรียนตอบคําถามลงในบัตรคําถามเปนรายบุคคล 5. นักเรียนตรวจคําตอบจากบัตรคําตอบ ถาไมถูกตองใหยอนกลับไปศึกษา

บัตรเน้ือหาใหม แลวแกไขใหถูกตอง 6. นักเรียนรวมกันทําบัตรกิจกรรมเปนกลุม รวมกันคิด และอภิปราย

หาขอสรุป บันทึกลงในบัตรกิจกรรม 7. นักเรียนตรวจคําตอบจากเฉลยบัตรกิจกรรมซ่ึงบางคําตอบท่ีแตกตางไป

การพิจารณาคําตอบอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน 8. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ขอ โดยไมดูเฉลยกอน 9. นักเรียนตรวจคําตอบหลังเรียนและนําผลคะแนนท่ีไดไปเปรียบเทียบ

กับคะแนนกอนการเรียน เพ่ือประเมินผลดวยตนเอง 10. นักเรียนนําชุดการสอนสงครูผูสอนเพ่ือตรวจสอบความเรียบรอย

และบันทึกคะแนน

เด็กดีมีความซื่อสัตย

ปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว จึงดูบัตรคําตอบนะครับ

Page 10: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

5

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

คําช้ีแจง 1. แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ มีจํานวน 10 ขอ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใชเวลาในการสอบ 10 นาที 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียวแลวทําเคร่ืองหมาย ลงในกระดาษคําตอบ

1. กฎหมายตองมีสภาพบังคับหมายความวาอยางไร

ก. มีผลใชบังคับตลอดไป ข. ผูใดฝาฝนยอมตองไดรับโทษ ค. ไมมีผูใดท่ีจะอยูเหนือกฎหมายได ง. มีเจาหนาท่ีรัฐเปนผูรักษากฎหมาย 2. กฎหมายไทยจัดอยูในหลักกฎหมายในระบบใด ก. กฎหมายศาสนา ข. กฎหมายสังคมนิยม ค. กฎหมายจารีตประเพณี ง. กฎหมายลายลักษณอักษร 3. ขอใดเรียงลําดับศักด์ิกฎหมายจากสูงไปตํ่าไดถูกตอง ก. พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ข. กฎกระทรวง พระราชกฤษฎีกา ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เทศบัญญัติ ค. พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เทศบัญญัติ ง. รัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด พระราชบัญญัติ ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร 4. กฎหมายมีความสําคัญอยางไร ก. สรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ ข. ประเทศมีการพัฒนาดานเทคโนโลยีสูง ค. สรางความเปนระเบียบแกสังคมและประเทศ ง. เปนส่ิงท่ีทําใหคนในสังคมมีคุณธรรมจริยธรรม 5. ประเภทของกฎหมายในขอใดเกิดจากการแบงประเภทตามลักษณะความสัมพันธของคูกรณี ก. กฎหมายอาญาและกฎหมายแพง ข. กฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติ ค. กฎหมายลายลักษณอักษรและกฎหมายจารีตประเพณี ง. กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน และกฎหมายระหวางประเทศ

แบบทดสอบกอนเรียน

เรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

Page 11: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

6

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

6. กฎหมายท่ีฝายบริหารตราข้ึนเพ่ือบังคับใชในกรณีฉุกเฉินคือกฎหมายใด ก. พระราชกําหนด ข. พระราชกฤษฎีกา ค. ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ง. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 7. เม่ือศาลตัดสินใหลูกหน้ีแพคดี ใครมีอํานาจในการยึดทรัพยลูกหน้ีมาชําระหน้ี ก. เจาหนาท่ีตํารวจ ข. เจาพนักงานบังคับคดี ค. เจาหนาท่ีกรมราชทัณฑ ง. เจาพนักงานคุมความประพฤติ 8. การปฏิรูปกฎหมายและระบบศาลของไทยเกิดข้ึนอยางจริงจังในรัชสมัยใด ก. พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว ข. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ง. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 9. ขอใดเปนกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ก. ข้ันฟองคดี ข้ันพิจารณาตัดสินคดี ข้ันการบังคับคดี ข. ข้ันฟองคดี ข้ันพิจารณาตัดสินคดี ข้ันลงโทษผูกระทําความผิด ค. ข้ันสืบสวนสอบสวน ข้ันฟองคดี ข้ันพิจารณาคดี ข้ันลงโทษผูกระทําความผิด ง. ข้ันสืบสวน ข้ันพิจารณาตัดสินคดี ข้ันการบังคับคดี ข้ันลงโทษผูกระทําความผิด 10. ขอใดตอไปน้ีเปนกฎหมาย ก. ผูอํานวยการส่ังใหภารโรงเก็บกวาดขยะใหเรียบรอย ข. เจาอาวาสส่ังใหพระเณรทุกรูปกวาดลานวัดในทุกเชา ค. นายกรัฐมนตรีขอรองใหประชาชนสวมหมวกและเลิกการกินหมาก ง. รัฐบาลประกาศใหบุคคลบางประเภทมีหนาท่ีเสียภาษีอากรบํารุงประเทศ ผูฝาฝนจะมีโทษ

Page 12: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

7

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

ชื่อ..........................................................เลขที่.....................ชั้น................

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

คะแนนที่ได

…………….……..

Page 13: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

8

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน

ขอที่ เฉลย

1 ข

2 ง

3 ก

4 ค

5 ง

6 ก

7 ข

8 ค

9 ค

10 ง

กฎหมายเปนเรื่องใกลตัว ที่ทุกคนตองรู

และนําไปปฏิบัติตามนะครับ

Page 14: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

9

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ความหมายและความสําคัญของกฎหมาย

กฎหมายเปนกฎเกณฑ กติกาของสังคมเพ่ือการอยูรวมกันอยางสงบสุข ภายใตกรอบหรือระเบียบอันเดียวกันและเปนมาตรฐานเดียวกัน การรูกฎหมายจะนําไปสูการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีและนําพาประเทศชาติสูความเจริญกาวหนาอยางย่ังยืนตอไป

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหความหมายไววา กฎหมาย คือ กฎ ท่ีสถาบันหรือผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐตราข้ึน หรือท่ีเกิดจากจารีตประเพณีอันเปนท่ียอมรับนับถือ เพ่ือใชในการบริหารประเทศ เพ่ือใชบังคับบุคคลใหปฏิบัติตาม หรือเพ่ือกําหนดระเบียบแหงความสัมพันธระหวางบุคคลหรือระหวางบุคคลกับรัฐ พระเจาบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ ทรงอธิบายวา “กฎหมาย” คือ คําส่ังท้ังหลายของผูปกครองวาการแผนดินตอราษฎรท้ังหลาย เม่ือไมทําตามแลว ตามธรรมดายอมตองไดรับโทษ พระยาอรรถการียนิพนธ กลาววา “กฎหมาย” เปนคําส่ังคําบังคับของรัฏฐาธิปตย ซ่ึงใครจะเถียงมิได และมีสภาพบังคับ ดังน้ัน จะกลาวไดวา กฎหมายขอบังคับของรัฐท่ีตราข้ึนมาเพ่ือใชกําหนดความประพฤติและระเบียบแบบแผนของพลเมืองท่ีเขามาอยูรวมกันเปนสังคม

ภาพท่ี 1 พระบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ พระบิดาแหงกฎหมายไทย ท่ีมา: http://library2.stou.ac.th/content/rapee

บัตรเนื้อหาที่ 1

ความหมายของกฎหมาย

Page 15: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

10

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กฎหมายมีความสําคัญและความจําเปนท่ีรัฐตองมีไว เพ่ือประโยชนในการปกครองประเทศใหมีมาตรฐานเดียวกันในสังคมทําใหประชาชนมีความสงบสุข กฎหมายมีความสําคัญตอสังคมมนุษยดังน้ี 1. เปนเครื่องมือในการจัดระเบียบสังคม และสรางความเปนระเบียบเรียบรอยแกบานเมือง กฎหมายจะกําหนดขอบเขตสิทธิ หนาท่ี และเสรีภาพประชาชนไว เพ่ือใหพลเมืองปฏิบัติตาม และชวยใหสังคมมีความสงบสุข 2. กอใหเกิดความเปนธรรมในสังคมเม่ือเกิดการละเมิดสิทธิผู อ่ืนหรือทําใหผู อ่ืนไดรับ ความเดือดรอน เชน ขับรถยนตเฉ่ียวชนคนข่ีจักรยานขางถนน ทําใหผูอ่ืนบาดเจ็บและเสียทรัพย การตัดสินความ จะถูกหรือผิดจะตองอาศัยหลักกฎหมายท่ีมีบัญญัติไว ดังน้ันกฎหมายมีไวเพ่ือรักษาความยุติธรรมในสังคมปองกันมิใหมีการละเมิดสิทธิผูอ่ืน 3. มีความสัมพันธเก่ียวของกับชีวิตประจําวันของมนุษยต้ังแตเกิดจนตาย ในฐานะท่ีเปนพลเมืองของประเทศนับต้ังแตวันท่ีลืมตาดูโลกก็ตองเร่ิมเก่ียวของและปฏิบัติตามหลักกฎหมาย อยางหลีกเล่ียงไมได เชน แจงเกิดเพ่ือขอสูติบัตร การต้ังช่ือ การจัดทําทะเบียนบาน การทําบัตรประชาชน และการเขารับการศึกษาภาคบังคับ เปนตน 4. เปนหลักคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ประชาชนทุกคนจะไดรับความคุมครองจากกฎหมายโดยเสมอภาคเทาเทียมกัน 5. เปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐในการบริหารและปกครองประเทศ โดยรัฐจะปกครองหรือบริหารประเทศโดยยึดหลักกฎหมาย ไมทําตามอําเภอใจ

กลาวโดยสรุป กฎหมายคือคําส่ังหรือระเบียบขอบังคับของสังคมซ่ึงรัฐไดตราข้ึนเพ่ือใชควบคุมความประพฤติของบุคคลในสังคมใหปฏิบัติตาม ถาผูใดฝาฝนจะไดรับโทษตามท่ีกําหนด กฎหมายเปนกลไกหรือเครื่องมือของรัฐในการบริหารและปกครองประเทศ เปนกติกาทางสังคมอยางหน่ึงท่ีชวยจัดระเบียบสังคม ทุกคนมีความเก่ียวของกับกฎหมายต้ังแตเกิดจนตาย ท้ังชวยในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเพราะฉะน้ันการปฏิบัติตามกฎหมายจึงเปนหนาท่ีของทุกคนในสังคม

ภาพท่ี 2 การขามถนนตรงทางมาลายทําใหมีความปลอดภัยในชีวิตและชวยใหสังคมเปนระเบียบ ท่ีมา : https://news.mthai.com/general-news/378127.html

ความสําคัญของกฎหมาย

Page 16: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

11

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ความหมายและความสําคัญของกฎหมาย

คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปน้ี (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหความหมายของกฎหมายไวอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. 2. พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ พระบิดาแหงกฎหมายไทย ไดใหความหมายของ กฎหมายไวอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. 3. กฎหมายมีความสําคัญตอสังคมมนุษยอยางไร

.ความสําคัญ

ของ กฎหมาย

บัตรคําถามที่ 1

Page 17: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

12

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ความหมายและความสําคัญของกฎหมาย

จากคําถามมีแนวการตอบดังนี้

1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหความหมายของกฎหมายไวอยางไร ตอบ กฎท่ีสถาบันหรือผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐตราข้ึน หรือท่ีเกิดจากจารีตประเพณีอันเปนท่ียอมรับนับถือ เพ่ือใชในการบริหารประเทศ เพ่ือใชบังคับบุคคลใหปฏิบัติตาม หรือเพ่ือกําหนดระเบียบแหงความสัมพันธระหวางบุคคลหรือระหวางบุคคลกับรัฐ 2. พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ พระบิดาแหงกฎหมายไทย ไดใหความหมายของ กฎหมายไวอยางไร ตอบ คําส่ังท้ังหลายของผูปกครองวาการแผนดินตอราษฎรท้ังหลาย เม่ือไมทําตามแลว ตามธรรมดายอมตองไดรับโทษ 3. กฎหมายมีความสําคัญตอสังคมมนุษยอยางไร

1. เปนเครื่องมือในการจัดระเบียบสังคม และสรางความเปนระเบียบเรียบรอยแกบานเมือง

2. กอใหเกิดความเปนธรรมในสังคม

3. มีความสัมพันธเก่ียวของกับ

ชีวิตประจําวันของมนุษยต้ังแตเกิดจนตาย

4. เปนหลักคุมครองสิทธิและเสรีภาพของ

ประชาชน

5. เปนกลไกหรือเครื่องมือของรัฐในการบริหารและปกครอง

ประเทศ ความสําคัญ ของ

กฎหมาย

บัตรคําตอบที ่1

Page 18: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

13

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ลักษณะของกฎหมาย

มนุษยเปนสัตวสังคมและตองดําเนินชีวิตอยูรวมกัน หากแตละบุคคลประพฤติตามอําเภอใจ ก็ยอมสงผลเสียและสรางความเดือดรอนตอสวนรวม ดังน้ีจึงตองจัดระเบียบสังคมโดยการสรางกฎหมายข้ึนเปนแนวทางปฏิบัติเพ่ือการอยูรวมกันอยางสันติ ซ่ึงโดยท่ัวไปกฎหมายตองมีลักษณะดังตอไปน้ี

1. มาจากรัฏฐาธิปตย หมายความวา กฎหมายจะตองออกมาจากผูมีอํานาจสูงสุดในประเทศ ไมวาประเทศน้ัน ๆจะปกครองระบอบใดก็ตาม 2. เปนคําส่ัง ขอหาม ขอบังคับท่ีตองปฏิบัติตาม หมายความวา เม่ือกฎหมายประกาศใชแลว ประชาชนทุกคนตองปฏิบัติตาม แมวาจะไมเห็นดวยกับกฎหมายน้ัน ๆ

ภาพท่ี 3 การใชอํานาจตาม ม.44 ท่ีมา : http://www.thansettakij.com/content/1266

3. ใชไดท่ัวไป หมายความวา เม่ือกฎหมายประกาศใชแลวจะมีผลบังคับใชกับทุกคนโดย เทาเทียมกันและใชไดท่ัวราชอาณาจักร เวนแตมีบทบัญญัติวากฎหมายใดใชเฉพาะทองท่ีใด หรือใชบังคับแกการกระทําหรือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนนอกอาณาจักร

บัตรเนื้อหาที่ 2

ลักษณะของกฎหมาย

Page 19: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

14

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

“โดยคําวาราชอาณาจักร” ในประเทศไทย หมายถึง 3.1 พ้ืนดินในประเทศไทย (รวมถึง แมนํ้า ลําคลองบึง ทะเลสาบ ดวย) 3.2 ทะเลอันเปนอาวไทยตามพระราชบัญญัติกําหนดเขตจังหวัดในอาวไทยตอนใน พ.ศ. 2520 3.3 ทะเลอันหางจากฝงท่ีเปนดินแดนของประเทศไทยไมเกิน 12 ไมลทะเล 3.4 พ้ืนอากาศเหนือ ขอ 3.1 ขอ 3.2 และขอ 3.3 3.5 เรือไทยหรืออากาศยานไทยไมวาอยูท่ีใด 4. ใชไดเสมอไป หมายความวา เม่ือกฎหมายไดมีการประกาศใชแลวมีผลบังคับใชตลอดไปจนกวาจะมีการยกเลิก 5. มีสภาพบังคับ หมายความวา เม่ือกฎหมายประกาศใชแลว หากมีการฝาฝน ผูฝาฝนจะตองถูกลงโทษหรือตกอยูในสภาพบังคับอยางใดอยางหน่ึง เชน ถาฝาฝนกฎหมายแพง สภาพบังคับ ก็อาจจะเปนการริบมัดจํา การใหชดใชคาเสียหาย เปนตน แตถาหากฝาฝนกฎหมายอาญาสภาพบังคับจะมีต้ังแตประหารชีวิต จําคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพยสิน เปนตน กลาวโดยสรุป กฎหมายเปนขอกําหนดหรือขอบังคับท่ีออกโดยผูมีอํานาจในรัฐ กฎหมายจะตองมีความยุติธรรมและบังคับใชโดยเสมอภาค พลเมืองทุกคนตองปฏิบัติตาม กฎหมายน้ันเม่ือออกมาแลวมีผลบังคับใชไดตลอดไปจนกวาจะมีการยกเลิก ถาใครฝาฝนถือวาเปนความผิดตองไดรับโทษ ตามกฎหมาย

ภาพท่ี 4 ขับรถผิดกฎจราจรตองจายเทาไร ท่ีมา : https://infographic.kapook.com/view109728.html

Page 20: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

15

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ลักษณะของกฎหมาย

คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปน้ี (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. กฎหมายมีลักษณะอยางไรบาง

………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. 2. กฎหมายมีสภาพบังคับหมายความวาอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. 3. จงยกตัวอยางพฤติกรรมท่ีแสดงใหเห็นวานักเรียนไดปฏิบัติตามกฎหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. 4. กฎหมายตองใชไดเปนการท่ัวไปหมายความวาอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. 5. ทุกคนควรมีความรูทางกฎหมายเพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..

บัตรคําถามที่ 2

Page 21: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

16

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ลักษณะของกฎหมาย

จากคําถามมีแนวการตอบดังนี้

1. กฎหมายมีลักษณะอยางไรบาง ตอบ 1. มาจากรัฏฐาธิปตย 2. เปนคําส่ัง ขอหาม ขอบังคับท่ีตองปฏิบัติตาม 3. ใชไดท่ัวไป 4. ใชไดเสมอไป 5. มีสภาพบังคับ 2. กฎหมายมีสภาพบังคับหมายความวาอยางไร ตอบ กฎหมายเม่ือตราออกมาและเม่ือประกาศใชแลว ยอมมีสภาพบังคับใหพลเมืองปฏิบัติตาม ผูใดฝาฝนไมปฏิบัติตามถือวามีความผิด ซ่ึงความผิดท่ีไดรับทางอาญาคือโทษ สวนความผิดท่ีไดรับทางแพงคือชดใชคาสินไหมทดแทน 3. จงยกตัวอยางพฤติกรรมท่ีแสดงใหเห็นวานักเรียนไดปฏิบัติตามกฎหมาย ตอบ เชน 1. การไมเลนการพนัน 2. การไมขามถนนตรงทางมาลาย 3. การทําลายทรัพยสินสาธารณะ 4. การไมกอเร่ืองทะเลาะวิวาททํารายคนอ่ืน 4. กฎหมายตองใชไดเปนการท่ัวไปหมายความวาอยางไร ตอบ กฎหมายตองเปนคําส่ังหรือขอบังคับท่ีใชอยางเทาเทียมกัน ใชบังคับกับทุกคนและใชบังคับ ท่ัวดินแดนในราชอาณาจักร 5. ทุกคนควรมีความรูทางกฎหมายเพราะเหตุใด ตอบ เพราะกฎหมายมีสวนเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน การเรียนรูกฎหมายเพ่ือปองกันการถูก เอารัดเอาเปรียบจากผูอ่ืนและเพ่ือการปฏิบัติตนอยางถูกตอง เปนพลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ

(พิจารณาคําตอบของนักเรียนโดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

บัตรคําตอบที่ 2

Page 22: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

17

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ระบบของกฎหมาย

ระบบของกฎหมายหรือสกุลของกฎหมายเปนความพยายามของนักกฎหมายท่ีจะจับกลุมของกฎหมายท่ีมีใชอยูในประเทศตาง ๆในโลกท่ีมีลักษณะใกลเคียงกันเขาไวดวยกัน ซ่ึงระบบกฎหมายท่ีใชในโลกปจจุบัน มี 2 ระบบ คือ

ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร มีตนแบบมาจากกฎหมาย 12 โตะของโรมัน โดยมีท่ีมาจากรัฏฐาธิปตยเปนผูออกกฎหมายโดยจัดทําเปนประมวลกฎหมาย ซ่ึงเปนการรวบรวมเอาบทบัญญัติของกฎหมายในเร่ืองเดียวกันมารวมกันและบันทึกเปนตัวหนังสือหรือตัวอักษรซ่ึงเห็นไดจากพระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา เทศบัญญัติ เปนตน การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลตองตีความตามท่ีบัญญัติไวในตัวกฎหมายอยางเครงครัด และหากเกิดชองวางทางกฎหมาย (ไมมีในบัญญัติของกฎหมาย) ใหใชจารีตประเพณี กฎหมายท่ีมีความใกลเคียงอยางย่ิงและกฎหมายท่ัวไปในการพิจารณา สําหรับประเทศไทยในปจจุบัน การอุดชองวางทางกฎหมายทําไดเฉพาะตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเทาน้ัน ประเทศท่ีใชกฎหมายแบบลายลักษณอักษร เชน ไทย เยอรมัน ฝร่ังเศส อิตาลี สเปน ญ่ีปุน สวิตเซอรแลนด โปรตุเกส เปนตน

ภาพท่ี 5 กฎหมายลายลักษณอักษร (จารึกเปนตัวหนังสือ)

ท่ีมา : https://sites.google.com/site/mirabeiybwinaykherarphkthmay/

บัตรเนื้อหาที ่3

1. ระบบกฎหมายลายลกัษณอักษร (Civil Law)

Page 23: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

18

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

ระบบกฎหมายจารีตประเพณี คือ ระบบกฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษร มีตนแบบมาจากประเทศอังกฤษ ระบบน้ีใชจารีตประเพณีของทองถ่ินและยึดหลักตามคําพิพากษาของศาล ในคดีกอนหนาจนเรียกระบบกฎหมายน้ีวา “Judge Made Law” หรือระบบกฎหมายท่ีมาจาก คําพิพากษาของศาล ลักษณะของระบบกฎหมายจารีตประเพณี คือ 1. คําพิพากษาของศาลเปนบรรทัดฐานในการพิจารณาคดีตอ ๆไป 2. ยึดม่ันในระบบจารีตประเพณีและเช่ือวาใชบังคับกฎหมายได 3. ถือปฏิบัติสืบตอกันมายาวนานและสมํ่าเสมอ 4. ไมมีการจัดหมวดหมูในรูปแบบของประมวลกฎหมายแตรวบรวมคําพิพากษาท่ีศาลตัดสินไว ชวงหลังเม่ือมีการพัฒนาประเทศอยางรวดเร็ว ระบบกฎหมายระบบจารีตประเพณีก็ไดมีการออกกฎหมายเปนลายลักษณอักษรข้ึน แตเปนไปในลักษณะพระราชบัญญัติเฉพาะเร่ือง สวนการใชและการตีความกฎหมายน้ัน ผูพิพากษายังยึดตามคําพิพากษาของศาลในคดีกอน ประเทศท่ีใชระบบกฎหมายน้ี เชน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด เปนตน

ภาพท่ี 6 ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (ระบบกฎหมายท่ีมาจากคําพิพากษาของศาล)

ท่ีมา : https://www.pptvhd36.com/news/38424

กลาวโดยสรุป ระบบกฎหมาย มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบกฎหมายลายลักษณ เปนกฎหมายท่ีบัญญัติข้ึนตามกระบวนการนิติบัญญัติหรือทางรัฐสภาและบันทึกขอความเปนลายลักษณอักษร 2. ระบบกฎหมายจารีตประเพณี เปนกฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษรแตยึดถือจารีตประเพณีและยึดถือคําพิพากษาของศาลในคดีกอน เปนบรรทัดฐานท่ีคนยอมรับและยึดถือปฏิบัติ สืบทอดกันมา

2. ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Commom Law)

Page 24: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

19

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ระบบของกฎหมาย

คําชี้แจง : ใหนักเรียนอานขอความตอไปน้ีแลววิเคราะหวาเปนระบบกฎหมายลายลักษณอักษรหรือระบบกฎหมายจารีตประเพณี แลวนําหมายเลขขอมาใสในกลองใหถูกตอง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. Civil Law 2. Commom Law 3. มีตนแบบมาจากประเทศอังกฤษ 4. มีตนแบบมาจากกฎหมาย 12 โตะของโรมัน 5. กฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษร 6. บันทึกเปนตัวหนังสือ 7. ยึดหลักตามคําพิพากษาของศาลในคดีกอนหนา 8. เปนระบบกฎหมายท่ีใชในประเทศไทย เยอรมัน ฝร่ังเศส อิตาลี สเปน ญ่ีปุน 9. เปนระบบกฎหมายท่ีใชในประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด 10. จากรัฏฐาธิปตยเปนผูออกกฎหมายโดยจัดทําเปนประมวลกฎหมาย

กฎหมายลายลักษณอักษร กฎหมายจารีตประเพณี

บัตรคําถามที่ 3

Page 25: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

20

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ระบบของกฎหมาย

จากคําถามมีแนวการตอบดังนี้

1. Civil Law 2. Commom Law 3. มีตนแบบมาจากประเทศอังกฤษ 4. มีตนแบบมาจากกฎหมาย 12 โตะของโรมัน 5. กฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษร 6. บันทึกเปนตัวหนังสือ 7. ยึดหลักตามคําพิพากษาของศาลในคดีกอนหนา 8. เปนระบบกฎหมายท่ีใชในประเทศไทย เยอรมัน ฝร่ังเศส อิตาลี สเปน ญ่ีปุน 9. เปนระบบกฎหมายท่ีใชในประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด 10. จากรัฏฐาธิปตยเปนผูออกกฎหมายโดยจัดทําเปนประมวลกฎหมาย

กฎหมายลายลักษณอักษร กฎหมายจารีตประเพณี

1 / 4 / 6 / 8 / 10 2 / 3 / 5 / 7 / 9

บัตรคําตอบที่ 3

Page 26: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

21

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ที่มาของกฎหมายไทย

กฎหมายท่ีประเทศตางๆ จัดทําข้ึนมีจํานวนมากมาย ครอบคลุมทุกดานของสังคมเพ่ือใหสังคมอยูดวยกันอยางสงบสุข เม่ือพิจารณามาตราตางๆ ของกฎหมายแลวจะเห็นวากฎหมายไทยมีท่ีมา อยู 2 ทาง คือ

คือ ระบบกฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษร มีตนแบบมาจากประเทศอังกฤษ ระบบน้ีใชจารีตเม่ือพิจารณาถึงคําวา “บทบัญญัติใดๆ แหงกฎหมาย” ในวรรคแรกและคําวา “บทกฎหมาย” ในตอนตนของวรรคสองของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 ดังกลาวก็จะเห็นไดวากฎหมายไทยน้ันจะมีท่ีมาจากกฎหมายลายลักษณอักษร กฎหมายลายลักษณอักษร คือ กฎหมายท่ีรัฐไดตราข้ึนไว เปนขอบังคับกําหนดความประพฤติของบุคคล และประกาศใหราษฎรทราบ ตัวอยางของกฎหมายลายลักษณอักษร เชน ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง เทศบัญญัติ เปนตน

โดยเม่ือพิจารณาคําวา “จารีตประเพณีแหงทองถ่ิน” และคําวา “หลักกฎหมายท่ัวไป” ในวรรคสองของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 จะเห็นไดวากฎหมายไทยจะมีท่ีมาจากจารีตประเพณีและหลักกฎหมายท่ัวไปดวย กฎหมายจารีตประเพณี คือ กฎหมายท่ีไมไดเปนลายลักษณอักษรแตเปนกฎหมายท่ีราษฎรรูสึกกันท่ัวไปวาเปนกฎหมายและรัฐไดใชขอบังคับเชนวาน้ีเสมือนกฎหมาย ในรูปลักษณะเดียวกันตลอดมา ตัวอยางเชน การแขงขันกีฬาชกมวย หากนักชกไดทําการชกภายใตกฎ กติกา มารยาทของกีฬามวย แมจะทําใหคูตอสูถึงแกความตาย ก็ไมมีใครรูสึกวานักชกผูน้ันมีความผิดฐานฆาคนตาย อยางไรก็ตาม ในการท่ีจะพิจารณาวาจารีตประเพณีน้ันเปนกฎหมายหรือไม ศาลฎีกาของไทย ไดวางหลักเกณฑการวินิจฉัยไววา การท่ีศาลจะยอมรับวาจารีตประเพณีน้ันเปนกฎหมาย จะตองประกอบดวยหลักเกณฑ ดังน้ี 1. ตองเปนประเพณีซ่ึงมีมานาน

บัตรเนื้อหาที่ 4

1. เกิดจากตัวบทกฎหมายหรือกฎหมายลายลักษณอักษร

2. เกิดจากจารีตประเพณีและหลักกฎหมาย

Page 27: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

22

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

2. ตองเปนประเพณีอันสมควร (นาจะหมายถึงประเพณีท่ีไมขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมทําอันดีของประชาชน) 3. ตองมีกําหนดแนนอนโดยสถานท่ีและบุคคลท่ีเก่ียวของ (กลาวคือ ไมเปนประเพณีเล่ือนลอย ตองมีประชาชนในทองถ่ินถือปฏิบัติกันโดยท่ัวไป) 4. ตองไมมีกฎหมายบัญญัติหามไวหรือขัดกับกฎหมาย ถามีกฎหมายบัญญัติมาขัดกับประเพณีตองถือวาประเพณีน้ันถูกยกเลิกไปแลวโดยปริยาย

ภาพท่ี 7 จารีตประเพณีของไทย ท่ีมา : http://suthatham-lw.blogspot.com/2011/

หลักกฎหมายท่ัวไป คือ บรรดาหลักกฎหมายท่ีประเทศตาง ๆหรือหลักกฎหมายท่ีนักนิติศาสตรใหการยอมรับถึงหลักกฎหมายดังกลาว วาใหความเปนธรรมและมีลักษณะเปนสากล ตัวอยางเชนหลัก “ผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน” หลัก “กรรมเปนเคร่ืองช้ีเจตนา” เปนตน

Page 28: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

23

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กฎหมายไทยมีท่ีมาจากหลายแหลง ตัวอยางท่ีมาของกฎหมายไทย มีดังน้ี

1. สมัยสุโขทัย สวนมากมาจากพระมหากษัตริยทรงบัญญัติข้ึน เรียกวา พระราชศาสตร มักมีแหลงท่ีมาจากศาสนา คตินิยม จารีตประเพณีและคัมภีร โดยเฉพาะคัมภีรมนูธรรมศาสตรท่ีไทย ไดรับมาจากอินเดียผานทางมอญ กฎหมายลายลักษณอักษรฉบับแรกและอาจจะถือไดวาเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย คือ ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง

ภาพท่ี 8 ศิลาจารึกหลักท่ี 1 สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ท่ีมา : https://pantip.com/topic/35237965

2. สมัยอยุธยา มีการใชพระราชศาสตรและพระธรรมศาสตรสืบตอกันมา นอกจากน้ียังมีการตรากฎหมายข้ึนใชอีกมากมาย เชน กฎหมายลักษณะโจร กฎหมายลักษณะผัวเมีย 3. สมัยรัตนโกสินทร สมัยรัชกาลท่ี 1 โปรดใหมีการชําระรวบรวมกฎหมายใหม เรียกวา กฎหมายตราสามดวงมีตราราชสีห ตราคชสีห และตราบัวแกว

ภาพท่ี 9 กฎหมายตราสามดวง สมัยรัชกาลท่ี 1 ท่ีมา : https://pantip.com/topic/35237965

ตัวอยางที่มาของกฎหมายไทย

Page 29: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

24

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

สมัยรัชกาลท่ี 4 ทรงแกไขกฎหมายตราสามดวงดวยการออกเปนพระราชกําหนด 500 ฉบับ เพ่ือปรับปรุงกฎหมายใหดีและทันสมัยข้ึน เน่ืองจากไทยมีการติดตอกับชาวยุโรปและอเมริกา สมัยรัชกาลท่ี 5 มีการปฏิรูปกฎหมายคร้ังใหญ ปรับปรุงระบบศาลยุติธรรม ใหมีศาลช้ันตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา เพ่ือใหเกิดความยุติธรรมกับประชาชนมากท่ีสุด สมัยน้ีสามารถ ออกกฎหมายทัดเทียมนานาอารยประเทศ เพ่ือแกปญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต เชน การตรากฎหมายอาญา กฎหมายแพง พระธรรมนูญศาลยุติธรรม กฎหมายเลิกทาส

ภาพท่ี 10 การเลิกทาส สมัยรัชกาลท่ี 5 ท่ีมา : https://board.postjung.com/995033.html

สมัยประชาธิปไตย มีการประกาศใชประมวลกฎหมายตางๆ อยางสมบูรณ เม่ือ พ.ศ. 2478 ซ่ึงไดราง คัดลอกและเทียบเคียงจากกฎหมายของยุโรป ไดแกประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณา ความอาญา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม โดยมีท่ีมาของกฎหมายท่ีสําคัญคือรัฐสภา

ภาพท่ี 11 รัฐสภามีหนาท่ีหลักคือการบัญญัติกฎหมาย

ท่ีมา : https://www.pri.org/stories/2012-04-18/porno-image-flash-halts-debate-thai-parliament

Page 30: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

25

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กลาวโดยสรุป ท่ีมาของกฎหมายไทยมาจากตัวบทกฎหมายหรือกฎหมายลายลักษณอักษร จารีตประเพณี และหลักกฎหมายท่ัวไป มีวิวัฒนาการมายาวนานโดยไดมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงตามกาลเวลาใหเหมาะกับยุคสมัย โดยต้ังแตสมัยสุโขทัยถึงสมัยรัชกาลท่ี 7 แหงกรุงรัตนโกสินทรพระมหากษัตริยจะเปนผูท่ีมีบทบาทในการตรากฎหมาย จนกระท่ังไดมีการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย ผูท่ีมีหนาท่ีโดยตรงในการบัญญัติกฎหมายคือรัฐสภา ซ่ึงกฎหมายท่ีออกมาทุกยุคทุกสมัยลวนมีเปาหมายเพ่ือใชเปนกฎ กติกา รวมกันของคนในสังคม ทําใหสังคมมีความเปนระเบียบรอยและเปนปกแผนม่ันคง

Page 31: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

26

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ที่มาของกฎหมายไทย

คําชี้แจง : ใหนักเรียนกาเคร่ืองหมาย ขอความท่ีถูก หรือ กาเคร่ืองหมาย ขอความท่ีผิดลงใน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. กฎหมายลายลักษณอักษร เชน ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ

2. กฎหมายจารีตประเพณี ตองเปน

ประเพณีซ่ึงมีมานาน

3. คัมภีรมนูธรรมศาสตรท่ีไทย ไดรับมาจากอินเดียผานทางพมา

4. กฎหมายลายลักษณอักษรฉบับ

แรกของไทย คือ ศิลาจารึก

5. กฎหมายตราสามดวง ตราในสมัย

พระเจาตากสินมหาราช 6. สมัยรัชกาลท่ี 4 ปรับปรุงกฎหมาย เพราะการเขามาของชาวตะวันตก

7. สมัยรัชกาลท่ี 5 มีปญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

8. สมัยรัชกาลท่ี 6 มีการปฏิรูป

กฎหมายและระบบศาล

9. กฎหมายไทยในอดีตผูบัญญัติกฎหมาย คือ พระมหากษัตริย

10. ยุคสมัยปจจุบันผูท่ีมีอํานาจ นิติบัญญัติ คือ ตุลาการ

บัตรคําถามที่ 4

Page 32: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

27

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ที่มาของกฎหมายไทย

จากคําถามมีแนวการตอบดังนี้

1. กฎหมายลายลักษณอักษร เชน

ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ

2. กฎหมายจารีตประเพณี ตองเปน

ประเพณีซ่ึงมีมานาน

3. คัมภีรมนูธรรมศาสตรท่ีไทย ไดรับมาจากอินเดียผานทางพมา

4. กฎหมายลายลักษณอักษรฉบับ

แรกของไทย คือ ศิลาจารึก

5. กฎหมายตราสามดวง ตราในสมัย

พระเจาตากสินมหาราช

6. สมัยรัชกาลท่ี 4 ปรับปรุงกฎหมาย

เพราะการเขามาของชาวตะวันตก

7. สมัยรัชกาลท่ี 5 มีปญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

8. สมัยรัชกาลท่ี 6 มีการปฏิรูป

กฎหมายและระบบศาล

9. กฎหมายไทยในอดีตผูบัญญัติกฎหมาย คือ พระมหากษัตริย

10. ยุคสมัยปจจุบันผูท่ีมีอํานาจ นิติบัญญัติ คือ ตุลาการ

บัตรคําตอบที่ 4

Page 33: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

28

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ประเภทและลําดับศักดิ์ของกฎหมายไทย

การแบงประเภทของกฎหมายน้ัน นักนิติศาสตรไดแบงออกเปนหลายลักษณะ โดยปกติแลวกฎหมายท่ัวไป แบงออกเปน 3 ประเภทใหญ ๆดังน้ี

1.1 กฎหมายท่ีจัดทําโดยองคกร ฝายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) เปนกฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึนตามคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา กฎหมายท่ีออกโดยรัฐสภา มีดังน้ี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ * เปนกฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึน โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา เพ่ือกําหนดรายละเอียดของบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญใหมีความสมบูรณ * เชน พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการเลือกต้ัง พ.ศ. 2550 เปนตน พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) * เปนกฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึนโดยคําแนะนําฝายนิติบัญญัติ (รัฐสภา/สภานิติบัญญัติแหงชาติ) * พระราชบัญญัติ เปนกฎหมายท่ีไม ได จัดไว เปนหมวดหมู แตหากในกรณี นําพระราชบัญญัติมาจัดไวเปนหมวดหมูจะเรียกวา ประมวลกฎหมาย * เชน พระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติ การทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2551 เปนตน 1.2 กฎหมายท่ีจัดทําโดยองคกรฝายบริหาร (คณะรัฐมนตรี) * เปนกฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึนตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี กฎหมาย ท่ีออกโดยคณะรัฐมนตรี มีดังน้ี พระราชกําหนด (พ.ร.ก.) * เปนกฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึนโดยคําแนะนําของฝายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี * ตราข้ึนในกรณีสถานการณฉุกเฉินและเปนเร่ืองเรงดวน เชน ความม่ันคงของรัฐ (การชุมนุมทางการเมืองท่ีรุนแรง) หรือเร่ืองเรงดวนดานเงินตราภาษีอากร

บัตรเนื้อหาที่ 5

1. ประเภทกฎหมายที่จําแนกตามองคกรที่จัดทํากฎหมาย

Page 34: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

29

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

* การตราพระราชกําหนดไมตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา แตหลังจากบังคับใชแลวใหนํากฎหมายน้ีเขาสูรัฐสภา กรณีรัฐสภาเห็นชอบ ก็จะเปนพระราชกําหนดถาวรตอไป มีลําดับศักด์ิเทียบเทาพระราชบัญญัติถาหากรัฐสภาไมเห็นชอบ พระราชกําหนดน้ันก็จะตกไปพระราชกําหนด จึงจัดเปนกฎหมายช่ัวคราว * เชน พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 พระราชกฤษฏีกา (พ.ร.ฏ.) * เรียกอีกอยางวา อนุบัญญัติ เปนกฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึนโดยคําแนะนําของฝายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี * เปนกฎหมายท่ีกําหนดรายละเอียดของกฎหมายแมบท * สามารถออกไดโดยไมตองใหรัฐสภาผานความเห็นชอบ เชน การยุบสภาการเลือกต้ัง * พระราชกฤษฎีกา เชน พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา สมัยประชุมสามัญ พ.ศ. 2553 กฎกระทรวง * เปนกฎหมายท่ีออกโดยรัฐมนตรีกระทรวงน้ัน ๆตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี * เพ่ือกําหนดรายละเอียดของกฎหมายแมบทคําส่ังของรัฐมนตรีวาการกระทรวงน้ัน ๆ

ภาพท่ี 12 การประชุมคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณากฎหมายท่ีออกโดยรัฐบาล ท่ีมา : https://prachatai.com/journal/2014/11/56349

1.3 กฎหมายท่ีจัดทําโดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีผลบังคับเฉพาะในเขตทองท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ินเทาน้ัน มิไดบังคับท่ัวประเทศ สวนใหญเปนขอบังคับใหประชาชนในพ้ืนท่ีปฏิบัติ ตัวอยางกฎหมายประเภทน้ี ไดแก * ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ออกโดยกรุงเทพมหานคร * เทศบัญญัติ ออกโดยเทศบาล * ขอบัญญัติเมืองพัทยา ออกโดยเมืองพัทยา * ขอบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด ออกโดยองคการบริหารสวนจังหวัด * ขอบังคับองคการบริหารสวนตําบล ออกโดยองคการบริหารสวนตําบล

Page 35: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

30

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

1.4 กฎหมายท่ีจัดทําโดยองคกรพิเศษ รัฐธรรมนูญ * เปนกฎหมายสูงสุดท่ีใชในการปกครองประเทศ * กําหนดเร่ืองการใชอํานาจอธิปไตย รวมถึงสิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ีของประชาชน * ตัวอยางองคกรพิเศษท่ีจัดทํารางกฎหมายรัฐธรรมนูญ ไดแก สภารางรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

กฎหมายประเภทน้ีแบงตามลักษณะความสัมพันธระหวางฝายตางๆ ไดแก รัฐกับประชาชน

ประชาชนกับประชาชน และรัฐกับรัฐ อาจกลาวไดวาเปนการแบงตามเน้ือหาขอความในกฎหมาย

ซ่ึงจําแนกได 3 ประเภทยอย ๆดังน้ี

2.1 กฎหมายเอกชน เปนกฎหมายท่ีวาดวยสิทธิ หนาท่ี และความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชน เชน การทําสัญญาซ้ือขาย การกูเงิน การจํานองฯลฯ และสิทธิ หนาท่ีของสามี ภรรยา และบุตร สิทธิของผูเยาวในการรับมรดก เปนตน ตัวอยางกฎหมายเอกชนท่ีสําคัญคือประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย 2.2 กฎหมายมหาชน เปนกฎหมายท่ีวาดวยความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน (หรือรัฐกับประชาชน) ในฐานะ ท่ีรัฐมีอํานาจในการบริหารประเทศ จึงจําเปนออกกฎหมายใชบังคับกับประชาชน กฎหมายมหาชนของไทย ไดแก รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายอาญา และประมวลรัษฎากร ซ่ึงเปนกฎหมายเก่ียวกับภาษีอากร เปนตน 2.3 กฎหมายระหวางประเทศ เปนกฎหมายท่ีกําหนดความสัมพันธและการปฏิบัติตอกันระหวางประเทศ (หรือระหวางรัฐกับรัฐ) แบงได 3 ลักษณะ ดังน้ี * แผนกคดีเมือง เชน การทําสนธิสัญญาระหวางประเทศ การกําหนดอาณาเขต ระหวางประเทศเพ่ือนบาน วิธีระงับขอพิพาทระหวางประเทศและการกําหนดเขตเศรษฐกิจ นานนํ้าสากล เปนตน * แผนกคดีบุคคล เชน การกําหนดเอกสิทธ์ิของเจาหนาท่ีสถานทูต การกําหนด ใหสัญชาติบุคคลและขอตกลงในเร่ืองการทําหนังสือขออนุญาตเขาเมือง เปนตน * แผนกคดีอาญา เชน ขอตกลงเร่ืองการสงผูรายขามแดนและการกอคดีอาญา ของผูรายขามชาติ เปนตน

2. ประเภทกฎหมายที่จําแนกตามลักษณะความสัมพันธ

Page 36: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

31

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

3.1 กฎหมายสารบัญญัติ เปนกฎหมายซ่ึงกําหนดสิทธิหนาท่ีและความรับผิดชอบของบุคคลตามกฎหมาย โดยบัญญัติวาการกระทําใดเปนความผิดหรือละเมิดสิทธิของผูอ่ืน ผูฝาฝนตองไดรับโทษทางอาญาหรือแพงแลวแตกรณี กฎหมายสารบัญญัติเปนกฎหมายท่ีกําหนดแตเน้ือหาของกฎหมายลวน ๆกฎหมายประเภทน้ี ไดแก ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบรรพ 1 ถึง 6 3.2 กฎหมายสบัญญัติ เปนกฎหมายท่ีใชประกอบกับกฎหมายสารบัญญัติ หรือกําหนดวิธีบังคับใหเปนไปตามสิทธิ หนาท่ีหรือกฎหมายท่ีกําหนดไวในกฎหมายสารบัญญัติ โดยตองอาศัยข้ันตอนของกระบวนการยุติธรรม กฎหมายประเภทน้ีไดแก ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง พระธรรมนูญศาลยุติธรรม

ลําดับศักด์ิของกฎหมายเปนแนวความคิดทางกฎหมายของฝร่ังเศส ซ่ึงกําหนดลําดับช้ันระหวางกฎหมายประเภทตางๆ ซ่ึงทําใหผูมีอํานาจในการตรากฎหมายท่ีมีศักด์ิดอยกวาตองเคารพและไมสามารถตรากฎหมายท่ีละเมิดกฎหมายท่ีมีศักด์ิสูงกวาได กฎหมายไทยไดนําเอาหลักดังกลาวมาประยุกตใช อาทิ พระราชบัญญัติจะขัดตอรัฐธรรมนูญซ่ึงมีศักด์ิสูงกวาไมไดหรือพระราชบัญญัติจะตองไมมีเน้ือหาขัดตอพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ หรือการกระทําใด ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการกระทําน้ันเปนอันใชบังคับมิได องคกรหลักตามรัฐธรรมนูญซ่ึงเปนผูดูแลความสอดคลองของกฎหมายตางๆ ตอกฎหมายสูงสุดหรือรัฐธรรมนูญ คือศาลรัฐธรรมนูญ ลําดับศักด์ิของกฎหมายในระบบกฎหมายไทย แบงเปน 7 ช้ัน ไดแก

1. รัฐธรรมนูญ 2. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 3. พระราชบัญญัติ 4. พระราชกําหนด 5. พระราชกฤษฎีกา 6. กฎกระทรวง 7. ขอบัญญัติทองถ่ิน ไดแก ขอบัญญัติกรุงเทพมหานครและขอบัญญัติเมืองพัทยา

ผลการจัดศักด์ิของกฎหมายท่ีเปนลายลักษณอักษร * การออกกฎหมายท่ีมีศักด์ิของกฎหมายตํ่ากวาจะออกไดโดยอาศัยอํานาจจากกฎหมายท่ีมีศักด์ิสูงกวาหรือตามท่ีกฎหมายศักด์ิสูงกวาใหอํานาจไว

3. ประเภทกฎหมายที่จําแนกตามลักษณะการใชกฎหมาย

ลําดับศักดิ์ของกฎหมายไทย

Page 37: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

32

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

* กฎหมายท่ีมีศักด์ิตํ่ากวาซ่ึงออกโดยอาศัยอํานาจของกฎหมายศักด์ิสูงกวาจะออกมา โดยมีเน้ือหาเกินกวาขอบเขตอํานาจท่ีกฎหมายศักด์ิสูงกวาใหไวมิได มิฉะน้ันจะใชบังคับมิไดเลย * หากเน้ือหาของกฎหมายมีความขัดแยงกันตองใชกฎหมายท่ีมีศักด์ิสูงกวาบังคับ ไมวากฎหมายศักด์ิสูงกวาน้ันจะออกกอนหรือหลังกฎหมายศักด์ิตํ่ากวาน้ัน

ภาพท่ี 13 ลําดับศักด์ิของกฎหมายไทย ท่ีมา : http://www.thailaws.com/aboutthailaw/thai_04.htm

Page 38: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

33

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กลาวโดยสรุป การแบงประเภทของกฎหมายจําแนกได 3 ประเภท ใหญ ๆดังน้ี

1. จําแนกตามองคกรท่ีจัดทํา กฎหมาย

2. ความสัมพันธระหวางคูกรณี 3. ตามลักษณะการใชกฎหมาย

1.1 กฎหมายท่ีจัดทําโดย องคกร ฝายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) 1.2 กฎหมายท่ีจัดทําโดย องคกรฝายบริหาร (คณะรัฐมนตรี) 1.3 กฎหมายท่ีจัดทําโดย องคกรปกครองสวน ทองถ่ิน 1.4 กฎหมายท่ีจัดทําโดย องคกรพิเศษ

2.1 กฎหมายเอกชน 2.2 กฎหมายมหาชน 2.3 กฎหมายระหวางประเทศ

3.1 กฎหมายสารบัญญัติ 3.2 กฎหมายสบัญญัติ

นอกจากน้ีกฎหมายยังไดมีการลําดับศักด์ิของกฎหมายซ่ึงมีไวเพ่ือบงบอกถึงระดับสูงตํ่า และความสําคัญของกฎหมายแตละประเภทรวมไปถึงภาพรวมของกฎหมายท่ีใชกัน กฎหมาย ท่ีมีลําดับช้ันตํ่ากวาจะขัดตอกฎหมายท่ีมีลําดับช้ันสูงกวาไมได

Page 39: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

34

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ประเภทและลําดับศักดิ์ของกฎหมาย คาํชี้แจง : จงนําขอความท่ีกําหนดใหเติมลงในชองวางใหถูกตองและสัมพันธกัน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. กฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึนโดยคําแนะนําฝายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ..............................................................................................................................................................

2. กฎหมายท่ีออกโดยรัฐบาลเพราะมีกรณีสถานการณฉุกเฉินหรือเปนเร่ืองเรงดวน

..............................................................................................................................................................3. กฎหมายท่ีออกโดยรัฐมนตรีกระทรวงน้ัน ๆตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ......................................................................................................................................................... 4. กฎหมายท่ีออกโดยเทศบาล ..............................................................................................................................................................5. กฎหมายท่ีกฎหมายท่ีวาดวยสิทธิ หนาท่ี และความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชน ..............................................................................................................................................................6. กฎหมายท่ีวาดวยความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน (หรือรัฐกับประชาชน) ..............................................................................................................................................................7. การทําสนธิสัญญาระหวางประเทศ การกําหนดอาณาเขตระหวางประเทศเพ่ือนบาน .............................................................................................................................................................. 8. กฎหมายซ่ึงกําหนดสิทธิหนาท่ีและความรับผิดชอบของบุคคลตามกฎหมาย ..............................................................................................................................................................9. ตนแบบแนวคิดการลําดับศักด์ิของกฎหมาย .............................................................................................................................................................. 10. ลําดับศักด์ิกฎหมายท่ีสูงท่ีสุด กฎ หรือขอบังคับ หรือการกระทําใดจะขัดแยงมิได ...............................................................................................................................................................

รัฐธรรมนูญ กฎกระทรวง กฎหมายมหาชน พระราชกําหนด พระราชบัญญัติ เทศบัญญัติ กฎหมายสารบัญญัติ ฝร่ังเศส กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายเอกชน

บัตรคําถามที่ 5

Page 40: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

35

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง ประเภทและลําดับศักดิ์ของกฎหมาย

จากคําถามมีแนวการตอบดังนี ้

1. กฎหมายท่ีพระมหากษัตริยทรงตราข้ึนโดยคําแนะนําฝายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ตอบ พระราชบัญญัติ

2. กฎหมายท่ีออกโดยรัฐบาลเพราะมีกรณีสถานการณฉุกเฉินหรือเปนเร่ืองเรงดวน ตอบ พระราชกําหนด

3. กฎหมายท่ีออกโดยรัฐมนตรีกระทรวงน้ัน ๆตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ตอบ กฎกระทรวง 4. กฎหมายท่ีออกโดยเทศบาล ตอบ เทศบัญญัติ 5. กฎหมายท่ีกฎหมายท่ีวาดวยสิทธิ หนาท่ี และความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชน ตอบ กฎหมายเอกชน 6. กฎหมายท่ีวาดวยความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน (หรือรัฐกับประชาชน) ตอบ กฎหมายมหาชน 7. การทําสนธิสัญญาระหวางประเทศ การกําหนดอาณาเขตระหวางประเทศเพ่ือนบาน ตอบ กฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีเมือง 8. กฎหมายซ่ึงกําหนดสิทธิหนาท่ีและความรับผิดชอบของบุคคลตามกฎหมาย ตอบ กฎหมายสารบัญญัติ 9. ตนแบบแนวคิดการลําดับศักด์ิของกฎหมาย ตอบ ฝร่ังเศส 10. ลําดับศักด์ิกฎหมายท่ีสูงท่ีสุด กฎ หรือขอบังคับ หรือการกระทําใดจะขัดแยงมิได ตอบ รัฐธรรมนูญ

บัตรคําตอบที ่5

Page 41: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

36

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง กระบวนการยุติธรรม

กระบวนการยุติธรรม เปนข้ันตอนและวิธีการดําเนินการเพ่ือนําตัวผูกระทําผิดกฎหมาย ท้ังทางแพงทางอาญาเขามาสูการพิพากษาคดีตามความผิดท่ีกระทําข้ึนเพ่ือคุมครองและ ความปลอดภัยและสิทธิของบุคคลในสังคม กระบวนการยุติธรรม แบงไดเปน 2 ระบบ ดังน้ี

กระบวนการยุติธรรมในทางอาญา หมายถึง ข้ันตอนดําเนินการเพ่ือนําผูกระทําผิดในทางอาญามาลงโทษ เชน ความผิดเก่ียวกับการลักทรัพย การทํารายรางกาย ฆาผูอ่ืน ขมขืนกระทําชําเรา เปนตน ข้ันตอนของกระบวนการยุติธรรมในทางอาญา มีดังน้ี 1.1 ข้ันสืบสวนสอบสวนจับกุมผูกระทําผิด เม่ือเกิดคดีอาญาเพ่ือนําผูกระทําผิดเขามาสู การพิจารณาพิพากษา หากไมรูตัวผูกระทําผิดเปนหนาท่ีของตํารวจจะตองสืบสวนสอบสวนหาตัวผูกระทําผิดและจับกุมตัวมาสอบสวนเพ่ือรวบรวมหลักฐานสงฟองตอไป

1.2 ข้ันฟองคดี ตํารวจจะตองสงสํานวนคดีอาญาไปใหอัยการและอัยการจะมีหนาท่ีฟองผูตองหาตอศาล สําหรับผูตองหามีสิทธิท่ีจะต้ังทนายความตอสูคดี หากยากจนไมมีทนายความ รัฐจะต้ังทนายความให

ภาพท่ี 14 ตํารวจมีหนาท่ีสืบสวนสอบสวนจับกุมผูกระทําความผิด

ท่ีมา : http://www.sevendaynew.com/26153/

บัตรเนื้อหาที่ 6

1. กระบวนการยุติธรรมในทางอาญา

Page 42: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

37

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

1.3 ข้ันพิจารณาตัดสินคดี เปนหนาท่ีศาลในการพิจารณาพิพากษาคดี ลงโทษผูกระทําความผิดท่ีเปนผูตองหาตามบทบัญญัติในกฎหมายตอไป

ภาพท่ี 15 ศาล มีหนาท่ีพิจารณาพิพากษาคดีความตางๆ ท่ีมา : http://m.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1267677912

1.4 ข้ันการลงโทษผูกระทําความผิด เม่ือศาลพิจารณาตัดสินคดีและพิพากษาลงโทษผูกระทําผิดแลว หนาท่ีในการลงโทษผูกระทําผิดเปนหนาท่ีของเจาหนาท่ีราชทัณฑท่ีจะลงโทษตามคําพิพากษาของศาล คุมความประพฤติหรือจําคุก กักขัง ประหารชีวิต เปนตน

ภาพท่ี 16 เจาหนาท่ีราชทัณฑมีหนาท่ีลงโทษผูกระทําความผิดตามคําพิพากษาของศาล

ท่ีมา : https://news.mthai.com/webmaster-talk/252462.html

Page 43: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

38

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กระบวนการยุติธรรมในทางแพง หมายถึง ข้ันตอนดําเนินการเพ่ือบังคับผูกระทําผิดในทางแพงใหทําตามสัญญาหรือชดใชคาเสียหายท่ีผูกระทําผิดไดกระทําการละเมิดผูอ่ืน ข้ันตอนกระบวนการยุติธรรมในทางแพง มีดังน้ี 2.1 ข้ันฟองคดี โดยคูความ ซ่ึงหมายถึง โจทกและจําเลย โจทกคือผูเสียหายท่ีถูกละเมิด จะทําการฟองโดยมีทนายความดําเนินการทางศาลให สวนจําเลยเม่ือถูกฟองก็จะตองต้ังทนายความข้ึนตอสูคดีเชนเดียวกัน 2.2 ข้ันพิจารณาตัดสิน ศาลมีอํานาจพิจารณาตัดสินคดีตามบทบัญญัติในพระราชธรรมนูญศาลยุติธรรม ศาลแขวงมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพงท่ีมีทุนทรัพยไมเกิน 3 ลานบาท ศาลจังหวัดและศาลแพงมีอํานาจพิจารณาคดีท้ังปวง 2.3 ข้ันการบังคับคดี เม่ือศาลพิจารณาพิพากษาตัดสินแลวเจาพนักงานบังคับคดีจะดําเนินการตามกฎหมายเพ่ือปฏิบัติตามคําพิพากษา

สิทธิในกระบวนการยุติธรรม มีดังน้ี 1. บุคคลไมตองรับโทษอาญา เวนแตวาไดกระทําการอันกฎหมายท่ีใชอยูในเวลาท่ีกระทําน้ัน บัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว โดยโทษท่ีจะลงแกบุคคลน้ันจะหนักกวาโทษท่ีกําหนดไว ในกฎหมายท่ีใชอยูในเวลาท่ีกระทําความผิดมิได ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิด กอนมีคําพิพากษาอันถึงท่ีสุดแสดงวาบุคคลใดไดกระทําความผิดจะปฏิบัติตอบุคคลน้ันเสมือนเปนผูกระทําความผิดมิได

ภาพท่ี 17 ในคดีอาญาใหสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิด ท่ีมา : https://i.ytimg.com/vi/3uia8ScJRdE/hqdefault.jpg

2. กระบวนการยุติธรรมในทางแพง

สิทธิในกระบวนการยุติธรรม

Page 44: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

39

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

2. บุคคลยอมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังตอไปน้ี 2.1 สิทธิเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยงาย สะดวก รวดเร็ว และท่ัวถึง 2.2 สิทธิพ้ืนฐานในกระบวนการพิจารณาซ่ึงอยางนอยตองมีหลักประกันข้ันพ้ืนฐาน เร่ืองการไดรับการพิจารณาโดยเปดเผย การไดรับทราบขอเท็จจริงและตรวจเอกสารอยางเพียงพอ การเสนอขอเท็จจริง ขอโตแยง และพยานหลักฐานของตน การคัดคานผูพิพากษาหรือตุลาการ การไดรับการพิจารณาโดยผูพิพากษาหรือตุลาการท่ีน่ังพิจารณาคดีครบองคคณะและการไดรับทราบเหตุผลประกอบคําวินิจฉัย คําพิพากษา หรือคําส่ัง 2.3 บุคคลยอมมีสิทธิท่ีจะใหคดีของตนไดรับการพิจารณาอยางถูกตอง รวดเร็ว และมีความเปนธรรม 2.4 ผูเสียหาย ผูตองหา โจทก จําเลย คูกรณี ผูมีสวนไดสวนเสีย หรือพยานในคดีมีสิทธ์ิในไดรับการปฏิบัติท่ีเหมาะสมในการดําเนินการตามกระบวนยุติธรรม รวมท้ังสิทธิในการไดรับ การสอบสวนอยางถูกตอง รวดเร็ว เปนธรรม และการไมใหถอยคําเปนปฏิปกษตอตนเอง 2.5 ผูเสียหาย ผูตองหา จําเลย และพยานในคดีอาญามีสิทธ์ิท่ีจะไดรับความคุมครองและความชวยเหลือท่ีจําเปนและเหมาะสมจากรัฐ สวนคาตอบแทน คาทดแทนและคาใชจายท่ีจําเปน ใหเปนไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ 2.6 เด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ ผูพิการหรือทุพพลภาพ ยอมมีสิทธ์ิไดรับความคุมครองในการดําเนินกระบวนการพิจารณาคดีอยางเหมาะสมและยอมมีสิทธิไดรับการปฏิบัติท่ีเหมาะสมในคดี ท่ีเก่ียวกับความรุนแรงทางเพศ

ภาพท่ี 18 บุคคลทุกคนยอมมีสิทธิท่ีจะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย ท่ีมา : http://www.sanook.com/health/4613/

2.7 ในคดีอาญาผูตองหาหรือจําเลยตางมีสิทธิท่ีจะไดรับการตรวจสอบโดยการพิจารณาคดีท่ีถูกตอง รวดเร็ว และเปนธรรม โอกาสในการตอสูคดีอยางเพียงพอ การตรวจสอบหรือไดรับทราบพยานหลักฐานตามสมควร การไดรับความชวยเหลือในทางคดีจากทนายความ และการไดรับ การปลอยตัวช่ัวคราว 2.8 ในคดีแพงบุคคลมีสิทธิไดรับความชวยเหลือทางกฎหมายอยางเหมาะสมจากรัฐ

Page 45: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

40

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กลาวโดยสรุป กระบวนการยุติธรรมมีหลายข้ันตอนการดําเนินการท้ังน้ีเ พ่ือให เกิด ความยุติธรรมสูงสุดกับประชาชน ซ่ึงกระบวนการยุติธรรม มี 2 ระบบ คือ กระบวนการยุติธรรมในทางอาญามีข้ันตอนดําเนินการเพ่ือนําผูกระทําผิดในทางอาญามาลงโทษ สวนกระบวนการยุติธรรมในทางแพง เปนข้ันตอนดําเนินการเพ่ือบังคับผูกระทําผิดในทางแพงใหทําตามสัญญาหรือชดใชคาเสียหาย ท่ีผูกระทําผิดไดกระทําการละเมิดผูอ่ืน และทุกคนมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรมในกรอบท่ีกฎหมายกําหนด

Page 46: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

41

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เร่ือง กระบวนการยุติธรรม คําชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปน้ี (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. กระบวนการยุติธรรมคืออะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. กระบวนการทางอาญาและกระบวนการทางแพงมีข้ันตอนอยางไร ใครบางท่ีเก่ียวของ

3. ทําไมท้ังกระบวนการทางแพงและทางอาญาจึงมีหลายข้ันตอน ................................................................................................................................................................

กระบวนการยุติธรรมในทางอาญา

ข้ัน......................................................

ผูเก่ียวของ..........................................

ข้ัน......................................................

ผูเก่ียวของ..........................................

ข้ัน......................................................

ผูเก่ียวของ..........................................

ข้ัน......................................................

ผูเก่ียวของ..........................................

กระบวนการยุติธรรมในทางแพง

ข้ันฟองคดี

ผูเก่ียวของ..........................................

ผูเก่ียวของ..........................................

ผูเก่ียวของ..........................................

บัตรคําถามที่ 6

Page 47: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

42

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

.........................................................................................................................................................

เร่ือง กระบวนการยุติธรรม

จากคําถามมีแนวการตอบดังนี ้

1. กระบวนการยุติธรรมคืออะไร ตอบ ข้ันตอนดําเนินการเพ่ือนําผูกระทําผิดในทางอาญามาลงโทษ เชน ความผิดท่ีเก่ียวของกับการลักทรัพย การทํารายรางกาย ฆาผูอ่ืน ขมขืนกระทําชําเรา เปนตน 2. กระบวนการทางอาญาและกระบวนการทางแพงมีข้ันตอนอยางไร มีใครเก่ียวของบาง

3. ทําไมท้ังกระบวนการทางแพงและทางอาญาจึงมีหลายข้ันตอน ตอบ เพ่ือใหทุกคนไดรับความเปนธรรมและมีความยุติธรรมสูงสุด

กระบวนการยุติธรรมในทางอาญา

ข้ันสืบสวนสอบสวนจับกุมผูกระทําผิด

ผูเก่ียวของ ตํารวจ

ข้ันฟองคดี

ผูเก่ียวของ อัยการ

ข้ันพิจารณาตัดสินคดี

ผูเก่ียวของ ศาล

ข้ันการลงโทษผูกระทําความผิด

ผูเก่ียวของ เจาหนาท่ีราชทัณฑ

กระบวนการยุติธรรมในทางแพง

ข้ันฟองคดี

ผูเก่ียวของ ผูเสียหาย / ทนายความ

ข้ันพิจารณาตัดสินคดี

ผูเก่ียวของ ศาล

ข้ันการบังคับคดี

ผูเก่ียวของ เจาหนาท่ีบังคับคดี

บัตรคําตอบที ่6

Page 48: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

43

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กิจกรรมสงเสริมทกัษะการคิดปลกูจิตสาํนึกความเปนพลเมืองดรีูหนาที่ปฏิบัตติามกฎหมาย .

คําชี้แจง : ใหนักเรียนแตละกลุมอานบทกลอน “ถาพรุงน้ีไมมีกฎหมาย” แลวรวมกันอภิปราย เพ่ือตอบคําถามใหถูกตอง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ถาพรุงนี้ไมมีกฎหมาย

ถาพรุงน้ีไมมีกฎหมาย ความวุนวายรายกาจอาจแอบแฝง

ความอยุติธรรมจักสําแดง เกิดแกงแยงเอาเปรียบเหยียบยํ่ากัน

คนทําผิดคิดช่ัวไมกลัวบาป อาจหยามหยาบยามใจไมสรางสรรค

ใครจะทําอะไรตามใจครัน ท้ังรบราฆาฟนมิหว่ันเกรง

คนดีดีมีจิตเอ้ือเพ่ือมนุษย บริสุทธ์ิราวระทมถูกขมเหง

ดวยมิรูสูรับกับนักเลง เราควรเครงเรงรัดพัฒนา

ปฏิบัติตามกฎหมายไดประโยชน ไรนักโทษอยูสุขสันตแสนหรรษา

พลโลกพนเภทภัยนานา ไรปญหาอยูผาสุกถวนทุกชน

ครูกระดาษทราย

ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/museum-rung/2011/06/10/entry-1

บัตรกิจกรรม

Page 49: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

44

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

1. ถาพรุงน้ีไมมีกฎหมาย สังคมจะเปนเชนไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. เพราะเหตุใดนักเรียนจําเปนท่ีจะตองรูกฎหมาย ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. กฎหมายมีประโยชนอยางไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

คําถาม

Page 50: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

45

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

กลุมที่.............. ชื่อกลุม............................................................................. สมาชิกในกลุมช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4/.......

1.................................................................................... เลขท่ี........................................ 2.................................................................................... เลขท่ี........................................ 3.................................................................................... เลขท่ี........................................ 4.................................................................................... เลขท่ี........................................ 5.................................................................................... เลขท่ี........................................

Page 51: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

46

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กิจกรรมสงเสริมทกัษะการคิดปลกูจิตสาํนึกความเปนพลเมืองดรีูหนาที่ปฏิบัตติามกฎหมาย .

จากคําถามมีแนวการตอบดังนี ้

1. ถาพรุงน้ีไมมีกฎหมายสังคมจะเปนเชนไร ตอบ หากไมมีกฎหมาย มนุษยก็จะชอบทําอะไรตามใจตนเอง และถาตางคนตางทําตามใจ และการกระทําน้ันทําใหผูอ่ืนไดรับความเสียหาย ก็จะเกิดปญหา ความขัดแยง มีการลางแคนได โตตอบกันไปโตตอบกันมาไมมีท่ีส้ินสุดเพราะไมมีกฎหมายเขาไปจัดการใหความเปนธรรม สังคม ก็จะไรระเบียบ วุนวาย และไมสงบสุข ในท่ีสุดสังคมน้ันประเทศน้ันก็จะลมสลายไมสามารถดํารงอยูได 2. เพราะเหตุใดนักเรียนจําเปนท่ีจะตองรูกฎหมาย ตอบ 1. กฎหมายเปนบรรทัดฐานทางสังคมอยางหน่ึง ซ่ึงเปนกฎเกณฑท่ีใชบังคับความประพฤติของสมาชิกในสังคมใหเปนไปในทํานองเดียวกัน ทําใหสังคมมีระเบียบ วินัย และสงบเรียบรอย 2. ในชีวิตประจําวันของเรา ไมวาใครจะทําอะไรก็จะตองมีกฎหมายเขามาเก่ียวของดวย ตลอดเวลา เชน เม่ือมีคนเกิดก็ตองแจงเกิด ตองต้ังช่ือ การสมรสอยูกินเปนครอบครัว การกูยืมเงิน ซ้ือขาย การ ทํา สัญญาต างๆ เหล า น้ีล วนต องปฏิ บั ติตาม ท่ีกฎหมายกําหนดไว ท้ั ง ส้ิน 3. รัฐธรรมนูญกําหนดใหประชาชนมีหนาท่ีปฏิบัติตามกฎหมาย การรูกฎหมายจึงจําเปน อยางย่ิง เพราะจะไดทราบถึงของเขตของสิทธิและหนาท่ีของตน ตลอดจนขอปฏิ บัติตาง ๆ ตามท่ีกฎหมายกําหนด เม่ือรูกฎหมายก็จะไดไมทําผิดกฎหมายและไมถูกผูอ่ืนเอารัดเอาเปรียบโดยใชกฎหมายเปนเคร่ืองมือ 4. การทําผิดกฎหมายหรือปญหาขอขัดแยง ขอพิพาทตางๆ ตามท่ีเปนขาวมีการฟองรองกัน มีสาเหตุมาจากความไมรูกฎหมายท้ังส้ิน และเม่ือกระทําความผิดแลวจะกลาวอางแกตัววาท่ีกระทํา ลงไปน้ันเปนเพราะไมรูกฎหมาย เพ่ือใหคนหลุดพนจากความรับผิดก็ไมได ถึงแมวาจะไมรูกฎหมายจริงๆ ก็ตาม เน่ืองจากในทางกฎหมายมีหลักเกณฑสําคัญประการหน่ึงวา “ความไมรูกฎหมายไมเปนขอแกตัว” เพราะถาหากวาใหมีการกลาวอางแกตัวได ทุกคนก็จะแกตัววาไมรูกฎหมายกันหมดเพ่ือใหตนหลุดพนจากความรับผิด ในท่ีสุดกฎหมายก็จะขาดความศักด์ิสิทธ์ิและใชกับใครไมไดอีกตอไป 3. กฎหมายมีประโยชนอยางไร ตอบ 1. สรางความเปนธรรมหรือความยุติธรรมใหแกสังคม เพราะกฎหมายเปนกฎกติกาท่ีทุกคนจะตองปฏิบัติเสมอภาคเทาเทียมกัน เม่ือการปฏิบัติของบุคคลใดบุคคลหน่ึงเอาเปรียบคนอ่ืน ขาดความยุติธรรม กฎหมายก็จะเขามาสรางความยุติธรรม ยุติขอพิพาทไมใหเกิดการเอาเปรียบกันดังท่ีเราเรียกกันวา ยุติธรรม สังคมก็จะไดรับความสุขจากผลของกฎหมายในดานน้ี 2. รูจักสิทธิหนาท่ีของตัวเองท่ีจะปฏิบัติตอสังคม

เฉลยบัตรกิจกรรม

Page 52: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

47

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

3. ประโยชนในการประกอบอาชีพ เชน การเปนท่ีปรึกษาทางกฎหมาย การเปนทนายความ อัยการ ศาล ท้ังจะเปนประโยชนตอสังคมโดยตางฝายตางชวยกันรักษาความถูกตองและความยุติธรรม

4. ประโยชนในทางการเมืองการปกครองเพราะวาถาประชาชนรูกฎหมายก็จะเปนการชวยเสริมสรางความม่ันคงของการปกครอง และการบริหารงานทางการเมือง การปกครอง ประโยชนสุข ก็จะตกอยูกับประชาชน

5. รักษาความสงบเรียบรอยของบานเมืองและศีลธรรมอันดีของประชาชน เพราะกฎหมาย ท่ีดีน้ันจะตองใหความคุมครองแกประชาชนเทาเทียมกัน ประชาชนก็จะเกิดความผาสุกปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน สรางความสัมพันธท่ีดีตอครอบครัว ตอบุคคลอ่ืน และตอประเทศชาติ

(พิจารณาคําตอบของนักเรียนโดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

Page 53: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

48

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

คําช้ีแจง 1. แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ มีจํานวน 10 ขอ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใชเวลาในการสอบ 10 นาที 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียวแลวทําเคร่ืองหมาย ลงในกระดาษคําตอบ

1. ขอใดตอไปน้ีเปนกฎหมาย ก. ผูอํานวยการส่ังใหภารโรงเก็บกวาดขยะใหเรียบรอย ข. เจาอาวาสส่ังใหพระเณรทุกรูปกวาดลานวัดในทุกเชา ค. นายกรัฐมนตรีขอรองใหประชาชนสวมหมวกและเลิกการกินหมาก ง. รัฐบาลประกาศใหบุคคลบางประเภทมีหนาท่ีเสียภาษีอากรบํารุงประเทศ ผูฝาฝนจะมีโทษ 2. กฎหมายตองมีสภาพบังคับหมายความวาอยางไร ก. มีผลใชบังคับตลอดไป ข. ผูใดฝาฝนยอมตองไดรับโทษ ค. ไมมีผูใดท่ีจะอยูเหนือกฎหมายได ง. มีเจาหนาท่ีรัฐเปนผูรักษากฎหมาย 3. กฎหมายมีความสําคัญอยางไร ก. สรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ ข. ประเทศมีการพัฒนาดานเทคโนโลยีสูง ค. สรางความเปนระเบียบแกสังคมและประเทศ ง. เปนส่ิงท่ีทําใหคนในสังคมมีคุณธรรมจริยธรรม 4. กฎหมายไทยจัดอยูในหลักกฎหมายในระบบใด ก. กฎหมายศาสนา ข. กฎหมายสังคมนิยม ค. กฎหมายจารีตประเพณี ง. กฎหมายลายลักษณอักษร 5. การปฏิรูปกฎหมายและระบบศาลของไทยเกิดข้ึนอยางจริงจังในรัชสมัยใด ก. พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว ข. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ง. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

แบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

Page 54: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

49

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

6. ประเภทของกฎหมายในขอใดเกิดจากการแบงประเภทตามลักษณะความสัมพันธของคูกรณี ก. กฎหมายอาญาและกฎหมายแพง ข. กฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติ ค. กฎหมายลายลักษณอักษรและกฎหมายจารีตประเพณี ง. กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน และกฎหมายระหวางประเทศ 7. กฎหมายท่ีฝายบริหารตราข้ึนเพ่ือบังคับใชในกรณีฉุกเฉินคือกฎหมายใด ก. พระราชกําหนด ข. พระราชกฤษฎีกา ค. ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ง. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 8. ขอใดเรียงลําดับศักด์ิกฎหมายจากสูงไปตํ่าไดถูกตอง ก. พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ข. กฎกระทรวง พระราชกฤษฎีกา ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เทศบัญญัติ ค. พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เทศบัญญัติ ง. รัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด พระราชบัญญัติ ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร 9. เม่ือศาลตัดสินใหลูกหน้ีแพคดี ใครมีอํานาจในการยึดทรัพยลูกหน้ีมาชําระหน้ี ก. เจาหนาท่ีตํารวจ ข. เจาพนักงานบังคับคดี ค. เจาหนาท่ีกรมราชทัณฑ ง. เจาพนักงานคุมความประพฤติ 10. ขอใดเปนกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ก. ข้ันฟองคดี ข้ันพิจารณาตัดสินคดี ข้ันการบังคับคดี ข. ข้ันฟองคดี ข้ันพิจารณาตัดสินคดี ข้ันลงโทษผูกระทําความผิด ค. ข้ันสืบสวนสอบสวน ข้ันฟองคดี ข้ันพิจารณาคดี ข้ันลงโทษผูกระทําความผิด ง. ข้ันสืบสวน ข้ันพิจารณาตัดสินคดี ข้ันการบังคับคดี ข้ันลงโทษผูกระทําความผิด

Page 55: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

50

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

ชื่อ..........................................................เลขที่.....................ชั้น................

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

คะแนนที่ได

…………….……..

Page 56: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

51

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ขอที่ เฉลย

1 ง

2 ข

3 ค

4 ง

5 ค

6 ง

7 ก

8 ก

9 ข

10 ค

Justice is the spirit of law ความยุติธรรม

คือ เจตนารมณของกฎหมาย

Page 57: ก ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับกฎหมายstss.ac.th/web1/web/mainfile/9MnCORIBD7fa.pdf · 1 ความร เบ องต นเก

52

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย

กฤษณา วิเชียรเพชร. (2559). กฎหมายในชีวิตประจําวัน. กรุงเทพฯ : ฟสิกสเซ็นเตอร.

ไชยพศ โลดํารงรัตน. (2556). แชมปเปยนสังคม. กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ.

ณัทธนัท เล่ียวไพโรจน. (2558). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และ

การดําเนินชีวิตในสังคม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ.

ถาพรุงนี้ไมมีกฎหมาย. (2554). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://oknation.nationtv.tv/blog/museum-rung/2011/06/10/entry-1. (วันท่ีคน

ขอมูล : 30 กรกฎาคม 2559).

นรเศรษฐ เจียมจิโรจน. (2557). กฎหมายท่ีอาจารยฝายปกครองควรรู. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.

ลําดับศักดิ์ของกฎหมาย. (2556). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

https://th.wikipedia.org/wiki/ลําดับศักด์ิของกฎหมาย. (วันท่ีคนขอมูล : 30 กรกฎาคม

2559).

วิทยา ปานะบุตร. (2553). คูมือเตรียมสอบ รายวิชาพื้นฐาน หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ

ดําเนินชีวิตในสังคม ม.4-6. กรุงเทพฯ : พ.ศ. พัฒนา.

วิทยา ปานะบุตร. (2552). คูมือสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.1-2-3 และ onet.

กรุงเทพฯ : พ.ศ. พัฒนา.

สมคิด บางโม. (2556). ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ :

เอสเคบุคส.

บรรณานุกรม