ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ...

9
ปที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ 2553 โลจิสติกสและโซอุปทาน (Logistics & Supply Chain) จะมี คําวา โลจิสติกสสีเขียว (Green Logistics) และบรรจุภัณฑสี เขียว (Green Packaging) ก็เปนสวนหนึ่งที่อาจเปนเงื่อนไข ไดโดยเฉพาะองคกรใหญ ๆ ซึ่งเนนเรื่องภาพลักษณจะมี นโยบายเรื่องนี้โดยถือเปนการรับผิดชอบตอสังคมและ สิ่งแวดลอม (Corporate Social & Environmental Re- sponsibility)อาทิ Walmart ไดรณรงคเรื่องบรรจุภัณฑที่ใช ในการหีบหอสินคาจะตองเปนพลาสติกสลายไดทางชีวภาพ (Compostable Bioplastics) ดังนั้น การเตรียมตัวบรรจุภัณฑใหเขากับ สถานการณของโลกสากลจึงเปนเรื่องที่มิอาจมองขามไป และตองทําความเขาใจอยางถองแทถึงผลิตภัณฑพลาสติก ชีวภาพ ซึ่งมีหลากหลายชนิด มีทั้งสลายตัวได และสลายตัว ไมไดทางชีวภาพ เพื่อการสงออกที่พรอมที่จะแขงขันในเวที โลก โดยจะอธิบายนําเสนอในลําดับตอไป ในโลกปจจุบันจะไดยินบอยครั้งถึงคําวามุงสูสีเขียว (GO GREEN) ซึ่งมีความหมายใหรักษาสิ่งแวดลอม โดยลด มลภาวะตางๆในการกอใหเกิดสภาวะโลกรอน (Global Warming) และรักษาทรัพยากรธรรมชาติของโลกโดยใหใช เพื่อการอุปโภคไดยาวนานที่สุด ทั้งนี้ตองตอบสนองนโยบาย หลักสากล 3R คือ REDUCE (ใชทรัพยากรธรรมชาตินอย ที่สุด) REUSE (นํามาใชซ้ําอีก) และ RECYCLE (แปลงเปน วัสดุนํากลับมาใชใหม) ในดานการบริหารจัดการดาน มารูจักพลาสติกชีวภาพกันเถอะหนา 1 บทความพิเศษ โดย รศ.ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม นายกกิตติมศักดิ์และประธานที่ปรึกษาสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย ประธานคณะกรรมการวิชาการรางมาตรฐานพลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ ส.ม.อ. อดีต รองคณบดี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย E-mail : [email protected]

Transcript of ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ...

Page 1: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

ปที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ 2553

โลจิสติกสและโซอุปทาน (Logistics & Supply Chain) จะมี

คําวา โลจิสติกสสีเขียว (Green Logistics) และบรรจุภัณฑสี

เขียว (Green Packaging) ก็เปนสวนหนึ่งที่อาจเปนเงื่อนไข

ไดโดยเฉพาะองคกรใหญ ๆ ซึ่งเนนเรื่องภาพลักษณจะมี

นโยบายเรื่องนี้โดยถือเปนการรับผิดชอบตอสังคมและ

สิ่งแวดลอม (Corporate Social & Environmental Re-

sponsibility)อาทิ Walmart ไดรณรงคเรื่องบรรจุภัณฑที่ใช

ในการหีบหอสินคาจะตองเปนพลาสติกสลายไดทางชีวภาพ

(Compostable Bioplastics)

ดังนั้น การเตรียมตัวบรรจุภัณฑใหเขากับ

สถานการณของโลกสากลจึงเปนเรื่องที่มิอาจมองขามไป

และตองทําความเขาใจอยางถองแทถึงผลิตภัณฑพลาสติก

ชีวภาพ ซึ่งมีหลากหลายชนิด มีทั้งสลายตัวได และสลายตัว

ไมไดทางชีวภาพ เพื่อการสงออกที่พรอมที่จะแขงขันในเวที

โลก โดยจะอธิบายนําเสนอในลําดับตอไป

ในโลกปจจุบันจะไดยินบอยคร้ังถึงคําวามุงสูสีเขียว

(GO GREEN) ซึ่งมีความหมายใหรักษาสิ่งแวดลอม โดยลด

มลภาวะตางๆในการกอใหเกิดสภาวะโลกรอน (Global

Warming) และรักษาทรัพยากรธรรมชาติของโลกโดยใหใช

เพื่อการอุปโภคไดยาวนานที่สุด ทั้งนี้ตองตอบสนองนโยบาย

หลักสากล 3R คือ REDUCE (ใชทรัพยากรธรรมชาตินอย

ที่สุด) REUSE (นํามาใชซ้ําอีก) และ RECYCLE (แปลงเปน

วัสดุนํากลับมาใชใหม) ในดานการบริหารจัดการดาน

“มารูจักพลาสติกชีวภาพกันเถอะ”

หนา 1

บทความพิเศษ โดย รศ.ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม

นายกกิตติมศกัดิแ์ละประธานที่ปรึกษาสมาคมอตุสาหกรรมพลาสติกชวีภาพไทย

ประธานคณะกรรมการวิชาการรางมาตรฐานพลาสตกิสลายตวัไดทางชวีภาพ ส.ม.อ.

อดตี รองคณบดี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

E-mail : [email protected]

Page 2: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

ตองใชแสงอาทิตยเปนตัวเริ่มขับเคลื่อนวิธีการนี้มักใช

สารเติมแตงซึ่งมีสวนผสมของโลหะหนักในการเรงปฏิกิริยา

ภายใตอุณหภูมิสูงและมีกาซออกซิเจนมากพอ เรียกวาการ

แตกสลายแบบออกโซ (Oxodegradation) พลาสติกจึงเกิด

การแตกสลายใหเปนผงเล็กๆ (Disintegration) จนกระทั่ง

จุลินทรียสามารถจัดการกําจัดขยะพลาสติกไดหมดเรียกวา

การแตกสลายทางชีวภาพ (Biodegradation) แตก็ยังไมดี

และไมสมบูรณเพราะมีการทิ้งสารโลหะหนักไวใน

สิ่งแวดลอมซึ่งเปนพิษตอส่ิงมีชีวิต

ในปจจุบันมีการพัฒนากาวหนาขึ้นอีกระดับหนึ่ง

โดยไมใชสารโลหะหนักในการเรงปฏิกิริยา ซึ่งมีการแตก

สลายที่สมบูรณมากกวาเดิม ดังรูปที่1 ซึ่งเปรียบเทียบการ

แตกสลายระหวางพลาสติกธรรมดากับพลาสติกที่ผสม

สารเติมแตง

เมื่อประมาณ 15 ปที่ผานมา หลายประเทศทางซีก

ตะวันตกไดมีความพยายามที่จะผลิตพลาสติกทั่วไปที่ผลิต

จากปโตรเลียมใหมีการแตกสลายได( Degradable) โดย

การผสมแปงขาวโพดเขาไปในเนื้อพลาสติกแตมีปญหา

เกิดขึ้นมากมายจึงตองระงับไมใหใชวิธีดังกลาวเพราะแทนที่

จะลดมลภาวะทางดานสิ่งแวดลอม กลับกอใหเกิดความ

ยากลําบากในการจัดการกับเศษพลาสติกเล็ก ๆ ที่ไมถูกยอย

สลายไดพรอม ๆ กับแปงขาวโพด

หลังจากนั้นไดมีความพยายามคิดคนวิธีใหม โดย

การผสมตัวเรงใหโซโมเลกุลแตกแยกขาดใหสั้นลง ซึ่ง

พยายามเขาใจวาแตกสลายไดทั้งหมด การแตกสลายของ

พลาสติกที่ผสมสารเติมแตง (additive) ตองอาศัยแสงแดด

เปนตัวเริ่มขับเคลื่อนปฏิกิริยา แตการแตกสลายก็ยังไม

สมบูรณแบบทีเดียวเพราะตองพึ่งแสงแดดเทานั้น ถาหากถูก

ฝงกลบไวใตดินก็จะไมมีการแตกสลายไดเลยวิธีดังกลาวนี้

เรียกวาการแตกสลายดวยแสง (Photodegradation) วิธีนี้

อาจเหมาะสําหรับประเทศที่กําลังพัฒนาซึ่งใชวิธีกําจัดขยะ

โดยการเทกองบนพื้นดินแทนการฝงกลบดังนั้นขยะพลาสติก

ที่อยูดานนอกบนกองขยะที่ถูกแสงแดดก็จะแตกสลายไปได

จนเปนผงเล็ก ๆและถาดูเผิน ๆก็อาจเขาใจวาเศษขยะ

พลาสติกไดถูกกําจัดแลวแตถาดูใหละเอียดจะพบวาขยะ

พลาสติกยังแตกสลายไมสมบูรณในขณะที่ขยะพลาสติก

กําลังอยูในระหวางกระบวนการแตกสลายที่ยังไมหมด

สมบูรณ และถาถูกสิ่งมีชีวิตบริโภคเขาสูรางกายก็จะเปน

อันตรายถึงชีวิต เมื่อมีปริมาณสะสมในรางกายมากเกินควร

หลังจากนั้นก็มีการพัฒนาตอเนื่องโดยมีความ

พยายามแกไขจุดออนซึ่งใหขยะพลาสติกแตกสลายไดโดยไม

หนา 2

ความเปนมาของการพัฒนาพลาสติกชวีภาพเพ่ือชวยในการกําจัดขยะพลาสติก

รูปที่ 1 แสดงภาพการแตกสลายระหวางแผนฟลม HDPE ที่

ไมมีการผสมสารเติมแตงใด ๆ กับ แผนฟลม Cyberplast ที่

ผสมสารเติมแตง ซึ่งมีการแตกสลายทางชีวภาพ

Page 3: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

พลาสติกชีวภาพ (Bioplastics) จัดไดเปน 2

จําพวก หลัก ๆ คือ จําพวกสลายตัวไมไดทางชีวภาพ (Non

Compostable) และจําพวกสลายตัวไดทางชีวภาพ

(Compostable) และสามารถแบงทั้ง 2 จําพวกตอไดอีกโดย

แตละจําพวกแบงได 2 แบบ คือแบบ Petrobase และ แบบ

Biobase โดยคํานึงที่วัตถุดิบตนน้ําที่นํามาผลิต

ดังตารางที่ 1

แตก็ยังมีปญหาเชนเดิม กลาวคือ ถาในชวงที่กําลังแตก

สลายทางชีวภาพหรือการแตกสลายยังไมเสร็จสมบูรณ

และไดถูกบริโภคโดยสิ่งมีชีวิตก็จะเปนอันตรายไดอีกเชนกัน

ดังนั้น เพื่อใหมีความปลอดภัยตอสิ่งมีชีวิต จึงใช

วิธีการจัดการกําจัด ”ขยะ” โดยการฝงกลบและหลอปดตาย

อยางมิดชิดและแข็งแรงมั่นคง เพื่อไมใหสวนใด ๆ ที่

หลงเหลือเล็ดลอดออกมาสูส่ิงแวดลอมภายนอก วิธีนี้อาจ

อนุโลมใหใชไดและจะเหมาะสมกับประเทศที่มีพื้นที่กวาง

ใหญไพศาล เชน อเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย และจีน

เปนตน แตวิธีนี้จะไมมีผลตอบแทนที่มีคุณคาตอการชวยลด

สภาวะโลกรอนได เพราะมีกาซคารบอนไดออกไซด CO2

และมีเธน CH4 ระเหยออกจากแหลงฝงกลบเขาสูบรรยากาศ

ซึ่งกอใหเกิดสภาวะโลกรอนเพิ่มขึ้นไดตอไป

หนา 3

พลาสติกชวีภาพที่ไดจากการพัฒนาตอเนื่อง

ตารางที่ 1 แสดงการแบงแยกชนิดของพลาสติกชีวภาพ

Page 4: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

ดังนั้นพลาสติกจําพวก Compostable ที่กลาวมา

ขางตนนี้ จะใหมูลคาคารบอนเครดิตเนื่องจากเมื่อสลายตัว

แลวกลายเปนปุยหมักซึ่งใชปลูกพืชไดเพราะกาซ

คารบอนไดออกไซดที่ไดจากการหมักปุยถูกพืชใชใน

กระบวนการสังเคราะหแสงโดยแปลงเปนกาซออกซิเจนซึ่ง

เปนประโยชนคืนสูบรรยากาศตอไปตัวอยางการสลายตัวได

ทางชีวภาพของแผนฟลม EcoAbsolute ในชวงเวลาหนึ่ง ๆ

จนกลายเปนปุยหมัก ดังแสดงในรูปที่ 2

จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวาไมเพียงแตไดเขาใจ

ถึงการจําแนกพลาสติกชีวภาพอยางแทจริงยังทําใหเขาใจถึง

ความแตกตางของกระบวนการแตกสลายทางชีวภาพ และ

การสลายตัวไดทางชีวภาพอยางชัดเจนดังสรุปขั้นตอนตางๆ

ในตารางที่ 2

ในจําพวก Non compostable ที่เปนแบบ Petro-

base เปนพลาสติกธรรมดาทั่วไปแตไดผสมสารเติมแตง

เพื่อใหเกิดการแตกเปนสวนเล็ก ๆ เรียกวา Disintegration

และมีชื่อวาเปนพวกพลาสติกปรุงแตง (Compound) ซึ่ง

พยายามเขาใจวาการแตกสลายจนมีขนาดเล็กพอที่จุลินทรีย

สามารถทําลายไดจึงมักเรียกกระบวนการนี้วา การแตก

สลายทางชีวภาพ (Biodegradation) อยางไรก็ตาม

กระบวนการนี้ก็ยังไมสมบูรณ และอาจเปนอันตรายตอ

สิ่งมีชีวิตไดดังที่เคยกลาวมาแลว

สําหรับอีกแบบหนึ่งที่อยูในจําพวก Non com-

postable ที่เปนแบบ Biobase เปนพลาสติกที่ผลิตจากพืช

แตไมสามารถสลายตัวกลายเปนปุยหมักได เพราะสลายตัว

ไมไดทางชีวภาพโดยเปนพลาสติกที่มีความคงทนเหมือน

พลาสติกทั่วไปจึงเรียกอีกชื่อวา พลาสติกสีเขียว (Green

Plastics) และมีคุณคาตอการชวยรักษาสิ่งแวดลอมโดยมี

มูลคาคารบอนเครดิต (Carbon Credit) ซึ่งเปนที่ตองการ

ของตลาดในอนาคต

จากตารางที่ 1 จะเห็นไดวา ในจําพวก Com-

postable ก็มีแบบ Petrobaseและแบบ Biobase เชนกัน

สําหรับแบบ Petrobase เปนพลาสติกชีวภาพที่ผลิตจาก

วัตถุดิบตนน้ํา ที่ไดจากการกลั่นน้ํามันปโตรเลียมโดย

สามารถผลิตเม็ดพลาสติก PBS PBSA PBAT PCL เปนตน

และมีความพยายามผลิตเม็ดพลาสติกดังกลาวจากพืชใน

อนาคตสวนแบบ Biobase เปนพลาสติกชีวภาพที่ผลิตจาก

พืชโดยมีแปงหรือน้ําตาลเปนวัตถุดิบตนน้ําอาทิแปงขาวโพด

แปงมันสําปะหลังน้ําตาลจากออย เปนตนและสามารถผลิต

เม็ดพลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ เชน PLA PHA PHB

เปนตน

หนา 4

รูปท่ี 2 แสดงภาพการสลายตัวไดทางชีวภาพภายใตกระบวนการ

สลายตัวไดในชวงเวลาหนึ่งจนกลายเปนปุยหมักของแผนฟลม

พลาสติก EcoAbsolute

Page 5: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

จากนี้ไปคงเปนที่เขาใจอยางถองแทกันแลวในชื่อ

เหลานี้วามีความหมายเฉพาะใดๆ อาทิ

- พลาสติกชีวภาพ (Bioplastics)

- พลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ

(Compostable Bioplastics)

- พลาสติกแตกสลายไดทางชีวภาพ

(Biodegradable Plastics)

พลาสติกชีวภาพเหลานี้ มีผลตอธรรมชาติและ

ความสมดุลของสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ

จัดการและการกําจัด “ขยะ”พลาสติกอยางเปนระบบและ

ถูกตองดวยการใชพลาสติกชีวภาพจะสงผลใหไดประสิทธิผล

ที่ดีสมคุณคาของการสรางนวัตกรรมวัตถุดิบและผลิตภัณฑ

เหลานี้อยางแทจริงจึงจําตองสรางความเขาใจถึงความหมาย

จากตารางที่2 แสดงผังภูมิการแตกสลายทาง

ชีวภาพ และการสลายตัวไดทางชีวภาพ ซึ่งอาจสรุปไดดังนี้

“กระบวนการสลายตัวไดทางชีวภาพจะตองผาน

กระบวนการแตกสลายทางชีวภาพกอน แลวจึงสิ้นสุดที่

กระบวนการหมักปุยโดยการสลายตัวไดทางชีวภาพกลับคืน

สูดินธรรมชาติในรูปของปุยหมัก” สวนพลาสติกที่ใสสารเติม

แตงจนแตกสลายไดทางชีวภาพจะสิ้นสุดกระบวนถึงแคจุดนี้

เทานั้น โดยไมสามารถไปตอถึงกระบวนการสลายตัวไดทาง

ชีวภาพเพราะไมใชเปนพลาสติกชีวภาพแบบสลายตัวไดทาง

ชีวภาพ หรือกลาวอีกแบบไดคือ “พลาสติกชีวภาพที่เปน

แบบแตกสลายทางชีวภาพ ไมจําเปน ตองเปนพลาสติก

ชีวภาพแบบสลายตัวไดทางชีวภาพ แตพลาสติกชีวภาพที่

เปนแบบสลายตัวไดทางชีวภาพ จะตองเปน พลาสติก

ชีวภาพแบบแตกสลายไดทางชีวภาพ”

หนา 5

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบกระบวนการการแตกสลายทางชีวภาพ (Biodegradable)

และ การสลายตัวไดทางชีวภาพ (Compostability)

มาตรฐานพลาสติกชีวภาพ

Page 6: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

ปจจุบันปญหาใหญเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมคือ ”ขยะ”

ซึ่งขยะจากครัวเรือนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วประมาณ 1

กิโลกรัม / คน / วัน และในกองขยะมีขยะพลาสติกกวารอย

ละ 30 และในสวนนี้มีรอยละ 60 เปนพลาสติกที่เปอนขยะ

อินทรีย ดังนั้นการแยกขยะแบบวิธีเดิม ๆ จึงใหประสิทธิผลที่

ดีไดยากลําบากจนเกือบเปนไปไมไดเลยเพราะพลาสติกที่

เปอนขยะอินทรีย เชน น้ํามันจากเศษอาหารยากที่จะทํา

ความสะอาดเพื่อนําไปรีไซเคิล ใหกลับเปนเม็ดพลาสติกที่มี

คุณภาพไดราคาดีและปลอดภัย

ความสมบูรณแบบของการกําจัดขยะพลาสติก

ชีวภาพที่สลายตัวไดทางชีวภาพ ทําใหเราสามารถบริหาร

จัดการ ”ขยะ” แบบใหม ดังแสดงเปนแผนภูมิ ในรูปที่ 3

ดังนั้นในโลกสากล จึงมีการต้ังมาตรฐานขอตกลงที่

ชัดเจนในกรอบของพลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพเพราะ

เปนนวัตกรรมที่ใหผลิตภัณฑที่สมบูรณแบบ และเปนคําตอบ

ของการรักษาธรรมชาติและความสมดุลของสิ่งแวดลอมที่

แทจริง กลาวคือ จะไมปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเกินดุล

สูอากาศ ในที่นี้ตั้งชื่อวา “มาตรฐานพลาสติกสลายตัวไดทาง

ชีวภาพ”โดยมีใชในองคกรทั้งทาง ยุโรป อเมริกา ญี่ปุน

ออสเตรเลีย ฯลฯและกําลังพัฒนาใหใชมาตรฐานเดียวกันทั้ง

โลก คือ มาตรฐาน ไอ เอส โอ (ISO 17088) ในอนาคตสวน

ประเทศไทยไดใชมาตรฐานที่อิง ISO ซึ่งกําลังจะประกาศใช

ตอไปโดยเฉพาะเนนเรื่องความเปนสากล เพราะสินคาไทย

สงออกทั้งหมดมีมูลคารวมสูงกวารอยละ 65 ของรายไดจาก

ผลิตภัณฑมวลรวมของชาติ (GDP)

หนา 6

ขอเสนอแนะและวิธีการจัดการ “ขยะ”พลาสติกที่เหมาะสม

หลักการบริหารจัดการพลาสติกบรรจุภัณฑใชครั้งเดียวทิ้ง แบงเปน 2 ประเภท - พลาสติกสลายตัวไมไดทางชีวภาพ (พลาสติกทั่วไป)

- พลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ (COMPOSTABLE BIOPLASTICS)

พลาสติกใชคร้ังเดียวทิง้

ถงุพลาสติกทั่วไป ถุงพลาสติกชีวภาพ

ถุงใสเศษอาหาร (บาน)

ถุงใสสินคา (สาธารณะ)

บรรจขุยะอินทรีย

ใชปลูกพืชตอไป

ถุงบางแจก ถงุหนาขาย

ใชเปนเชื้อเพลงิพลงังาน

แยกขยะ

บาน สาธารณะ

เผา

สกปรก สกปรก

ขยะครัวเรือน

กทม : แจก หาง : ขาย

โรงหมักปุย

ปุยหมัก

เม็ดพลาสติก

รไีซเคิล

(ควรระงับ)

สะอาดสะอาด

DR.PHIETOON

2009

รูปที่ 3 แสดงแผนภูมิหลักการบริหารจัดการพลาสติกบรรจุภัณฑใชครั้งเดียวทิ้ง

Page 7: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

พลาสติกธรรมดาที่เปอนไขมันจากอาหารในขยะพลาสติกที่

จะนําไปรีไซเคิลตอไป

การตลาดของพลาสติกชีวภาพแบบสลายตัวไดทางชีวภาพ

ยังมีขอจํากัดอยูบางคือ

1.เปนสินคาในรูปนวัตกรรมใหมที่มีการใชไมแพรหลาย

2.มีราคาสูงกวาพลาสติกธรรมดา 3 เทา แตเมื่อมีการอุปโภค

มากขึ้น ก็จะมีการลดราคาลง

3. จํานวนการผลิตยังไมเต็มที่เพราะเปนตลาดใหม ความ

เขาใจของผูอุปโภคยังไมถองแท

ปจจุบันแนวโนมการตลาดมักเนนไมเพียงแต

คุณภาพและรูปแบบของสินคา แตตองเนนเรื่องความ

รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม (Corporate Social &

Environment Responsibility : CSER) และผลิตภัณฑ

พลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพทําหนาที่นี้ไดอยางสมบูรณ

แบบ และดีเยี่ยม

ปจจุบันประเทศพัฒนาที่มีความเอาใจใสอยางยิ่ง

ตอพลาสติกชีวภาพนี้ไดแก ยุโรป และญ่ีปุน สวน อเมริกา

และออสเตรเลีย ยังมีการใชพลาสติกแตกสลายไดทาง

ชีวภาพ (Biodegradable Plastics)เพราะทั้งอเมริกา และ

ออสเตรเลียมีพื้นที่กวางใหญไพศาล การกําจัดขยะแบบฝง

กลบปดสนิทยังกระทําไดจึงยังมีการอนุโลมใชพลาสติกที่ใส

สารเติมแตงใหแตกสลายไดทางชีวภาพ ตราบเทาที่ไมใช

สารเติมแตงที่มีโลหะหนักและมีการปดพื้นที่ฝงกลบไดอยาง

สนิทและมั่นคง

จากรูปที่ 3 สามารถแบงการแยกเก็บขยะครัวเรือนซึ่งรวมถึง

ขยะจากบานเรือน รานคา โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ ดังนี้

1.ใชถุงขยะชนิดพลาสติกชีวภาพที่สลายตัวไดทาง

ชีวภาพเพื่อใสขยะอินทรียโดยเฉพาะ และมีการมาจัดเก็บ

สัปดาหละ 2-3 ครั้ง ซึ่งถุงขยะดังกลาวควรเก็บไวนอกบาน

เพราะมีกลิ่นไมพึงประสงค เมื่อเจาหนาที่มาจัดเก็บก็

สามารถแยกไดชัดเจนและลําเลียงถุงขยะอินทรียสงเขาสูโรง

หมักปุยแบบใหอากาศผาน เพื่อเขาสูกระบวนการทําใหเกิด

เปนปุยหมักสําหรับใชประโยชนในการเพาะปลูกตอไป

2. ใชถุงพลาสติกธรรมดาที่สามารถนําไปรีไซเคิล

ไดสําหรับใสขยะทั่วไปโดยใหแยกเปน 3 ถุง

- ถุงที่ 1 สําหรับใสขยะกระดาษ/พลาสติก

- ถุงที่ 2 สําหรับใสขยะกระปอง/ขวดแกว

- ถุงที่ 3 สําหรับใสขยะขยะพิษ (ถามี)

ถุงดังกลาวไมจําเปนตองเก็บไวนอกบาน เจาหนาที่

จะมาเก็บทุก 10-15 วันเพื่อนําไปแยกในโรงรีไซเคิลไดอยาง

มีประสิทธิภาพตอไป

การบริหารจัดการ “ขยะ” ดวยวิธีดังกลาวขางตน

จําเปนตองมีการสรางความเขาใจโดยการผานสื่อบอยคร้ัง

อยางสม่ําเสมอทั่วทุกรูปแบบของสื่อในตอนแรกอาจตองใช

งบประมาณมากบาง เพื่อเนนความเขาใจจนกวาจะสราง

ความเคยชินใหมีวินัยอยางดีผลที่ตอบแทนจาก ”ขยะ” ที่

แยกจากตนตอคือจะไดผลิตภัณฑที่มีคุณภาพดีมีมูลคาสูง

ทั้งทางดานเศรษฐกิจ และการรักษาสิ่งแวดลอม

ในอนาคตหากมีการใชพลาสติกชีวภาพแบบ

สลายตัวไดทางชีวภาพอยางสมบูรณก็ย่ิงทําใหมีการกําจัด

“ขยะ” ที่มีประสิทธิผลดีเยี่ยม และถามีการสงเสริมใหใช

ภาชนะหีบหอบรรจุอาหารที่ใชคร้ังเดียวแลวทิ้ง จะตองผลิต

จากพลาสติกชีวภาพดังที่กลาวเทานั้น ก็จะไมมีขยะ

หนา 7

ขอจํากัด และอุปสรรคทางการตลาด

Page 8: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

5. เพิ่มมูลคาการสงออก เพราะตลาดโลกมีความ

ตองการสูง จะไดดุลการคาเพิ่มขึ้น

6. ประเทศไทยมีทรัพยากรทางชีวมวลมาก ควร

สนับสนุนสงเสริมใหเปนศูนยการผลิตพลาสติกชีวภาพของ

เอเชียไดเปนอยางดี และดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ

เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ

7. ในอนาคตมูลคาทาง Carbon Credit ที่ไดจาก

การผลิตพลาสติกชีวภาพจะมีคาสูงขึ้น และประเทศไทยจะ

ไดประโยชนทางดานนี้เปนอยางมากดวย

ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ผลิตผลทาง

การเกษตรมีมาก ในกองขยะกวารอยละ 50 เปนขยะอินทรีย

จึงมีความเหมาะสมที่จะใชมาตรการการแยก “ขยะ”

ดังกลาวขางตน โดยใชถุงพลาสติกชีวภาพแบบสลายตัวได

ทางชีวภาพและถามีการใชถุงนี้ในการบรรจุอาหารก็จะยิ่ง

สมบูรณและไดประสิทธิผลดีเยี่ยม

การสงเสริมใหมีการผลิตพลาสติกชีวภาพแบบที่

กลาวขางตนนี้ จากแปงมันสําปะหลัง จะชวยชาวไรเปน

อยางดี เมื่อมีปริมาณลนตลาด ราคาจะไมตกต่ําตามฤดูกาล

โดยเสมือนหนึ่งเปนการแชแข็งมันสําปะหลัง โดยการแปรรูป

เปนเม็ดพลาสติกเพื่อการสงออก ในอนาคตคาดวาความ

ตองการแปงมันสําปะหลังจะมากขึ้นเพราะยังมีตลาดรองรับ

ไดอีกมากปจจุบันการผลิตพลาสติกชีวภาพทุกชนิดรวมกัน

ในตลาดโลกมีสัดสวนเปนเพียง 1 ตอ 1000 ของพลาสติก

ธรรมดาทั่วไป

พลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ (Compostable Plastics)

ใหผลประโยชนตอหลายภาคสวนดังสรุปพอสังเขปไดดังนี้

1. ทําใหการจัดการสิ่งแวดลอมดาน “ขยะ”

ครัวเรือนดีเยี่ยม และไดผลิตผลตอเนื่องที่มีมูลคาเต็มทุก

รูปแบบ

2. ถามีการแยกขยะตั้งแตตนตอ จะทําให

สิ่งแวดลอมดีขึ้นโดยมลภาวะทางกลิ่นของกองขยะที่เทกอง

บนพื้นดินถูกกําจัดใหหมดไป

3. ชวยลดสภาวะโลกรอนได โดยไมกอใหเกิดกาซ

คารบอนไดออกไซดสวนเกินเขาสูบรรยากาศ

4. ชวยเศรษฐกิจชาวไรมันสําปะหลังใหมี

เสถียรภาพของราคาที่มั่นคงกวาเดิม

หนา 9

สรุปประโยชนดานเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม

สุดทายนี้ทางทีมงานเวบไซต http://plastic.oie.go.th/

ตองขอขอบพระคุณทานรองศาสตราจารย ดร.พิฑูร

ตรีวิจิตรเกษม ที่กรุณาใหความอนุเคราะหบทความที่เปน

ประโยชนใหเผยแพรมา ณ ที่นี้ดวยครับ

Page 9: ป ที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ ...plastic.oie.go.th/Articles/2010/02/Plastic Intelligence... · 2010-02-10 · ป ที่ 2

ชั้น 18 อาคาร ปตท.

555 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร

เขตจตจุักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท : 02-537-3598

โทรสาร : 02-537-3591

เว็บไซต : http://www.ptit.org

สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย

จัดทําโดย

สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1

กระทรวงอุตสาหกรรม

75/6 ถนนพระราม 6 เขตราชเทว ี

กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท : 02-202-4274 02-202-4284

โทรสาร : 02-644-7023

เว็บไซต : http://www.oie.go.th

สํานักงานเศรษฐกิจอตุสาหกรรม

สนับสนุนโดย

หนา 6