9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง...

40
236 หนวยเรียนที9 เลือดและของเหลวในรางกาย จุดประสงค เขาใจองคประกอบและหนาที่ของเลือดและของเหลวในรางกาย 1. บอกองคประกอบ หนาทีและคุณสมบัติทั่วไปของเลือด 2. อธิบายลักษณะทั่วไปและโครงสรางของเม็ดเลือด 3. บอกชนิดและองคประกอบของของเหลวในเลือด 4. อธิบายกลไกปองกันรางกาย องคประกอบ หนาทีและคุณสมบัติทั่วไปของเลือด 1. องคประกอบและหนาที่ของเลือด เลือดเปนเนื้อเยื่อประสานมีเซลลเรียกวา เม็ดเลือด (blood cells หรือ blood corpuscles) และมีอินเตอรเซลลูลาร ซับสแตนสเปนของเหลวเรียกวา พลาสมา (รูปที9.1 แสดงองคประกอบของเลือด) เลือดมีหนาที่ดังนี1.1 นําสารอาหารที่ยอยแลวจากระบบยอยอาหารไปเลี้ยงเนื้อเยื่อของรางกาย 1.2 นําออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ และนําคารบอนไดออกไซดจากเนื้อเยื่อไปยังปอด โดย การทํางานขององคประกอบที่สําคัญที่อยูในเลือด 1.3 นําของเสียจากเนื้อเยื่อของรางกายไปสูไตเพื่อขับออกนอกรางกาย ในรูปของปสสาวะ 1.4 นําฮอรโมนจากตอมไรทอไปสูอวัยวะเปาหมาย เนื่องจากตอมไรทอไมมีทอนําฮอรโมนไปยัง อวัยวะเปาหมาย จึงอาศัยการดูดซึมเขาสูกระแสเลือดกระจายไปทั่วรางกายแลวมีผลตออวัยวะเปาหมาย 1.5 ชวยควบคุมอุณหภูมิของรางกาย โดยการเพิ่มอัตราการไหลเวียนเพื่อระบายความรอนออก มา ผานทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ําในรางกาย ถามีน้ํามากก็มีการขับออกมาทางปสสาวะ และทาง เหงื่อ โดยน้ําจะไปกับกระแสเลือด 1.7 ควบคุมความเปนกรด ดางของเนื้อเยื่อ และของเหลวในเนื้อเยื่อ โดยไบคารบอเนตที่มี อยูในเลือด ทําหนาที่เปนบัฟเฟอร (buffer) 1.8 คุณสมบัติในการเเข็งตัวของเลือด ชวยไมใหเลือดไหลออกนอกรางกายมากเกินไปจนเกิด อันตราย เมื่อเกิดบาดแผล 1.9 ในเลือดมีองคประกอบหลายอยางที่ชวยในการตอตานเชื้อโรค เชน เม็ดเลือดขาว และ ภูมิคุมกันที่โปรตีนที่เรียกวา แอนตีบอดี (antibody) 2. คุณสมบัติทั่วไปของเลือด เลือดมีคุณสมบัติเฉพาะตัวหลายประการดังนี2.1 ความเปนกรด-ดาง เลือดมีคาความเปนกรด-ดางอยูระหวาง 7.35 - 7.45 ความเปนกรด- ดางของเลือดคอนขางคงทีเนื่องจากมีโซเดียม ไบคารบอเนต (sodium bicarbornate) เปน

Transcript of 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง...

Page 1: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

236

หนวยเรียนท่ี 9 เลือดและของเหลวในรางกาย จุดประสงค เขาใจองคประกอบและหนาท่ีของเลือดและของเหลวในรางกาย

1. บอกองคประกอบ หนาท่ี และคุณสมบัติท่ัวไปของเลือด

2. อธิบายลักษณะท่ัวไปและโครงสรางของเม็ดเลือด

3. บอกชนิดและองคประกอบของของเหลวในเลือด

4. อธิบายกลไกปองกันรางกาย

องคประกอบ หนาท่ี และคุณสมบัติท่ัวไปของเลือด

1. องคประกอบและหนาท่ีของเลือด เลือดเปนเน้ือเยื่อประสานมีเซลลเรียกวา เม็ดเลือด (blood

cells หรือ blood corpuscles) และมีอินเตอรเซลลูลาร ซับสแตนสเปนของเหลวเรียกวา พลาสมา

(รูปท่ี 9.1 แสดงองคประกอบของเลือด) เลือดมีหนาท่ีดังน้ี

1.1 นําสารอาหารท่ียอยแลวจากระบบยอยอาหารไปเลี้ยงเน้ือเยื่อของรางกาย

1.2 นําออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยงเน้ือเยื่อ และนําคารบอนไดออกไซดจากเน้ือเยื่อไปยังปอด โดย

การทํางานขององคประกอบท่ีสําคัญท่ีอยูในเลือด

1.3 นําของเสียจากเนื้อเยื่อของรางกายไปสูไตเพื่อขับออกนอกรางกาย ในรูปของปสสาวะ

1.4 นําฮอรโมนจากตอมไรทอไปสูอวัยวะเปาหมาย เน่ืองจากตอมไรทอไมมีทอนําฮอรโมนไปยัง

อวัยวะเปาหมาย จึงอาศัยการดูดซึมเขาสูกระแสเลือดกระจายไปท่ัวรางกายแลวมีผลตออวัยวะเปาหมาย

1.5 ชวยควบคุมอุณหภูมิของรางกาย โดยการเพ่ิมอัตราการไหลเวียนเพื่อระบายความรอนออก มา

ผานทางผิวหนัง และระบบหายใจ

1.6 ควบคุมความสมดุลของนํ้าในรางกาย ถามีนํ้ามากก็มีการขับออกมาทางปสสาวะ และทาง

เหงื่อ โดยนํ้าจะไปกับกระแสเลือด

1.7 ควบคุมความเปนกรด – ดางของเน้ือเยื่อ และของเหลวในเนื้อเยื่อ โดยไบคารบอเนตท่ีมี

อยูในเลือด ทําหนาท่ีเปนบัฟเฟอร (buffer)

1.8 คุณสมบัติในการเเข็งตัวของเลือด ชวยไมใหเลือดไหลออกนอกรางกายมากเกินไปจนเกิด

อันตราย เม่ือเกิดบาดแผล

1.9 ในเลือดมีองคประกอบหลายอยางท่ีชวยในการตอตานเชื้อโรค เชน เม็ดเลือดขาว และ

ภูมิคุมกันท่ีโปรตีนท่ีเรียกวา แอนตีบอดี (antibody)

2. คุณสมบัติท่ัวไปของเลือด เลือดมีคุณสมบัติเฉพาะตัวหลายประการดังน้ี 2.1 ความเปนกรด-ดาง เลือดมีคาความเปนกรด-ดางอยูระหวาง 7.35 - 7.45 ความเปนกรด-

ดางของเลือดคอนขางคงท่ี เน่ืองจากมีโซเดียม ไบคารบอเนต (sodium bicarbornate) เปน

Page 2: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

237

รูปท่ี 9.1 แผนผังองคประกอบของเลือด ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Martini (2006)

Page 3: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

238

บัฟเฟอรท่ีเปนตัวทําปฏิกิริยากับกรดหรือดาง ไดเกลือท่ีเปนกลางกับกรดออนหรือดางออน ปฏิกิริยา

ดังกลาว เรียกวา ระบบกรดคารบอนิก (carbonic acid system) ซึ่งเขียนเปนปฏิกิริยาไดดังน้ี

HCl + NaHCO3 NaCl + H

2CO

3 ; NaOH+H

2CO

3 NaHCO

3+H

2O ;

H2CO

3 CO

2+H

2O [จากปฏิกิริยาน้ีเรียกวา ดางสํารอง (alkaline reserve) โดยการสราง

ไบคารบอเนต ไอออน] 2.2 การแข็งตัวของเลือด (blood clotting หรือ blood coagulation) การแข็งตัวของเลือด

จะเกิดขึ้นเม่ือเลือดถูกดูดออกจากรางกาย ต้ังท้ิงไวน่ิง ๆ จะทําใหเกิดสารท่ีมีลักษณะเหนียวจมลง

เปนกอนอยูดานลาง และเกิดเปนสวนนํ้าใสอยูโดยรอบเรียกวา ซีรัม สวนท่ีเปนกอนประกอบดวยเสนใย

ของไฟบรินรวมกันอยูกับเม็ดเลือด คุณสมบัติน้ีเองชวยใหเกิดการแข็งตัวของเลือดในรางกายท่ีเปน

กระบวนการหยุดการไหลของเลือด (hemostasis) เปนกลไกการปองกันการสูญเสียเลือดของรางกาย

เม่ือเน้ือเยื่อถูกทําลาย หรือ เกิดการฉีกขาดของหลอดเลือด กระบวนการหยุดการไหลของเลือดแยกได

3 ระยะคือ 2.2.1 ระยะของหลอดเลือด (vascular phase) ระยะน้ีหลอดเลือดท่ีฉีกขาดหรือเสียหาย

จะหดตัวเพ่ือลดปริมาณเลือดท่ีมาไหลเวียนบริเวณบาดแผล (รูปท่ี 9.2) การหดตัวของหลอดเลือด

รูปท่ี 9.2 กระบวนการแข็งตัวของเลือดระยะของหลอดเลือด ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Martini (2006)

ดังกลาวเกิดจากรีเฟล็กซเฉพาะแหงของกลามเน้ือเรียบ เปนผลมาจากการกระตุนประสาทซิมพาเธติก

กระบวนการน้ีเกิดภายนอกหลอดเลือด (extravascular hemostasis) อีกกระบวนการหน่ึงเกิดภายใน

หลอดเลือด (intravascular hemostasis) การหดตัวของหลอดเลือดทําใหเซลลบุหลอดเลือดท่ีเสียหาย

ไมราบเรียบ และสูญเสียสภาวะไมเปยกนํ้า ทําใหเกล็ดเลือด (platelet) ไปสัมผัสกับชั้นของเซลลท่ีอยู

ติดกับชั้นลางของเซลลเอนโดทีเลียม (subendothelial cell) และเสนใยคอลลาเจนหรือเสนใยยืดหยุน

Page 4: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

239

2.2.2 ระยะของเกล็ดเลือด (platelet phase) การเกิดกอนของเกล็ดเลือดเกิดขึ้นโดย

เกล็ดเลือดจะบวม และเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงตัวเองเรียกวา วิสคอส เมตาโมโฟซิส (viscous

metamorphosis) กระบวนการน้ีทําใหเกล็ดเลือดเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยผิวหนาของเยื่อหุมมีความ

หนืดมากขึ้น และมีการหลั่งเอดีพี ซึ่งจะไปชวยเรงเกล็ดเลือดอื่น ๆ ท่ีอยูในบริเวณเดียวกันใหเกิด

เมตา-โมโฟซิส ซึ่งจะทําใหเกิดการเกาะตัวกันของเกล็ดเลือดไดดีขึ้นเรียกวา กระบวนการรวมตัวกันของ

เกล็ดเลือด (platelet aggregation) ซึ่งจะเกิดขึ้นภายใน 15 วินาทีหลังจากเกิดบาดแผล ท้ัง

กระบวนการเมตาโมโฟซิส และกระบวนการรวมตัวกันของเกล็ดเลือด ทําใหเกิดกอนของเกล็ดเลือด

(platelet plug) และรวมกันเปนลิ่มเลือด (thrombus) ดังรูปท่ี 9.3 อุดรอยฉีกขาดของหลอดเลือด

รูปท่ี 9.3 กระบวนการแข็งตัวของเลือดระยะของเกล็ดเลือด

ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Martini (2006)

เม่ือเกล็ดเลือดมาถึงบริเวณท่ีเกิดบาดแผล เกล็ดเลือดจะถูกกระตุนใหมีการพัฒนา

ตัวเองใหมีรูปรางกลมมากขึ้น และมีการเจริญของไซโตพลาสมิก โปรเซส (cytoplasmic process) ท่ี

เปนสวนยื่นออกจากเกล็ดเลือดเพื่อชวยในการยึดเกาะเกล็ดเลือดท่ีอยูบริเวณขางเคียง ในระยะน้ีหลอด

เลือดจะหลั่งสารออกมาหลายชนิด ไดแก

(1) เอดีพีชวยในการรวมตัวกันของเกล็ดเลือด

(2) ทรอมบอกเซน เอ2 (thromboxane A

2 ) และซีโรโตนิน (serotonin) กระตุนให

หลอดเลือดหดตัว เพ่ือลดปริมาณเลือดท่ีไหลเวียนมาบริเวณท่ีหลอดเลือดฉีกขาด (3)ปจจัยในการแข็งตัวของเลือดท่ีเปนโปรตีนท่ีมีบทบาทสําคัญในการแข็งตัวของเลือด

(4) ปจจัยในการเจริญจากเกล็ดเลือด หรือ พีดีจีเอฟ (platelet - derived growth

factor ; PDGF) ท่ีชวยในการซอมแซมรอยฉีกขาดของหลอดเลือด

(5) แคลเซียม ไอออน ซึ่งมีความจําเปนในการรวมกันของเกล็ดเลือด

Page 5: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

240

นอกจากน้ีเกล็ดเลือดยังหลั่งอีพิเนฟริน และนอรอีพิเนฟริน สารดังกลาวจะถูกหลั่งออก

มาเพื่อเหน่ียวนําใหเกิดการรวมตัวกันของเกล็ดเลือด และสารชื่อแฟกเตอร III (platelet factor III ; PF-

III) เปนสารในกลุมฟอสฟอไลปด ซึ่งเปนปจจัยชนิดหน่ึงของกระบวนการแข็งตัวของเลือด (ปจจัยใน การ

แข็งตัวของเลือดอยูในตารางท่ี 9.1) ท่ีชวยทําใหเกิดโปรทรอมบิน แอกติเวเตอร (prothrombin activator) หรือบางทีเรียกวา พลาสมา ทรอมโบพลาสติน (plasma thromboplastin)

ในกระบวนการน้ี จะมีการแตกของเยื่อหุมเกล็ดเลือด ทําใหเอทีพีและทรอมโบสเธนิน

(thrombosthenin) ซึ่งเปนโปรตีนท่ีทําหนาท่ีในการหดตัวจะถูกหลั่งออกมา เพ่ือชวยในการหดตัวของ

หลอดเลือดและยังมีสวนชวยการยึดกอนเลือดท่ีเกิดขึ้นไมใหเขาสูซีรัม ดังน้ันการจับตัวกันของเกล็ดเลือด

จะถูกจํากัดใหอยูตรงรอยฉีกขาดของหลอดเลือดเทาน้ัน กระบวนการน้ีเรียกวา ซินเนอรีซิส (syneresis)

ในกระบวนการน้ีมีปจจัยหลายอยางเขามาเกี่ยวของ ไดแก

(1) พรอสตาไซคลิน (prostacyclin) เปนอนุพันธของพรอสตาแกลนดิน (prosta-

glandin) ท่ีหลั่งโดยเกล็ดเลือดเพื่อปองกันการเกาะตัวกันของเกล็ดเลือดในสภาวะปรกติ (2) สารบางชนิดท่ีทําหนาท่ียับยั้งท่ีหลั่งจากเม็ดเลือดขาว จะปองกันการเกาะตัวกัน

ของเกล็ดเลือดในสภาวะปรกติ (3) เอ็นไซมในพลาสมาบางชนิดทําหนาท่ีสลายเอดีพีใกล ๆ กับบริเวณท่ีมีการเกาะ

ตัวของเกล็ดเลือด (4) สารหลายชนิดท่ีปองกันการเกาะตัวกันของเกล็ดเลือด เชน ซีโรโตนินท่ีมีความเขม

ขนสูงจะขัดขวางการทํางานของเอดีพี (5) การเกิดกอนเลือด ซึ่งจะกระตุนการรวมตัวของเกล็ดเลือด จะเปนตัวแยกบริเวณท่ี

มีการรวมกันของเกล็ดเลือดออกจากการไหลเวียนของเลือดท่ัวไปในรางกาย 2.2.3 ระยะของการเกิดกอนเลือด (coagulation phase) ระยะน้ีจะเกิดหลังจากการฉีก

ขาดของเสนเลือดอยางนอย 30 วินาที หรือหลังจากน้ี ไมไดเกิดอยางรวดเร็วเหมือนกับระยะของหลอด

เลือด และระยะของเกล็ดเลือด ระยะของการเกิดกอนเลือดน้ีมีเหตุการณท่ีซับซอนมากมายในการ

เปลี่ยนไฟบริโนเจนที่อยูในระบบหมุนเวียนเลือด ไปเปนไฟบรินท่ีเปนโปรตีนท่ีไมละลายนํ้า ไฟบรินทํา

หนาท่ีดักเกล็ดเลือดใหมารวมกันเปนกอนเลือดอุดปากแผล (ขั้นตอนของการเกิดทรอมบินและไฟบริน

อยูในรูปท่ี 9.4 และ 9.5 และระยะของการเกิดกอนเลือดอยูในรูปท่ี 9.6)

กระบวนการแข็งตัวของเลือดใชเวลาประมาณ 15 วินาทีถึง 2 นาทีหลังจากเกิดบาดแผล

และกระบวนการจะสิ้นสุดกินเวลาประมาณ 5 นาทีขึ้นกับชนิดของสัตว ในการทํางานน้ีมีปจจัยในการแข็ง

ตัวของเลือด (blood clothing factor) มาเกี่ยวของดวยหลายชนิดดังรูปท่ี 9.4, 9.5, 9.6 และตารางท่ี

9.1 กระบวนการดังกลาวจะมีกระบวนการสมานแผลเกิดขึ้นตามมาอยางชา ๆ โดยไฟโบรบลาสทจะ

Page 6: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

241

เคลื่อน ยายเขาสูกอนเลือด และสรางเน้ือเยื่อเสนใยซึ่งใชเวลาประมาน 7 – 10 วัน ตอมากอนเลือด

ดังกลาวจะคอย ๆ สลายตัวไปเปนของเหลวและถูกดูดซึมเขาสูระบบนํ้าเหลือง กระบวนการน้ี

เรียกวา กระบวนการสลายไฟบริน(fibrnolysis) เกิดโดยโปรเอ็นไซมพลาสมิโนเจนที่เปนรูปเฉ่ือยถูก

กระตุนใหเปน พลาสมิน (plasmin) โดยทรอมบินและตัวกระตุนพลาสมิโนเจนจากเนื้อเยื่อ (tissue

plasminogen activator ; ที-พีเอ ; t-PA) ท่ีหลั่งโดยเน้ือเยื่อท่ีถูกทําลาย พลาสมินจะทําหนาท่ียอย

สลายไฟบริน ทําใหลิ่มเลือดดังกลาวถูกสลายไปดวย

รูปท่ี 9.4 แผนผังกระบวนการเกิดทรอมบิน

แสดงปจจัยภายในและภายนอกหลอดเลือดท่ีนําไปสูการสรางทรอมบินโดยผานทางปจจัย

ในการแข็งตัวของเลือด ตัวอักษร a หมายถึงปจจัยในการแข็งตัวของเลือดท่ีอยูในรูป ทํางานได (active form) สวนบทบาทของแคลเซียมไมไดแสดงไวในแผนผังน้ี ท่ีมา ; Vander และคณะ (2001)

Page 7: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

242

รูปท่ี 9.5 แผนผังกระบวนการแข็งตัวของเลือดโดยการสรางไฟบรินท่ีเสถียร จากแผนผังจะเห็นวาไฟบรินในกระแสเลือดถูกสรางจากตับอยูในรูปไฟบริโนเจน (fibrinogen ; Factor

I) ซึ่งเปนรูปเฉ่ือย และไฟบริโนเจนจะถูกกระตุนใหเปนไฟบรินโดยเอ็นไซมทรอมบิน (thrombin)

โดยปรกติ เอ็นไซมทรอมบินในเลือด จะอยูในรูปเฉ่ือยเรียกวา โปรทรอมบิน (prothrombin ; Factor II) และเปลี่ยนเปนทรอมบินเม่ือมีแคลเซียมทําปฏิกิริยากับทรอมโบพลาสติน (thromboplastin) ซึ่งมา

จากเน้ือ เยื่อท่ีเกิดบาดแผลและพลาสมา สังเกตุวาเม่ือเกิดทรอมบินแลว สวนหน่ึงของทรอมบินจะ

กลับไปชวยกระตุนการทํางานของเอ็นไซมเพ่ือการสรางทรอมบินเองดวย

ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Vander และคณะ (2001) สรุปไดวากระบวนการแข็งตัวของเลือด เกิดจากการทํางานรวมกันระหวาง กระบวนการท่ีเกิด

ใน หลอดเลือดและกระบวนการนอกหลอดเลือด โดยท่ีไฟบริโนเจน แคลเซียม และโปรทรอมบินจะ

ไหล เวียนอยูในกระแสเลือด โปรทรอมบินทําปฏิกิริยากับแคลเซียมกลายเปนทรอมบินซึ่งจะทําปฏิกิริยา

กับไฟบริโนเจนไดไฟบรินรวมตัวกันกับเกล็ดเลือดเปนลิ่มเลือด อดุบริเวณบาดแผล (รูปท่ี 9.6) โดย

ปฏิกิริยา ท้ังหมดมีปจจัยในการแข็งตัวของเลือดมาเกี่ยวของดวย สําหรับโรคท่ีเลือดไมแข็งตัวหรือแข็งตัว

ชากวาปรกติเม่ือเกิดบาดแผล หรือเม่ือมีการเสียเลือดเรียกวา โรคฮีโมฟเลีย (hemophillia) ซึ่งเปนโรคท่ีเกิดจากการผิดปรกติจากกรรมพันธุ สําหรับปจจัยในการแข็งตัวของเลือดเปนสารท่ีอยูในพลาสมา ปจจัย

ในการแข็งตัวของเลือดท่ีสําคัญไดแก แคลเซียมและโปรตีนอีก 11 ชนิด (ตารางท่ี 9.1) โปรตีนหลาย

Page 8: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

243

ชนิดดังกลาวขางตนเปนโปรเอ็นไซม (proenzyme) ซึ่งเม่ือถูกกระตุนใหเปนเอ็นไซมแลว จะมี

ความสําคัญในการตอบสนองตอปฏิกิริยาของการแข็งตัวของเลือด โดยปรกติเม่ือมีการกระตุนโปร

เอ็นไซมตัวแรกใหเปนเอ็นไซม เอ็นไซมตัวแรกท่ีเกิดขึ้นจะกระตุนโปรเอ็นไซมตัวท่ีสอง และจะมีปฏิกิริยา

คลาย ๆ กันน้ีเปนลูกโซ บางท่ีเรียกวา แคสเคท (cascade) ท่ีเกิดขึ้นตลอดในกระบวนการแข็งตัวของ

เลือด รูปท่ี 9.6 แสดงแคสเคทท่ีเกี่ยวของในกระบวนการแข็งตัวของเลือดท่ีแยกเปน 3 ชองทาง ไดแก

ชองทางเอกซทรินซิก (extrinsic pathway) ชองทางอินทรินซิก (intrinsic pathway) และ

ชองทางธรรมดา (common pathway) โดยท่ีชองทางเอกซทรินซิกเกิดนอกกระแสเลือดโดยเกิดขึ้น ใน

ผนังของหลอดเลือด สวนชองทางอินทรินซิกเกิดในกระแสเลือดโดยการกระตุนโปรเอ็นไซมในกระแส

เลือด ท้ังสองชองทางมารวมกันเปนชองทางธรรมดา

ชองทางเอกซทรินซิก เร่ิมตนดวยการหลั่งแฟกเตอร III หรือ เรียกวาปจจัยเน้ือเยื่อ หรือทีเอฟ

(tissue factor ; TF) โดยเอนโดทีเลียลเซลล หรือเน้ือเยื่ออื่น ๆ ท่ีถูกทําลาย ถาการทําลายเนื้อเยื่อมี

มากขึ้นทีเอฟจะหลั่งมากขึ้น การแข็งตัวของเลือดจะเกิดเร็วขึ้นดวย ทีเอฟท่ีหลั่งออกมาจะรวมกับ

แคลเซียม ไอออน และปจจัยอีกตัวหน่ึงคือปจจัยท่ี VII (Factor VII) เพ่ือประกอบกันเปนเอ็นไซมท่ี

ซับซอนท่ีเหมาะกับปจจัยท่ี X (Factor X) ซึ่งเปนขั้นตอนแรกของชองทางธรรมดา ชองทางอินทรินซิก เร่ิมดวยการกระตุนโปรเอ็นไซม (โดยปรกติจะเปนปจจัยท่ี XII ; Factor

XII) ใหมาจับกับเสนใยคอลลาเจนบริเวณท่ีเกิดบาดแผล ชองทางน้ีจะดําเนินตอไปเร่ือย ๆ โดยมี

ปจจัยเกล็ดเลือดหรือพีเอฟ-3 ท่ีหลั่งจากกอนเลือดท่ีรวมตัวกันเปนตัวชวย และกอนเลือดท่ีรวมตัวกันน้ี

ยังหลั่งปจจัยอีกหลายตัวมาชวยเรงปฏิกิริยาของชองทางอินทรินซิก ซึ่งหลังจากน้ีจะทําใหเกิดการกระตุน

ปจจัยท่ี XIII (Factor XIII) และปจจัยท่ี IX (Factor IX) ปจจัยท้ังสองท่ีถูกกระตุนน้ี จะรวมกัน

ประกอบเปนเอ็นไซมท่ีซับซอนท่ีเหมาะกับปจจัยท่ี X ชองทางธรรมดา เร่ิมตนเม่ือเอ็นไซมท้ังจากชองทางเอกซทรินซิกและอินทรินซิกมากระตุนปจจัยท่ี X ใหเกิดเปนเอ็นไซมโปรทรอมบิเนส (prothrombinase) โปรทรอมบิเนสจะเปลี่ยนเอ็นไซม โปรทรอมบินใหเปนทรอมบิน จากน้ันทรอมบินจะทําใหจบกระบวนการแข็งตัวของเลือดโดยการเปลี่ยนไฟบริโน

เจนใหเปนไฟบริน

อยางไรก็ตามการแข็งตัวของเลือดจะถูกยับยั้งโดยสารบางชนิด ท่ีขัดขวางการทํางานของปจจัย

ในการแข็งตัวของเลือดบางปจจัย หรือยับยั้งสารบางชนิดท่ีมีอยูในเลือดเอง เพ่ือปองกันการเกิดลิ่มเลือด

ไมใหกระจายหรือขยายตัวจนมากเกินไป ตัวอยางของสารดังกลาวไดแก 2.2.1 สารบางชนิดในพลาสมา มีเอ็นไซมหลายชนิดในพลาสมาที่ยับยั้งการทํางานของปจจัย

ในการแข็งตัวของเลือด เชน แอนตีทรอมบิน III (antithrombin III) จะยับยั้งปจจัยในการแข็งตัว

หลายชนิด รวมท้ังทรอมบินดวย

Page 9: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

244

รูปท่ี 9.6 รูปวาดแคสเคดและระยะของการเกิดกอนเลือดในกระบวนการแข็งตัวของเลือด (A), รูปวาดแคสเคดและชองทางท้ังหมดท่ีเกิดขึ้น ; (B), รูปจากอีเล็กตรอนไมโครกราฟของเม็ดเลือด

แดงและเกล็ดเลือด เร่ิมมารวมตัวอยูภายใตไฟบริน (สานกันเปนรางแห) บริเวณท่ีเกิดการฉีกขาดของ

บาดแผล ซึ่งทําใหเม็ดเลือดแดงมาสะสมมากขึ้นและเกิดลิ่มเลือด (C) อุดปากแผลในเวลาตอมา

ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก (A), Martini (2006) ; ( ฺB), Wessells and Hopson (1988) ;

(C), Vander และคณะ (2001)

Page 10: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

245

ตารางที่ 9.1 ปจจัยในการแข็งตัวของเลือด (วงเล็บทายช่ือท่ีมีตัวอักษรสีฟาคือแหลงท่ีมา) ปจจัย ช่ือ I ไฟบริโนเจน (ตับ)

II โปรทรอมบิน (ตับ ; ตองการไวตามินเคในการสราง)

III ปจจัยจากเน้ือเยื่อ (ทรอมโบพลาสตินจากเน้ือเยื่อท่ีถูกทําลายและเกล็ดเลือดท่ีถูก กระตุน) IV แคลเซียม ไอออน (กระดูก อาหาร และเกล็ดเลือด)

V ลาไบล แฟกเตอร (labile factor) โปรแอกซีเลอริน (proaccelerin) เอซี-โกลบูลิน (Ac-globulin) (ตับและเกล็ดเลือด)

VI (ปจจุบันปจจัยน้ีเลิกใชแลว)

VII ปจจัยเสถียร (stable factor) โปรคอนเวอรติน (proconvertin) ซีรัม

โปรทรอมบิน คอนเวอรชัน แอกซีเลอรเรเตอร (serum prothrombin

conversion accelerator ; SPCA) (ตับ ; ตองการไวตามินเคในการสราง)

VIII แอนตีฮีโมฟลลิก โกลบูลิน (antihemophillic globulin ; AHG) แอนตีฮีโมฟลลิก แฟกเตอร เอ (antihemophillic factor A) (เกล็ดเลือดและ

เอนโดทีเลียล เซลล)

IX พลาสมา ทรอมโบพลาสติน คอมโพเนนท (plasma tromboplastin component ; PTC) แอนตี ฮีโมฟลลิก แฟกเตอร บี (anti-hemophillic factor B) (ตับ ;

ตองการไวตามินเคในการสราง)

X สจวต-โพรเวอร แฟกเตอร (Stuart-Prower factor) (ตับ ; ตองการไวตามินเคในการ

สราง)

XI พลาสมา ทรอมโบพลาสติน แอนทีซีเดนท (plasma thromboplastin antecedent ; PTA) แอนตีฮีโมฟลลิก แฟกเตอร ซี (antihemophilic factor C) (ตับ)

XII เฮจแมน แฟกเตอร (Hageman factor) (ตับ)

XIII ไฟบริน สเตบิไลซิง แฟกเตอร (fibrin stabilizing factor) (ตับและเกล็ดเลือด)

ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Frandson และคณะ (2006) และ Martini (2006)

2.2.2 เฮปาริน (heparin) เปนสารท่ีหลั่งโดยเบโซฟล (basophil) และพลาสมา เซลล

จัดเปนสารท่ีเปนปจจัยรวมในการเรงการกระตุนแอนตีทรอมบิน III

Page 11: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

246

2.2.3 ทรอมโบโมดูลิน (thrombomodulin) เปนโปรตีนชนิดหน่ึงท่ีหลั่งโดยเอ็นโดทีเลียล

เซลล เม่ือจับกับทรอมบินจะเปลี่ยนไปเปนเอ็นไซมท่ีกระตุนโปรตีน ซี (protein C) ท่ีเปนโปรตีนใน

พลาสมาท่ีขัดขวางการทํางานของปจจัยในการแข็งตัวของเลือดหลายชนิด และยังกระตุนการเกิดพลาสมิน

ท่ีเปนเอ็นไซมท่ีทําใหเกิดการตัดหรือยอยเสนใยของไฟบรินใหสั้นลง

2.2.4 พรอสตาไซคลินและไนตริก ออกไซดท่ีหลั่งโดยเอนโดทีเลียล เซลล ในระยะเกล็ด-

เลือดของกระบวนการแข็งตัวของเลือด จะทําใหลดการรวมตัวกันของเกล็ดเลือด และขัดขวางการ

ทํางานของทรอมบิน เอดีพี และปจจัยอ่ืน ๆ เพ่ือปองกันการขยายตัวของการรวมตัวของเกล็ดเลือด

(จํากัดบริเวณเฉพาะตําแหนงท่ีหลอดเลือดถูกทําลาย) (รูปท่ี 9.7)

รูปท่ี 9.7 พรอสตาไซคลิน (PGI2) และไนตริก ออกไซด (NO) ท่ีหล่ังโดยเอนโดทีเลียล เซลลลดการ รวมตัวกันของเกล็ดเลือด เพ่ือปองกันการขยายตัวของการรวมตัวของเกล็ดเลือด (TX2 = thromboxane2)

ท่ีมา ; Vander และคณะ (2001)

2.2.5 โปรตีนชนิดอื่น ๆ ในพลาสมามีฤทธ์ิตอตานการแข็งตัวของเลือด เชน แอลฟา-

2-แมกโครโกลบิน (α-2-macroglobin) มีฤทธ์ิในการยับยั้งคลายกับทรอมบิน และซี 1อินแอกติเวเตอร

(C1 inactivator) ยับยั้งปจจัยในการแข็งตัวหลายชนิด

2.2.5 สารท่ีมาจากแหลงอ่ืนท่ีไมเกี่ยวของในกระบวนการแข็งตัวของเลือด เชน ฮีรูดิน

(herudin) จากปลิง เม่ือปลิงกัดจึงสามารถดูดเลือดจากสัตวไดโดยเลือดไมแข็งตัว หรือสารท่ีมาจาก

ปรสิตท้ังภายในและภายนอกท่ีมีการดูดเลือดจากสัตวลวนมีสารตอตานการแข็งตัวของเลือดท้ังสิ้น

2.3 ความถวงจําเพาะของเลือด (specific gravity of blood) ความถวงจําเพาะของเลือดสูง

กวานํ้าเล็กนอย ความถวงจําเพาะของเลือดจะผันแปรเล็กนอยตามชนิดของสัตว เชน แพะมีคา 1.042

โค 1.043 สุนัข 1.059 และมากับสุกรมีคา 1.060 เปนตน

2.4 ปริมาตรของเลือด (blood volume) ปริมาตรของเลือด หมายถึง ปริมาณของเลือด

ท้ังหมดในรางกายของสัตว ปริมาตรของเลือดอาจคํานวณไดจากนํ้าหนักตัว ถาทราบวาเลือดมีกี่

Page 12: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

247

เปอรเซ็นตของนํ้าหนักตัวของสัตว โดยท่ัวไปจะหาโดยเทคนิคการเจือจางสี (dilution technic) ท่ีฉีดเขาไปในเลือดแลวนํามาคํานวณหาเปอรเซ็นตของเลือดในสัตวชนิดตาง ๆ เชน สุนัข 7.2 โค 7.7

แกะ 8.0 และมา 9.7 เปอรเซ็นต เปนตน ปจจุบันจะคํานวณจากปริมาตรแพก เซลล (pack cell

volume) หรือพีซีวี (PCV) (ดูเรื่องเม็ดเลือดแดงเรื่องปริมาตรแพก เซลล)

2.5 การตกตะกอนของเม็ดเลือด (hemagglutination) เปนการรวมกลุมกันของเซลลเม็ด

เลือดแดง เกิดขึ้นเม่ือฉีดเลือดของสัตวชนิดหน่ึงเขาสูกระแสเลือดของสัตวอีกชนิดหน่ึง ในสัตวชนิด

เดียว กันก็เกิดขึ้นไดถามีการใหเลือดผิดชนิดหรือผิดกลุม ซึ่งทําใหสัตวตายได เน่ืองจากการแตกของ

เม็ดเลือดแดง เชน แมว เปนตน

อัตราการตกตะกอน (sedimentation rate) เปนการวัดระยะของเม็ดเลือดท่ีตกตะกอน

ในระยะเวลาหน่ึง ซึ่งมักใชเวลาครึ่งชั่วโมงหรือหน่ึงชั่วโมง โดยการนําเลือดผสมกับสารละลายซิเตรทใน

หลอดฮีมาโตคริต (hematocrit tubes) ต้ังหลอดในแนวต้ังตรงแลวจับเวลา และวดัความยาวของหลอดในสวนท่ีเม็ดเลือดแดงตกตะกอนในชวงเวลาหน่ึงและปรับคาเปนมิลลิเมตรตอนาที อัตราการ

ตกตะกอนของเลือดของสัตวแตละชนิดแตกตางกันไป (หนวยเปนมิลลิเมตร/นาที) เชน มา 2-12/10

โค 0/60 แกะ 0/60 สุกร 1-14/60 สุนัข 6-10/60 และไก 1.5-4/60 เปนตน

ลักษณะท่ัวไปและโครงสรางของเม็ดเลือด

1. เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดแดง (red blood cell หรือ erythrocyte) ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม

มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 7.5 ไมครอน ลักษณะเปนแผนกลม เวาสองดาน ไมมีนิวเคลียส

(รูปท่ี 9.8)

(A) (B) (C) รูปท่ี 9.5 เม็ดเลือดแดงและฮีโมโกลบิน (A), เม็ดเลือดแดงของคน ; (B), ขนาดของเม็ดเลือดแดง ; (C), โครงสรางของฮีโมโกลบิน ท่ีมา ; (A) และ (B) ดัดแปลงจาก Martini (2006) ; (C) Swenson and Reece (1993)

แตเม็ดเลือดแดงของสัตวปก ปลา และสัตวเลื้อยคลานบางชนิดมีนิวเคลียส เม็ดเลือดแดงมีสีแดง เน่ืองจากมีฮีโมโกลบินอยูในเซลล (ปริมาณเม็ดเลือดแดงและฮีโมโกลบินอยูในตารางท่ี 9.2) ฮีโมโกลบิน

Page 13: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

248

เปนสารอินทรียประกอบดวยรงควัตถุพอรไฟริน (porphyrin) หรือฮีม (hemes) 4 ตัว แตละตัวจับกับ

ธาตุเหล็ก 1 อะตอมรวมอยูกับโปรตีนชนิดโกลบิน (globin) ฮีโมโกลบินจะรวมกับออกซิเจนกลายเปน

ออกซีฮีโมโกลบิน (oxy-hemoglobin) นําออกซิเจนสูเซลล กระบวนการน้ีเรียกวาออกซีเจเนชัน

(oxygenation) ปรกติธาตุเหล็ก 1 อะตอม จะจับกับออกซิเจนได 2 อะตอม โดยท่ีธาตุเหล็กอยูในรูป

เฟอรัส ไอออน (Fe++

) ซึ่งไมใชกระบวนการออกซิเดชันจริง เม่ือถึงเน้ือเยื่อจะปลอยสูเน้ือเยื่อ ถาเหล็ก

อยูในรูปเฟอริก ไอออน (Fe+++) จะทําปฏิกิริยาทางเคมีโดยออกซิเดชันกับธาตุเหล็กเกิดเมทีโมโกลบิน

(methemoglobin) สภาวะน้ีฮีโมโกลบินไมสามารถขนสงออกซิเจนไดเรียกสภาวะน้ีวา เมทีโม-โกลบินี

เมีย (methemoglobinemia) สวนฮีโมโกลบินท่ีรวมกับคารบอนมอนอกไซด (corbon-monoxide)

เรียกวา คารบอกซี ฮีโมโกลบิน (carboxy haemoglobin) ซึ่งรวมกันไดดีกวาการรวมกับถึง 210 เทา

ดังน้ันเม่ือมีการรวมตัวกัน จะทําใหฮีโมโกลบินหมดความสามารถในการจับกับออกซิเจน เพราะ

ตําแหนงของการจับกันถูกแทนท่ีดวยคารบอนมอนอกไซด ถารับคารบอนมอนอกไซดเขารางกายมาก ๆ

ทําใหสัตวตายไดเน่ืองจากขาดออกซิเจนไปเลี้ยงสมอง

ตารางที่ 9.2 จํานวนเม็ดเลือดแดงและปริมาณฮีโมโกลบินในสัตวบางชนิด (เฉลี่ย)

ชนิดสัตว จํานวนเม็ดเลือดแดง (เฉลี่ย)

(ลานเซลล/ลูกบาศกม.ม.)

ปริมาณฮีโมโกลบิน (เฉลี่ย)

(picogram ; pg)

ไก

สุนัข

แกะ

โค

สุกร

มา

3

6.8

12

7

6.5

9

41

22.8

10

14

19

15.9

ท่ีมา ; เปนคาเฉลี่ยจาก Swenson and Reece (1993) และ Reece (2006)

กระบวนการสรางเม็ดเลือดแดงของสัตวท่ีโตเต็มวัย จะเกิดขึ้นท่ีไขกระดูก แตตัวออนท่ียังอยูใน

ทองแมยังมีอวัยวะอื่นท่ีสรางเม็ดเลือดแดงอีก ไดแก มาม ตับ และตอมนํ้าเหลือง สําหรับสัตวปก

การสรางสวนใหญจะมาจากไขกระดูก และบางสวนสรางจากมาม เม็ดเลือดแดงจะถูกทําลายภายหลัง

จากถูกสรางขึ้นมาในกระแสเลือด 3-4 เดือนแลวแตชนิดของสัตว เม็ดเลือดแดงในสัตวแตละชนิดมีอายุ

Page 14: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

249

คอนขางแตกตางกันมาก เชน เม็ดเลือดแดงของคนมีอายุ 90 – 140 วัน (เฉลี่ย 120 วัน) มา 140 -

150 วัน สุกร 51-79 วัน โคและสัตวเค้ียวเอื้องท่ัวไป 125 -150 วัน ลูกโค 50-100 วัน

เซลลเม็ดเลือดแดงเจริญเติบโตมาจากสเต็ม เซลล (stem cells) ท่ีอยูในไขกระดูกสีแดง (เปน

แหลงกําเนิดของเซลลในการสรางเม็ดเลือดขาวดวย) มีการพัฒนาเปนโปรเจนิเตอร เซลล (progenitor

cells) โดยมีฮอรโมนอีไรโทรพอยอีติน (erythropoietin) เปนตัวกระตุน และมีการพัฒนาหลายขั้นตอน

ไปเปนบลาสท เซลล (blast cells) ในระยะน้ีเซลลของเม็ดเลือดแดงยังมีนิวเคลียสอยู บลาสท เซลล

มีการพัฒนาอีกหลายระยะจนไดอีไรโทรบลาสท (erythroblasts) ซึ่งอยูรวมกันเปนกลุม มีเซลลแมกโคร

ฟาจ อยูตรงกลางกลุมเซลล ทําหนาท่ีเปนเซลลใหสารอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและเปนแหลงของธาตุ

เหล็กสําหรับการสังเคราะหฮีโมโกลบิน (hemoglobin) ของเซลล และมีอีไรทรอยด เซลล (erythroid cells) อยูโดยรอบ จากน้ันจะมีการขับนิวเคลียสออกจากเซลลจะไดเรติคิวโลไซท (reticulo- cyte) และเจริญไปเปนเม็ดเลือดแดงเต็มวัยเขาสูกระแสเลือด กระบวนการสรางเซลลเม็ดเลือดแดงอาศัย

ฮอรโมนอีไรโทร-พอยอีตินท่ีสรางโดยไต ฮอรโมนน้ีพบมากในพลาสมา ปสสาวะ นํ้านม และของเหลว

อื่น ๆ ในบางสวนของรางกาย เชน ของเหลวในถุงนํ้าคร่ํา (amniotic fluid) ขั้นตอนสําคัญของ

กระบวนการสรางเม็ดเลือดแดงอยูในรูปท่ี 9.9 อีไรโทรพอยอีตินเปนสารประเภทไกลโคโปรตีนจัดเปน

สารคลายฮอรโมน (hormone like substance) อีไรโทรพอยอีตินทําหนาท่ีกระตุนกระบวน การผลิต

เซลลเม็ดเลือดแดงในหลายขั้นตอน โดยเหน่ียวนําใหสเต็ม เซลลเปลี่ยนไปเปนเซลลโปรเจนิเตอร เซลล กระตุนใหเซลลอีไรทรอยดแบงเซลล ชวยเพิ่มการสรางเรติคิวโลไซท รวมท้ังกระตุนเซลลเม็ดเลือดท่ียัง

ไมเจริญเต็มวัยใหออกสูกระแสเลือดมากขึ้น ในกระบวนการสรางเม็ดเลือดแดงของรางกายมีปจจัยตาง ๆ มาเกี่ยวของดังน้ี

รูปท่ี 9.9 รูปวาดกระบวนการและข้ันตอนท่ีสําคัญของการสรางเม็ดเลือดแดง (ไมไดแสดงขั้นตอนโดยละเอียดในแตละระยะท้ังหมด) ท่ีมา ; Martini (2006)

Page 15: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

250

1.1 ปริมาณออกซิเจนของเน้ือเยื่อ เม่ือปริมาณออกซิเจนในอากาศลดลง เชน ในท่ีสูงท่ีอยูเหนือ

ระดับนํ้าทะเลมาก ๆ ทําใหรางกายไดรับออกซิเจนในปริมาณท่ีไมเพียงพอตอความตองการของเนื้อเยื่อ

รวมท้ังเน้ือเยื่อของไตดวย เน่ืองจากความดันออกซิเจนในระดับความสูงมาก ๆ จะลดลงตามความดัน

ของบรรยากาศ ดังน้ันรางกายจะสรางเม็ดเลือดแดงใหมากขึ้น อีไรโทรพอยอีตินจะหลั่งออกมามากขึ้น

ไปกระตุนใหไขกระดูกสรางเม็ดเลือดแดงใหมากขึ้น กระบวนการน้ีเปนกระบวนการปรับตัวเพ่ือให

ออกซิเจนเพียงพอสําหรับรางกาย โดยการทํางานของอีไรโทรพอยอีติน ซึ่งมีผลมากในกรณีท่ีตองการเพ่ิม

ปริมาณเม็ดเลือดแดงโดยกะทันหัน (รูปท่ี 9.10)

รูปท่ี 9.10 แผนผังแสดงรีเฟล็กซของการหลั่งอีไรโทรพอยอีตินจากไตเพ่ิมข้ึน เม่ือออกซิเจนท่ี ไปสูไตลดลง ทําใหมีการสรางเม็ดเลือดแดงเพ่ิมข้ึน เพ่ือเพ่ิมการขนสงออกซิเจนใหเพียงพอ ท่ีมา ; Vander และคณะ (2001) 1.2 สารอาหารท่ีจําเปนบางชนิด สารอาหารท่ีมีสวนสําคัญตอการเจริญและพัฒนาความสมบูรณ

ของเม็ดเลือดแดง ไดแก

1.2.1 ไวตามินบางชนิด ไวตามินบี 6 ทําใหประสิทธิภาพการสังเคราะหพอรไฟรินสูงขึ้น

เน่ืองจากไวตามินบี 6 ทําหนาท่ีเปนโค-เอ็นไซม (co-enzyme) ในกระบวนการสรางฮีม สวนกรดโฟลิก

Page 16: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

251

และไวตามินบี 12 มีความสําคัญตอการสังเคราะหดีเอ็นเอ และอารเอ็นเอ ในกรณีน้ีตองอาศัยอินทริ

นสิก แฟกเตอร (intrinsic factor) ชวยในการดูดซึม อินทรินสิก แฟกเตอรสรางโดยกลุมเซลลท่ีทํา

หนาท่ีเปนตอมภายในกระเพาะอาหาร ดังน้ันถาขาดอินทรินซิก แฟกเตอรก็เปนสาเหตุของโรคเลือดจาง

ไดเชนกัน

1.2.2 ปริมาณโปรตีนและกรดอมิโนท่ีจําเปนท่ีไดรับจากอาหาร กรดอมิโนมีสวนสําคัญใน

การสรางฮีม ถาสัตวไดรบัอาหารไมเพียงพอกับความตองการจะทําใหการสรางเม็ดเลือดแดงลดลง

1.2.3 ธาตุเหล็ก เปนองคประกอบในโครงสรางของฮีโมโกลบิน และยังมีบทบาทสําคัญตอ

กระบวนการควบคุมการเพิ่มจํานวนของเซลลเม็ดเลือดแดงในระยะเร่ิมตน

สรุปแลวการขาดปจจัยท่ีเกี่ยวของกับการสรางเม็ดเลือดแดง จะทําใหเกิดโรคเลือดจางได

ท้ังน้ีโรคเลือดจางจึงมีหลายแบบขึ้นกับวาเกิดจากสาเหตุใด เชน สาเหตุจากเม็ดเลือดแดงแตกเน่ืองจากการติดเชื้อบางชนิด (hemolytic anemia) หรือ โรคเลือดจางเพอนิเชียส (pernicious anemia) ซึ่งเกดิจากการขาดไวตามินบี 12 หรือโรคเลือดจางซิเกิล เซลล (sickle cell anemia) ซึ่งเกิดจากกรรมพันธุทําใหเม็ดเลือดแดงเปลี่ยนแปลงรูปรางไป ทําใหหมดคุณสมบัติในการจับกับออกซิเจน เปนตน

ในระหวางท่ีเม็ดเลือดแดงยังมีชีวิตอยู จะไหลเวียนอยูในรางกายเปนระยะทางไกลมากนับ

หลายรอยไมล ดังน้ันเม็ดเลือดแดงยอมกระทบกับผนังหลอดเลือดถูกบีบผานหลอดเลือดฝอย สิ่ง

เหลาน้ีจะทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงลดความแข็งแรง เปราะงาย และแตกสลายในที่สุด เม็ดเลือดแดงท่ี

ถูกทําลายจะสมดุลกับจํานวนเม็ดเลือดแดงท่ีสรางขึ้นใหม การทําลายเม็ดเลือดแดงมี 2 กรณี กรณีแรก

เปนการทําลายภายในเซลล (intracellular destruction) ในกรณีน้ีเปนการทําลายเม็ดเลือดแดงโดย

การเปลี่ยนแปลงหรือยอมใหสารอื่นผานเขาออกท่ีเยื่อหุมเซลล และการทําลายตัวเองของเซลลเม็ดเลือด

แดง (autolysis) กรณีท่ีสองเปนการทําลายนอกเซลล (extracellular destruction) เม็ดเลือดแดงจะถูกทําลายโดยแมกโครฟาจท่ีคอยจับทําลายโดยกระบวนการกลืนกิน เซลลท่ีทําหนาท่ีดังกลาวเรียกวา

ระบบโมโนนิวเคลียร ฟาโกไซท (mononuclear phagocyte stytem ; MPS) อวัยวะท่ีทําลายเม็ดเลือดแดงคือ มาม ตับ ไขกระดูก และตอมนํ้าเหลือง อวัยวะท้ังหมดท่ีทําหนาท่ีทําลายเม็ดเลือดแดงน้ีเรียกรวมวา ระบบเรติคิโล-เอนโดทีเลียมหรือระบบแมกโครฟาจ (macro- phage system) เม็ด

เลือดแดงท่ีถูกทําลายแลวจะปลอยฮีโมโกลบินเขาสูเลือด สวนเศษของเซลลท่ีแตกกระจายจะถูก

เคลื่อนยายเขาสูระบบเรติคิวโลเอนโดทีเลียมท่ีมีเซลลพิเศษอยูในตับ มาม ไขกระดูก และตอมนํ้าเหลือง

ระบบเรติคิวโล-เอนโดทีเลียมทําหนาท่ีกลืนกินเศษเล็กเศษนอยของเซลลท่ีแตกออกน้ี และยอยสลาย

ปลอยเขาสูเลือด โปรตีนโกลบินจะถูกแตกเปนกรดอะมิโน ฮีโมโกลบินถูกแยกออกเปนธาตุเหล็กกับฮีม

ธาตุเหล็กจะถูกรวบรวมโดยโปรตีนทรานซเฟอริน (transferrin) สะสมไวในไขกระดูก หรืออาจเก็บไว

ในตับในรูปของเฟอริติน (ferritin) เพื่อใชยามจําเปน หรืออาจนําไปสรางเปนไมโอโกลบิน

Page 17: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

252

(myoglobin) ในกลามเน้ือ และอยูในรูปของฮีโมซีเดอริน (hemosiderin) ภายในเน้ือเยื่อของรางกาย สวนฮีมจะถูกเปลี่ยนเปนรงควัตถุท่ีมีสีเขียวแกมเหลืองเรียกวา บิลลิเวอรดิน (billiverdin) และ

เปลี่ยนเปนบิลลิรูบิน (billirubin) ไปกับกระแสเลือดสูตับ เพ่ือสรางเปนนํ้าดีสงไปสูลําไสและเปลี่ยนเปน

อนุพันธของบิลลิรูบิน แลวขับออกทางอุจจาระในรูปของยูโรบิลลิน (urobillin) และสเตอรโคบิลลิน

(stercobillin) สวนหน่ึงถูกขับบออกทาง ปสสาวะโดยผานจากตับมากับกระแสเลือดมาท่ีไตโดยตรง อีกสวนหน่ึงดูดซึมจากลําไสในรูปอนุพันธของบิลลิรูบินเขาสูกระแสเลือด และถูกขับออกทางไตไปกับ

ปสสาวะในรูปของยูโรบิลลิน (urobillin) ทําใหปสสาวะมีสีเหลือง (วงจรขององคประกอบของเม็ดเลือด

แดงอยูในรูปท่ี 9.11) รูปท่ี 9.11 แผนผังการหมุนเวียนของธาตุเหล็กในรางกาย (ลูกศรสีแดงเปนกระบวนการสลายเม็ดเลือดแดง ; ลูกศรสีเขียวเปนการเปลี่ยนแปลงของฮีม ;

ลูกศร สีมวงเปนวงจรของธาตุเหล็ก)

ท่ีมา ; Martini และคณะ (2001)

Page 18: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

253

เม็ดเลือดแดงมีคาเฉพาะตัวอยางหน่ึงคือมีคาฮีมาโตคริต (hematocrit value) หรือ ปริมาตร

แพก เซลล หรือพีซีวี ซึ่งหมายถึง เปอรเซ็นตของเม็ดเลือดแดงโดยปริมาตรท่ีเกิดขึ้น เม่ือนําเลือดท่ีหมด

คุณสมบัติในการแข็งตัวมาตกตะกอนโดยการปน (centrifuge) ในหลอดฮีมาโตคริต จนกระท่ังเซลล

ตกตะกอนลงไปอยูชั้นลาง คาฮีมาโตคริตจะอานไดจากหลอดซึ่งมีตัวเลขบอกอยูดานขางหลอด (รูปท่ี

9.12) คาฮีมาโตคริต จะแตกตางกันตามชนิดของสัตว เชน แกะมีคา 32 มา 42 โค 35 สุนัข 45

สุกร 42 ไก 30 และคน 45 เปนตน คาฮีมาโตคริตเปนตัวชวยในการบงบอกความผิดปรกติของการทํางานของรางกายในบางสภาวะได นอกจากน้ียังใชคํานวณปริมาตรของเลือดในรางกายดวย โดย

คํานวณจากความสัมพันธของปริมาณของพลาสมากับปริมาตรแพก เซลล ตัวอยางเชน ถาปริมาตรของ

พลาสมาเทากับ 600 มิลลิลิตร ปริมาตรแพก เซลลเทากับ 40 เปอรเซ็นต และปริมาตรของพลาสมาจะเทากับ 60 เปอรเซ็นตของปริมาตรของเลือด ดังน้ันปริมาตรของเลือดจะหาไดจากความสัมพันธดังกลาว

โดยใชสมการดังน้ี ปริมาตรของเลือด = ปริมาตรของพลาสมา / (1 - ปริมาตรแพก เซลล)จากตัวอยางขางตนปริมาตรของเลือดจึงเทากับ 600/(1-0.4) =1,000มิลลิลิตร ถานํ้าหนักตัวสัตว 12.5 กิโลกรัม

ปริมาตรของเลือดจะเทากับ 80 มิลลิลิตรตอกิโลกรัมของนํ้าหนักสัตว คิดเปน 8 เปอรเซ็นตของนํ้าหนัก

ตัว

รูปท่ี 9.12 รูปวาดแสดงการหาคาฮีมาโตคริต

ในรูปจะเห็นชั้นบาง ๆ ของเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดอยูระหวางชั้นของพลาสมา

กับเม็ดเลือดแดงเรียกวา บัฟฟ โคท (buffy coat)

ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Vander และคณะ (2001)

Page 19: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

254

2. เม็ดเลือดขาว เปนเซลลท่ีมีนิวเคลียส ไมมีฮีโมโกลบิน สามารถเคลื่อนท่ีไดอยางอิสระ เม็ด

เลือดขาวท่ีไหลเวียนอยูในกระแสเลือดมีนอยมากเม่ือเทียบกับเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวทําหนาท่ีชวย

ปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรคในรางกาย ชวยกําจัดสารพิษและของเสียบางชนิด รวมท้ังชวยกําจัด

เศษเซลลตาง ๆ ท่ีถูกทําลายโดยธรรมชาติหรือเซลลท่ีผิดปรกติบางชนิด เม็ดเลือดขาวแบงออกเปน

สองกลุม ไดแก กลุมท่ีมีแกรนูล (granulocytes ; granular leucocyte) มี 3 ชนิด ไดแก นิวโตรฟล

(neutrophils) อีโอซิโนฟล (eosinophil) และเบโซฟล (basophil) ภายในไซโตพลาสซึมของเม็ด

เลือดขาวกลุมน้ีมีแกรนูล (granule) ซึ่งยอมติดสีได ถาใชสียอมท่ีเปนกรด (acid dye) เชน อีโอซิน

(eosin) จะติดสีแดง หรือถาใชสีท่ีเปนดาง (basic dye) เชน เมทิลีน บลู (methylene blue) จะ

ยอมติดสีนํ้าเงิน เม็ดเลือดขาวชนิดน้ีสรางจากไขกระดูก เม็ดเลือดขาวอีกกลุมหน่ึงเปนชนิดไมมีแกรนูล (agranulocytes ; non granular leucocyte) ความจริงแลวเม็ดเลือดขาวชนิดน้ีมีแกรนูลเชนกัน

แตมีนอยมาก และมีขนาดเล็กมากจนไมสามารถมองเห็นไดในกลองจุลทรรศนธรรมดา (รูปของเม็ดเลือด

ขาวชนิดตาง ๆ อยูในรูปท่ี 9.13) เม็ดเลือดขาวกลุมน้ีไดแก โมโนไซท (monocyte) และลิมโฟ

ไซท (lymphocyte)

รูปท่ี 9.13 เม็ดเลือดขาวของคน (ไลทไมโครกราฟ 1500 เทา ; ลูกศรสีฟา) ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Martini (2006) 2.1 คุณสมบัติของเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดขาวมีคุณสมบัติเฉพาะตัวหลายประการดังน้ี

Page 20: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

255

2.1.1 เม็ดเลือดขาวทุกชนิดสามารถเคลื่อนยายออกนอกกระแสเลือดได เม็ดเลือด

ขาวเม่ือถูกระตุนจะเคลื่อนท่ีเขาไปเกาะกับเอนโดทีเลียล เซลลของผนังหลอดเลือดได เรียกกระบวนการ

น้ีวา มารจิเนชัน (margination) หลังจากน้ันจะมีปฏิกิริยากับเอนโดทีเลียล เซลลผานชองวางตรง

รอยตอของเอนโดทีเลียล เซลล สูเน้ือเยื่อท่ีอยูบริเวณรอบ ๆ ได กระบวนการน้ีเรียกวา อีมิเกรชัน

หรือไดอะพีดีซิส (emigration ; diapedesis)

2.1.2 เม็ดเลือดขาวทุกชนิดมีการเคลื่อนท่ีแบบอะมีบา (amoeboid movement) การ

เคลื่อนท่ีแบบน้ีในเม็ดเลือดขาวอาศัยการจัดเรียงตัวใหมเร่ือย ๆ ของแอกติน ฟลาเมนทในโครงราง

ของเซลล และตองอาศัยแคลเซียม ไอออน และเอทีพี การเคลื่อนท่ีแบบน้ี ทําใหเซลลเม็ดเลือดขาว

ผานเอนโดทีเลียล เซลลออกมาสูเน้ือเยื่อท่ีอยูรอบ ๆ ได

2.1.3 เม็ดเลือดขาวมีคุณสมบัติในการจับกับสารเคมีท่ีมีความเฉพาะเจาะจง ท่ีมากระตุน

เปนการชักนําเม็ดเลือดขาวเขาไปหาเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม หรือเน้ือเยื่อท่ีถูกทําลาย หรือเขาไปหา

เม็ดเลือดขาวท่ีกําลังทําหนาท่ีในการกําจัดสิ่งแปลกปลอมอยูกอนหนาน้ี คุณสมบัติน้ีเรียกวา เคโมแทก

ซิสในทางบวก (positive chemotaxis)

2.1.4 เม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟล อีโอซิโนฟล และโมโนไซท มีคุณสมบัติในการกลืน

กินไดดี จึงสามารถกลืนกินเชื้อโรค สิ่งแปลกปลอม และเศษเน้ือเยื่อตาง ๆ ไดดี นอกจากน้ี

โมโนไซทยังสามารถพัฒนาตัวเองไปเปนแมกโครฟาจ ท่ีสามารถเคลื่อนยายตัวเองออกนอกเสนเลือดไปยัง

เน้ือเยื่อท่ีมีการติดเชื้อไดอีกดวย 2.2 ชนิดของเม็ดเลือดขาว ชนิดของเม็ดเลือดขาวมีดังน้ี (ปริมาณของเม็ดเลือดขาวชนิดตาง ๆ

ของสัตวอยูในตารางท่ี 9.3)

2.2.1 นิวโตรฟล เม็ดเลือดขาวชนิดน้ี ถายอมดวยสีผสมของอีโอซินและฮีมาทอกไซลิน

(hematoxyline & eosin ; H & E stain) แกรนูลติดสีชมพูกระจายอยูท่ัวไปในไซโตพลาสซึม ถา

ยอมดวยสีท่ีเปนกรดหรือดางจะไมคอยติด พบประมาณ 25-70 เปอรเซ็นตของเม็ดเลือดขาว มีเสนผา

ศูนยกลางประมาณ 10 -12 ไมครอน นิวเคลียสมี 2-5 พู หรือมากกวาน้ีและติดสีมวงนํ้าเงิน เม็ดเลือด

ขาวชนิดน้ีบางคร้ังเรียกวา โพลีมอรโฟนิวเคลียร เซลล หรือพีเอ็มเอ็น (polymorphonuclear cell ;

PMN) ภายในแกรนูลจะประกอบดวยไลโซไซม (lysozyme) และสารประกอบบางอยางท่ีสามารถทําลาย

จุลินทรียได หนาท่ีของนิวโตรฟลคือตอตานเชื้อโรคท่ีเขาสูรางกาย และสามารถเคลื่อนยายผานผนังของ

หลอดเลือดไปยังบริเวณท่ีมีการติดเชื้อได และเปนเม็ดเลือดขาวชนิดแรกท่ีไปถึงเน้ือเยื่อท่ีมีการติดเชื้อ

โดยเฉพาะอยางยิ่งการติดเชื้อแบคทีเรีย การกลืนกินอาศัยการโอบลอมเชื้อโรคเขาสูเซลล และรวมเชื้อโรค

เขากับไลโซโซมท่ีภายในมีเอ็นไซมท่ีทําหนาท่ียอยสลายและรวมกับเปปไตดสั้น ๆ ท่ีเรียกวา ดีเฟนซิน

(defensins) กระบวนการน้ีทําใหแกรนูลภายในไซโตพลาสซึมของนิวโตรฟลลดลง เรียกวา ดีแกรนูเล

Page 21: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

256

ชัน(degranulation) ดีเฟนซินทําหนาท่ีทําลายเชื้อโรคหลายชนิด ไดแก เชื้อแบคท่ีเรีย เชื้อรา

และไวรัสบางชนิด ในขณะท่ีมีการทําลายแบคทีเรียนิวโตรฟลจะหลั่งพรอสตาแกลนดินและลูโคเทรียนส

(leucotrienes) พรอสตาแกลนดินทําใหหลอดเลือดฝอยบริเวณท่ีมีการติดเชื้อเพ่ิมระดับของการสงผาน

สารเขาออก ทําใหเกิดการอักเสบเฉพาะท่ี และจํากัดการแพรกระจายของเชื้อโรค สําหรับลูโคเท

รียนส

เปนสารคลายฮอรโมนท่ีชวยใหนิวโตรฟลจับเชื้อโรคไดงายขึ้น และยังเกี่ยวของกับกระบวนการสรางภูมิ

คุมโรคดวย

นิวโตรฟลมีอายุสั้น ประมาณ 10 ชั่วโมงเทาน้ัน และเม่ือมีการทําลายสิ่งแปลกปลอม

หรือเชื้อโรค อายุจะยิ่งสั้นลงเหลือประมาณ 30 นาทีหรือนอยกวาน้ี โดยสลายตัวเม่ือทําลายแบคทีเรีย

ประมาณ 12 - 24 เซลล แตเม่ือสลายตัวลงจะหลั่งสารบางอยางที่ดึงดูดนิวโตรฟลเซลลอื่นใหเขามายังเน้ือเยื่อท่ีมีการติดเชื้อ นิวโตรฟลท่ีตายลงรวมกับเศษเซลลของเน้ือเยื่อและเชื้อโรคท่ีถูกทําลายกลายเปน

หนองอยูบริเวณท่ีเกิดการติดเชื้อและอักเสบ

2.2.2 อีโอซิโนฟล บางทีเรียกวา แอซิโดฟล (acidophil) เม็ดเลือดขาวขนิดน้ีมีแกรนูล

ยอมติดสีแดงหรือชมพู (H & E stain) แกรนูลมีขนาดใหญ พบประมาณ 2-5 เปอรเซ็นต มีเสนผา

ศูนยกลาง 10 -15 ไมครอน นิวเคลียสมี 2 พู อาจอยูติดกันหรืออาจแยกกัน และติดสีทึบเชนเดียวกับ

นิวโตรฟล เม็ดเลือดขาวชนิดน้ีพบคอนขางนอยในรางกาย แตจะเพิ่มมากข้ึนเม่ือรางกายมีการแพ

หรือติดเชื้อปรสิตหรือพยาธิ อีโอซิโนฟลมีหนาท่ีกําจัดพิษจากโปรตีนแปลกปลอม (foreign protein)

ท่ีเขาสูรางกาย หรืออาจกําจัดสารพิษท่ีสรางโดยแบคทีเรียและปรสิต

2.2.3 เบโซฟล มีแกรนูลติดสีนํ้าเงิน โดยปรกติพบนอยกวา 1 เปอรเซ็นตของเม็ดเลือด

ขาว มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 8 -12 ไมครอน นิวเคลียสมีรูปรางไมแนนอน และมีขนาดใหญกิน

เน้ือท่ีประมาณครึ่งหน่ึงของเซลล แกรนูลติดสีมวงนํ้าเงิน หรือนํ้าเงินเขม เบโซฟลสามารถเคลื่อนท่ีไปยัง

เน้ือเยื่อท่ีถูกทําลายหรือมีการอักเสบ เน่ืองจากในแกรนูลมีสารฮิสตามีน (histamine) ท่ีทําใหหลอด

เลือดขยายตัว ปลอยออกบริเวณท่ีมีการอักเสบ จึงคาดวาทําหนาท่ีเกี่ยวของกับการแพดวย และยังพบเฮ

ปารินท่ีปองกันการแข็งตัวของเลือด เบโซฟลยังเปนเซลลท่ีเร่ิมตนของมาสท เซลล นอกจากน้ีเบโซฟล

ท่ีถูกกระตุนยังหลั่งสารบางชนิดท่ีชักนําหรือดึงดูดเอีโอซิโนฟล และเบโซฟลเซลลอื่น ๆ เพื่อใหเคลื่อน

มาสูเน้ือเยื่อท่ีมีการอักเสบ หรือถูกทําลาย

2.2.4 โมโนไซท พบประมาณ 5-6 เปอรเซ็นตของเม็ดเลือดขาว สรางโดยเซลล เรติคิวโล-

เอนโดทีเลียมในมาม และไขกระดูก มีเสนผาศูนยกลาง 12 -15 ไมครอน ในกระแสเลือดโมโนไซท

เปนรูปทรงกลมนิวเคลียสเปนรูปไข หรือรูปเกือกมา หรือคลายเมล็ดถั่ว และติดสีนํ้าเงินออน (ยอมดวย

H&E stain) ปรกติโมโนไซทอาศัยกระแสเลือดเปนตัวเคลื่อนยาย แตโมโนไซทจะอยูในกระแสเลือด

Page 22: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

257

เพียง 24 ชั่วโมงเทาน้ัน หลังจากน้ันจะเคลื่อนยายออกนอกหลอดเลือดและมีการพัฒนาตัวเองใหมีขนาด

ใหญขึ้นเปนแมกโครฟาจอยูในเน้ือเยื่อ ทําหนาท่ีกลืนกินเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย แมก-

โครฟาจสามารถกลืนกินสิ่งแปลกปลอมที่มีขนาดใหญไดดี บางคร้ังสิ่งแปลกปลอมมีขนาดใหญกวาเซลล

แมกโครฟาจเอง ก็สามารถกลืนกินได ในขณะท่ีมีการกลืนกินยังปลอยสารบางชนิดท่ีดึงดูดโมโนไซท

เซลลอื่น ๆ นิวโตรฟลท่ีถูกกระตุน และเซลลท่ีทําหนาท่ีกลืนกินชนิดอื่น ๆ เขามาสูบริเวณท่ีมี

การติดเชื้อหรืออักเสบ นอกจากน้ีแมกโครฟาจยังมีสวนในการกระตุนใหเซลลสรางเสนใยเคลื่อนท่ีมายัง

เน้ือเยื่อท่ีถูกทําลาย เซลลสรางเสนใยน้ีจะทําหนาท่ีในการสรางเน้ือเยื่อของแผลเปน

2.2.5 ลิมโฟไซท พบประมาณ 20 -65 เปอรเซ็นต ขึ้นกับชนิดของสัตว แยกเปน 2 ชนิด

คือ ชนิดเล็ก (small lymphocyte) และชนิดใหญ (large lymphocyte) ท่ีพบสวนใหญเปนชนิด

แรกมีเสนผาศูนยกลาง 5 ไมครอน นิวเคลียสติดสีมวงนํ้าเงิน (ยอมดวย H&E stain) และมีขนาด

ใหญมากเกือบเต็มเซลล เซลลชนิดน้ีสามารถเคลื่อนยายออกนอกหลอดเลือดได และเคลื่อนยายกลับ

เขาสูกระแสเลือดไดอีก ลิมโฟไซทจะอยูในกระแสเลือดชวงสั้น ๆ หลังจากน้ันจะเคลื่อนเขาไปอยูใน

เน้ือเยื่อประสานและระบบนํ้าเหลือง มีหนาท่ีสรางภูมิคุมกันแกรางกาย ชวยสมานแผล และสามารถ

เปลี่ยนรูปรางเปนเซลลอื่นได เชน โมโนไซท ฮีโมไซโตบลาสท (hemocytoblasts) เซลลสรางเสนใย

และพลาสมา เซลล เซลลท้ังหมดเหลาน้ี เกี่ยวของกับกระบวนการสรางภูมิคุมกันของรางกาย ลิมโฟ

ไซท ในกระแสเลือดแยกตามหนาท่ีได 3 ชนิด ไดแก ที เซลล (T cells) บี เซลล (B cells) และเซลล

ท่ีทําลายสิ่งแปลกปลอมไดโดยธรรมชาติ หรือเอ็นเค เซลล (natural killer cells ; NK cells)

สําหรับจํานวนของเม็ดเลือดขาวท้ังหมด (total leucocyte count) และจํานวนของเม็ดเลือด

ขาวแตละชนิดอยูในตารางท่ี 9.3

2.3 กระบวนการสรางเม็ดเลือดขาว กระบวนการสรางเม็ดเลือดขาวเร่ิมตนโดยสเต็มเซลลในไขกระดูก สเต็ม เซลลมีพัฒนาการมาจากเซลลฮีโมไซโตบลาสท (hemocytoblasts) การแบงตัว

ของฮีโมไซโตบลาสทไดไมอีลอยด สเต็ม เซลล (myeloid stem cells) กับลิมฟอยด สเต็ม เซลล

(lymphoid stem cells) ไมอีลอยด สเต็ม เซลลจะแบงตัวและพัฒนาไปเปนโปรเจนิเตอร เซลลท่ี

เปนเซลลเร่ิมตนของเม็ดเลือดทุกชนิดยกเวนลิมโฟไซทท่ีเจริญจากลิมฟอยด สเต็ม เซลล โปรเจนิเตอร

เซลลจะสรางดอรเตอร เซลล (daughter cells) ซึ่งมี 3 ชนิด ชนิดแรกพัฒนาไปเปนเม็ดเลือดแดง

ชนิดท่ีสองพัฒนาไปเปนเกล็ดเลือด ชนิดท่ีสามจะพัฒนาไปเปนนิวโตรฟล อีโอซิโนฟล เบโซฟล และโมโนไซท เม็ดเลือดขาวสามชนิดแรกพัฒนาจนเต็มวัยในไขกระดูก ยกเวนโมโนไซทท่ีมีพัฒนาการ ในไขกระดูกและเขาสูกระแสเลือดแลวมีพัฒนาการท่ีสมบูรณเม่ือเคลื่อนยายออกจากกระแสเลือด และ

พัฒนาจนสมบูรณเปนแมกโครฟาจในเน้ือเยื่อนอกหลอดเลือด กระบวนการสรางเม็ดเลือดขาวอยูในรูป

ท่ี 9.14

Page 23: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

258

2.5 ปจจัยบางประการท่ีทําใหเม็ดเลือดขาวเปลี่ยนแปลง ในสัตวมีปจจัยหลายอยางท่ีทําให

รูปราง หรือโครงสราง และจํานวนของเซลลเม็ดเลือดขาวมีการเปลี่ยนแปลง เน่ืองมีปจจัยท่ีเกี่ยวของ

ไดแก สิ่งแวดลอม การติดเชื้อ หรือรับสิ่งแปลกปลอมเขาสูรางกาย เปนตน นอกจากน้ีปจจัยทาง

สรีรวิทยาของสัตวก็มีผลตอการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเชนกัน ซึ่งไดแก

2.5.1 ชนิดของสัตวและชวงของการใหผลผลิต จํานวนเม็ดเลือดขาวในสัตวแตละชนิดไม

เทากัน เชน แพะมีจํานวนเม็ดเลือดขาวมากกวาโคและแกะ ในระยะการต้ังทองและใหนมในสัตวบาง

ชนิด

ตารางที่ 9.3 จํานวนเม็ดเลือดขาวท้ังหมดและจํานวนเม็ดเลือดขาวแตชนิดของสัตวเลี้ยง

เปอรเซ็นตของเม็ดเลือดขาวแตละชนิด ชนิดสัตว จํานวนเม็ดเลือดขาว

นิวโตรฟล ลิมโฟไซท โมโนไซท อีโอซิโนฟล เบโซฟล

สุกร (อายุ)

1 วัน 10,000-12,000 70 20 5-6 2-5 <1 1 สัปดาห 10,000-12,000 50 40 5-6 2-5 <1

2 สัปดาห 10,000-12,000 40 50 5-6 2-5 <1

6 สัปดาห 15,000-22,000 30-35 55-60 5-6 2-5 <1 หรือมากกวา

มา 8,000-11,000 50-60 30-40 5-6 2-5 <1 โค 7,000-10,000 25-30 60-65 5 2-5 <1 แกะ 7,000-10,000 25-30 60-65 5 2-5 <1

แพะ 8,000-12,000 35-40 50-55 5 2-5 <1 สุนัข 9,000-13,000 65-70 20-25 5 2-5 <1 แมว 10,000-15,000 55-60 30-35 5 2-5 <1 ไก 20,000-30,000 25-30 55-60 10 3-8 1-4

ท่ีมา ; Reece (2006)

2.4 การควบคุมการสรางเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดขาวทุกชนิดยกเวนลิมโฟไซท มีฮอรโมน

หลายชนิดท่ีมากระตุนการสรางเรียกวา โคโลนี สติมูเลติง แฟกเตอร หรือซีเอสเอฟ (colony

stimulating factors ; CSFs) ซึ่งมี 4 ชนิด แตละชนิดมีเซลลเปาหมายท่ีแตกตางกัน ซีเอสเอฟแยกตามชนิดของ

Page 24: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

259

เซลลท่ีฮอรโมนไปกระตุน ซึ่งไดแก เอ็ม-ซีเอสเอฟ (M-CSF) กระตุนการสรางโมโนไซท จี-ซีเอสเอฟ

(G-CSF) กระตุนการสรางเม็ดเลือดขาวชนิดแกรนูโลไซท จีเอ็ม-ซีเอสเอฟ (GM-CSF) กระตุนการสราง

ท้ังโมโนไซทและแกรนูโลไซท และมัลติ-ซีเอสเอฟ (multi-CSF) เรงการสรางแกรนูโลไซท โมโนไซท

เกล็ดเลือด และเม็ดเลือดแดง สําหรับลิมโฟไซทยังไมทราบแนชัด ทราบเพียงวาในคนหรือสัตวท่ีโต

เต็มวัย ฮอรโมนจากตอมไทมัส (thymus) กระตุนพัฒนาการและจํานวนของที เซลล สวนบี เซลลและ

ที เซลลจะถูกกระตุนใหสรางในเบื้องตนโดยแอนตีเจน (antigen) ท่ีเกิดขึ้นหรือเขาสูรางกาย

รปูท่ี 9.14 รูปวาดกระบวนการสรางเม็ดเลือดขาว

Page 25: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

260

จะเห็นวาฮีโมไซโตบลาสทพัฒนาเปนไมอีลอยด สเต็ม เซลลท่ีพัฒนาไปเปนโปรเจนิเตอร เซลล และพัฒนาไปเปนเม็ดเลือดขาวชนิดมีแกรนูลกับโมโนไซท สวนลิมโฟไซทพัฒนามาจากลิมฟอยด สเต็ม เซลล ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Martini (2006)

เชน โปรตีนท่ีแปลกปลอม เซลลท่ีแปลกปลอมและสารพิษ เปนตน หมายความวาเม่ือแอนตีเจน

เกิดขึ้นในรางกาย การสรางลิมโฟไซทจะมากขึ้นตาม

เชน ในโคนมระยะแรกของการใหนมจะมีจํานวนเม็ดเลือดขาวมากกวาในระยะปลายของการใหนม วัน

แรกของการเปนสัดของโคจะมีจํานวนเม็ดเลือดขาวมากกวาปกติเล็กนอย โดยเฉพาะนิวโตรฟล ในชวง

ใกลคลอดสุนัขและโคจะมีจํานวนเม็ดเลือดขาวเพ่ิมสูงขึ้นเล็กนอย ในสุกรหลังจากการกินอาหาร 1 ชั่วโมง

จะมีเม็ดเลือดขาวเพ่ิมขึ้นถึง 5,000 เซลล

2.5.2 อายุของสัตว ในสัตวบางชนิดท่ีมีอายุนอย จะมีเม็ดเลือดขาวรวมท้ังหมดนอยกวา

สัตวท่ีมีอายุมาก เชน ในลูกโคแรกเกิดจะมีจํานวนเม็ดเลือดขาวท้ังหมดนอยกวาลูกโคที่มีอายุ 3-16

สัปดาห หรือในสุกรอายุ 1 วันถึง 5 สัปดาหมีเม็ดเลือดขาว 10,000 -12,000 เซลลตอไมโครลิตร แตเม่ืออายุ 6 สัปดาหหรือมากกวาน้ีเม็ดเลือดขาวจะเพิ่มเปน 15,000-22,000 เซลลตอไมโครลิตร เปนตน

3. เกล็ดเลือด หรือทรอมโบไซท (platelet ; thrombocyte) เปนสวนของเมกะคารีโอไซท

(megakaryocytes) ซึ่งเปนระยะหน่ึงของเม็ดเลือดแดงท่ีถูกสรางมาจากไขกระดูก แตไมพัฒนาตอไป

เปนเม็ดเลือดแดง โดยปรกติเกล็ดเลือดในกระแสเลือดจะเปนแผนรูปไข แตถานํามายอมสีดูในกลอง

จุลทรรศนจะเปนแผนกลมรูปรางคลายดาว และอาจจะพบรวมกันเปนกลุม รูปรางไมแนนอน (รูปของ

เกล็ดเลือดท่ีถายจากกลองจุลทรรศนอยูในรูปท่ี 9.15) เกล็ดเลือดมีอายุ 9-12 วัน หมุนเวียนในกระแส

เลือด หลังจากน้ันจะถูกเซลลท่ีทําหนาท่ีกลืนกินทําลายในมาม ในเลือดของคนมีเกล็ดเลือดมีประมาณ

150,000-500,000 เกล็ดเลือดตอไมโครลิตร คาเฉลี่ย 350,000 เกล็ดเลือดตอไมโครลิตร โดยปรกติ

ประมาณหน่ึงในสามของเกล็ดเลือดจะอยูในมามและอวัยวะท่ีเกี่ยวของกับการไหลเวียน และจะถูกขับ

ออกสูระบบไหลเวียนในสภาวะท่ีระบบไหลเวียนผิดปรกติ เชน มีบาดแผลหรือมีการสูญเสียเลือด

3.1 หนาท่ีหลักของเกล็ดเลือด หนาท่ีของเกล็ดเลือดคือลดการสูญเสียเลือดจากรางกายใน

กรณีท่ีเกิดบาดแผล (ดูเรื่องกระบวนการแข็งตัวของเลือด) โดยทําหนาท่ีดังน้ี

3.1.1 หลั่งเอ็นไซมและปจจัยอ่ืน ๆ ท่ีชวยในกระบวนการแข็งตัวของเลือด

3.1.2 เกล็ดเลือดสามารถประกอบกันเปนกอน เพ่ือหยุดการไหลของเลือด (hemostatic

plug) อุดปากแผลทําใหหยุดการไหลของเลือดและเกาะกันจับกับผนังของหลอดเลือดหรอืบริเวณอื่น ๆ

ท่ีเกิดบาดแผล โดยทํางานรวมกับไฟบริน ในระยะท่ีมีการรวมกลุมกันเกล็ดเลือดบางสวนมีสวนยื่น

Page 26: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

261

เรียกวา ไซโตพลาสมิก โปรเซส (cytoplasmic process ; CP) เจริญออกมา เพ่ือชวยในการเกาะตัวกัน

เพ่ืออุดปากแผล

3.1.3 หลังจากปากแผลถูกอุดและเลือดหยุดไหลแลว เกล็ดเลือดยังมีคุณสมบัติลดขนาด

ของกอนเลือดหรือลิ่มเลือดท่ีอุดปากแผลดังกลาวใหเล็กลง เน่ืองจากในเกล็ดเลือดประกอบดวยแอกติน

กับไมโอซิน ฟลาเมนทท่ีสามารถทําใหกอนเลือดมีการหดตัวได

รูปท่ี 9.15 อีเล็กตรอนไมโครกราฟของเกล็ดเลือด [ในรูปเปนระยะเริ่มตนของการรวมกลุมในกระบวนการแข็งตัวของเลือด จะเห็นมีการพัฒนา

ของไซโตพลาสมิก โปรเซส (CP ในรูป) เพ่ือชวยในการเกาะตัวกัน]

ท่ีมา ; Stevens and Lowe (2005) 3.2 กระบวนการสรางเกล็ดเลือด กระบวนการสรางเกล็ดเลือดเรียกวา ทรอมโบไซโตพอยอีซิส

(thrombocytopoiesis) การสรางเกล็ดเลือดเกิดในไขกระดูก โดยมีเซลลท่ีมีขนาดใหญมากและมี

นิวเคลียสขนาดใหญเรียกวา เมกะคาริโอไซท (megakaryocyte) ท่ีมีการสรางโปรตีนท่ีเปนโครงสราง

เอ็นไซม และเยื่อหุม จากน้ันจะมีการกําจัดไซโตพลาสซึมออกจากเยื่อหุม และนิวเคลียสจะถูกกลืนกิน

โดยเซลลท่ีทําหนาท่ีกลืนกินและแตกออกเปนเศษเล็กเศษนอยเพื่อหมุนเวียนนําไปใชอีก สวนท่ีเหลือเปน

เกล็ดเล็ก ๆ ซึ่งก็คือเกล็ดเลือดน่ันเอง (รูปท่ี 9.16) และถูกสงเขากระแสเลือดในเวลาตอมา แตละ

เมกะคาริโอไซทสามารถใหเกล็ดเลือดถึง 4,000 เกล็ดเลือด กิจกรรมของเมกะคาริโอไซทและการเกิด

เกล็ดเลือดจะขึ้นกับปจจัยหลายอยาง ชนิดแรกคือทรอมโบพอยอีตินหรือทีพีโอ (thrombo-poietin ;

TPO) หรือปจจัยกระตุนการสรางเกล็ดเลือด (throbocyte stimulating factor) เปนฮอรโมนท่ีมี

โครงสรางเปนเปปไตดท่ีสรางโดยไต (และบางทีอาจมาจากแหลงอ่ืนดวย) ฮอรโมนน้ีทําหนาท่ีกระตุนการ

เกิดเกล็ดเลือดและกระตุนการสรางเมกะคาริโอไซท ชนิดท่ีสองคืออินเตอรลูคิน- 6 หรือไอแอล-6 (interleukin-6 ; IL-6) เปนฮอรโมนท่ีกระตุนการเกิดเกล็ดเลือด และชนิดท่ีสามคือมัลติ-ซีเอสเอฟ

ฮอรโมนน้ีทําหนาท่ีกระตุนการเกิดเกล็ดเลือดและกระตุนการสรางเมกะคาริโอไซท

Page 27: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

262

ชนิดและองคประกอบของของเหลวในเลือด ของเหลวในเลือดไดแก พลาสมา และซีรัม 1. พลาสมา พลาสมาเปนสวนของนํ้าเลือดท่ีไดจากการนําเลือด มาทําใหหมดคุณสมบัติในการ

แข็งตัว และต้ังไวใหตกตะกอน เซลลจะตกตะกอนอยูดานลาง สวนของนํ้าอยูดานบนมีสีเหลืองฟาง

ขาวและใส สวนน้ีคือพลาสมา พลาสมาประกอบดวยนํ้า 92 เปอรเซ็นต และของแข็ง 8

เปอรเซ็นต

รูปท่ี 9.16 กระบวนการสรางเกล็ดเลือด (ไมไดแสดงรายละเอียดของพัฒนาการแตละระยะของเซลล) ท่ีมา ; ดัดแปลงจาก Martini (2006) ของแข็งในพลาสมาประกอบดวยโปรตีน 90 เปอรเซ็นต สารอนินทรีย 0.9 เปอรเซ็นต ท่ีเหลือเปน

สารอินทรียท่ีไมใชโปรตีน ไดแก ไขมัน กลูโคส โคเลสเตอรอล (cholesterol) ฮอรโมน

เอ็นไซม และสารอินทรียชนิดอื่นท่ีไมมีไนโตรเจนเปนองคประกอบ สําหรับไนโตรเจนท่ีไมใชองคประกอบ

ของโปรตีนจะเปนกรดอะมิโนอิสระ ซึ่งจะถูกใชเพื่อสรางโปรตีน นอกจากน้ีเปนของเสียจากกระบวนการ

เมตาโบลิซึม เชน ยูเรีย (urea) กรดยูริก (uric acid) ครีเอทีน ครีเอทีนีน (creatinine)

และเกลือของแอมโมเนีย สารอนินทรียท่ีพบในพลาสมามากไดแก คลอไรด คารบอเนต ซัลเฟต

และฟอสเฟต ซึ่งเปนเกลือของโซเดียม โปแตสเซียม แคลเซียม และแมกเนเซียม (magnesium)

Page 28: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

263

เปนตน โปรตีนในพลาสมา (plasma protein) ประกอบดวยโปรตีน 3 ชนิดไดแก อัลบูมิน (albumin)

โกลบูลิน (globulin) และไฟบริโนเจน โปรตีนในพลาสมามีหนาท่ีสําคัญหลายประการ ดังน้ี 1.1 เปนภูมิคุมกัน เชน แกมมาโกลบูลินทําหนาท่ีตอตานสิ่งแปลกปลอม และเปนภูมิคุม

โรคหรือภูมิคุมกัน (immunity) สําหรับรางกาย ซึ่งเปนหน่ึงในกระบวนการของกลไกปองกันตัวของ

รางกาย

1.2 เปนตัวนําหรือตัวพาในกรณีของการเคลื่อนยายสาร โปรตีนในพลาสมาจะเปนตัวจับสารแลว

นําสารไปสูเปาหมาย สารประกอบบางชนิดท่ีอยูในพลาสมาในสภาพปรกติไมละลายนํ้า แตเม่ือรวม

กับ โปรตีนในพลาสมาแลวละลายนํ้าได เชน เหล็ก ฮอรโมนไทรอกซีน (thyroxine) และฮอรโมนคอร

ติโซล เปนตน 1.3 เปนตัวชวยรักษาระดับแรงดันออสโมซิสของเลือดใหคงท่ี

1.4 เปนบัฟเฟอร เพราะโปรตีนในพลาสมามีองคประอบท่ีเปนกลุมคารบอกซิล (carboxyl) และ

เอมีด (amide) ซึ่งสามารถใหหรือจับไฮโดรเจน ไอออนได อยางไรก็ตามตัวการสําคัญท่ีทําหนาท่ีน้ี

ไดแก ไบคารบอเนต (bicarbonate) เปนตัวหลัก นอกจากน้ีซัลเฟต (sulfate) ฟอสเฟต

(phosphate) และฮีโมโกลบินเปนตัวท่ีมีความสําคัญในลําดับตอมา

2. ซีรัม ซีรัมเปนนํ้าเลือดท่ีเกิดจากการท้ิงสวนของพลาสมากับเซลลไวใหนานออกไป ทําใหเซลล

รวมกลุมกัน และหดตัวเปนกอน เน่ืองจากมีไฟบรินมารวมอยูดวย ของเหลวดังกลาวจะแยกตัวออกมา

มีสีเหลืองออน เพราะฉะน้ันซีรัมก็คือสวนของพลาสมาที่แยกไฟบริโนเจนและปจจัยในการแข็งตัวของ

เลือดออกท้ังหมด นอกจากน้ีซีรัมประกอบดวยแอนตีบอดี (antibody) ท่ีเปนสวนท่ีทําหนาท่ีปองกัน

และตานทานเชื้อโรค

3. ของเหลวชนิดอื่นในรางกาย นอกจากของเหลวดังกลาวในเลือดแลว ยังมีของเหลวอ่ืนใน

รางกายท่ีมีท่ีมาจากเลือด ไดแก นํ้าหลอเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (รายละเอียดอยูในเรื่องระบบประสาท)

ไขขอ (รายละเอียดอยูในเรื่องระบบโครงรางและขอตอ) ของเหลวจากเยื่อซีรัสซึ่งพบท่ีชองวางของ

รางกายไดแก ท่ีเยื่อบุชองทอง เยื่อหุมหัวใจ ชองอก นอกจากน้ียังมีของเหลวอ่ืน ๆ ในรางกาย ไดแก

ของเหลวในลูกตา (acqueous humor) ของเหลวท่ีหูสวนใน (perilymph และ endolymph ; รายละเอียดอยูในระบบรับรู) และนํ้าเหลือง (รายละเอียดอยูในเรื่องระบบหมุนเวียนเลือด)

กลไกปองกันรางกาย กลไกปองกันตัวของรางกายเปนกระบวนการท่ีปกปองรางกายจากสิ่งแปลกปลอม เพ่ือใหรางกายทํา

งานและดํารงอยูไดโดยปรกติ กลไกการปองกันตัวเองมีหลายระบบดังน้ี

Page 29: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

264

1. กลไกไมจําเพาะเจาะจง (nonspecific body defenses) ระบบน้ีไดแก การปองกันตัวเองแบบ

ไมจํากัด เพ่ือตอตานจุลินทรียท่ีเขาสูรางกาย ซึ่งไดแก ปจจัยทางกล (mechanical factors) ปจจัยทาง

เคมี (chemical factors) สารตานจุลินทรีย (antimicrobial substances) เม็ดเลือดขาวท่ีเปนตัว

กลืนกิน (phagocytes) การมีไข และการอักเสบ

ปจจัยทางกล ไดแก ผิวหนังและสิ่งขับออกของผิวหนัง และอวัยวะท่ีเกิดจากการเปลี่ยนไปเปน

สวนปกคลุมของผิวหนังชั้นอีพิเดอรมิส (modified epidermal covering) เชน ขน เกือก กีบ เขา

หรือแคลลัส (calluses) เปนตน หรือสวนอื่น ๆ เชน เยื่อเมือกถูกปกคลุมดวยนํ้าเมือกในระบบ

หายใจ หรือระบบยอยอาหาร เปนตน นอกจากน้ีเหงื่อ นํ้าตา นํ้าลาย ของเหลวในกระเพาะ

อาหารท่ีเกิดจากการรวมกันระหวางนํ้ายอยกับกรดเกลือ (gastric juice) และนํ้าปสสาวะ สิ่งเหลาน้ี

สามารถเจือจาง ชะลาง และทําลายจุลินทรียและสารพิษได

ปจจัยทางเคมีและสารท่ีตานจุลินทรีย ไดแก กรดเกลือในกระเพาะอาหาร และไลโซไซมในสิ่งขับ

ออกของรางกายหลายชนิด เชน ในนํ้าลายเปนตน หรืออินเตอรเฟยรอน (interferon) และคอมพลี

เมนท(complement) เปนตัวปองกันเซลลของรางกายจากการเขาทําลายของจุลินทรีย เปนตน

การมีไขสามารถยับยั้งจุลินทรียท่ีไวตออุณหภูมิได และยังกระตุนกลไกการปองกันตัวเองของรางกาย

ดวย นอกจากน้ีการอักเสบเฉพาะแหงสามารถจํากัดการติดเชื้อใหอยูในวงจํากัดได และทําลายสารท่ี

เปนอันตรายได

2. ระบบแมกโครฟาจ (macrophage system) ระบบน้ีถูกเรียกวา ระบบเรติคิโลเอนโดทีเลียม

(อารอีเอส ; RES) หรือ ระบบโมโนนิวเคลียร ฟาโกไซท (mononuclear phagocyte system) เปน

เครือขายของแมกโครฟาจ ท่ีเกี่ยวของกับกระบวนการทําลายเม็ดเลือดแดง เน้ือเยื่อท่ีตายแลวของรางกาย

และทําลายจุลินทรียท่ีแปลกปลอม ซึ่งไดแก แบคทีเรีย และปรสิตเปนตน หนาท่ีของแมกโครฟาจคือ

การกลืนกินสิ่งแปลกปลอม แมกโครฟาจมีตนกําเนิดจากสเต็มเซลล (stem cells) ในไขกระดูกท่ีมี

พัฒนาการหลายขั้นตอน และสวนหน่ึงจะมีการพัฒนามาจากเม็ดเลือดขาวชนิดโมโนไซท ในกรณีน้ีจะ

เกิดไดมากเม่ือรางกายไดรับสิ่งแปลกปลอม หรือจุลินทรียท่ีเปนสาเหตุของโรค และปรสิต

3. ภูมิคุมกัน ระบบน้ีเปนระบบท่ีตอตานแอนตีเจน (antigent) ซึ่งจะเปนระบบท่ีมีความเฉพาะ

เจาะจง (specific immunity) ระบบน้ีแยกเปนหลายชนิดดังน้ี (รูปท่ี 9.17)

Page 30: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

265

รูปท่ี 9.17 แผนผังแสดงรูปแบบของภูมิคุมกันของรางกาย ท่ีมา ; Martiny (2006)

3.1 ภูมิคุมกันอินเนท (innate immunity) เปนภูมิคุมกันท่ีมีมาโดยกําเนิด ในสัตวท่ัวไปจึงมี

ความตานทานโรคโดยธรรมชาติหลาย ๆ โรค ถาสัตวอยูในสภาวะปรกติ ท้ัง ๆ ท่ีสภาวะแวดลอม

ท่ัว ไปมีจุลินทรียมากมายท่ีรางกายสัตวรับเขาไป ตัวอยางในกรณีน้ี เชน ภูมิคุมกันเฉพาะชนิดของสัตว

(specy immunity) ซึ่งภูมิคุมิกันในสัตวตางชนิดกันมีไมเหมือนกัน เชน ไกไมเปนโรคบาดทะยัก

คนไมเปนโรคอหิวาตสุกร ยกเวนเชื้อโรคบางโรคท่ีติดตอจากสัตวสูคนได (zoonosis) เปนตน

3.2 ภูมิคุมกันแอกไควร (acquired immunity) เปนภูมิคุมกันท่ีรางกายสรางขึ้นภายหลังจาก

เกิด แยกเปน 2 กรณี 3.2.1 ภูมิคุมกันแอกทีฟ แอกไควร (active acquired immunity) เปนภูมิคุมกันท่ี

รางกายสรางขึ้นเอง เน่ืองจากการตอบสนองตอแอนติเจน จึงมีการสรางแอนตีบอดีขึ้นมา แอนตีบอดีหรือ

ภูมิคุมกันท่ีสรางขึ้นมาอาจเกิดจากการติดเชื้อโรคบางอยางโดยธรรมชาติ (natural active acquire

immunity) เชน สุนัขถาไดรับเชื้อไขหัดสุนัข (canine distemper) จะสรางภูมิคุมกันโรคน้ี ถาสุนัขหาย

จากโรคจะมีภูมิคุมกันโรคน้ีตลอดไป หรืออีกกรณีหน่ึงอาจเกิดจากการกระตุนโดยการรับแอนตีเจนท่ี

เฉพาะเจาะจงและมีการควบคุมการเขาสูรางกาย (induce active acquire immunity) เชน การรับ

วัคซีนปองกันโรค (vaccination) แลวรางกายจะตอบสนองโดยการสรางภูมิกันตอโรคน้ัน ๆ ขึ้นมา 3.2.2 ภูมิคุมกันพาสสีฟ แอกไควร (passive aquire immunity) เปนภูมิคุมกันท่ีได

รับเขาสูรางกายโดยตรง รางกายไมไดถูกกระตุนใหสรางขึ้นเองอาจเปนการรับภูมิคุมกันโดยธรรมชาติ

ตัว อยางของกรณีน้ีไดแก กรณีท่ีลูกรับภูมิคุมกันบางอยางจากแมโดยธรรมชาติ(natural passive

aquire immunity) เชน ถาแมสุกรมีภูมิคุมกันโรคอหิวาตสุกรอยูเม่ือลูกคลอดออกมาจะมีภูมิคุมกันโรค

ดังกลาวอยูระยะหน่ึง (ประมาณ 4-6 สัปดาห) หรือในกรณีของเชื้อไมโคพลาสมาในสุกรก็เชนเดียวกัน

หรืออีกกรณีหน่ึงเปนการรับภูมิคุมกันท่ีเฉพาะเจาะจงเขารางกายโดยตรง โดยการฉีด (induce passive

aquire immunity) เชน การฉีดแอนตีซีรัม หรือแอนตีบอดีท่ีตอตานโรคไวรัสพิษสุนัขบาใหสัตวหรือคน

ท่ีถูกสัตวท่ีเปนโรคน้ีกัด หรือการฉีดแอนตีทอกซิน (antitoxin) ใหสัตวเพ่ือตอตานเชื้อบาดทะยักในสัตว

ท่ีรับเชื้อน้ี โดยทางบาดแผล เปนตน

Page 31: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

266

ระบบภูมิคุมกันท่ีเฉพาะเจาะจงน้ีเกิดจากการกระตุนเม็ดเลือดขาวชนิดที ลิมโฟไซท หรือที เซลล

(T lymphocyte ; T cell) ชนิดบี (B lymphocyte) และแมกโครฟาจใหมีการแบงตัวเพ่ิมขึ้น ปรกติ

แลวลิมโฟไซทสามารถเปลี่ยนรูปแบบของตัวเอง ไปเปนลิมโฟไซทไดมากมายนับรอยชนิดท่ีไวตอการ

กระตุน เพ่ือตอบสนองตอแอนตีเจนท่ีมีความเฉพาะเจาะจง โดยการสรางสารอินเตอรลูคิน1 (interleukin 1) ไปทําลายแอนตีเจนจากจุลินทรียบางชนิด เชน แบคทีเรีย ภูมิคุมกันท่ีถูกกระตุนให

รางกายสรางขึ้นแบงเปน 2 ชนิด ไดแก ภูมิคุมกันชนิดเซลล แอกไควร (cellular acquire

immunity) หรือเซลล มีเดียท (cell mediated immunity) และชนิดภูมิคุมกันฮิวโมรอล

(humoral acquire immunity) ซึ่งเกี่ยวของและสัมพันธกับเลือดท่ีเกิดจากการกระตุนเม็ดเลือดขาว

ชนิดที ลิมโฟไซทหรือที เซลล ชนิดบี และแมกโครฟาจใหมีการแบงตัวเพ่ิมขึ้น

ภูมิคุมกันชนิดเซลล แอกไควร เกิดขึ้นเม่ือที ลิมโฟไซท (เปนลิมโฟไซทท่ีสรางจากสเต็ม เซลลในไข

กระดูกและไปมีพัฒนาการในตอมไทมัส กอนท่ีจะเคลื่อนยายไปสะสมตัวในเน้ือเยื่อนํ้าเหลือง) ท่ีมาจาก

ตอมไทมัสถูกกระตุนโดยแอนตีเจน เม่ือที ลิมโฟไซทถูกกระตุนโดยแอนตีเจนท่ีเฉพาะเจาะจง จะเกิด

การแบงตัวเพ่ือเพิ่มจํานวนอยางรวดเร็ว เพ่ือตอตานแอนตีเจนดังกลาว ที เซลลจะไมรูจักหรือมีปฏิกิริยา

กับแอนตีเจนอิสระท่ีอยูในเลือด แตจะรูจักกับแอนตีเจนท่ีผิวหนาของเซลล ท้ังแอนตีเจนท่ีเขาทําลาย

เซลล เชน การติดไวรัส และเซลลท่ีถูกกลืนกินโดยแมกโครฟาจ ชิ้นสวนของแอนตีเจนดังกลาวจะ

ปรากฏที่ผิวหนาของเซลล และมีปฏิกิริยากับที เซลลอาจตอบสนองโดยตรงมาท่ีเซลลท่ีถูกทําลาย หรือ

อาจสรางสารลิมโฟไคเนส (lymphokines) ท่ีเปนสารเพิ่มกําลัง และทํางานรวมกับการตอบสนองของ

ภูมิคุมกัน ลิมโฟไคเนสสามารถกระตุนการเพิ่มจํานวนของที เซลลท่ีไวตอการกระตุน และบี เซลลท่ีมี

ความเฉพาะเจาะจง และพัฒนาไปเปนพลาสมา เซลล นอกจากน้ีลิมโฟไคเนสยังสามารถกระตุนแมก

โครฟาจ ใหเคลื่อนยายและเพ่ิมจํานวน ในบริเวณท่ีมีการติดเชื้อหรือมีการอักเสบ ที เซลลจะถูก

กระตุนใหสรางออกมามาก ในกรณีของแอนตีเจนท่ีทําใหเกิดโรคเรื้อรัง เชน เชื้อรา แบคทีเรียในสกุล

บาซิลลัส (Bacillus spp. ) บางชนิด แบคทีเรียในตระกูลบรูเซลลา (Brucella spp.) เซลลมะเร็ง อวัยวะท่ีมีการปลูกถายใหรางกาย หรือเชื้อไวรัสท่ีเปนสาเหตุของโรคภูมิคุมกันบกพรอง (HIV) ในคน

เปนตน

ปรกติที เซลลจะมีความเฉพาะเจาะจงกับแอนตีเจน จึงมีแอนตีเจนนอยมาก (อาจเปนหน่ึงใน

พัน) ท่ีสามารถกระตุนใหที เซลลสรางออกมาเปนกลมใหญและรูจักกับแอนตีเจนหลายชนิด เน่ืองจากใน

กลุมของที เซลลดังกลาวอาจมีชนิดยอย (subtype) ซึ่งไดแก

คิลเลอร ที เซลล หรือ ไซโตทอกซิก ที เซลล (killer T cells ; cytotoxic T cells) ที เซลล

ชนิดน้ี จะรูจักเซลลเปาหมายท่ีรับแอนตีเจนท่ีเฉพาะเจาะจง ที เซลลจะจับกับเซลลเปาหมายและสราง

Page 32: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

267

ชอง วางหรือกระทําตอเยื่อหุมเซลลเปาหมายทําใหเซลลแตกออกในท่ีสุด กระบวนการทํางานแบบน้ีพบใน

การทําลายเซลลมะเร็งของรางกาย และทําลายเซลลของรางกายท่ีติดเชื้อไวรัส

ซัพเพรสเซอร ที เซลล (suppressor T cells) จะยับยั้งการสรางแอนตีบอดีของพลาสมา เซลล

และยับยั้งการตอบสนองของระบบภูมิคุมกันหลายสัปดาหภายหลังถูกกระตุนโดยแอตีเจน

เฮลเปอร ที เซลล (helper T cell) ขยายการสรางภูมิคุมกันท่ีสรางโดยบี เซลล และสรางสาร

ชื่ออินเตอรคูลิน 2 (interculin 2) ซึ่งกระตุนการเพิ่มจํานวนของคิลเลอร ที เซลล

เมมโมรี ที เซลล (memory T cells) เปนที เซลลท่ีรูจักและจําแอนตีเจนตนกําเนิด ท่ีเขามา

ทําลายรางกายในภายหลังอีก ที เซลลชนิดน้ีเม่ือถูกกระตุนจะสรางภูมิคุมกันไดรวดเร็ว

นอรมอล คิลเลอร เซลล หรือ เอ็นเค เซลล เซลลชนิดน้ีปรกติทํางานไดเอง โดยไมตองอาศัย

การกระตุนจากแอนตีเจน หรือลิมโฟไซท เซลลชนิดน้ีจะทําลายแอนตีเจนหลายชนิด ไดแก

เซลลมะเร็ง ไวรัส และจุลินทรียชนิดอื่น ๆ นอกจากน้ีเอ็นเค เซลลยังสามารถสรางอินเตอรเฟย

รอนท่ีสามารถยับยั้งการเพิ่มจํานวนของไวรัสไดดวย

ดีเลย ไฮเปอรเซนซิติวิตี ที เซลล (delayed hypersensitivity T cells) เซลลชนิดน้ีจะสราง

สารท่ีเกี่ยวของกับปฏิกิริยาการแพของรางกาย

3.2 ภูมิคุมกันฮิวโมรอล เปนผลมาจากการสรางแอนตีบอดีโดยบี ลิมโฟไซทท่ีถูกกระตุนโดย

แอนตีเจนท่ีเฉพาเจาะจง บี เซลลจะพบมากท่ีตอมนํ้าเหลืองและมาม ในสัตวปกกระบวนการของ

ลิมโฟไซทชนิดน้ี จะเกิดในเบอรซา ออฟ ฟาบริเชียส (bursa of Fabricious) ซึ่งเปนเน้ือเยื่อนํ้าเหลืองท่ี

อยูบริเวณโคลเอคา (cloaca) ของสัตวปกท่ีอายุยังนอย (ในไกพบเน้ือเยื่อนํ้าเหลืองชนิดน้ีถึงอายุประมาณ

10 – 12 สัปดาห) ในสัตวเลี้ยงลูกดวยนมกระบวนการพัฒนาของบี ลิมโฟไซท พบในเน้ือเยื่อท่ีเรียกวา

เบอรซา อีควิวาเลนท (bursa equivalent) ท่ีอยูในไขกระดูก โดยเจริญมาจากสเต็ม เซลล

บีลิมโฟไซททําหนาท่ีสรางแอนตีบอดีสําหรับระบบภูมิคุมกันฮิวโมรอล โดยพัฒนาไปเปนลิมโฟ-

บลาสท (lymphoblast) ท่ีเปนเซลลขนาดใหญ หลังจากน้ันบางสวนของลิมโฟบลาสทจะเจริญไปเปน

พลาสโมบลาสท (plasmoblast) ในท่ีสุดพลาสโมบลาสทจะมีการแบงตัวและพัฒนาไปเปนพลาสมา

เซลล และทําหนาท่ีสรางแอนตีบอดีท่ีเฉพาะเจาะจงตอแอนตีเจนท่ีมากระตุน ดังน้ันพลาสมาเซลลจึงสราง

แอนตี บอดีชนิดเดียวเพื่อตอบสนองตอแอนตีเจนชนิดเดียวเทาน้ัน แอนตีบอดีท่ีสรางขึ้นมาจะอยูในรูป

โปรตีนท่ีชื่อวาแกมมา โกลบูลิน อิสระ (free gamma globulin) อยูในกระแสนํ้าเหลือง และเขาสูระบบ

หมุนเวียนเลือด นอกจากน้ีบีลิมโฟไซทยังพัฒนาไปเปนชนิดเมโมรี บี ลิมโฟไซท (memory B

lymphocyte) ท่ีสามารถสรางแอนตีบอดีไดอยางรวดเร็ว เพ่ือตอบสนองตอแอนตีเจนชนิดเดียวกันท่ีเคย

กระตุนมากอน

Page 33: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

268

แอนตีบอดีแยกเปนหลายชนิด ไดแก ไอจีเอ (immunoglobulin A ; IgA) ไอจีดี (IgD)

ไอจีอี (IgE) ไอจีจี (IgG) และไอจีเอ็ม (IgM) การแยกชนิดอาศัยโครงสรางทางเคมี และ

องคประกอบอ่ืน ๆ ในการทําปฏิกิริยากับแอนตีเจนน้ันประมาณสามในสี่สวนของแอนตีบอดีเปน

ชนิดไอจีจี

การทํางานของแอนตีบอดีจะจับแอนตีเจนเปนแอนตีเจน-แอนตีบอดี คอมเพล็กซ (antigen-

antibody complex) และทําลายแอนตีเจนในท่ีสุด กระบวนการทําลายแอนตีเจนของแอนตีบอดีเกิด

ได7 วิธีการดังน้ี

3.2.1 นิวตรอลไลเซชัน (neutralization) วิธีการน้ีแอนตีบอดีจะขัดขวางการเขาจับกับ

ตําแหนงท่ีเฉพาะเจาะจงของเซลลของรางกายของไวรัสหรือสารพิษจากแบคท่ีเรีย ทําใหเขาทําลายเซลล

ไมได

3.2.2 พรีซิพิเตชัน และแอกกลูติเนชัน (precipitation and agglutination) ในกรณีน้ี

เกิดโดยโมเลกุลของแอนตีบอดีหน่ึงโมเลกุล สามารถจับกับโมเลกุลของแอนตีเจนไดหลายตําแหนง

และหลายโมเลกุล ทําใหแอนตีเจนหมดความสามารถในการละลายและเกิดรวมกลุมกัน ทําใหทําลาย

เซลลของรางกายไมได สวนแอกกลูติเนชันเปนกระบวนการท่ีแอนติเจนบนผิวหนาของเซลล

แปลกปลอมหรือไวรัสรวมกลุมกันทําใหเกิดการตกตะกอน ทําใหเขาทําลายเซลลไมได

3.2.3 การกระตุนของคอมพลีเมนท (activation of complement) เปนวิธีท่ีแอนตีบอ

ตีจับกับแอนตีเจนและมีบางสวนของแอนตีบอดีเปลี่ยนรูปราง และเปดสวนท่ีจับกับคอมพลีเมนท

โปรตีน และมีการกระตุนระบบคอมพลีเมนทใหทําลายแอนตีเจน

3.2.4.การชอบเซลลกลืนกิน (attraction of phagocytes) แอนตีเจนท่ีจับกับแอนตีบอดี

จะชอบเซลลท่ีทําหนาท่ีกลืนกิน เชน อีโอซิโนฟล นิวโตรฟล และแมกโครฟาจ ทําใหเซลลหรือสิ่ง

แปลกปลอมถูกทําลาย 3.2.5 ออพโซไนเซชนั (opsonization) เปนวิธีการท่ีเกิดเม่ือแบคทีเรียท่ีมีเปลือกหุมหรือ

แคปซูล หรืออาจมีเยื่อหุมเซลลท่ีมีลักษณะเปนมัน เม่ือจับกับแอนตีบอดี และคอมพลีเมนทแลว ทําให

เซลลท่ีทําหนาท่ีกลืนกินโอบลอม (engulf) ไดงายขึ้นกวาเยื่อหุมเซลลแบคทีเรียแบบธรรมดาท่ัวไป ทําให

งายตอกระบวนการกลืนกิน

3.2.6 การกระตุนการอักเสบ (stimulation of inflamation) แอนตีบอดีทําใหเกิดการ

อักเสบเพื่อกระตุนเบโซฟลและมาสท เซลล

3.2.7 การปองกันการเกาะตัวของแบคทีเรียและไวรัส (prevention of bacteria and

viral adhesion) แอนตีบอดีจะละลายปนอยูกับนํ้าลาย นํ้าเมือก และชั้นท่ีปกคลุมเยื่อบุของระบบบบ

หายใจ ทําใหแอนตีเจนสัมผัสและเขาทําลายเซลลของรางกายยากขึ้น

Page 34: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

269

สรุปทายหนวยเรียน 1. เลือดเปนเน้ือเยื่อประสานมีเซลลเรียกวาเม็ดเลือด มีพลาสมาเปนอินเตอรเซลลูลาร ซับสแตนส

2. เลือดมีหนาท่ี นําสารอาหารจากระบบยอยอาหารไปเลี้ยงเน้ือเยื่อของรางกาย นําจากปอดไป

เลี้ยงเน้ือเยื่อ และนําคารบอนไดออกไซดจากเน้ือเยื่อไปยังปอด นําของเสียจากเนื้อเยื่อของรางกายไปสู

ไตเพื่อขับออกนอกรางกาย นําฮอรโมนจากตอมไรทอไปสูอวัยวะเปาหมาย ชวยควบคุมอุณหภูมิของ

รางกาย ควบคุมความสมดุลของนํ้าในรางกาย ควบคุมความเปนกรด – ดางของเน้ือเยื่อ และของเหลว

ในรางกาย คุณสมบัติในการเเข็งตัวของเลือดชวยไมใหเลือดไหลออกนอกรางกายมากเกินไปเม่ือเกิด

บาดแผล และชวยในการตอตานเชื้อโรค

3. เลือดมีคุณสมบัติเฉพาะตัวหลายประการ ไดแก ความเปนกรด-ดาง การแข็งตัวของเลือด

ความถวงจําเพาะของเลือด ปริมาตรของเลือด และการตกตะกอนของเม็ดเลือด

4. เม็ดเลือดแดง ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 7.5 ไมครอน ลักษณะเปน

แผนกลม เวาสองดาน ไมมีนิวเคลียส เม็ดเลือดแดงมีสีแดงเน่ืองจากมีฮีโมโกลบินอยูภายในเซลล

ฮีโมโกลบินจะรวมกับกลายเปนออกซีฮีโมโกลบินไปสูเซลล

5. กระบวนการสรางเม็ดเลือดแดงของสัตวท่ีโตเต็มวัย จะเกิดขึ้นท่ีไขกระดูก แตตัวออนท่ียังอยู

ในทองแมมีมาม ตับ และตอมนํ้าเหลืองสรางเม็ดเลืดไดดวย สัตวปกการสรางสวนใหญจะมาจากไข

กระดูก และบางสวนสรางจากมาม เม็ดเลือดแดงจะถูกทําลายภายหลังจากถูกสรางขึ้นมาในกระแส

เลือด 3 - 4 เดือนแลวแตชนิดของสัตว

6. การทําลายเม็ดเลือดแดงมี 2 ลักษณะ การทําลายภายในหลอดเลือด และการทําลายนอกหลอด

เลือด

7. เม็ดเลือดแดงมีคาเฉพาะตัวอยางหน่ึงคือมีคาฮีมาโตคริต หรือปริมาตรแพก เซลลท่ีเปนเปอรเซ็นต

ของเม็ดเลือดแดงโดยปริมาตรท่ีเกิดขึ้น เม่ือนําเลือดท่ีหมดคุณสมบัติในการแข็งตัวมาตก ตะกอนโดยการ

ปนในหลอดฮีมาโตคริต จนกระท่ังเซลลตกตะกอนลงไปอยูชั้นลาง ปริมาตรแพกเซลลจะแตกตางกันตาม

ชนิดของสัตว

Page 35: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

270

8. เม็ดเลือดขาวเปนเซลลท่ีมีนิวเคลียส สามารถเคลื่อนท่ีไดอยางอิสระ เม็ดเลือดขาวแบงออกเปน 2

กลุมคือชนิดมีแกรนูล และชนิดไมมีแกรนูล

9. เม็ดเลือดขาวชนิดมีแกรนูล เม็ดเลือดขาวกลุมน้ีมี 3 ชนิด ไดแก นิวโตรฟล อีโอซิโนฟล

และเบโซฟล เม็ดเลือดขาวชนิดน้ีสรางจากไขกระดูก

10. เม็ดเลือดขาวชนิดไมมีแกรนูล เม็ดเลือดขาวกลุมน้ีไมมีแกรนูลในไซโตพลาสซึมหรือมีนอย

มาก เม็ดเลือดขาวกลุมน้ีไดแก โมโนไซท และลิมโฟไซท 11. เกล็ดเลือด เปนสวนของเมกะคารีโอไซท ซึ่งเปนระยะหน่ึงของเม็ดเลือดแดงท่ีถูกสรางมาจากไข

กระดูก แตไมพัฒนาตอ เกล็ดเลือดมีอายุ 8 -11 วัน หนาท่ีหลักของเกล็ดเลือด คือ ลดการสูญเสีย

เลือดจากรางกายในกรณีท่ีเกิดบาดแผลโดยทํางานรวมกับไฟบริน

12. พลาสมาเปนสวนของนํ้าเลือดท่ีไดจากการนําเลือด มาทําใหหมดคุณสมบัติในการแข็งตัว และ

ต้ังไวใหตกตะกอน มีสีเหลืองฟางขาวและใส พลาสมาประกอบดวยนํ้า 92 เปอรเซ็นต และของแข็ง

8 เปอรเซ็นต ของแข็งในพลาสมาประกอบดวยโปรตีน สารอนินทรีย และสารอินทรียท่ีไมใชโปรตีน

นอกจากน้ีเปนของเสียจากกระบวนการเมตาโบลิซึม

13. สารอนินทรียท่ีพบในพลาสมามากไดแก คลอไรด คารบอเนต ซัลเฟต และฟอสเฟต ซึ่ง

เปนเกลือของโซเดียม โปแตสเซียม แคลเซียม และแมกเนเซียม

14. โปรตีนในพลาสมา ประกอบดวยโปรตีน 3 ชนิดไดแก อัลบูมิน โกลบูลิน และไฟบริโนเจน

โปรตีนในพลาสมามีหนาท่ีเปนภูมิคุมกัน เปนตัวนําหรือตัวพา เปนตัวชวยรักษาระดับแรงดันออสโมซิส

ของเลือดใหคงท่ี และเปนบัฟเฟอร

15. ซีรัมเปนนํ้าเลือดท่ีเกิดจากการท้ิงสวนของพลาสมากับเซลลไวใหนานออกไป มีสีเหลืองออน

ซีรัมประกอบดวยแอนตีบอดีท่ีเปนสวนท่ีทําหนาท่ีปองกันและตานทานเชื้อโรค

16. ของเหลวชนิดอื่น นอกจากของเหลวดังกลาวในเลือดแลว ยังมีของเหลวอ่ืนในรางกายท่ีมี

ท่ีมาจากเลือด ไดแก นํ้าหลอเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ไขขอ ของเหลวจากเยื่อซีรัส ของเหลวในลูกตา

ของเหลวท่ีหูสวนใน และนํ้าเหลือง

17. กลไกปองกันตัวของรางกาย เปนกระบวนการท่ีปกปองรางกายจากสิ่งแปลกปลอม เพ่ือให

รางกายทํางานและดํารงอยูไดโดยปรกติ กลไกการปองกันตัวเองมี 2 ระบบไดแก กลไกไมจําเพาะ

เจาะจง ระบบน้ีไดแก ปจจัยทางกล ปจจัยทางเคมี สารตานจุลินทรีย เม็ดเลือดขาวท่ีเปนตัว

กลืนกิน การมีไข การอักเสบ และแมกโครฟาจ อีกระบบหน่ึงคือกลไกเฉพาะเจาะจง

18. แมกโครฟาจ เกี่ยวของกับกระบวนการทําลายเม็ดเลือดแดง เน้ือเยื่อท่ีตายแลวของรางกาย

และทําลายจุลินทรียท่ีแปลกปลอม

Page 36: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

271

19. ภูมิคุมกัน เปนระบบท่ีตอตานแอนตีเจน ซึ่งจะเปนระบบท่ีมีมีความเฉพาะเจาะจง ระบบน้ี

แยกเปนหลายชนิดไดแก ภูมิคุมกันอินเนท ภูมิคุมกันแอกไควร ท่ีมีท้ังชนิดแอกทีฟ แอกไควร และ

ภูมิคุมกันพาสสีฟ แอกไควร 20. ระบบภูมิคุมกันท่ีเฉพาะเจาะเกิดจากการกระตุนเม็ดเลือดขาวชนิดที ลิมโฟไซท หรือที เซลล

ชนิดบี เซลล และแมกโครฟาจใหมีการแบงตัวเพ่ิมขึ้น เพ่ือตอบสนองตอแอนตีเจนท่ีมีความเฉพาะ

เจาะจง ภูมิคุมกันท่ีถูกกระตุนใหรางกายสรางขึ้นแบงเปน 2 ชนิด ไดแก ภูมิคุมกันชนิดเซลล

แอกไควร และชนิดภูมิคุมกันฮิวโมรอล ท่ีเกิดจากการกระตุนเม็ดเลือดขาวชนิดที ลิมโฟไซทหรือที เซลล

ชนิดบี เซลล และแมกโครฟาจใหมีการแบงตัวเพ่ิมขึ้น 21. แอนตีบอดีแยกเปนหลายชนิด ไดแก ไอจีเอ ไอจีดี (IgD) ไอจีอี (IgE) ไอจีจี (IgG)

และไอจีเอ็ม (IgM)

22. การทํางานของแอนตีบอดีจะจับแอนตีเจนเปนแอนตีเจน-แอนตีบอดี คอมเพล็กซ และทําลาย

แอนตีเจน กระบวนการทําลายแอนตีเจนของแอนตีบอดีเกิดไดหลายวิธีการ ไดแก นิวตรอลไลเซชัน

พรีซิพิเตชัน และแอกกลูติเนชัน การกระตุนของคอมพลีเมนท ออพโซไนเซชัน การกระตุนการ

อักเสบ และปองกันการเกาะตัวของแบคทีเรียและไวรัส

Page 37: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

272

แบบฝกหัดท่ี 9 ตอนท่ี 1 ใหตอบคําถามขางลาง

1. จงบอกองคประกอบ หนาท่ี และคุณสมบัติท่ัวไปของเลือดวามีอะไรบาง

2. เม็ดเลือดแดงมีรูปรางอยางไร มีองคประกอบท่ีสําคัญคืออะไร และทําหนาท่ีอยางไร ?

3. เม็ดเลือดแดงสรางจากท่ีใดบาง มีอายุเทาไร และถูกทําลายไดอยางไร ?

4. เม็ดเลือดขาวมีกี่ชนิด อะไรบาง และแตละชนิดทําหนาท่ีอยางไรในรางกาย ?

5. เกล็ดเลือดมีรูปรางเปนอยางไรทําหนาท่ีอะไรในรางกาย ?

6. ใหอธิบายกระบวนการแข็งตัวของเลือดเม่ือเกิดบาดแผลในรางกายโดยสรุป ?

7. องคประกอบของพลาสมามีอะไรบาง ? และพลาสมาแตกตางจากซีรัมอยางไร ?

8. ของเหลวชนิดอื่น ๆ ในรางกายมีอะไรบาง ?

9. รูปท่ีทานเห็นขางลางน้ีเปนรูปของอะไรใหเขียนชื่อกํากับ ?

Page 38: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

273

ตอนท่ี 2 ใหเลือกคําตอบท่ีถูกท่ีสุด 1. ธาตุเหล็กในเม็ดเลือดแดงอยูในรูปใด ?

ก. Ferric iron ข. ferous iron ค. Ferite iron ง. alloy iron 2. เกล็ดเลือดมีหนาท่ีหลัก คืออะไร ก. สรางภูมิคุมโรค ข. สรางเม็ดเลือดแดง

ค. สรางเม็ดเลือดขาว ง. ชวยการแข็งตัวของเลือด 3. ซีรัมไมมีสารชนิดใดเม่ือเทียบกับพลาสมา ก. ภูมิคุมกัน ข. เม็ดเลือดแดง

ค. เม็ดเลือดและปจจัยการแข็งตัวของเลือดรวมท้ังไฟบริน ง. สารอินทรีย

4. ขอใดเปนบัฟเฟอรของเลือด

ก. กรดคารบอนิก ข. ไบคารบอเนต ค. เฮปาริน ง. ไฟบริโนเจน 5. ขอใดไมใชหนาท่ีโดยตรงของเลือด

ก. นําออกซิเจนไปเลี้ยงเน้ือเยื่อ ข. ควบคุมสมดุลยของนํ้าในรางกาย

ค. ชวยตอตานเชื้อโรค ง. ชวยนํานํ้ายอยไปสูลําไส

6. แอนตีบอดีชนิดใดพบมากท่ีสุดในรางกายในกระบวนการตอตานสิ่งแปลกปลอม

ก. ไอจีเอ ข. ไอจีดี ค. ไอจีอี ง. ไอจีจี ......................................................................................................................................................

Page 39: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

274

เอกสารอางอิง

1. Bloom, W. and D. W. Fawcett. 1975. A Textbook of Histology. 10th

ed, W.S. Saunders

Company, Philadelphia.

2. Bone, J.F. 1988. Animal Anatomy and Physiology. Prentice –Hall Company, Reston,

Verginia.

3. Burkitt, George H.,Barbara Young and John W.Heath. 1994. Wheather’s Functional

histology. 3rd

ed. Longman Group Ltd., Hong kong.

4. Carola, Robert., John P. Harley and Charles R. Noback. 1992. Human Anatomy.

McGraw – Hill, Inc., New York.

5. Cunningham, James G. 2002. Textbook of Veterinary Physiology. 3th

ed. W.B.Saunders

Company, Philadelphia.

6. Dellman, H. Dieter and Joann Eurell. 1998. Text book of Veterinary Histology. 5th

ed.

Williams and Willkins, Baltimore.

7. Frandson, R.D. and T.L.Spurgeon. 1992. Anatomy and Physiology of Farm Animals.

5th

ed. Lippincott Williams and Wilkins, Philadelphia. 8. Frandson, R.D., Wilke, W. L. and Fails, A.D. 2006. Anatomy and Physiology of Farm

Animals. 6th

ed. Blackwell Publishing. Ames. Iowa. 9. Junqueira, Carlos L., Carneiro, Jose

\. and Robert O. Kelly. 1992. Basic Histology.

7th

ed. Prentice - Hall Inc., New Jersy.

Page 40: 9เลือด2007 - RMUTI€¦ · ผ านทางผิวหนัง และระบบหายใจ 1.6 ควบคุมความสมดุลของน้ํ

275

10. Martini, H. Frederic. 2006. Fundamentals of Anatomy And Physiology. 7th

ed. Pearson Education Inc., New York.

11. Raven, H. Peter and George B. Johnson. 1988. Understanding Biology. Times Mirror/Mosby College Publishing, ST. Louis.

12. Reece, O. W. 2006. Functional Anatomy and Physiology of Domestic Animals. 2006.

3th

ed. Blackwell Publishing. Ames. Iowa.

13. Ross, H. Michael and Wojciech Pawlna. 2006. Histology. 5th

ed Lippincott Williams

and Wilkins, Baltimore.

14. Stevens, Alan and James Lowe. 2005. Human Histology. 3rd

ed Elsilvier Ltd.,

Philadelphia. 15. Swenson, M.J. and W.O. Reece. 1993. Duke

,s Physiology of Domestic Animals.

11th

ed. Comstock Publishing, London.

16. Vander, Arther., James Sherman and Dorothy Luciano. 2001. Human Physiology.

8th

ed. McGraw – Hill, Inc., Singapore. 17. Wessells, Norman K. and Janet K. Hopson. 1988. Biology. Randomhouse Inc.,

New York.

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------