ดนตรีเอกซ์เพรสชั่น

2
ณัชพล ชูสกุล ดนตรีเอกซ์เพรสชั่น เอกซ์เพรสชั่น (Expression) คือแนวคิดศิลปะที่แสดงออกถึงสิ่งเก็บกดหรือกดดันอยู่ภายในใจ ออกมาด้วยอารมณ์รุนแรงในด้านลบ ขุ่นมัว สะเทือนอารมณ์ เช่นสื่อถึงความตาย ฆาตกรรม วิปริต วิกลจริต เป็นต้น แนวคิดนี้เกิดขึ้นช่วงต้นศตวรรษที20 ซึ่งปรากฎในงานทัศนศิลป์ ดนตรี วรรณกรรม และจิตรกรรม ยกตัวอย่างเช่น ภาพวาดเดอะสครีม (The Scream) ของเอดวาร์ด มุนช์ (Edvard Munch, 1863-1944) ที่แสดงความรู้สึกน่ากลัว สับสน ยุ่งเหยิงด้วยการวาดให้รูปบิดเบี้ยว เป็นต้น ดนตรีเอกซ์เพรสชั่นเกิดขึ้นในประเทศเยอรมนีและออสเตรียช่วงต้นศตวรรษที20 ก่อนสงครามโลก ครั้งที่หนึ่ง ลักษณะทางดนตรีจะไม่ใช้ระบบโทนาลหรือศูนย์กลางเสียง แต่ให้ความสำคัญกับทุกโน้ตใน บันไดเสียงโครมาติกเท่ากัน ทำให้ไม่มีเสียงใดถูกให้ความสำคัญเป็นโทนิกหรือศูนย์กลางเสียง เรียกว่าระบบ ไร้กุญแจเสียง (Atonality) เมืองศูนย์กลางที่พัฒนาดนตรีแนวนี้คือกรุงเวียนนา ศิลปินคนสำคัญที่พัฒนาดนตรี เอกซ์เพรสชั่นได้แก่ อาร์โนลด์ เชินแบร์ก (Arnord Schoenberg, 1874-1951) กับลูกศิษย์ของเขาอัลบัน แบร์ก (Alban Berg, 1885,1945) และอันโทน เวเบิร์น (Anton Webern, 1883-1945) หรือเรียกกลุ่มนี้สำนักเวียนนาทีสอง (Second Viennese School) ดนตรีเอกเพรสชั่นแบ่งออกเป็นสองยุคคือ ช่วงต้นศตวรรษที20 ถึงปีค.. 1920 ดนตรีเป็นลักษณะเอโทนาลแบบอิสระ (Free Atonal) และช่วงหลังปีค.. 1920 ใช้ระบบ ดนตรีสิบสองเสียง (Twelve Tone System) ในการประพันธ์และเริ่มเข้าสู่ดนตรีระบบซีเรียล (Serialism) ลักษณะดนตรีเอกซ์เพรสชั่น เชินแบร์กมีอิทธิพลทางดนตรีมาจากยุคโรแมนติกตอนปลาย การใช้จังหวะ เสียงประสาน เสียงสอด ประสานที่ซับซ้อน แต่เขาพยายามไม่ใช้ระบบโทนาลและให้ความสำคัญกับโน้ตโครมาติกทุกตัวเท่ากัน แทนที่จะให้ความสำคัญกับโน้ตเสียงใดเสียงหนึ่งเป็นโทนิก งานที่ถือว่าเป็นการเริ่มออกจากกรอบของระบบ โทนาลคือ String Quartet No.2 Op.10 (1908) แล้วพัฒนาจนกลายเป็นดนตรีเอโทนาลอย่างสมบูรณ์ในเพลง The Five Pieces for Orchestra, Op.16 (1909) และเพลง Three Pieces for Piano, Op.11 (1909) เทคนิคการประพันธ์ที่เชินแบร์กให้ความสำคัญ คือ การเปลี่ยนเครื่องดนตรีขณะเล่นทำนองอย่างกระทันหัน สร้างสีสันให้กับทำนอง ที่บรรเลงโดยเครื่องดนตรีหลากหลายชิ้น เรียกว่า ทำนองสีสัน (Tone Colour Melody หรือ Klangfarbenmelodie)” ยกตัวอย่างในเพลง The Five Pieces for Orchestra (3rd movement) แม้จะทำลายระบบโทนาลโดยการให้ความสำคัญกับโน้ตโครมาติกทุกตัวเท่ากันแล้ว องค์ประกอบ ของดนตรียังต้องอาศัยกฎการประพันธ์อยูเช่นในเพลง Mondestrunken (Moondrunk) ยังคงพบกลุ่มโมทีฟ แต่ไม่พบความสัมพันธ์ของโน้ตแบบระบบโทนาลและไม่พบศูนย์กลางของเสียง เทคนิคการประพันธ์แบบ ดั้งเดิมก็ยังคงพบอยูแต่อยู่ในรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น เช่นในงานเพลง Pierrot lunaire, Op.21 (Pierrot in the Moonlight, 1912) พบการใช้เทคนิค สอดประสาน แคนอนและฟิวก์ เป็นต้น นอกจากนั้นเชินแบร์กยังได้ พัฒนาเทคนิคการร้องแบบใหม่ในลักษณะร้องกึ่งพูดเรียกว่า สเปรชสทิมเม (Sprechstimme) และใช้เครื่อง- หมายกากบาท (x) กำกับ สังเกตุได้จาก เพลง Pierrot lunaire

description

klj

Transcript of ดนตรีเอกซ์เพรสชั่น

ณชพล ชสกล

ดนตรเอกซเพรสชน

เอกซเพรสชน (Expression) คอแนวคดศลปะทแสดงออกถงสงเกบกดหรอกดดนอยภายในใจ

ออกมาดวยอารมณรนแรงในดานลบ ขนมว สะเทอนอารมณ เชนสอถงความตาย ฆาตกรรม วปรต วกลจรต

เปนตน แนวคดนเกดขนชวงตนศตวรรษท 20 ซงปรากฎในงานทศนศลป ดนตร วรรณกรรม และจตรกรรม

ยกตวอยางเชน ภาพวาดเดอะสครม (The Scream) ของเอดวารด มนช (Edvard Munch, 1863-1944)

ทแสดงความรสกนากลว สบสน ยงเหยงดวยการวาดใหรปบดเบยว เปนตน

ดนตรเอกซเพรสชนเกดขนในประเทศเยอรมนและออสเตรยชวงตนศตวรรษท 20 กอนสงครามโลก

ครงทหนง ลกษณะทางดนตรจะไมใชระบบโทนาลหรอศนยกลางเสยง แตใหความสำคญกบทกโนตใน

บนไดเสยงโครมาตกเทากน ทำใหไมมเสยงใดถกใหความสำคญเปนโทนกหรอศนยกลางเสยง เรยกวาระบบ

ไรกญแจเสยง (Atonality) เมองศนยกลางทพฒนาดนตรแนวนคอกรงเวยนนา ศลปนคนสำคญทพฒนาดนตร

เอกซเพรสชนไดแก อารโนลด เชนแบรก (Arnord Schoenberg, 1874-1951) กบลกศษยของเขาอลบน แบรก

(Alban Berg, 1885,1945) และอนโทน เวเบรน (Anton Webern, 1883-1945) หรอเรยกกลมนสำนกเวยนนาท

สอง (Second Viennese School) ดนตรเอกเพรสชนแบงออกเปนสองยคคอ ชวงตนศตวรรษท 20 ถงปค.ศ.

1920 ดนตรเปนลกษณะเอโทนาลแบบอสระ (Free Atonal) และชวงหลงปค.ศ. 1920 ใชระบบ

ดนตรสบสองเสยง (Twelve Tone System) ในการประพนธและเรมเขาสดนตรระบบซเรยล (Serialism)

ลกษณะดนตรเอกซเพรสชน

เชนแบรกมอทธพลทางดนตรมาจากยคโรแมนตกตอนปลาย การใชจงหวะ เสยงประสาน เสยงสอด

ประสานทซบซอน แตเขาพยายามไมใชระบบโทนาลและใหความสำคญกบโนตโครมาตกทกตวเทากน

แทนทจะใหความสำคญกบโนตเสยงใดเสยงหนงเปนโทนก งานทถอวาเปนการเรมออกจากกรอบของระบบ

โทนาลคอ String Quartet No.2 Op.10 (1908) แลวพฒนาจนกลายเปนดนตรเอโทนาลอยางสมบรณในเพลง

The Five Pieces for Orchestra, Op.16 (1909) และเพลง Three Pieces for Piano, Op.11 (1909)

เทคนคการประพนธทเชนแบรกใหความสำคญ คอ การเปลยนเครองดนตรขณะเลนทำนองอยางกระทนหน

สรางสสนใหกบทำนอง ทบรรเลงโดยเครองดนตรหลากหลายชน เรยกวา “ทำนองสสน (Tone Colour

Melody หรอ Klangfarbenmelodie)” ยกตวอยางในเพลง The Five Pieces for Orchestra (3rd movement)

แมจะทำลายระบบโทนาลโดยการใหความสำคญกบโนตโครมาตกทกตวเทากนแลว องคประกอบ

ของดนตรยงตองอาศยกฎการประพนธอย เชนในเพลง Mondestrunken (Moondrunk) ยงคงพบกลมโมทฟ

แตไมพบความสมพนธของโนตแบบระบบโทนาลและไมพบศนยกลางของเสยง เทคนคการประพนธแบบ

ดงเดมกยงคงพบอย แตอยในรปแบบทซบซอนมากขน เชนในงานเพลง Pierrot lunaire, Op.21 (Pierrot in

the Moonlight, 1912) พบการใชเทคนค สอดประสาน แคนอนและฟวก เปนตน นอกจากนนเชนแบรกยงได

พฒนาเทคนคการรองแบบใหมในลกษณะรองกงพดเรยกวา สเปรชสทมเม (Sprechstimme) และใชเครอง-

หมายกากบาท (x) กำกบ สงเกตไดจาก เพลง Pierrot lunaire

ณชพล ชสกล

นอกจากเชนแบรกทเปนคนสำคญแลว ลกศษยของเขาทงสองตางกมเอกลกษณเฉพาะตวทางดนตร

แตกตางกนไป ดนตรของเวเบรนมความยาวของเพลงสนสงเกตไดจากเพลง Five Movement for String

Quartet, Op.5 (1909) มจำนวนหองทงหมด 26 หองเทานน ทำนองมลกษณะคลายกบเชนแบรกคอ

เอาแนวคดทำนองสสนมาใชแตไมเปลยนเครองดนตร เทคนคนเรยกวาพอยนทลสตก (Pointilistic)

มการกระโดดขนคกวางในแนวทำนอง โนตทำนองมจำนวนนอย บางเพลงอาจมโนตเพยงแคตวเดยวหรอ

สองตว สวนดนตรของแบรกกมเอกลกษณเฉพาะตวเหมอนกน แบรกไดใชระบบโนตสบสองเสยงและ

ระบบเอโทนาลโดยมระบบโทนาลซอนอย ซงไดรบอทธพลดนตรมาจากยคโรแมนตก สงเกตไดจากแนว

ทำนองของเพลง Vier Lieder (Four Songs), Op.2 (1908-1910)

สรปแลวดนตรเอโทนาลอสระจะใหความสำคญกบการพฒนาโมทฟ แตไมใชโมทฟในแบบเดมทเคย

เปนมา จงหวะมความสำคญมากกวาระดบเสยง ทำใหวเคราะหการพฒนาโมทฟเปนไปไดยาก จำเปนจะตอง

มองการเคลอนทไปขางหนามากกวาหาความสมพนธของระดบเสยง และตอจากนนดนตรระบบโนตสบ-

สองเสยง กเขามามบทบาทหลงจากปค.ศ. 1920 เปนตนมา หรอเรยกไดวาดนตรเรมเขาสระบบซเรยลกวาได

บรรณานกรม

ณรงคฤทธ ธรรมบตร. การประพนธเพลงรวมสมย. กรงเทพฯ: สำนกพมพจฬาลงกรณมหาวทยาลย, 2552.

วบลย ตระกลฮน. “ดนตรอมเพรสชนนซม: โคลด เดอบชซ.” วารสารดนตรรงสต 5, 2 (2553): 31-38.

Kamien, Roger. Music An Appreciation. 2 ed. New York: MacGraw-Hill, 2011.