3 (Critical Success Factor Analysis) ป จจัยแห งความ...

2
หนา 7 3 ปจจัยแหงความสำเร็จของผูประกอบการ (Critical Success Factor Analysis) แม็คคินซีย (McKinsey) ไดแนวคิดการใชปจจัยแหงความสำเร็จมาจากหลักการทำสงครามของทหาร แม็คคินซียได วิเคราะหการเติบโตของการวางแผนธุรกิจ (Business Planning) ในชวงปลายทศวรรษที ่ 1990 และเห็นวา ปจจัยแหงความสำเร็จ เปนเครื่องมืออันหนึ่งของผูบริหารในการจัดลำดับความสำคัญของการจัดการและการดำเนินธุรกิจ ซึ่งนอกเหนือจากการเรียง ลำดับความสำคัญแลว ยังเปนเครื่องมือตรวจสอบความแข็งแกรงขององคกรในการบรรลุเปาประสงคที่สำคัญ คือ ดานการตลาด เพื่อใหไดมาซึ่งยุทธศาสตรการตลาดที่ดี โรนัลด ดาเนียล (Ronald Daniel) ใชปจจัยแหงความสำเร็จเปนเครื่องมือ ในการจัดการดานธุรกิจภายใตวิกฤติและไดรวมกันเขียนบทความวิจัยการตลาดทางดานนี้ไวในวารสาร “Harvard Business Review” ฉบับเดือนกันยายน ค.ศ. 1961 ซึ ่งจากการวิเคราะหธุรกิจไดชี ้วา การมีขาวสารขอมูลมากเกินไปโดยปราศจากการเนน ปจจัยสำคัญ จะทำใหฝายจัดการเสียเวลาในการวิเคราะหและผลที่ไดยังนำไปสูขอสรุปทางการตลาดที่ผิดพลาดอีกดวย และ ในที่สุดก็จะนำไปสูการลดขีดความสามารถในการแขงขันขององคกร การลดภาระจากการรวบรวม วิเคราะห และตัดสินใจ ทางธุรกิจบนขอมูลตางๆ ทำใหดาเนียลไดกำหนดปจจัยสำคัญที ่จำเปนเพื ่อมากำหนดวา ปจจัยที ่ทำไดสำเร็จ (Success Factor) ของธุรกิจปจจัยใดบางที ่อยู ในการควบคุมขององคกรและปจจัยใดเปนปจจัยภายนอก ซึ ่งจำเปนที ่หนวยงานที ่เกี ่ยวของหรือภาครัฐ ตองสรางความรวมมือระหวางสมาชิกของธุรกิจในการแกไขปญหาใหลุลวงไปได การวิเคราะหปจจัยแหงความสำเร็จ (CSF Analysis) เปนสิ่งที่องคกรตองใหความสำคัญ เพื่อใชเปนเกณฑในการ ยกระดับผลประกอบการใหสูงขึ้น (Higher Performance) ซึ่งประเด็นนี้จัดเปนสิ่งที่ใชวัดประสิทธิภาพในการติดตามผล การดำเนินการ (Monitoring System) สำหรับปจจัยแหงความสำเร็จนั้น มีอยูดวยกัน 7 ประการ ไดแก 1.ความมุงมั่น (Drive) ในชีวิตจริงแลวการมุงมั่นสูความเปนเลิศ (Personal Mastery) เปนหัวใจสำคัญประการแรก ที่ทุกคนตองประพฤติปฏิบัติ เมื่อมีความเพียรอยูที่ไหน ความสำเร็จยอมอยูที่นั่น ผูประกอบธุรกิจทุกคนควรพึงจดจำไวเสมอวา "ไมมีความสำเร็จอันยิ่งใหญใดๆ ที่จะไดมาจากความเพียรพยายามเพียงนอยนิด" 2.ภูมิปญญา (Knowledge/Wisdom) ไมวาจะเปนความรู ความสามารถ ทักษะ ทั้งทางดานเทคนิคและดานการ บริหารที่ตองมีอยางครบถวน ปจจัยแหงความสำเร็จ (Critical Success Factor: CSF) คือ ปจจัยที่ สำคัญยิ่งที่ตองทำใหมีหรือใหเกิดขึ้น เพื่อใหบรรลุความสำเร็จตามวิสัยทัศน หรือก็คือ เปนการใหหลักการ แนวทาง หรือวิธีการที่องคกรจะสามารถบรรลุวิสัยทัศนได แตละ องคกรจะมีปจจัยแหงความสำเร็จเปนหลักหมายที่เปนรูปธรรมในการเชื่อมโยงการ ปฏิบัติงานทุกระดับใหมุงไปในทิศทางเดียวกัน ทำใหเจาหนาที่และผูบริหารขององคกร รูวาตองทำสิ่งใดบางเพื่อใหผลสัมฤทธิ์ขององคกรตอบสนองวิสัยทัศน หากปราศจาก ปจจัยแหงความสำเร็จแลว วิสัยทัศนขององคกรจะไมไดรับการตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล ปจจัยแหงความสำเร็จเปนเสมือนเครื่องมือหรือวิธีการฝกการแยกแยะและ วิเคราะหปจจัยสำคัญที ่จะเรงดำเนินการใหดีที ่สุด เพื ่อการบรรลุเปาหมายการประกอบการ ที่เหนือกวาในกลุมอุตสาหกรรมนั้นๆ

Transcript of 3 (Critical Success Factor Analysis) ป จจัยแห งความ...

Page 1: 3 (Critical Success Factor Analysis) ป จจัยแห งความ ...¸›ัจจัย...หน า 7 3 ป จจ ยแห งความสำเร จของผ

หนา

7

3 ปจจัยแหงความสำเร็จของผูประกอบการ

(Critical Success Factor Analysis)

แม็คคินซีย (McKinsey) ไดแนวคิดการใชปจจัยแหงความสำเร็จมาจากหลักการทำสงครามของทหาร แม็คคินซียได

วิเคราะหการเติบโตของการวางแผนธุรกิจ (Business Planning) ในชวงปลายทศวรรษท่ี 1990 และเห็นวา ปจจัยแหงความสำเร็จ

เปนเครื่องมืออันหนึ่งของผูบริหารในการจัดลำดับความสำคัญของการจัดการและการดำเนินธุรกิจ ซึ่งนอกเหนือจากการเรียง

ลำดับความสำคัญแลว ยังเปนเครื ่องมือตรวจสอบความแข็งแกรงขององคกรในการบรรลุเปาประสงคที ่สำคัญ คือ

ดานการตลาด

เพื่อใหไดมาซึ่งยุทธศาสตรการตลาดที่ดี โรนัลด ดาเนียล (Ronald Daniel) ใชปจจัยแหงความสำเร็จเปนเครื่องมือ

ในการจัดการดานธุรกิจภายใตวิกฤติและไดรวมกันเขียนบทความวิจัยการตลาดทางดานนี้ไวในวารสาร “Harvard Business

Review” ฉบับเดือนกันยายน ค.ศ. 1961 ซ่ึงจากการวิเคราะหธุรกิจไดช้ีวา การมีขาวสารขอมูลมากเกินไปโดยปราศจากการเนน

ปจจัยสำคัญ จะทำใหฝายจัดการเสียเวลาในการวิเคราะหและผลที่ไดยังนำไปสูขอสรุปทางการตลาดที่ผิดพลาดอีกดวย และ

ในที่สุดก็จะนำไปสูการลดขีดความสามารถในการแขงขันขององคกร การลดภาระจากการรวบรวม วิเคราะห และตัดสินใจ

ทางธุรกิจบนขอมูลตางๆ ทำใหดาเนียลไดกำหนดปจจัยสำคัญท่ีจำเปนเพ่ือมากำหนดวา ปจจัยท่ีทำไดสำเร็จ (Success Factor)

ของธุรกิจปจจัยใดบางท่ีอยูในการควบคุมขององคกรและปจจัยใดเปนปจจัยภายนอก ซ่ึงจำเปนท่ีหนวยงานท่ีเก่ียวของหรือภาครัฐ

ตองสรางความรวมมือระหวางสมาชิกของธุรกิจในการแกไขปญหาใหลุลวงไปได

การวิเคราะหปจจัยแหงความสำเร็จ (CSF Analysis) เปนสิ่งที่องคกรตองใหความสำคัญ เพื่อใชเปนเกณฑในการ

ยกระดับผลประกอบการใหสูงขึ้น (Higher Performance) ซึ่งประเด็นนี้จัดเปนสิ่งที่ใชวัดประสิทธิภาพในการติดตามผล

การดำเนินการ (Monitoring System) สำหรับปจจัยแหงความสำเร็จนั้น มีอยูดวยกัน 7 ประการ ไดแก

1.ความมุงมั่น (Drive) ในชีวิตจริงแลวการมุงมั่นสูความเปนเลิศ (Personal Mastery) เปนหัวใจสำคัญประการแรก

ที่ทุกคนตองประพฤติปฏิบัติ เมื่อมีความเพียรอยูที่ไหน ความสำเร็จยอมอยูที่นั่น ผูประกอบธุรกิจทุกคนควรพึงจดจำไวเสมอวา

"ไมมีความสำเร็จอันยิ่งใหญใดๆ ที่จะไดมาจากความเพียรพยายามเพียงนอยนิด"

2.ภูมิปญญา (Knowledge/Wisdom) ไมวาจะเปนความรู ความสามารถ ทักษะ ทั้งทางดานเทคนิคและดานการ

บริหารที่ตองมีอยางครบถวน

ปจจัยแหงความสำเร็จ (Critical Success Factor: CSF) คือ ปจจัยที่

สำคัญยิ่งที่ตองทำใหมีหรือใหเกิดขึ้น เพื่อใหบรรลุความสำเร็จตามวิสัยทัศน หรือก็คือ

เปนการใหหลักการ แนวทาง หรือวิธีการที่องคกรจะสามารถบรรลุวิสัยทัศนได แตละ

องคกรจะมีปจจัยแหงความสำเร็จเปนหลักหมายที่เปนรูปธรรมในการเชื ่อมโยงการ

ปฏิบัติงานทุกระดับใหมุงไปในทิศทางเดียวกัน ทำใหเจาหนาที่และผูบริหารขององคกร

รูวาตองทำสิ่งใดบางเพื่อใหผลสัมฤทธิ์ขององคกรตอบสนองวิสัยทัศน หากปราศจาก

ปจจัยแหงความสำเร็จแลว วิสัยทัศนขององคกรจะไมไดรับการตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ

และมีประสิทธิผล

ปจจัยแหงความสำเร็จเปนเสมือนเครื่องมือหรือวิธีการฝกการแยกแยะและ

วิเคราะหปจจัยสำคัญท่ีจะเรงดำเนินการใหดีท่ีสุด เพ่ือการบรรลุเปาหมายการประกอบการ

ที่เหนือกวาในกลุมอุตสาหกรรมนั้นๆ

Page 2: 3 (Critical Success Factor Analysis) ป จจัยแห งความ ...¸›ัจจัย...หน า 7 3 ป จจ ยแห งความสำเร จของผ

หนา

8

โครงการเตรียมความพรอมและสรางเครือขายความรวมมือภาคอุตสาหกรรมการผลิต

เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

3.การเรียนรูตลอดชีวิต (Lifelong Learning) เพื่อเพิ่มพูนภูมิพลังแหงปญญาอยูตลอดเวลา อันจะนำมาซึ่ง

โอกาสทางธุรกิจอยางมากมายมหาศาล

4.ความคิดริเร่ิมสรางสรรค (Personal Creativity) อันเน่ืองมาจากรูปแบบวิธีคิด (Mental Ability) ท่ีจะกอใหเกิด

มุมมองแปลกๆ ใหมๆ (New Paradigm) ที่แตกตางไปจากผูอื ่น ไมยึดติดกับรูปแบบเดิมๆ สามารถที่จะแสวงหาโอกาส

(Opportunity Seeking) เพื่อนำมาบริหารและพัฒนาใหเกิดเปนคุณคาแกธุรกิจของตน ทั้งในดานของการปรับปรุงระบบงาน

ทั่วไป ระบบการผลิต ระบบการตลาด และระบบการบริการลูกคา ตลอดจนระบบการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ

5.มนุษยสัมพันธและทักษะการส่ือสาร (Human Relations & Communications Ability) ซ่ึงเปนสวนท่ีสำคัญ

สำหรับการติดตอสื่อสาร ใหบริการแกลูกคาและบริหารทีมงานขนาดเล็ก ใหมีความมุงมั่นเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความเขาใจ

ในทิศทาง กลยุทธ และ วิธีปฏิบัติ ที่เปนไปในทิศทางเดียวกันอยางสอดคลองกัน โดยพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการที่จะเปนทั้ง

เจาของกิจการ และผูจัดการในเวลาเดียวกันนั ้น ก็คือ เชาวอารมณ หรือ ความฉลาดรู ทางอารมณ

(Emotional Quotient - EQ)

6.ทักษะการแกปญหาและตัดสินใจ (Problem Solving & Decision Making Skill) ในการประกอบธุรกิจ

สวนตัวน้ัน บอยคร้ังท่ีจะตองเผชิญกับปญหาเชิงระบบของตัวธุรกิจ รวมถึงปญหารายวันท่ีเกิดแกลูกคาและสินคา บริการ ความเขาใจ

ในตัวปญหา เทคนิคการวิเคราะหปญหา การกำหนดทางเลือกในการตัดสินใจ ตลอดจนการวิเคระหความคุมคาเพื่อตัดสินใจ

จะเปนทักษะที่จะชวยใหประสบความสำเร็จทางธุรกิจไดเปนอยางดี

7.การบริหารเวลา (Time Management) ความยุติธรรมเพียงประการเดียวที่ปรากฎอยูบนโลกนี้ ก็คือ เวลา

ทุกคนมี 24 ช่ัวโมงเทาๆ กัน ขึ้นอยูกับวาใครจะใชใหหมดไปในลักษณะใด เวลาสำหรับเจาของธุรกิจมีคุณคายิ่ง ทำอยางไรจึงจะ

เกิดคุณประโยชน แกลูกคา แกครอบครัว และแกสุขภาพสวนตัว

ปจจัยทั้งหมดเปนเพียงขั้นพื้นฐาน ยังมีสิ่งที่เจาของธุรกิจควรจะมีอีกมากมายหลายประการ อาทิ ความเปนผูนำ

ความสามารถในการบริหาร การมอบหมายงาน การกำกับดูแล ฯลฯ แตก็มิไดเปนประเด็นที่นาวิตกกังวลแตอยางใด หากเรามี

การใฝเรียนรูดวย "การเรียนรูตลอดชีวิต (Lifelong Learning)"