( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง ·...

69
( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง เพื่อการรับรองคุณภาพซ้ํา (Re-accredit) การบําบัดรักษายาเสพติดของสถานพยาบาลทุกระดับทั่วประเทศ ชื่อโรงพยาบาล/สถานพยาบาล ……โรงพยาบาลสูงเมน… อําเภอ……สูงเมน…จังหวัด……แพร…. ๑.ขอมูลทั่วไป ๑.๑ สถานการณปญหายาเสพติดของอําเภอที่เปลี่ยนแปลงหลังจากไดรับการรับรอง ปญหายาเสพติดมีแนวโนมรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยอําเภอสูงเมนเปนหนึ่งในสามอําเภอของจังหวัดแพรที่มี ปญหาเกี่ยวกับยาเสพติดทั้งผูคาผูเสพ/ผูติดจึงตองเฝาระวังอยางตอเนื่อง พื้นที่การคายาจุดพักยา เชน ตําบลน้ําชํา ตําบลบานปง สวนพื้นที่แพรระบาดสวนใหญอยูใน เขตตําบลน้ําชํา ตําบลบานปง ตําบลดอนมูล และมีพื้นที่ตองเฝา ระวังคือพื้นที่ติดตอกับอําเภอเดนชัย สวนยาเสพติดที่แพรระบาดในอําเภอสูงเมน สวนใหญเปน ยาบาและสารระเหยมี ประปราย มักระบาดในกลุมที่ตองเฝาระวังคือ กลุมเยาวชน และกลุมวัยทํางาน ดานการปราบปราม ปจจุบันผูคายาเสพติดจะไมไดเอายาเสพติดเก็บไวในบาน แตจะเก็บไวตามทุงนา ตนไม หรือโรงแรม แลวนัด แนะไปรับของกันตามที่ไดเก็บไวซึ่งเจาหนาที่ตํารวจตองใชบัตรเจาพนักงานปปส.เขาไปตรวจคนและมีความยุงยาก ลําบากมากขึ้น ๑.ชุดปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดและแกไขปญหาสังคมอําเภอสูงเมน ไดเฝาระวังหมูบานและตําบลซึ่งเปน ทางผานของยาบาจากแหลงพักยาเสพติดจากอําเภอใกลเคียงคือ - ตําบลน้ําชํา ซึ่งยาเสพติดจะมาจากบานปงปาหวาย และ สวนหลวง อําเภอเดนชัย - ตําบลหัวฝาย ซึ่งยาเสพติดจะมาจากบานแมจั๊วะ อําเภอเดนชัย - รอยตอบานบอหอย บานภักดีธรรม อําเภอเวียงสา กับพื้นที่หมูบาน ของ อําเภอรองกวาง ๒. ชุดปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดและแกไขปญหาสังคมอําเภอสูงเมน ไดจับกุมผูคาผูครอบครองและผูเสพ โดยมีสถิติตางๆ ดังนีลําดับ ประเภท ปงบประมาณ หมายเหตุ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ผูคา ๑๔ ๒๐ ๘๓ ๑๖ ๕๒ ๒๖ ขอมูล ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ผูครอบครอง ๑๙ ๒๗ ๓๗ ๕๗ ๓๑ ๓๐ ผูเสพ ๑๑ ๓๗ ๑๔๑ ๑๙๒ ๑๙๘ ๙๘ เมื่อแยกรายตําบลพบวาตําบลที่มีผูคาและผูเสพมากขึ้นคือ ตําบลน้ําชํา บานปง สูงเมน พระหลวง และตําบลหัว ฝายตามลําดับ ๓. ออกตรวจสถานบริการและตรวจหาสารเสพติด (ปสสาวะ) ผูเขาไปใชบริการสถานบริการเพื่อเปนการปอง ปรามมิใหผูใชบริการไปกระทําผิด ๔. รวมกับสถานศึกษา สสอ.สูงเมน สุมตรวจปสสาวะนักเรียน กลุมเสี่ยง โรงเรียนสูงเมนชนูปถัมภ ๕. จัดทําโครงการตํารวจพบเยาวชนโดยการใหความรูกับนักเรียนในสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาด ของยาเสพติดในสถานศึกษา พรอมกับใหความรูดานกฎหมายจราจร ๖. ออกตรวจพื้นที่เสี่ยง เชน ศาลาริมทาง สวนสาธารณะ ใตสะพาน หากพบกลุมเยาวชนมั่วสุม จะทําการเชิญ ตัวไปสถานีตํารวจภูธรสูงเมน และจัดทําประวัติเบื้องตนไวเพื่อเปนการปองปรามมิใหกระทําผิด

Transcript of ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง ·...

Page 1: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง

เพ่ือการรับรองคุณภาพซ้ํา (Re-accredit) การบําบัดรักษายาเสพติดของสถานพยาบาลทุกระดับท่ัวประเทศ

ชื่อโรงพยาบาล/สถานพยาบาล ……โรงพยาบาลสูงเมน… อําเภอ……สูงเมน…จังหวัด……แพร….

๑.ขอมูลท่ัวไป

๑.๑ สถานการณปญหายาเสพติดของอําเภอท่ีเปลี่ยนแปลงหลังจากไดรับการรับรอง ปญหายาเสพติดมีแนวโนมรุนแรงเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ โดยอําเภอสูงเมนเปนหน่ึงในสามอําเภอของจังหวัดแพรที่มี

ปญหาเกี่ยวกับยาเสพติดทั้งผูคาผูเสพ/ผูติดจึงตองเฝาระวังอยางตอเน่ือง พื้นที่การคายาจุดพักยา เชน ตําบลนํ้าชํา ตําบลบานปง สวนพื้นที่แพรระบาดสวนใหญอยูใน เขตตําบลนํ้าชํา ตําบลบานปง ตําบลดอนมูล และมีพื้นที่ตองเฝาระวังคือพื้นที่ติดตอกับอําเภอเดนชัย สวนยาเสพติดที่แพรระบาดในอําเภอสูงเมน สวนใหญเปน ยาบาและสารระเหยมีประปราย มักระบาดในกลุมที่ตองเฝาระวังคือ กลุมเยาวชน และกลุมวัยทํางาน ดานการปราบปราม ปจจุบันผูคายาเสพติดจะไมไดเอายาเสพติดเก็บไวในบาน แตจะเก็บไวตามทุงนา ตนไม หรือโรงแรม แลวนัดแนะไปรับของกันตามที่ไดเก็บไวซึ่งเจาหนาที่ตํารวจตองใชบัตรเจาพนักงานปปส.เขาไปตรวจคนและมีความยุงยากลําบากมากข้ึน ๑.ชุดปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดและแกไขปญหาสังคมอําเภอสูงเมน ไดเฝาระวังหมูบานและตําบลซึ่งเปนทางผานของยาบาจากแหลงพักยาเสพติดจากอําเภอใกลเคียงคือ - ตําบลนํ้าชํา ซึ่งยาเสพติดจะมาจากบานปงปาหวาย และ สวนหลวง อําเภอเดนชัย - ตําบลหัวฝาย ซึง่ยาเสพติดจะมาจากบานแมจัว๊ะ อําเภอเดนชัย - รอยตอบานบอหอย บานภักดีธรรม อําเภอเวียงสา กับพื้นที่หมูบาน ของ อําเภอรองกวาง ๒. ชุดปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดและแกไขปญหาสังคมอําเภอสูงเมน ไดจับกุมผูคาผูครอบครองและผูเสพ โดยมีสถิติตางๆ ดังน้ี

ลําดับ

ประเภท

ปงบประมาณ หมายเหตุ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖

๑ ผูคา ๑๔ ๒๐ ๘๓ ๑๖ ๕๒ ๒๖ ขอมูล ณ วันที่ ๓๑มีนาคม ๒๕๕๖ ๒ ผูครอบครอง ๑๙ ๒๗ ๓๗ ๕๗ ๓๑ ๓๐

๓ ผูเสพ ๑๑ ๓๗ ๑๔๑ ๑๙๒ ๑๙๘ ๙๘ เมื่อแยกรายตําบลพบวาตําบลที่มีผูคาและผูเสพมากข้ึนคือ ตําบลนํ้าชํา บานปง สูงเมน พระหลวง และตําบลหัวฝายตามลําดับ ๓. ออกตรวจสถานบริการและตรวจหาสารเสพติด (ปสสาวะ) ผูเขาไปใชบริการสถานบริการเพื่อเปนการปองปรามมิใหผูใชบริการไปกระทําผิด ๔. รวมกับสถานศึกษา สสอ.สูงเมน สุมตรวจปสสาวะนักเรียน กลุมเสี่ยง โรงเรียนสูงเมนชนูปถัมภ ๕. จัดทําโครงการตํารวจพบเยาวชนโดยการใหความรูกับนักเรียนในสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา พรอมกับใหความรูดานกฎหมายจราจร ๖. ออกตรวจพื้นที่เสี่ยง เชน ศาลาริมทาง สวนสาธารณะ ใตสะพาน หากพบกลุมเยาวชนมั่วสุม จะทําการเชิญตัวไปสถานีตํารวจภูธรสูงเมน และจัดทําประวัติเบื้องตนไวเพื่อเปนการปองปรามมิใหกระทําผิด

Page 2: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

ดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติดสารเสพติด การนําผูเสพและผูติดสารเสพติดเขารับการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพของอําเภอสูงเมนทั้งระบบสมัคร

ใจ บังคับบําบัด และระบบตองโทษยังมีแนวโนมเพิ่มข้ึนเรื่อยๆโดยเฉพาะระบบบังคับบําบัดที่สูงกวาทุกระบบในแตละป สถิติการบําบัดฯ ในภาพรวมของจังหวัด ดังตารางที่แสดง ดังน้ี

พ้ืนท่ี ป ๒๕๕๑ ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔ ป ๒๕๕๕

อ.เมือง ๑๔๘ ๑๑๒ ๑๖๔ ๓๔๔ ๗๕๗ อ.สูงเมน ๑๓๕ ๑๒๕ ๒๒๐ ๓๒๙ ๔๙๖ อ.เดนชัย ๗๕ ๓๘ ๗๒ ๑๔๑ ๒๐๔ อ.ลอง ๔๗ ๒๙ ๕๕ ๑๒๔ ๒๗๘ อ.สอง ๕๑ ๔๙ ๘๐ ๒๓๕ ๓๑๔

อ.รองกวาง ๔๙ ๕๒ ๖๒ ๑๖๖ ๓๓๕ อ.หนองมวงไข ๑๖ ๔ ๒๒ ๖๐ ๑๒๕

อ.วังช้ิน ๓ ๘ ๒๓ ๖๒ ๑๔๙ รวมในจังหวัด ๕๒๔ ๔๑๗ ๖๙๑ ๑๔๖๑ ๒,๖๕๘ ตางจังหวัด ๑๑๙ ๖๒ ๕๗ ๕๐ ๗๐ รวมท้ังหมด ๖๓๙ ๔๗๙ ๗๕๕ ๑,๕๑๑ ๒,๗๒๘

สําหรับอําเภอสูงเมนสถิติการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูเสพ/ผูติดสารเสพติดมีจํานวนเพิ่มมากข้ึนทุกป

โดยเฉพาะผูปวยในระบบบังคับบําบัดและเปนกลุมติดมากกวากลุมเสพในการบําบัดพบวาผูปวยไมมาตามนัดเพิ่มข้ึน ซึ่งงานยาเสพติดไดดําเนินการทุกวิถีทางในการติดตามผูปวย เชนโทรศัพทติดตาม รายงาน สนง.คุมประพฤติ, สสอ.สูงเมน รายงานในที่ประชุมศพสอ.สูงเมนทุกเดือนเพื่อประสานเครือขายศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมน เชน ผอ.รพ.สต. อสม. กํานันหรือผูใหญบาน เพื่อติดตามผูปวย และหากยังไมมารับการบําบัดภายใน ๑ เดือนหลังจากติดตามจึงสงตัวคืนสํานักงานคุมประพฤติเพื่อปรับแผนการรักษาใหเขมงวดมากข้ึนจากการดําเนินงานดังกลาว จึงทําใหอัตราการบําบัดครบกําหนดตามเกณฑดีข้ึน

ตารางแสดงสถิติผูเขารับการบําบัดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด(คลินิกฟาใส) รพ.สูงเมน ป ๒๕๕๒-๒๕๕๖ ชนิดของ

สารเสพติด ปงบประมาณ

๒๕๕๒ ปงบประมาณ

๒๕๕๓ ปงบประมาณ

๒๕๕๔ ปงบประมาณ

๒๕๕๕ ปงบประมาณ

๒๕๕๖ (ต.ค.๕๕-เม.ย.๕๖)

ยาบา (สมัครใจ/บังคับ)

๔๑ (๑๐/๓๑)

๘๙ (๓๔/๕๕)

๑๕๒ (๕๐/๑๐๒)

๓๔๒ (๒๕๗/๘๕)

๑๑๔ (๓๑/๘๓)

สารระเหย - - - (๓) - กัญชา - - - (๒) - สุรา

(ผป.ใน/นอก) ๑๑

(๑๐/๑) ๑๕

(๕ /๑๐) ๑๕๔

(๙ /๑๔๕) ๘๗

(๙/๗๘) ๑๒๘

(๑๖/๑๑๒) บุหรี่

(ผป.ใน/นอก) ๕๓

(๒/๕๑) ๑๐๔

(๕/๙๙) ๑๔๖

(๓/๑๔๓) ๑๗๑

(๖ /๑๖๕) ๑๐๔

(๘/๙๖) รวม ๑๐๕ ๒๐๘ ๔๕๒ ๖๐๐ ๓๔๖

หมายเหตุ :ผูปวยป ๒๕๕๓ เสียชีวิตกอนการบําบัดครบกําหนด ๒ คน (ทั้งหมด ๘๙ คน จึงเหลือบําบัดฯ ๘๗ คน)

Page 3: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

: ผูปวยป ๒๕๕๔ ทั้งหมด ๑๕๒ คน (สมัครใจ ๑๒ คน คาย ๓๘ คน บังคับฯ ๑๐๒ คน) ผูปวยสมัครใจและผูปวยคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจําหนายครบกําหนด ๕๐ คน ผูปวยบังคับฯ ๑๐๒ คน ยกเลิกการบําบัดเพราะถูกจําคุก ๒ คน (บําบัดในโปรแกรมของกรมราชทัณฑ) ปรับแผนการบําบัดฯ ๕ คน (คุมฯสงไป นาน,ชม.,กทม.,พะเยาแมริม) ถูกจับคดีอื่น(ลักทรัพย) ๑ คนขอกลับภูมิลําเนา ๑ คนจึงเหลือบําบัด ๙๓ คนจําหนายครบกําหนด ๖๗ คน ขาดนัดสงคืนคุมประพฤติ ๒๖ คน

: ผูปวยป ๒๕๕๕ ทั้งหมด ๓๔๒ คน (สมัครใจรพ. ๗๘ คน คาย ๑๗๙ คน บังคับฯ ๘๕ คน) จําหนายครบกําหนด ๓๐๖ คนแบงเปนสมัครใจ ๒๕๖ คน (ใน รพ. ๗๘ คน คาย ๑๗๘ คน) บังคับฯจําหนายครบกําหนด ๕๐ คน ขาดนัด ๓๐ คนสงคืนคุมประพฤติ คุมฯปรับแผนสงที่อื่น ๓ คน เปนทหาร ๑ คน ถูกจับจําคุก ๑ คน : ผูปวยป ๒๕๕๖ (ณ วันที่ ๓๐ เม.ย.๕๖) ทั้งหมด ๑๑๔ คน สมัครใจ (รพ. ๒๖ คน คาย ๕ คน) บังคับฯ ๘๓ คนสมัครใจ(รพ.และในคาย)จําหนายครบกําหนด ๒๕ คน,บังคับบําบัด ๘๓ คนจําหนาย ๔๐ คนครบกําหนด ๑๖ คน ไมครบกําหนดเพราะถูกคุมประพฤติใหบําบัดใหม ๑ คนสงคืนคุมประพฤติ ๒๓คนอยูระหวางการบําบัด๔๓คน

๑.๒ ลําดับขั้นการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลท่ีผานหรือดําเนินการอยู (บันได ๓ ขั้นสู HA ) โรงพยาบาลสูงเมนผานการรับรองคุณภาพHAจากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อป พ.ศ.๒๕๔๙ และอยูระหวางการเตรียมการเพื่อการเย่ียมสํารวจซ้ํา ป พ.ศ. ๒๕๕๕ งานยาเสพติดไดรับการรับรองกระบวนการคุณภาพตามขอกําหนดและเกณฑมาตรฐานงานยาเสพติด จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลและสถาบันธัญญารักษ เมื่อ ป พ.ศ. ๒๕๕๐ และอยูระหวางการเตรียมการเพื่อการเย่ียมสํารวจซ้ํา ป พ.ศ.๒๕๕๑ – ๒๕๕๕ ๒.สรุปขอมูลสําคัญของหนวยงาน (Service Profile)

๒.๑ พันธกิจและเปาหมาย พันธกิจหรือเจตจํานง : ใหบริการดานสุขภาพจิต และยาเสพติดที่ไดมาตรฐาน ผูรับบริการพึงพอใจ และ

สามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางปกติสุข เปาหมาย : ผูรับบริการสุขภาพจิตและการบําบัดรักษายาเสพติด ไดรับบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ปลอดภัย

ผูปวยพึงพอใจและสามารถพึ่งพาตนเองดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข ๒.๒ ขอบเขตของการจัดบริการ - สถานภาพของสถานพยาบาล เปนโรงพยาบาล ขนาด ……๓๐….. เตียง - ทีมท่ีรับผิดชอบในการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดไดแก

๑. แพทย ๒. เภสัชกร ๓. พยาบาลวิชาชีพ ๔. เจาหนาที่เทคนิคการแพทย ๕. เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน

๖. พนักงานทั่วไป ๗. พนักงานเปล

นอกจากน้ียังมีทีมงานอื่นที่รับผิดชอบรวมในการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดไดแก

- คณะกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด คปสอ.สูงเมนและโรงพยาบาลสูงเมน - คณะทํางานยาเสพติด โรงพยาบาลสูงเมน /คปสอ.สูงเมน (เครือขาย)

- ทีมบําบัดที่มาจากหนวยงานอื่นๆ ...๔... ทานซึ่งทุกคนผานการพัฒนาศักยภาพ องคความรูดานยาเสพติด เชน ผานการอบรมหลักสูตรการใหคําปรึกษาเบื้องตน หลักสูตรการบําบัดโดยจิต สังคมบําบัดทุกคน

Page 4: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

โดยมีขอบเขตการใหบริการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดแบบผูปวยนอก ในกลุมตางๆดังน้ี ๑. บริการผูเขารับการบําบัดที่สมัครใจเขารับการบําบัดดวยตนเอง ๒. บริการผูเขารับการบําบัดที่ศพสอ.สูงเมน สงตัวเขารับการบําบัด ๓. บริการผูเขารับการบําบัดที่สํานักงานคุมประพฤติสงตัวเขารับการบําบัด ๔. บริการผูเขารับการบําบัดที่หนวยงานอื่นๆเชน สถานพินิจ สถานศึกษาสงตัวเขารับการบําบัด รูปแบบการบําบัดรักษา และการติดตามท่ีมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลังการรับรอง มีการทํางานรวมกันระหวางงานสุขภาพจิตและงานยาเสพติด และมีการจัดต้ังเครือขายคลินิกฟาใสในรพ.สต.

ทุกแหงรวม ๑๗ แหงใหบริการปรึกษาผูติดสารเสพติดใน รพ.สต.และในชุมชน สําหรับการใหบริการผูปวยจะยึดผูปวยเปนศูนยกลางจากการจัดแบงผูปวยตามแบบคัดกรอง เปน ๔ กลุมคือ ๑.กลุมใชครั้งคราว (๒-๓ คะแนน) : ใหการชวยเหลือโดยการใหคําปรึกษาแบบสั้น(Brief Intervention: BI)

ใชเวลา ๑๕- ๓๐ นาที / ครั้ง ในคลินิกฟาใสเครือขาย รพ.สต.ทุกแหงโดยนัดสัปดาหละ ๑ ครั้ง รวม ๔ สัปดาห ตรวจหาสารเสพติดในปสสาวะ สัปดาหละ ๑ ครั้ง ติดตามตอจนครบ ๑ ป หากยังพบพฤติกรรมการเสพติดอยูใหสงเขาบําบัดใน รพ.บําบัดดวยเทคนิคการสัมภาษณเพื่อเสริมสรางแรงจูงใจ (Motivational Interviewing: MI)หรือโปรแกรมกายจิตสังคมประยุกต (Modify Matrix Program) ใชเวลา ๑ – ๒ เดือน

๒.กลุมเสพ (๔-๒๖ คะแนน) : รวมกิจกรรมคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลักสูตรของสถาบันธัญญารักษ ๙ วันหรือ ๑๕ วัน ตรวจปสสาวะกอนเขาคายและกอนกลับบาน จากน้ันติดตามตอจนครบ ๑ ป

สวนรายที่ไมสามารถเขาคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได เชน ติดงาน หรือเปนผูปวยหญิง ใหเขาบําบัดแบบผูปวยนอกในคลินิกฟาใสของรพ. หลักสูตร โปรแกรมกายจิตสังคมประยุกต (Modify Matrix Program) กิจกรรมบําบัดจํานวน ๑๑ ครั้ง ใชเวลา ๒ – ๔ เดือน ปรับตามสภาพการเสพติดและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูปวยและตรวจหาสารเสพติดในปสสาวะ สัปดาหละ ๑ ครั้ง

๓.กลุมติด (๒๗ คะแนน) : บําบัดฯแบบผูปวยนอกในคลินิกฟาใส รพ.สูงเมน หลักสูตร โปรแกรมกายจิตสังคมประยุกต (Modify Matrix Program) กิจกรรมบําบัดจํานวน ๑๑ ครั้ง ใน ๔ เดือน โดย

ใน ๒ เดือนแรกนัดทุกสัปดาห (ครั้งที่ ๑- ๘ ) เดือนที่ ๓ นัด ๒ ครั้ง หางกันครั้งละ ๒ สัปดาห (ครั้งที่ ๙-๑๐) เดือนที่ ๔ หางจากครั้งที่ ๑๐ เปนเวลา ๔ สัปดาห (ครั้งที่ ๑๑) รวมระยะเวลา บําบัด ๑๖ สัปดาห และมีการตรวจหาสารเสพติดในปสสาวะ สัปดาหละ ๑ ครั้ง

(แตหากผูปวยมีพฤติกรรมขาดนัด จะปรับการนัดหมายใหมโดยนัดใหมาบําบัดฯทุกสัปดาหจนครบ ๔ เดือน เพื่อปองกันการขาดนัดหรือกิจกรรมบําบัดไมครบสมบูรณ โดยอยางนอยตองมาเขารวมกิจกรรมบําบัดฯ ๑๑ ครั้ง)

๔.กลุมติดเรื้อรัง (๒๗ คะแนน)และติดนานกวา ๓ ป : สงเขาคลินิกฟาใส รพ.สูงเมน เพื่อทําบสต.๓ และประเมินอาการทางจิต หากไมรุนแรง สงพบแพทยรับยา และนัดมาพบ ๑ –๒ สัปดาหหรือ ๑ เดือนหลังทานยา เมื่ออาการดีข้ึนจึงเขารับการบําบัดแบบผูปวยนอก โปรแกรมกายจิตสังคมประยุกต (Modify Matrix Program)และดูแลดานจิตเวชฯ โดยพยาบาลเฉพาะทางจิตเวชฯ พรอมทั้งรับยาตอเน่ือง

สวนกลุมที่ทีอาการทางจิตรุนแรงสงตอ รพ.แพรหรือศูนยบําบัดฯ แมริม เชียงใหม หรือกรณีเปนผูเสพ/ผูติดเฮโรอีน หรือฝน สงตอโรงพยาบาลแพร เพื่อพิจารณารับยา Methadone ตอไป

นอกจากน้ียังนําหลักศาสนา สติปฏฐานสี่ มาปรับใชรวมในกิจกรรม วงจรการใชยา ในสวนของสติรูเทาทัน

ปญญารูแกไข โดยมีสติรูเทาทันตัวกระตุน ความคิด อารมณ และพฤติกรรม มีปญญารูแกไขความคิด อารมณ และพฤติกรรม เพื่อปองกันการกลับไปเสพยาซ้ําโดยเลือกใหคําปรึกษาเปนรายบุคคลในหัวขอ สติปฏฐานสี่วิถีพุทธหยุดใชยา (คําอธิบายเพิ่มในภาคผนวก)

Page 5: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕ผูปวยท่ีติดสุราและบุหรี ่ ใหบริการรวมกันระหวางงานยาเสพติด/สุขภาพจิต และงานควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง ใหบริการปรึกษา

สําหรับผูประสบปญหาแอลกอฮอล / บุหรี่ โดยเนนความสอดคลองของความตองการและสภาพปญหาของผูปวย คือ เริ่มจากการคัดกรองผูปวยที่ตึกผูปวยนอก งานความคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง หรือตึกผูปวยใน มีการใหความรู (Education) การแนะนําแบบสั้น (Brief Advice) การชวยเหลือแบบสั้น (Brief Intervention) การใหคําปรึกษา(Counseling) การใชโปรแกรมจิตสังคมบําบัดประยุกตเขาชวยการบําบัดเพื่อเสริมสรางแรงจูงใจ(Motivational Interviewing) และการรักษาทางการแพทยกรณีมีการด่ืมมากเกินจนเกิดภาวะแทรกซอนติดสุราเรื้อรัง หรือมีอาการทางจิตประสาท โดยมีลําดับข้ันตอน ดังน้ี

ข้ันที่ ๑ .....๑ – ๒ สัปดาหแรก เปนการใหคําปรึกษาในคลินิก และ การบําบัดรักษาดวยยา และนัดประเมินผูปวย พิจารณาตามสภาพผูปวย

ข้ันที่ ๒.....นัดทํากิจกรรมกลุมบําบัด ๑ ครั้ง / สัปดาห ติดตอกัน ๒ สัปดาห และ ๑ ครั้ง / ๒ สัปดาห รวมระยะการบําบัด ๑ เดือนครึ่ง(การใหคําปรึกษาเปนกลุมการใหความรูเกี่ยวกับสุรา/บุหรี่ทางสื่อดีวีดีฯลฯ)

ข้ันที่ ๓......นัดติดตามประคับประคอง ดานจิตใจ โดยใชการนัดติดตามตามแบบ บ.ส.ต.๕ ในระหวางการบําบัดข้ันที่ ๑ และข้ันที่ ๒ มีการทํากลุมครอบครัวบําบัด และใหสุขศึกษาแกครอบครัว เรื่องบทบาทของครอบครัวตอการดูแลชวยเหลือผูปวยที่บาน

กรณีที่ผูปวยไมสามารถเขารับคําปรึกษาตามลําดับข้ันตอนไดจะใชวิธีการโทรศัพทติดตามหลังใหคําปรึกษาครั้งแรกไปแลวในวันที่ ๓ /๗ / ๑๔ / ๒๑ / ๒๘ วัน จากน้ันติดตามเดือนที่ ๒ / ๓ / ๖ / ๙ และ ๑๒

หรือกรณีผูปวยที่ไดรับการดูแลรักษาในตึกผูปวยในจนพนขีดอันตรายจากภาวะอาการขาดสุราและไดรับบริการปรึกษาอดสุราและกลับบานได จากน้ันจะมีการสงตอผูปวยใหแกคลินิกฟาใสเครือขายรพ.สต.เขตที่รับผิดชอบผูปวยในการติดตามดูแลตามโปรแกรมใกลบานสมานใจ:โปรแกรมการบําบัดดูแลเชิงรุกในชุมชนสําหรับผูติดสุรา ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม มีการติดตามเย่ียมผูปวยที่บานสัปดาหละ ๑ ครั้งจํานวน ๕ ครั้งติดตอกันทุกสัปดาห และระยะติดตามตอเน่ืองหลังสิ้นสุดโปรแกรม ๑ เดือน ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดือนและ ๑ ปขณะน้ีเริ่มดําเนินการในเขตตําบลดอนมูล(รพ.สูงเมน)และตําบลเวียงทอง (รพ.สต.เวียงทอง)สวนตําบลอื่นๆไดจัดอบรมเบื้องตนและแจกคูมือการดําเนินงานและรพ.สูงเมนเปนพี่เลี้ยงใหคําปรึกษา

คูมือโปรแกรมใกลบานสมานใจ:โปรแกรมการบําบัดดูแลเชิงรุกในชุมชนสําหรับผูติดสุรามี ๕ เลม คือ

๑.การพัฒนาโปรแกรมใกลบานสมานใจ:โปรแกรมการบําบัดดูแลเชิงรุกในชุมชนสําหรับผูติดสุรา ๒.การดูแลผูติดสุราสําหรับบุคลากรสุขภาพ ในโปรแกรมใกลบานสมานใจ ๓.การดูแลผูติดสุราโดยญาติ ในโปรแกรมใกลบานสมานใจ ๔.การดูแลตนเองของผูติดสุรา ในโปรแกรมใกลบานสมานใจ ๕.แบบบันทึกโปรแกรมใกลบานสมานใจ (ใชบันทึกเมื่อไปเย่ียมผูปวย) ผูปวยท่ีติดบุหรี ่ เนนการนําระบบ ถนนปชต (๕A) เขาสูโครงสรางงานประจํา คือ มีการถามเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ (Ask=A๑)

แนะนําใหเลิกสูบ (Advise=A๒) ประเมินความพรอมที่จะเลิกบุหรี่ และพรอมรับคําปรึกษาในคลินิก (Assess=A๓) มีการชวยเหลือใหเลิกสูบ (Assist=A๔) และมีการติดตามผลหลังการใหคําปรึกษา (Arrangefollow-up=A๕) อยางตอเน่ืองจนครบ ๑ป เปนอยางนอย

การประเมินความพรอมหรือความต้ังใจที่จะเลิกบุหรี่ของผูสูบบุหรี่ ทําใหสามารถแบงระดับความพรอมไดเปน ๓ ระดับ คือ ผูสูบบุหรี่ที่ยังไมคิดจะเลิกบุหรี่ ผูสูบบุหรี่มีแผนจะเลิกสูบบุหรี่แตไมใชเร็วๆน้ี และ ผูสูบบุหรี่ที่พรอมจะเลิกบุหรี่ใน ๑ เดือนขางหนา

Page 6: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๖ การชวยเหลือผูสูบบุหรี่ใหเลิกสูบ จะจัดใหเหมาะสมกับความพรอมของผูสูบบุหรี่ ดังน้ี ๑.กลุมท่ียังไมคิดจะเลิกสูบบุหรี่ สรางแรงจูงใจโดยแจกเอกสารเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ สาร

ประกอบอันตรายในบุหรี่ ประโยชนของการเลิกสูบบุหรี่ และใหความมั่นใจวาพยาบาลพรอมที่จะชวยเหลือเขาในการเลิกบุหรี่

๒.กลุมท่ีมีแผนจะเลิกแตไมใชเร็วๆน้ี สรางแรงจูงใจที่ทําใหผูสูบบุหรี่เห็นความสําคัญ เห็นประโยชนของการเลิกสูบบุหรี่ โดยใชหลักการสรางแรงจูงใจ ๕ R s

-Relevance (ความสอดคลอง) เปนการช้ีใหเห็นวาบุหรี่มีความสัมพันธเกี่ยวของโดยตรงกับตัวเขา เชนความกังวลเกี่ยวกับปญหาสุขภาพของผูสูบบุหรี่

-Risks (ความเสี่ยง) เปนการใหผูสูบบุหรี่บอกถึงผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ เชนโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่

-Rewards (รางวัล) เปนการใหผูสูบบุหรี่ไดพูดถึงขอดีหรือประโยชนที่จะไดรับจากการหยุดบุหรี่เชนสุขภาพดีข้ึน

-Roadblocks (อุปสรรค/เครื่องกีดก้ัน) เปนการใหผูสูบบุหรี่ไดระบุถึงสิ่งที่กังวลเกี่ยวกับการเลิกสูบบุหรี่ เชน อาการหงุดหงิดจากการถอนนิโคติน กลัววาจะลมเหลวในการหยุดบุหรี่

-Repetition (การกลาวซ้ํา) ใหกลาวซ้ําๆ ทุกครั้งที่ผูสูบบุหรี่ยังไมเห็นความสําคัญของการหยุดสูบ เปนการกระตุนเตือนใหเกิดแรงจูงใจและไมทอแทในกรณีที่เลิกสูบไมสําเร็จ

๓.ในกลุมท่ีมีแผนจะเลิกสูบบุหรี ่ใหคําอธิบายวิธีเลิกบุหรี่ การใหคําปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การใช

นิโคตินทดแทนหรือการใชยา รวมทั้งใหเอกสารเกี่ยวกับวิธีการเลิกสูบบุหรี่ โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ประโยชนของการเลิกสูบบุหรี่ และการกําหนดวันเลิกบุหรี่

โปรแกรมการเลิกบุหรี่ใชแนวทางคลินิกเลิกบุหรี่ หนวยวิชาโรคระบบการหายใจ เวชบําบัดวิกฤติและภูมิแพ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยใชโปรแกรมการเลิกบุหรี่รายบุคคล (Individual program) เปนสวนใหญ ซึ่งมีข้ันตอนการใหคําปรึกษา ดังน้ี

ขั้นตอนท่ี ๑ ตรวจสอบสภาพจิตใจของนักสูบบุหรี่วาอยูในสภาพเตรียมใจพรอมที่จะเลิกบุหรี่หรือยัง? (ใน ๑ เดือนขางหนา)

ขั้นตอนท่ี ๒ เมื่อพบนักสูบบุหรี่ที่สภาพจิตใจพรอมจะเลิก ตองกําหนดวันเลิกบุหรี่ของเขาเอง พรอมเสนอคูมือปฏิบัติการเตรียมพรอมเลิกบุหรี่

ขั้นตอนท่ี ๓ แผนปฏิบัติการเตรียมความพรอม ๕ วันกอนวันเลิกสูบบุหรี่โดยสิ้นเชิง หรือ วันประกาศอิสรภาพปลดตนเองจากการเปนทาสของบุหรี่ (มีรายละเอียดถึงวิธีปฏิบัติในแตละวัน โดยเริ่มนับถอยหลัง ๕ วันกอนวันที่นักสูบกําหนดเปนวันเลิกบุหรี่ของตนเอง)

ขั้นตอนท่ี ๔ ใหคูมือการปฏิบัติตน วิธีตางๆที่ชวยตอสูกับอาการเสี้ยนยา บันทึกหรือโทรศัพทถึงผูใกลชิด ผูตองการเลิกบุหรี่ เพื่อแจงใหทราบเพื่อเปนกําลังใจใหแกผูปวย

ขั้นตอนท่ี ๕ การติดตามเพื่อใหกําลังใจ สนับสนุนการแกไขอุปสรรคอยางตอเน่ือง และประเมินผลของโปรแกรมเฉพาะราย

การติดตามโดยนัดมาพบหรือโทรศัพทติดตามหลังจากใหคําปรึกษาครั้งแรกไปแลวในวันที่ ๓ /๗ / ๑๔ / ๒๑ / ๒๘ วัน จากน้ันติดตามเดือนที่ ๒ / ๓ / ๖ / ๙ / ๑๒ หรือหากมีเวลาก็ติดตามทุกเดือนจนครบ ๑ ป เพราะผูที่เลิกไดนาน ๑ ป มีอัตราการกลับมาสูบใหมตํ่า (นอยกวารอยละ ๑๐)

Page 7: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๗ การติดตามผูปวยอยางเปนรูปธรรมของหนวยงาน

กอนการจําหนายผูปวยครบโปรแกรมทุกครั้งมีการนัดผูปวยและญาติหรือผูปกครองเพื่อมาพูดคุย และช้ีแจงทําความเขาใจถึงความสําคัญของการมาติดตามหลังรักษาที่โรงพยาบาล โดยจะนัดติดตามตามแบบ บ.สต. ๕ กรณีที่ผูปวยอยูนอกเขตความรับผิดชอบของโรงพยาบาลทุกรายไดรับการติดตามเย่ียมบาน โดยการสงตอใหแกเจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ ประสาน ศพสอ.สูงเมน ในการจัดสงรายช่ือใหผูนําชุมชนในการติดตาม สอดสองดูแล และชวยเหลือ สําหรับหนวยงานจะออกติดตามเย่ียมบานในวันศุกรในชวงบายในเขตตําบลดอนมูลที่รับผิดชอบหลักและตําบลอื่นๆ (มีแผนในป ๒๕๕๖) เพื่อติดตามการดูแลการทํางานรวมกันระบบเครือขายของเจาหนาที่สาธารณสุข เพื่อเปนขวัญกําลังใจแกผูปวยตลอดจนเปนการศึกษาสภาพปญหา สิ่งแวดลอม ความเปนอยูในครอบครัว สังคม และชุมชนอยางแทจริง กรณีไปติดตามเย่ียมแลวไมพบผูปวยเน่ืองจากบางสวนอาจไปทํางานอยูตางจังหวัด จะมีชองทางในการติดตาม คือ ทางโทรศัพท หรือสอบถามจากญาติ ถามถึงความเปนอยู สุขภาพกายและจิตใจ รายได และการรับผิดชอบตอครอบครัวเปนตน

การติดตามผลการบําบัดติดตามโดย

๑. นัดมาพบยังสถานบําบัด ๒. โทรศัพท / จดหมายติดตาม ๓. ประสาน ศพสอ.สงรายช่ือ เพื่อแจงใหผูนําชุมชนติดตาม ๔. สงตอเจาหนาที่สาธารณสุขใกลบาน ๕. อสม. / อสค. ติดตาม ๖. เพื่อนในคลินิกชวยติดตามใหมาพบเจาหนาที ่ ๗. เย่ียมบาน

การติดตามแบงตามกลุมผูปวยดังน้ี ๑. ผูปวยยาบา ติดตาม ๗ ครั้ง ใน ๑ ป ตามแบบ บสต.๕ โดย

๑.๑ กลุมใชเปนครั้งคราวที่บําบัดในรพ.สต.และกลุมเสพที่บําบัดในรูปแบบคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ติดตามดูแลโดย อปท. ผูนําชุมชน อสม. ตาสับปะรด หลังบําบัดฯเดือนละ ๑ ครั้งใน ๑ ป (๑๒ ครั้ง)เพื่อเปนการเฝาระวังมิใหกลับไปเสพซ้ํา พรอมทั้งตรวจปสสาวะทุกครั้งที่นัดติดตามหรือเย่ียมบาน และรายงานผลการติดตาม สงให รพ.เพื่อบันทึกขอมูล บสต.๕

๑.๒ กลุมเสพและกลุมติดที่บําบัดใน รพ.สูงเมน นัดติดตามที่ รพ.เพื่อรวมกิจกรรมกลุมปญญาสังคม ๗ ครั้ง คือ หลังบําบัดครบ ๒ สัปดาห, ๔ สัปดาห, ๒ เดือน, ๓ เดือน, ๖ เดือน, ๙ เดือนและ ๑๒ เดือนพรอมทั้งตรวจปสสาวะหารสารเสพติดทุกครั้ง

๑.๓ กลุมติดเรื้อรัง รับการสงตอ(บสต.๓ สงตอ)จากสถานบําบัดที่รับไวรักษา เพื่อติดตามหลังจากรักษาอาการทางจิตและบําบัดครบ โดยสงตอ รพ.สต.และเย่ียมบาน ติดตาม ๗ ครั้ง ใน ๑ ป ตามแบบ บสต.๕ (ทุกกลุมตรวจปสสาวะอยางนอย ๔ ครั้งใน ๑ ป และครั้งสุดทายอยูระหวางบําบัดครบเดือนที่ ๙- ๑๒) ๒. ผูปวยบุหรี่ ติดตาม ๗ ครั้ง ใน ๑ ป ตามความเหมาะสมของผูปวยแตละราย ๓. ผูปวยสุรา ติดตามตามโปรแกรมใกลบานสมานใจ คือ สัปดาหละ ๑ ครั้ง ๕ สัปดาหติดตอกันจากน้ัน ติดตามตอเน่ืองหลังสิ้นสุดโปรแกรม ๑ เดือน ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดือน และ ๑ ป

Page 8: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๘ ๒.๓ รูปแบบการดําเนินงานปองกันเชิงรุกท่ีมีการดําเนินการเพ่ิมเติมหลังการรับรองฯ หนวยงานคลินิกฟาใสของโรงพยาบาลสูงเมน รับผิดชอบดูแลผูปวยยาเสพติดทั้งอําเภอสูงเมน งานดาน

การรณรงคปองกันที่ดําเนินการ ไดแก ๑.ใหความรูดานสุขภาพจิต และยาเสพติด ทางเว็บไซตของโรงพยาบาล ๒.จัดบอรด ความรูดานยาเสพติด สุขภาพจิต ในตึกผูปวยนอก โดยเฉพาะในชวงสัปดาหรณรงควันสุขภาพจิต

วันงดสูบบุหรี่โลก และวันตอตานยาเสพติดโลก ๓.เผยแพรใหความรูดานสุขภาพจิตยาเสพติดทางสถานีวิทยุชุมชนคนรักษสุขภาพทางคลื่นFM๑๐๐.๒๕ MHz

รายการ “สุขภาพจิตดี” ชวงเวลา ๑๑.๐๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ทุกวันอังคารและวันพฤหัสบดี โดยงานสุขภาพจิตรายการ “สุขภาพดีชีวีมีสุข” ชวงเวลา ๑๑.๐๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ทุกวันพุธ และวันศุกร โดยงานยาเสพติด

๔.สงบทความความรูเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตและยาเสพติด ใหแกเครือขายใหประชาสัมพันธทางหอกระจายขาว และสถานบริการสาธารณสุขในวันสําคัญตางๆเชนวันงดสูบบุหรี่โลก วันตอตานยาเสพติดโลก และวันสุขภาพจิต เปนตน

๕.สนับสนุน และประสานงานของเครือขายชมรม To Be Number One ของชุมชน และ โรงเรียนในเขตที่รับผิดชอบ โดยจะมีการจัดกิจกรรมตอเน่ืองทุก ๆป

๖.การปองกันกลุมเสี่ยงในสถานศึกษา โดยออกปฏิบัติงานรวมกับทางโรงเรียนโดยจัดอบรมนักเรียนแกนนําระดับมัธยมศึกษาเพื่อใหความรู เสริมสรางทักษะการปองกันตนเอง ซึ่งนอกจากจะเปนการใหตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด แลวยังเปนการฝกทางดานทกัษะชีวิต และภูมิคุมกันทางจิต ปญหาเรื่องเพศสัมพันธแกเยาวชน และเปนแกนนําในการดําเนินงานมุมเพื่อนใจวัยรุนในโรงเรียน

๗.รวมกับ ศพสอ. ในการจัดประชุมเครือขายในการปองกันแกไขปญหายาเสพติดอําเภอสูงเมน เพื่อใหทราบถึงบทบาทและหนาที่ตลอดจนวิธีการติดตามดูแลชวยเหลือผูปวยภายหลังการบําบัดในการประคับประคองการดํารงชีวิตอยูในสังคมหมูบานของตนเอง

๘.รวมจัดการประกวดกิจกรรม To Be Number One ใหญปละ ๑ ครั้ง ในวันตานยาเสพติดโลก เพื่อคัดเลือกผูชนะระดับอําเภอเขาประกวดตอในระดับจังหวัดและระดับเขตตอไป

๙.จัดต้ังศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมนเพื่อติดตามและชวยเหลือผูผานการบําบัดทั้งระบบสมัครใจบังคับบําบัดและตองโทษ และ มีการจัดการประชุมเครือขายในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดเพื่อติดตามชวยเหลือกลุมผูผานการบําบัดดังกลาว

๑๐.จัดอบรมแกนนํานักเรียนโรงเรียนสูงเมนชนูปถัมภวันที่ ๑๖ มิถุนายน๒๕๕๒ โดยอบรมนักเรียนแกนนําช้ันมัธยม ๔ และ ๕) จํานวน ๔๘ คน เพื่อเปนแกนนําในการดําเนินงาน “ มุมเพื่อนใจวัยรุนในโรงเรียน”

๑๑.รวมกับสสอ.สูงเมนและโรงเรียนมัธยม ๕ แหง จัดอบรมนักเรียนมัธยมตนแบบในโครงการ “ วัยรุน วัยใส ใสใจสุขภาพ” (๒๖-๒๗ พ.ย. ๒๕๕๒) มีนักเรียนเขารับการอบรมรวม ๑๒๐ คน โดยมีการใหความรูเกี่ยวกับTeenage Pregnancy โรคติดตอทางเพศสัมพันธ สุขภาพจิต ยาเสพติด ทักษะการใหคําปรึกษา ชมรม ทูบีนัมเบอรวัน และ มุมเพื่อนใจวัยรุนในโรงเรียน

๑๒.รวมเปนวิทยากร “คายพัฒนาทักษะชีวิตเครือขายรักษนํ้าชํา” วันที่ ๒๓-๒๔ มกราคม ๒๕๕๓ ซึ่งจัดอบรมเยาวชน ต.นํ้าชํา จํานวน ๑๕๐ คน จัดโดย อบต.นํ้าชํา รวมกับ ปปส.ภาค ๕ สสจ.แพร และ คปสอ.สูงเมน

๑๓.รวมกิจกรรมคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม “ คายทําความดีเพ่ือแผนดิน” จัดโดย สสจ.แพร วันที่ ๒๘-๒๙ มกราคม ๒๕๕๓ ณ สถาบันพัฒนาผูนําชุมชน อ.สูงเมน มีผูเสพเขาคาย ๕๗ คน (อ.สูงเมน๑๐ คน) จากน้ันติดตามหลังบําบัดครบและเขารวมกิจกรรมกลุมปญญาสังคม ที่ รพ.สูงเมน จํานวน ๗ ครั้งจนครบ ๑ ป

๑๔.รวมเปนวิทยากรในโครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดอําเภอสูงเมน โดยสปฐ.เขต๑จัดอบรมนักเรียน โรงเรียนสูงเมนชนูปถัมภ จํานวน ๒๔๐ คน ในวันที่ ๒๖ – ๒๗ ก.พ. ๒๕๕๓ ผลจากการดําเนินงานดังกลาวพบวาเยาวชนไดมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดีข้ึน สามารถเปนแกนนําในการรณรงคปองกันปญหายาเสพติดในโรงเรียน

Page 9: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๙๑๕.เปนวิทยากรโครงการชุมชนเขมแข็ง ณ อบต.สูงเมน ในวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ ใหความรูเกี่ยวกับยา

เสพติด และการสรางความเขมแข็งปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในชุมชน โดยชมรมทูบีนัมเบอรวัน กลุมเปาหมายที่เขารับการอบรมคือ ผูนําชุมชน หัวหนาครอบครัว หรือผูปกครอง จํานวน ๕๐ คน

๑๖.จัดอบรมโครงการพัฒนาคลินิกอดบุหรี่ ใหความรูเกี่ยวกับบุหรี่ การใหการปรึกษาแกผูมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ และ หลักการสรางแรงจูงใจในผูที่ยังไมอยากเลิกบุหรี่ อบรมใหแกเจาหนาที่ รพ. ,รพ.สต. และ อสม.จํานวน ๕๐ คน เมื่อ วันที่ ๒๔ ส.ค. ๒๕๕๓ ณ หองประชุม ๑ รพ.สูงเมน

๑๗.เปนวิทยากรอบรมใหความรูและใหคําปรึกษารายกลุม แกผูที่สมัครใจอดบุหรี่ ในโครงการ “หมูบานนํารองรวมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ถวายในหลวง” ณ รพ.สต..บานโตน วันที่ ๑๖ มิ.ย.๒๕๕๓ มีกลุมแมบานและผูติดบุหรี่เขารับฟงบรรยาย ๕๐ คน มีผูติดบุหรี่สมัครใจเขารวมโครงการ ๑๑ คน เลิกได ๘ คน ลดปริมาณลงได ๓ คน มีการติดตามใหคําปรึกษาแกไขปญหาอุปสรรค ๑ ครั้งหลังการอบรม และในวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ โรงพยาบาลจัดกิจกรรมวันงดสูบุหรี่โลก จึงไดเชิญผูเลิกบุหรี่ไดสําเร็จเกิน ๑ ป ใหเขารับใบประกาศ และมอบรางวัลเปนเสื้อรณรงคงดบุหรี่ เพื่อเปนกําลังใจในการเลิกบุหรี่และชวยประชาสัมพันธใหคนเลิกบุหรี่มากข้ึน

๑๘.เปนวิทยากรเผยแพรเกี่ยวกับดานสุขภาพจิตและยาเสพติด รณรงคสงเสริมปองกันปญหายาเสพติด ตลอดจนเสริมสรางภูมิคุมกันทางจิตแกเยาวชน ณ อบต.สูงเมน วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๔ มีเยาวชนเขารับการอบรม ๘๐ คน

๑๙.รวมกิจกรรมคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม“คายคนดีศรีเมืองแพร”จัดโดยอ.เมืองแพรรวมกับ อ.สูงเมน วันที่ ๑๗-๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ ที่วัดดอนมูล อ.สูงเมน จ.แพร มีผูเขาคาย ๔๒ คน (อ.เมืองแพร ๑๗ คนและ อ.สูงเมน๒๕ คน เปนผูปวยรายใหม ๒๐ คน)

๒๐.เปนวิทยากรอบรมและใหคําปรึกษารายกลุม แกผูที่สมัครใจอดบุหรี่ ในโครงการ “หมูบานนํารองรวมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ถวายในหลวง” ณ สอ.บานโตน วันที่ ๑๖ มิ.ย.๒๕๕๔ มีกลุมแมบานและผูติดบุหรี่เขารับฟงบรรยาย ๓๐ คน ผูติดบุหรีส่มัครใจเขารวมโครงการ ๙ ราย เลิกได ๖ คน ลดปริมาณการสูบได ๓ คน มีการติดตามใหคําปรึกษาแกไขปญหาอุปสรรค ๑ ครั้งหลังการอบรม ขณะน้ีเจาหนาที่สอ.เปนผูติดตามและชวยเหลือใหคําปรึกษาในการแกไขปญหาอุปสรรคตางๆในการเลิกบุหรี่อยางตอเน่ือง

๒๑.รวมกิจกรรมกีฬาฟุตบอลเยาวชนออกกําลังกาย หางไกลยาเสพติด “อ.สูงเมน คัพ” ณ สนามกีฬา โรงเรียนบานหัวดง ระหวางวันที่ ๑๕-๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เพื่อคัดเลือกทีมชนะเลิศไปแขง “ไทคัพ” ของจังหวัด

๒๒.รวมเปนวิทยากรโครงการเสริมสรางทักษะชีวิตและสรางภูมิคุมกันยาเสพติดใหแกนักเรียนในสถานศึกษาอําเภอสูงเมนจัดโดย สปฐ.เขต ๒ วันที่ ๑๙-๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ณ วัดวุฒิมงคล (รองแหยง) อ.สูงเมน มีนักเรียนประถมปที่ ๕-๖ เขารับการอบรม ๒๐๐ คน

๒๓.จัดอบรมแกนนํานักเรียนโรงเรียนมัธยมประจําอําเภอ โรงเรียนขยายโอกาส ๗ แหงและโรงเรียนเอกชน ๑แหง รวม ๘ แหง คือโรงเรียนสูงเมนชนูปถัมภ,บานบวกโปง,วัดศรีดอก,บานเข่ือนสุนทร,วัดตอนิมิตร,บานกาศประชานุเคราะห, บานปงทาขาม และโรงเรียนเทพนารี วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดยอบรมนักเรียนแกนนําช้ันมัธยมตน จํานวน ๖๐ คน เพื่อเปนแกนนําในการดําเนินงาน “ มุมเพื่อนใจวัยรุนในโรงเรียน”

๒๔. อําเภอสูงเมนรวมกับ สสอ.สูงเมน จัดกิจกรรม “คายพัฒนาทักษะชีวิต” สวนใหญเปนผูปวยเกาที่ผานการบําบัดในปกอนๆและผูปวยที่กําลังอยูระหวางบําบัดในรพ. รวมจํานวน ๔๐ คน

๒๕.จังหวัดจัดคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่คายทหาร ม.พัน๑๒ อ.เดนชัย วันที่ ๑ - ๗ มกราคม ๒๕๕๕ มีผูปวยจากอ.เมือง รองกวาง และ อ.สูงเมน จํานวน ๕๐ คน (สูงเมนเขารวม ๑๘ คน) ติดตามหลังบําบัด ๑ ปตามแบบ บสต.๕

๒๖.ศพสอ.สูงเมนและ คปสอ.สูงเมนจัดคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ณ วัดวุฒิมงคล (รองแหยง) อ.สูงเมน วันที่ ๒๐ - ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ จํานวน ๙๔ คนครบกําหนด ๙๓ คน(หนี ๑ คน)เปนรายใหม ๘๗ คน ติดตามครบ ๑ ป

Page 10: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๐ ๒๗.ศพสอ.สูงเมนและ คปสอ.สูงเมนจัดคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ณ วัดวุฒิมงคล (รองแหยง) อ.สูงเมน

วันที่ ๓๐ มิถุนายน – ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ จํานวน ๕๕ คนครบกําหนด ๕๕ คนเปนรายใหม ๕๑ คน อยูระหวางติดตามโดย อปท.ติดตามทุกเดือน และสงผลการติดตามให รพ.สูงเมน

๒๘.ศพสอ.สูงเมนและ คปสอ.สูงเมนจัดคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ณ วัดวุฒิมงคล (รองแหยง) อ.สูงเมน วันที่ ๙ กรกฎาคม – ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ จํานวน ๔๑ คนครบกําหนด ๔๑ คนเปนรายใหม ๔๐ คน อยูระหวางติดตามโดย อปท.ติดตามทุกเดือน และสงผลการติดตามให รพ.สูงเมน

๒๙.จัดอบรมใหความรูและการใหคําปรึกษาผูติดสุราและสารเสพติดแกเจาหนาที่รพ.สต.ทุกแหงๆละ ๒ คน และเจาหนาที่ใน รพ. รวมจํานวน ๔๕ คน วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ หองประชุม ๑ รพ.สูงเมน

๓๐.จัดต้ังคลินิกฟาใสเครือขายใน รพ.สต.ทุกแหงรวม ๑๗ แหง เพื่อใหความรูและใหบริการปรึกษาผูติดสารเสพติด เชน กรณียาบากลุมที่ใชเปนครั้งคราว กลุมสุราที่ด่ืมแบบเสี่ยง ด่ืมแบบมีปญหา ติดบุหรี่ชนิดติดนิสยั/พฤติกรรม

๓๑.จัดอบรมใหความรู เกี่ยวกับพรบ.ควบคุมเครื่องด่ืมแอลกอฮอลและพรบ.ยาสูบแกเจาหนาที่และผูประกอบการรานคาเขตอําเภอสูงเมนจํานวน ๑๑๐ คน วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ หองประชุมช้ัน ๔ รพ.สูงเมน

๒.๔ อัตรากําลังของหนวยงาน

ประเภทของเจาหนาท่ี จํานวนท่ีม ี คุณวุฒิ/ประสบการณทํางานดานยาเสพติด ๑. แพทย ๓ คน แพทยทั่วไป

รวมทีมดูแลผูเสพ / ผูติดยาเสพติด ระยะเวลา ๑๐ ป ๒. เภสัชกร ๑ คน รวมทีมดูแลผูเสพ/ผูติดยาเสพติดใหความรูเกี่ยวกับสารเสพติด

ในคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระยะเวลา ๑๐ ป ๓. พยาบาลวิชาชีพ ๕ คน ๑.นางนวพร บุญทอง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ

การศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภช้ันหน่ึง) จากม.เชียงใหม ประสบการณการทํางานดานยาเสพติด ๑๐ ป รับผิดชอบงานยาเสพติด ๒.นางจิตราวดี ขมอาวุธ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ การศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาสุขศึกษา) ม.ราชภัฏอุตรดิตถ และมหาบัณฑิต ปริญญาโทสุขภาพจิตและจิตเวชจาก ม.เชียงใหม ประสบการณการทํางานดานสุขภาพจิต ๑๐ ป รับผิดชอบ งานสุขภาพจิตและจิตเวช/ศูนยพึ่งได/บริการที่เปนมิตรสําหรับวัยรุนและเยาวชน ๓.นางธิติญา ริมฝาย พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ การศึกษา ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตรและผดุงครรภช้ันสูงจากวิทยาลัยบรมราชชนนีลําปาง ประสบการณการทํางานดานสุขภาพจิต ๓ ปรับผิดชอบงานโรคไมติดตอเรื้อรัง(หอบหืด) ๔.นางนันทนา สมบัติ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ การศึกษา ประกาศนียบัตรพยาาลศาสตรและผดุงครรภช้ันสูงจากวิทยาลัยพยาบาลอุตรดิตถ ประสบการณการทํางานดานยาเสพติด ๒ ป รับผิดชอบงานโรคไมติดตอเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูง) ๕.นางชัชดา บุษปนันท พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ การศึกษาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ม.สุโขทัยธรรมาธิราช ประสบการณการทํางานดานสุขภาพจิต ๒๐ ปรับผิดชอบงานโรคไมติดตอเรื้อรัง(โรคเบาหวาน) (ลาศึกษาตอเน่ือง)

๔.เจาพนักงานสาธารณสุข ๑ คน นายสราวุธ กลไกร เจาพนักงานสาธารณสุขชํานาญงาน

Page 11: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๑ - ประธานงานสุขศึกษาประชาสัมพันธของโรงพยาบาล - เผยแพรประชาสัมพันธใหความรูเกี่ยวกับสารเสพติด - จัดทําแผนพับยาบา,สุรา,บุหรี่ฯลฯ ระยะเวลาทํางาน ๑๕ ป

๕.เจาหนาที่หองปฏิบัติการ ๑ คน นางผกามาศ เสียงหวาน จพง.วิทยาศาสตรการแพทยชํานาญงาน ตรวจปสสาวะหาสารเสพติด ระยะเวลาทํางาน ๘ ป

๖.พนักงานทั่วไป ๑ คน นายธณากรณ กองกูล ลงทะเบียนผูปวยในโปรแกรมและควบคุมการเก็บปสสาวะสงตรวจหาสารเสพติด ชวยงานในคลินิกฟาใส คลินิกอดสุรา/บุหรี ่ระยะเวลาทํางาน ๖ เดือน

๗.พนักงานเปล ๒ คน ๑.นายนิวัฒน ขอบป ๒.นายดิเรก สําเภา ควบคุมกํากบัการเก็บปสสาวะสงตรวจ กรณีขอ.๖ ไมอยู (ปวย)ระยะเวลาทํางาน ๓ ป

๓.แผนการฝกอบรม / ศึกษาตอเน่ือง

กลุมเปาหมาย เน้ือหา / หลักสูตร เหตุผล / ขอมูลสนับสนุน ๑.เจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในคลินิกยาเสพติด และทีมบําบัด

-การสรางเสริมความเขมแข็งของชุมชนเพื่อปองกันแกไขปญหายาเสพติด

- เพื่อเปนการเช่ือมสานตอภายหลังจากผูปวยไดรับการบําบัดแลวใหกลับสูสังคมไดปกติสุข - บางชุมชนยังขาดความเขาใจเรื่องบทบาทของตนเองในการปองกันแกไขปญหายาเสพติด -การสรางชุมชนเขมแข็งตองอาศัยความรวมมือหลายฝาย

๒.เจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในคลินิกยาเสพติด และทีมบําบัด

-หลักการการจัดกิจกรรมการเสริมสรางภูมิคุมกันทางจิตใหแกเยาวชนในชุมชน

-เพื่อใหเยาวชนในชุมชนมีภูมิคุมกันทางจิตที่ดีสามารถอยูอยางมีความสุขไมมีปญหาเรื่องยาเสพติด - เจาหนาที่และทีมบําบัดยังขาดทักษะในการจัดกิจกรรมใหกับเยาวชน / ชุมชน

๓.เจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในคลินิกยาเสพติด และทีมบําบัด

- การใหคําปรึกษาเชิงลึก

-เจาหนาที่และทีมบําบัดยังขาดทักษะในการใหคําปรึกษาเชิงลึก เพราะผูปวยบางรายมีปญหาซับซอนมาก

๔.เจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในคลินิกยาเสพติด และทีมบําบัด

- การบําบัดผูติดสารระเหย

-ปจจุบันเริ่มมีผูใชสารระเหยแทนยาบาเน่ืองจากหาซื้องายและราคาถูก โดยเฉพาะกลุมเยาวชน -ยังขาดความรูเรื่องโปรแกรมในการบําบัดผูปวยสารระเหย และการคัดกรองตรวจพิสูจน

๕.เจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในคลินิกยาเสพติด และทีมบําบัด

- การบําบัดรักษาผูติดสุรา /บุหรี่

- มีผูปวยที่ไดรับผลกระทบจากการด่ืมสุรา และสูบบุหรี่จํานวนมาก -เปนการฟนฟูความรู

๖.เจาหนาที่หนวยงานอื่น เชน ตึกผูปวยใน และงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

- การบําบัดรักษาผูติดสุรา /บุหรี่

- จะไดมีความรูและทักษะในการใหคําปรึกษาเบื้องตนเมื่อผูปวยนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลกอนสงตอใหคลินิกยาเสพติด(คลินิกฟาใส)

Page 12: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๒๔.ตัวอยางกิจกรรมพัฒนาคุณภาพท่ีเปนรูปธรรม

๔.๑ การทบทวนความเสี่ยง/ปญหาสําคัญท่ีดําเนินการปองกันแกไขเพ่ิมเติม หลังการรับรองฯ

ความเสี่ยงสําคัญท่ีหนวยงานคนพบเพ่ิมเติม การปรับปรุงและผลลัพธท่ีเกิดขึ้น ๑.ในชวงที่มีผูปวยสมัครใจ (สงมาจากการ Re X-ray)จึงนัดใหมาบําบัดฯชวงเชาของวันพุธซึ่งตรงกับคลินิก เบาหวาน จึงทําใหการรายงานผลตรวจปสสาวะลาชา บางครั้งตองใหผูปวยกลับบานไปกอนที่จะทราบผล ทําใหผูบําบัดไมไดรับคําปรึกษากรณีตรวจพบสารเสพติด เพื่อหาสาเหตุของปญหาที่เกิดข้ึน

-เปลี่ยนวัน เวลาบําบัดฯ โดยนัดมาในวันอังคารแทนวันพุธ โดยวันอังคารภาคเชา เปนผูปวยสมัครใจ ภาคบายเปนผูปวยบังคับบําบัดฯ ผลลัพธ : - ไมมีอุบัติการณซ้ํา - มีระเบียบวิธีปฏิบัติข้ันตอนการตรวจและการแจงผลการตรวจเปนลายลักษณอักษรที่ชัดเจนทางระบบ Hos x-p - สามารถใหคําปรึกษาและชวยเหลือผูปวยไดกรณีพบผลปสสาวะผิดปกติ

๒.มีการรายงานผลตรวจปสสาวะผิดพลาด (๑ ครั้ง)

-ประสานงานชันสูตรในการตรวจสอบผลการตรวจปสสาวะกอนรายงานผลลงในระบบ Hos X-P เพื่อปองกันการขาดความเช่ือถือจากผูปวย ผลลัพธ : - ไมมีอุบัติการณซ้ํา

๓.มีสิ่งเจือปนในปสสาวะสงตรวจ - จัดใหมี เจาหนาที่ชายกํากับการเก็บปสสาวะสงตรวจ - ทําขอตกลงบริการ และแจงใหผูปวยทราบหามนําสิ่งอื่นเจือปนในปสสาวะหรือสงสิ่งอื่นแทนปสสาวะและทางหองชันสูตรใหเก็บปสสาวะสงตรวจใหม จะขอเก็บคาตรวจปสสาวะครั้งที่สอง ผลลัพธ : - ยังมีอุบัติการณอยูบาง เพียงแตไมไดเก็บเงินคาตรวจเพราะหองชันสูตรจะทราบกอนจึงยังไมตรวจปสสาวะและแจงใหเก็บปสสาวะใหม หากผูปวยยอมรับวาใชสารเสพติดกไ็มตองสงปสสาวะตรวจ

๔.ผูปวยไมมาบําบัดฯตามนัดและหลังบําบัดครบกําหนด มารายงานตัวนอยหรือติดตามไมคอยได

- นําขอมูลปญหาดังกลาวเขาปรึกษาในที่ประชุม ศพส.อ.สูงเมน จึงใหทางโรงพยาบาลสงขอมูลผูปวยระหวางบําบัดและผูผานการบําบัดฯครบใหแกศพสอ.สูงเมน เพื่อแจงใหผูนําชุมชนในการติดตาม -จัดประชุมผูนําชุมชนและ อสม.ทุกหมูบานเพื่อช้ีแจงและขอความรวมมือในการติดตามผูปวยใหเขาบําบัดและติดตามดูแลชวยเหลือหลังบําบัดครบกําหนด ผลลัพธ : - ผูปวยมาตามนัดและติดตามหลังบําบัดครบไดเพิ่มข้ึน โดยความรวมมือของ ศพส.อ., ผู นําชุมชน, สสอ.,อสม.,รพ.สต.และอปท.ชวยในการติดตามผูปวยใหมาบําบัดตอเน่ืองจนครบกําหนด และติดตามหลังบําบัดครบ และรายงานผลการติดตามพรอมทั้งผลตรวจปสสาวะให รพ. ทราบทุกเดือน

Page 13: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๓ ๔.๒ การทบทวนเครื่องชี้วัดคุณภาพ ๓ ปยอนหลัง

(๑) การทบทวนรอยละของผูปวยท่ีไดรับการบําบัดฟนฟูตามเกณฑท่ีกําหนด

หมายเหตุ : ผูปวยป ๒๕๕๔ ทั้งหมด ๑๕๒ คน (สมัครใจ ๑๒ คน คาย ๓๘ คน บังคับฯ ๑๐๒ คน)

สมัครใจและในคายจําหนายครบกําหนด ๕๐ คน บังคับฯ ๑๐๒ คน ยกเลิกการบําบัด ๒ คน(จําคุก) ปรับแผนการบําบัดฯ ๕ คน ถูกจับคดีอื่น(ลักทรัพย) ๑ คนขอกลับภูมิลําเนา ๑ คนจึงเหลือบําบัด ๙๓ คนจําหนายครบกําหนด ๖๗ คน ขาดนัดสงคืนคุมประพฤติ ๒๖ คน

: ผูปวยป ๒๕๕๕ ทั้งหมด ๓๔๒ คน (สมัครใจรพ. ๗๘ คน คาย ๑๗๙ คน บังคับฯ ๘๕ คน) สมัครใจและในคายจําหนายครบกําหนด ๒๕๖ คน (ใน รพ. ๗๘ คน คาย ๑๗๘ คนหนีคาย ๑ คน) บังคับฯจําหนายครบกําหนด ๕๐ คน ขาดนัด ๓๐ คนสงคืนคุมประพฤติ คุมฯปรับแผนสงที่อื่น ๓ คน เปนทหาร ๑ คน ถูกจับจําคุก ๑ คน : ผูปวยป ๒๕๕๖ (ณ วันที่ ๓๑ มี.ค.๕๖) ทั้งหมด ๑๐๓ คน (สมัครใจรพ. ๒๒ คนคาย ๕ คนบังคับฯ ๗๖ คน)

สมัครใจและในคายจําหนายครบกําหนด ๒๗ คน บังคับฯ ๗๖ คนจําหนายครบกําหนด ๑๒ คนถูกใหบําบัดใหม ๑ คน สงคืนคุมประพฤติ ๑๔ คน อยูระหวางการบําบัด ๔๙ คน

ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงและผลลัพธท่ีเกิดขึ้น

๑.ผูปวยยาบาไมมาบําบัดฯตามนัด มีอัตราการ Drop out สูงไมครบตามเกณฑที่กําหนด โดยเฉพาะผูปวยบังคับบําบัด รวมถึงไมมารายงานตัวหลังบําบัดฯครบตามเกณฑดวย สาเหตุเน่ืองจากไปทํางานตางจังหวัด ถูกจับกุมในคดีเปนผูคา บางรายเปนผูปวยที่เคยบําบัดแลวกลับมาเสพใหมครั้งเดียวก็โดนจับอีก จึงไมอยากมาบําบัดฯ

๑.แจง ใหผูปวยทราบเมื่อเข ารับการบําบัดฯครั้งแรกถึงผลจากการไมมาตามนัด หรือขาดการบําบัดฯ วาจะมีการขยายเวลาการบําบัดไปเรื่อยๆจนกวาจะครบกําหนด ทําใหเสียเวลา เสียการงาน ๒.ประสานการติดตามทั้ง ศพสอ. สสอ. รพ.สต. อปท.และผู นํ าชุมชนในการติดตาม ผลลัพธ : ผูปวยบังคับบําบัดฯยังมีอัตรา

ชนิดของ สารเสพ

ติด

ปงบประมาณ ๒๕๕๓

ปงบประมาณ ๒๕๕๔

ปงบประมาณ ๒๕๕๕

ปงบประมาณ ๒๕๕๖

ผูปวยที่จําหนาย ทั้งหมด

ตามเกณฑที่กําหนด

รอยละ

ผูปวยที่จําหนาย ทั้งหมด

ตามเกณฑที่กําหนด

รอยละ

ผูปวยที่จําหนาย ทั้งหมด

ตามเกณฑ

ที่กําหนด

รอยละ

ผูปวยที่จําหนาย ทั้งหมด

ตามเกณฑ

ที่กําหนด

รอยละ

๑.ยาบา ๘๗ ๗๙ ๙๐.๘๐ ๑๔๓ ๑๑๗ ๘๑.๘๒ ๓๓๗ ๓๐๖ ๙๐.๘๐ ๕๔ ๓๙ ๗๒.๒๒

-สมัครใจ รพ

๓๔ ๓๔ ๑๐๐ ๑๒ ๑๒ ๑๐๐ ๗๘ ๗๘ ๑๐๐ ๒๒ ๒๒ ๑๐๐

คาย ๐ ๐ ๐ ๓๘ ๓๘ ๑๐๐ ๑๗๙ ๑๗๘ ๙๙.๔๔ ๕ ๕ ๑๐๐

-บังคับฯ ๕๓ ๔๕ ๘๔.๙๐ ๙๓ ๖๗ ๗๒.๐๔ ๘๐ ๕๐ ๖๒.๕๐ ๒๗ ๑๒ ๔๔.๔๔

๒.สุรา ๑๕ ๑๐ ๖๖.๖๖ ๑๕๔ ๑๕๔ ๑๐๐ ๘๗ ๘๗ ๑๐๐ ๒๓ ๒๓ ๑๐๐

๓.บุหรี่ -รพ.

๙๓ ๗๙ ๘๔.๙๕ ๑๓๗ ๑๓๗ ๑๐๐ ๑๗๑ ๑๗๑ ๑๐๐ ๙ ๙ ๑๐๐

-รพ.สต. ๑๑ ๑๑ ๑๐๐ ๙ ๙ ๑๐๐ - - - - - - ๔.สารระเหย

- - - - - - (๓) (๓) ๑๐๐ - - -

๕.กัญชา - - - - - - (๒) (๒) ๑๐๐ - - - รวม ๑-๓ ๒๐๖ ๑๗๙ ๘๖.๘๙ ๔๔๓ ๔๑๗ ๙๔.๑๓ ๖๐๐ ๕๖๔ ๙๔.๐๐ ๘๖ ๗๑ ๘๒.๕๖

Page 14: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๔

การ Drop out สูง เน่ืองจากกลุมน้ีเปนกลุมที่เกี่ยวของทางกฎหมาย ผูนําชุมชนหรือจนท.รพ.สต. อสม.จึงไมอยากเขาไปยุงเกี่ยวหรือติดตาม เพราะจะมี อสค.ติดตามอยูแลวทุกหมูบาน แตจะติดตามผูปวยสมัครใจ ซึ่งใหความรวมมือเขารับการบําบัดฯและบําบัดครบกําหนดทุ กคน และในสวนของการติดตามหลั งบํ าบั ด โดย เฉพาะค ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อปท.ใหความรวมมือดีมากในการติดตามดูแลชวยเหลือ ทั้งเรื่องการฝกอาชีพ และตรวจปสสาวะหลังบําบัดครบเดือนละ ๑- ๒ ครั้ง และรายงานผลติดตามให รพ.ทราบทุกเดือน

๒.ผูปวยสุราและบุหรี่มีอัตราการ Drop out สูงไมครบตามเกณฑที่กําหนด สวนใหญพบวาผูปวยยังขาดความตระหนักและขาดแรงจูงใจในการเลิกเสพและอยูใกลชิดกับตัวกระตุนรวมทั้งทนตอสภาวะการขาดสุราไมไหว บางรายไมสะดวกในการมารับบริการที่คลินิก (พาหนะ ผูดูแล)

๑.เนนการ Motivation Interview มากข้ึนเพื่อสรางแรงจูงใจและเพิ่มการปชส.โทษพิษภัยจากสุราทางสถานีวิทยุชุมชน ๑๐๐.๒๕ MHz ๒.สรางความมั่นใจในอาการขางเคียงของสภาวะขาดสุรา แพทยจะAdmit ผูปวยกลุ มAlcohol Dependence เพื่ อปองกันสภาวะขาดสุราและกลุมที่ มีอาการขาดสุรา ๓.จัดใหมี Family Education เพื่อทราบถึงแนวทางเสริมสรางแรงจูงใจ รวมทั้งการดูแลชวยเหลือผูปวยรวมกัน ๔.เนนการติดตามตอเน่ือง และ สงรายช่ือใหพื้นที่ตามโปรแกรมใกลบานสมานใจ ผลลัพธ : - การ Drop out ลดลงบางเล็กนอยแตจะเนนการติดตามหลังใหคําปรึกษามากกวา เพื่อใหคําแนะนําปรึกษาตอเ น่ืองทางโทรศัพทจึงทําใหอัตราการจําหนายครบกําหนดมากข้ึน และสงตอ รพ.สต.ใหดูแล - มีบุคคลตนแบบเรื่องการลด ละ เลิกสุราและบุหรี่ โดยมีครอบครัวชุมชนมีสวนรวมในการดูแลและเปนกําลังใจ บุคลากรสาธารณสุขเปนพี่เลี้ยงเย่ียมติดตาม

(๒) การทบทวนอัตราการติดตามอยางนอย ๔ ครั้ง ใน ๑ ป

ชนิดของ สารเสพ

ปงบประมาณ ๒๕๕๓

ปงบประมาณ ๒๕๕๔

ปงบประมาณ ๒๕๕๕

Page 15: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๕

หมายเหตุ : ผูปวยที่จําหนายในป ๒๕๕๕ อยูระหวางติดตามยังไมครบป สวนใหญติดตามได เน่ืองจากมีเครือขายศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมน รวมถึงการไดรับความสนับสนุนการดําเนินงานจากศพสอ.สูงเมนแจงประสานผูนําชุมชน อปท. อสม. และผูประสานพลังแผนดิน (ตาสัปปะรด)

ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงและผลลัพธท่ีเกิดขึ้น ๑.เจาหนาที่มีนอยไมสามารถออกติดตามผูปวยหลังบําบัดฯได จึงนัดมาที่สถานบําบัดฯ แตผูปวยไมมาตามนัด เน่ืองจากทํางานหรือไปทํางานตางจังหวัด

-ประสานการติดตามไปทาง ศพสอ. และผูนําชุมชน -จัดประชุมเครือขายศูนยดวยรักและหวงใย อ.สูงเมน -ประสาน รพ.สต. ติดตามสอบถามขอมูลจากญาติหรือคนใกลชิด เพื่อนบาน -สงรายช่ือผูปวยหลังบําบัดครบกําหนดใหแกพื้นที่ทั้ง ผูนําชุมชนและรพ.สต.เพื่อติดตามชวยเหลือ และ อปท.รายงานผลการติดตามใหแกรพ.สูงเมนเพื่อจัดทํา บสต.๕ ตอไป ผลลัพธ : -ผูปวยมารายงานตัวเพิ่มข้ึน และอปท.จะติดตามถึงบานพรอมทั้งตรวจปสสาวะ และสอบถามพฤติกรรมจากผูปกครอง ญาติ หรือ เพื่อนบาน และรายงานผลการติดตามสงใหแก รพ.สูงเมน

(๓) การทบทวนอัตราการไมกลับไปเสพซ้ําของผูปวยท่ีบําบัดครบโปรแกรม

ชนิดของ

สารเสพติด

ปงบประมาณ ๒๕๕๓

ปงบประมาณ ๒๕๕๔

ปงบประมาณ ๒๕๕๕

ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

ไมเสพยาซํ้า

รอยละ

ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

ไมเสพยาซํ้า

รอยละ

ติดตามไดครบ

๔ ครั้ง

ไมเสพยาซํ้า

รอยละ

๑.ยาบา ๓๐ ๒๙ ๙๖.๖๗ ๗๐ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๑๕ ๑๑๕ ๑๐๐.๐๐

ผูปวยที่จําหนายแบบครบ

ตามเกณฑฯปที่ผานมา

ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

รอยละ

ผูปวยที่จําหนายแบบครบ

ตามเกณฑฯปที่ผานมา

ติดตาม ไดครบ ๔ ครั้ง

รอยละ

ผูปวยที่จําหนายแบบครบ

ตามเกณฑฯปที่ผานมา

ติดตาม ไดครบ ๔ ครั้ง

รอยละ

๑.ยาบา ๓๗ ๓๐ ๘๑.๐๘ ๗๙ ๗๐ ๘๘.๖๑ ๑๑๗ ๑๑๕ ๙๘.๒๙ -สมัครใจ รพ

๑๐ ๙ ๙๐ ๓๔ ๓๑ ๙๑.๑๘ ๑๒ ๑๒ ๑๐๐

คาย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๓๘ ๓๘ ๑๐๐ -บังคับฯ ๒๗ ๒๑ ๗๗.๗๗ ๔๕ ๓๙ ๘๖.๖๗ ๖๗ ๖๕ ๙๗.๐๑ ๒.สุรา ๗ ๗ ๑๐๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๑๕๔ ๑๕๔ ๑๐๐ ๓.บุหรี่ -รพ.

๕๓ ๔๓ ๘๑.๑๓ ๗๙ ๗๙ ๑๐๐ ๑๓๗ ๑๓๗ ๑๐๐

-รพ.สต. - - - ๑๑ ๑๑ ๑๐๐ ๙ ๙ ๑๐๐ ๔.สารระเหย

- - - - - - - - -

๕.กัญชา - - - - - - - - - รวม ๑-๓ ๙๗ ๘๐ ๘๒.๔๗ ๑๗๙ ๑๗๐ ๙๔.๙๗ ๔๑๗ ๔๑๕ ๙๙.๕๒

Page 16: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๖

-สมัครใจ รพ

๙ ๙ ๑๐๐ ๓๑ ๓๑ ๑๐๐.๐๐ ๑๒ ๑๒ ๑๐๐.๐๐

คาย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๐๐.๐๐ ๓๘ ๓๘ ๑๐๐.๐๐ -บังคับฯ ๒๑ ๒๐ ๙๕.๒๔ ๓๙ ๓๙ ๑๐๐.๐๐ ๖๕ ๖๕ ๑๐๐.๐๐ ๒.สุรา ๗ ๔ ๕๗.๑๔ ๑๐ ๖ ๖๐.๐๐ ๑๕๔ ๖๒ ๔๐.๒๖ ๓.บุหรี่ -รพ.

๔๓ ๒๓ ๕๓.๔๘ ๗๙ ๓๔ ๔๓.๐๔ ๑๓๗ ๕๐ ๓๖.๕๐

-รพ.สต. ๐ ๐ ๐ ๑๑ ๘ ๗๒.๗๓ ๙ ๖ ๖๖.๖๗ ๔.สารระเหย - - - - - - - - - ๕.กัญชา - - - - - - - - - รวม ๑ - ๓ ๘๐ ๕๖ ๗๐ ๑๗๐ ๑๑๘ ๖๙.๔๑ ๔๑๕ ๒๓๓ ๕๖.๑๔

ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงและผลลัพธท่ีเกิดขึ้น

๑.มีอัตราการเสพซ้ําสูงในกลุมผูปวยสุรา และบุหรี่ สาเหตุเพราะ ๑.๑ ผูปวยยังขาดความตระหนักและแรงจูงใจในการเลิกเสพ ๑.๒ จากอาชีพและลักษณะงานของผูปวย ๑.๓ ประเพณีในหมูบาน การทํานา ทําสวน หลังเลิกงานมักมีการด่ืมสุรา ๑.๔ คานิยมของการด่ืมสุรา บุหรี่ ของชุมชนและเยาวชน

๑.เนนการสรางแรงจูงใจในการเลิกเสพและสรางความตระหนักถึงโทษของสุรา/บุหรี่ ๒.สะทอนปญหากับผู เกี่ยวของและหาแนวรวมในการดําเนินการโครงการ ลดละเลิกเครื่องด่ืมแอลกอฮอลในชุมชน โดยใหแนวคิดแกผูนําชุมชน สรางมาตรการทางสังคมแลวขยายตอไปยังชุมชนโดยการจัดเวทปีระชาคมระดับตําบลและหมูบานมีการกําหนดกฎระเบียบของแตละหมูบานต้ังแตตักเตือน ปรับเงิน จนถึงมีการลงโทษทางสังคม ตัวอยางพื้นที่นํารองที่ดําเนินการไดผล คือ ต.เวียงทอง ดําเนินโครงการงานศพปลอดเหลา ต้ังแตป ๒๕๕๐, ,อบต.สูงเมน เริ่มป ๒๕๕๖,อําเภอจัดงานลอยกระทงปลอดสุรา(ป ๒๕๕๕) ๓.ดําเนินการโครงการ รพ.ปลอดบุหรี่ในป ๒๕๕๓ และป ๒๕๕๔ ไดงบประมาณสนับสนุนจากมูลนิธิรณรงคเพื่อการไมสูบบุหรี่ มีการบริการคลินิกอดบุหรี่ตอเน่ือง ต้ังแตป ๒๕๔๘ จนถึงปจจุบัน ผลลัพธ : มีผูเขารับคําปรึกษาลดละเลิกสุราและบุหรี่เพิ่มข้ึนทุกปและหยุดได/เลิกไดในอัตราที่นาพอใจโดยเฉพาะในชุมชนและขณะน้ีกําลังดําเนินการโครงการ “ชาวสูงเมนรวมใจลดละเลิกเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ถวายในหลวง ๘๔ พรรษา” ซึ่งไดรับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. ผานชมรมแพทยชนบท ขณะน้ีไดดําเนินการไปบางสวน และไดรับการตรวจเย่ียมจาก เลขาชมรมแพทยชนบทและทีมงานเมื่อ ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ และจัดสรรงบประมาณเพิ่มเพื่อดําเนินการพัฒนาและจัดต้ังคลินิกอดสุราและไดจัดอบรมใหความรูแกเจาหนาที ่รพ. จนท.รพ.สต.ทุกแหงๆละ ๒ คนรวม ๔๕ คน เพื่อจัดต้ังคลินิกฟาใสเครือขาย ใหบริการปรึกษาเบื้องตนแกผูติดสารเสพติด เชน สุรา บุหรี่ และยาบา ในชุมชน

(๔) การทบทวนอัตราการกลับไปประกอบอาชีพหรือศึกษาตอ

ชนิดของ

ปงบประมาณ ๒๕๕๓

ปงบประมาณ ๒๕๕๔

ปงบประมาณ ๒๕๕๕

Page 17: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๗

สารเสพติด ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

มีอาชีพหรือ

ศึกษาตอ

รอยละ

ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

มีอาชีพหรือ

ศึกษาตอ

รอยละ

ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

มีอาชีพหรือ

ศึกษาตอ

รอยละ

๑.ยาบา ๓๐ ๓๐ ๑๐๐ ๗๐ ๗๐ ๑๐๐ ๑๑๕ ๑๑๕ ๑๐๐ ๒.สุรา ๗ ๗ ๑๐๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๑๕๔ ๑๕๔ ๑๐๐ ๓.บุหรี ่ ๔๓ ๔๓ ๑๐๐ ๙๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๔๖ ๑๔๖ ๑๐๐ ๔.สารระเหย - - - - - - - - - ๕.กัญชา - - - - - - - - - รวม ๘๐ ๘๐ ๑๐๐ ๑๗๐ ๑๗๐ ๑๐๐ ๔๑๕ ๔๑๕ ๑๐๐

หมายเหตุ : ผูปวยสวนมากมีอาชีพ สวนนักเรียน/ นักศึกษา ก็ไดเขารับการศึกษาตอเน่ือง

(๕) การทบทวนอัตราผูปวยไดรับการสงเสริมดานอาชีพหรือศึกษาตอตามความตองการ

ชนิดของ

สาร เสพติด

ปงบประมาณ๒๕๕๓ ปงบประมาณ๒๕๕๔ ปงบประมาณ ๒๕๕๕ ผูปวยที่แสดงความ

ตองการ

ผูปวยที่ไดรับการสงเสริม

รอยละ

ผูปวยที่แสดงความ

ตองการ

ผูปวยที่ไดรับการสงเสริม

รอยละ

ผูปวยที่แสดงความ

ตองการ

ผูปวยที่ไดรับการสงเสริม

รอยละ

๑.ยาบา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๒.สุรา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๓.บุหรี ่ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๔.สารระเหย

- - - - - - -

๕.กัญชา - - - - - - - รวม ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

หมายเหตุ : - ผูปวยที่แสดงความตองการ หมายถึง ผูไดรับการบําบัดตามเกณฑที่กําหนด ที่แสดงความตองการดานอาชีพหรือศึกษาตอ - การสงเสริม หมายถึง สถานพยาบาลไดทําการสงเสริมหรือประสานงานหรือใหการสนับสนุนดานอาชีพหรือการศึกษาตอตามความตองการของผูปวย

ปญหาท่ีพบ การปรับปรุงและผลลัพธท่ีเกิดขึ้น

-จากการติดตามผูปวยแตละประเภทที่เลิกไดไมกลับเสพซ้ําน้ัน สวนใหญมีอาชีพเปนของตนเองหรือชวยครอบครัวในการประกอบอาชีพ แตจะพบความไมพึงพอใจกับงานที่ทําอยูบางรายเน่ืองจากรายไดไมเพียงพอกับความเปนอยูแตก็ไมสามารถเปลี่ยนงานอาชีพได เน่ืองจากการศึกษาไมสูงหรือหางานทํายาก จึงตองทํางานเดิมตอ เชน งานรับจางทั่วไป

๑.ประสานศูนยพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อสงผูผานการบําบัดฯครบข้ันตอนเขารับการอบรม ๒.ประสานความรวมมือกับศพสอ.สูงเมน ในโครงการดูแลชวยเหลือผูติดสารเสพติดอยางครบวงจร โดยทําแผนการนําเขาอบรมพัฒนาฝมือแรงงาน และใหการรับรองในการสมัครเขาทํางานใหม ผลลัพธ : ผูปวยสวนใหญมีงานทําและสามารถศึกษาตอได มีสภาพความเปนอยูดีข้ึน

Page 18: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๘

(๖) การทบทวนอัตราความพึงพอใจในบริการคลินิกฟาใส

ความพึงพอใจ ในการรับบริการ

ปงบประมาณ ๒๕๕๒

ปงบประมาณ ๒๕๕๓

ปงบประมาณ ๒๕๕๔

ปงบประมาณ ๒๕๕๕

รอยละ ๙๖.๒๕ ๙๕.๕๒ ๙๖.๕๐ ๙๖.๗๗

๔.๓ การปรับปรุงตามขอเสนอแนะจากผูเยี่ยมสํารวจ

ขอเสนอแนะ การปรับปรุง ๑.การเฝาระวังผูผานการบําบัดเปลี่ยนไปใชสารเสพติดอื่นทดแทน เชน สุรา ๒.การคนหาผูปวยเสพติดสุรา และนําเขาสูระบบการบําบัด ๓.แนวทางการดูแลผูปวยเสพติดสุรา ๔.การรณรงคลดละเลิกเครื่องด่ืมแอลกอฮอลในชุมชน

๑.พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความพรอมในการดูแลผูปวยเสพติดสุรา โดยการอบรม การศึกษาตอในสาขาที่เกี่ยวของ ๒.รวมกับทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวของ จัดทําแนวทางการปฏิบัติ การคัดกรองผูปวย การประเมินสภาวะการขาดสุรา แนวทางการปฏิบัติการรักษา ไดทดลองใชและปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติ จึงทําใหทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวของทราบบทบาทหนาที่ของตนเอง และนําผูปวยเขาสูระบบการบําบัดรักษาไดมากข้ึน ๓.จัดใหมีการดําเนินการเชิงรุกใหชุมชนมีสวนรวม เพื่อใหเกิดมาตรการทางสังคมของชุมชนในการลด ละ เลิกเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ซึ่งไดดําเนินการในป ๒๕๕๔- ๒๕๕๖ ตามโครงการ “ชาวสูงเมนรวมใจลดละเลิกเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ถวายในหลวง ๘๔ พรรษา” ซึ่งไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสสส.ผานทางชมรมแพทยชนบท ๔.วันที่ ๗ มี.ค.๒๕๕๖ จัดอบรม จนท.รพ.สต./จนท.รพ.จํานวน ๔๕ คนใหมีความรูเกี่ยวกับสุราและสารเสพติด และการบริการปรึกษาแกผูติดสุราและสารเสพติด ๕.จัดต้ังคลินิกฟาใสเครือขายรพ.สต. ๑๗ แหง ๖.มีคําสั่งคปสอ.แตงต้ังผูรับผิดชอบหลักและรองทุกแหง ๗.มีการคัดกรองผูติดสารเสพติด เชน ยาบา สุรา บุหรี่ ๘.มีการบริการใหคําปรึกษาผูติดสารเสพติด เชน กลุมใชครั้งคราว(ยาบา),กลุมด่ืมแบบเสี่ยง,กลุมด่ืมแบบอันตราย(สุรา),กลุมที่สูบบุหรี่ที่พรอมจะเลิกและยังไมมีปญหาดานสุขภาพกาย,สุภาพจิต ๙.สงตอผูปวยมายัง รพ.สูงเมน กรณีมีปญหาสุขภาพกาย,สุขภาพจิตและเกินขีดความสามารถ

Page 19: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๑๙

๔.๔ ความสําเร็จหรือการพัฒนาประเด็นอ่ืนๆ ท่ีเกิดขึ้นภายหลังการรับรองฯ ประเด็นความสําเร็จหรือพัฒนา รายละเอียด

๑.โครงการพัฒนาคลินิกอดบุหรี ่

ตลอดระยะเวลาที่ใหบริการบําบัดฯผูติดยาเสพติด พบวา สารเสพติดที่ผูปวยใชรวมหรือใชกอนการเสพยาบา คือ บุหรี่ นอกจากน้ียังมีผูรับบริการแผนกผูปวยนอก และผูปวยในที่ไดรับผลกระทบจากการสูบบุหรี่ ดังน้ันจึงไดจัดต้ังคลินิกอดบุหรี่เพื่อใหคําแนะนําเพื่อเลิกบุหรี่ ต้ังแตป ๒๕๔๘ แตยังไมมีหลักการใหคําปรึกษาที่ชัดเจน จึงไดเขารับการอบรมการใหคําปรึกษาแกผูสูบบุหรี่ในป ๒๕๕๐ , ๒๕๕๓ ,๒๕๕๔ ตามลําดับ และสามารถชวยเหลือผูติดบุหรี่ใหเลิกสูบบุหรี่ไดสําเร็จมากข้ึนเรื่อยๆโดยในป๒๕๕๓ ไดเขารวมโครงการพัฒนาคลินิกอดบุหรี่กับ สปสช. งบประมาณสนับสนุน ๓๐,๐๐๐ บาท และป ๒๕๕๔ ไดเขารวมโครงการ โรงพยาบาลปลอดบุหรี่กับมูลนิธิรณรงคเพื่อการไมสูบบุหรี่ งบประมาณสนับสนุน ๓๐,๐๐๐ บาท และไดรับโลประกาศเกียรติคุณการดําเนินงานระดับดีมากเมื่อวันท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๕๕

๒.การแกไขปญหายาเสพติดที่ย่ังยืนตองทําโดยคนในชุมชน

มีการประสานกับเครือขายภาคประชาชน โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีปญหายาเสพติด คือ ตําบลนํ้าชํา มีการระดมพลังสมองของแกนนําชุมชน จึงไดเปดเวทีสัมมนาแกนนําแลววิเคราะหปญหายาเสพติดของพื้นที่ หาวิธีการแกไข โดยเสนอเปนแผนงานโครงการเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากปปส.ภาค ๕ ในการจัดกิจกรรมรณรงคปองกันแกไขปญหายาเสพติด และการเฝาระวังปองปรามในชุมชนเอง โดยจัดใหมีกิจกรรม “คายพัฒนาทักษะชีวิตเครือขายรักษนํ้าชํา” วันที่ ๒๓-๒๔ มกราคม ๒๕๕๓ ซึ่งจัดอบรมเยาวชนกลุมเสี่ยงในเขต ต.นํ้าชํา จํานวน ๑๕๐ คน จัดอบรมโดย อบต.นํ้าชํา รวมกับ ปปส.ภาค ๕ สสจ.แพร รพ.สูงเมน สสอ.สูงเมนและ รพ.สต.นํ้าชํา มีการใหความรูพิษภัยยาเสพติดและทักษะชีวิต จากน้ันไดทําการคัดเลือกเยาวชนใหเปนแกนนําเด็กดีของตําบลจํานวน ๔๐ คน และทาง อบต.ไดสงใหไปศึกษาดูงานที่ หนองแฝก อ.สารภี จ.เชียงใหม เพื่อขับเคลื่อนเครือขายเยาวชนดานตางๆ เชน ยาเสพติด พฤติกรรมทางเพศ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมประเพณีตางๆ และแตง ต้ังใหเปนคณะกรรมการของศูนยประสานงานเครือขายภาคประชาชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด และแกนนําไดจัดทํา

Page 20: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๐

คายใหแกเยาวชนในพื้นที ่๒-๓ ครั้ง โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจาก ปปส.ภาค ๕

Page 21: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๑( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖)

๕.แผนยุทธศาสตรการแกปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ระยะ ๓ - ๕ ป

สถานการณ ยาเสพติดของพ้ืนท่ี

แผนยุทธศาสตรแกไขปญหาระยะ ๓-๕ ป

กลยุทธ

ตัวชี้วัด

กิจกรรมหลัก

ระยะเวลา ดําเนินการ

แหลงงบประมาณ/ผูรับผิดชอบ

๑.ระบบการบําบัดรักษาควรไดรับการพัฒนาอยางตอเน่ืองใหสอดคลองและเหมาะสมกับสถานการณและปญหายาเสพติดในอําเภอสูงเมน

๑.พัฒนาดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูเสพ / ผูติดสารเสพติด

๑.รอยละ ๘๐ ของผูเสพ/ผูติดสารเสพติดที่แสดงตนไดรับการบําบัดรักษาและพื้นฟูสมรรถภาพครบข้ันตอน ๒.รอยละ ๘๐ ของผูเสพ/ผูติดสารเสพติดมาตามนัดขณะบําบัด

๑.ใหการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพผูเสพ/ผูติดสารเสพติดครบตามมาตรฐาน ๒.สงเสริมและสนับสนุนใหมีการดําเนินงานฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาอยางกวางขวาง จริงจัง

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

แหลงงบประมาณ - สสจ.แพร - สนง.คุมประพฤติแพร - สถานพินิจฯแพร ผูรับผิดชอบ ทีมงานบําบัดรักษายาเสพติดสูงเมน

-อําเภอสูงเมนมีอัตราการปวยดวยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่เปนอันดับตนๆ เชน โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง , ถุงลมโปงพอง จึงเห็นความสําคัญของการจัดต้ังและพัฒนาคลินิกอดบุหรี่ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ใหลดนอยลง

-พัฒนารูปแบบการบําบัดรักษาผูติดบุหรี ่

๑.จํานวนผูปวยที่สามารถเลิกบุหรี่ได

๒.รอยละ ๒๐ ของผูเขารับการบําบัดสามารถเลิกบุหรี่ไดต้ังแต ๖ เดือนข้ึนไป

โครงการพัฒนาคลินิกอดบุหรี่และโครงการโรงพยาบาลสูงเมนปลอดบุหรี่โดยมีกิจกรรม ๑.จัดทําโครงการพัฒนาคลินิกอดบุหรี่ใหบริการบําบัดรักษาผูที่ติดบุหรีใ่นคลินิกอดบุหรี่ ๒.พัฒนาระบบบริการสําหรับใหความรูและสงเสริมการเลิกบุหรี่ในงานประจําโดยใชโครงสราง ถนนปชต.๕ A ใหกับบุคลากรของโรงพยาบาล

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

แหลงงบประมาณ - สปสช. ผูรับผิดชอบ ทีมงานบําบัดรักษายาเสพติดสูงเมน

Page 22: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๒

๕.แผนยุทธศาสตรการแกปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ระยะ๓ - ๕ ป (ตอ)

สถานการณ ยาเสพติดของพ้ืนท่ี

แผนยุทธศาสตรแกไขปญหาระยะ ๓-๕ ป

กลยุทธ

ตัวชี้วัด

กิจกรรมหลัก

ระยะเวลาดําเนินการ

แหลงงบประมาณ/ผูรับผิดชอบ

๓.มีการประเมินผูรับบริการทุกหนวยบริการโดยใชหลัก ๒ A ไดแก Ask = ถามและAdvice= แนะนําเลิก ๔. กรณีตองการเลิกบุหรี่ สงตอคลินิกอดบุหรี่ ๕.มีพยาบาลวิชาชีพ และพยาบาล จิตเวชที่ผานการอบรมหลักสูตรพัฒนาศักยภาพของพยาบาลในการชวยใหคนเลิกสูบบุหรี่ (ของมูลนิธิรณรงคเพื่อการไมสูบบุหรี)่ในการใหบริการบําบัดรักษาในคลินิกอดบุหรี ่

Page 23: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๓

๕.แผนยุทธศาสตรการแกปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ระยะ ๓ - ๕ ป (ตอ)

สถานการณ ยาเสพติดของพ้ืนท่ี

แผนยุทธศาสตรแกไขปญหาระยะ ๓-๕ ป

กลยุทธ

ตัวชี้วัด

กิจกรรมหลัก

ระยะเวลาดําเนินการ

แหลงงบประมาณ/ผูรับผิดชอบ

-อําเภอสูงเมนมีผูมีพฤติกรรมเสี่ยงดานการด่ืมสุราจํานวนมากพฤติกรรมที่เสี่ยงตอการเปนผูปวยที่มีปญหาจากสุรา ในอนาคตหากไมรับการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหถูกตอง จึงจัดใหมีบริการดูแลชวยเหลือกลุมผูติดสุรา

-พัฒนารูปแบบการบําบัดรักษาผูมีปญหาจากการด่ืมสุรา

๑.จํานวนผูปวยที่ติดสุราเขารับบริการปรึกษาเพื่อเลิกสุรา ๒.อัตราการหยุดด่ืมของผูติดสุรา รอยละ ๕๐

๑.ผูปวยที่ไดรับผลกระทบจากการด่ืมสุรา เชน อุบัติเหตุ ปวยเปนโรคจากการด่ืมสุรา เชน ตับอักเสบ

ตับแข็ง ฯลฯ แพทยจะเปนผูสงเขาคลินิกอดสุรา

๒. ผูที่ติดสุราเรือ้รังตองการเลิกด่ืม สมัครใจเขารับคําปรึกษาที่คลินิกงดสุราโดยตรง

๓.จัดใหกลุมเปาหมายมีการเขากลุมแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันโดยครอบครัวมีสวนรวมเดือนละ ๑ ครั้ง

๔.ประเมินและติดตามผลการดําเนินโครงการ

๕.จัดทําโครงการ “ชาวสูงเมนรวมใจลดละเลกิเครื่องด่ืมแอลกอฮอลถวายในหลวง ๘๔ พรรษา”

(อยูระหวางดําเนินการ)

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

แหลงงบประมาณ - รพ.สูงเมน ผูรับผิดชอบ ทีมงานบําบัดรักษายาเสพติดสูงเมน

Page 24: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๔

๕.แผนยุทธศาสตรการแกปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ระยะ๓ - ๕ ป (ตอ)

สถานการณ ยาเสพติดของพ้ืนท่ี

แผนยุทธศาสตรแกไขปญหาระยะ ๓-๕ ป

กลยุทธ

ตัวชี้วัด

กิจกรรมหลัก

ระยะเวลาดําเนินการ

แหลงงบประมาณ/ผูรับผิดชอบ

๒.ผูรับบริการติดตามยาก ไมมาตามนัดและมีการยายที่อยู

๒. พัฒนาระบบการติดตาม ผูเสพ / ผูติดสารเสพติด

๑. รอยละ ๘๐ ของผูเสพ/ผูติดสารเสพติดที่บําบัดครบโปรแกรมไดรับการติดตาม และตรวจปสสาวะอยางนอย ๔ ครั้ง ใน ๑ ป ๒. รอยละ ๘๐ ของผูเสพ/ผูติดสารเสพติดที่รับการบําบัดครบโปรแกรม และไดรับการติดตามตามระยะที่กําหนดสิ้นสุดการติดตามสรุปวาหยุดได/เลิกได ๓.รอยละ ๘๐ ของผูเสพ /ผูติดสารเสพติดที่ไดรับการบําบัดฟนฟูครบโปรแกรมมีอาชีพ /ไดรับการศึกษา

๑. ประสานงานกับ ศพสอ.สูงเมน เพื่อใหขอมูลรายช่ือผูเขารับการบําบัดฯและผูผานการบําบัด ฯที่ไมมาตามนัดทุกเดือน เพื่อแจงใหแกผูนําชุมชนในการติดตามเขารับการบําบัดฯและรายงานตัวหลังบําบัดฯ ๒.จัดทําแผนศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมน มีการติดตาม ดูแลและฟนฟูสมรรถภาพแกผูผานการบําบัดที่กลับสูชุมชน โดยประสานงานกับศพสอ. สูงเมน เจาหนาที่รพ.สต.,อสม., ผูประสานพลังแผนดินและเครือขายผูนําชุมชนรวมติดตามผูผานการบําบัดตลอด ๑ ปอยางนอย ๔ ครั้ง ๓.จัดอบรมคุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งใหความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ แกผูผานการบําบัดฯ

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

แหลงงบประมาณ - สสจ.แพร - สนง.คุมประพฤติแพร - สถานพินิจฯแพร ผูรับผิดชอบ ทีมงานบําบัดรักษายาเสพติดสูงเมน

Page 25: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๕

๕.แผนยุทธศาสตรการแกปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ระยะ๓ - ๕ ป (ตอ)

สถานการณ ยาเสพติดของพ้ืนท่ี

แผนยุทธศาสตรแกไขปญหาระยะ ๓-๕ ป

กลยุทธ

ตัวชี้วัด

กิจกรรมหลัก

ระยะเวลาดําเนินการ

แหลงงบประมาณ/ผูรับผิดชอบ

๓. พัฒนาบุคลากรและคุณภาพสถานบําบัด

๑. รอยละ ๘๐ ของบุคลากรไดรับการฟนฟูความรูเกี่ยวกับการบําบัดรักษายาเสพติด๑ ครั้ง/ คน/ป

๒. สถานบําบัดผานการประเมิน HA จากสถาบัน ธัญรักษทุกครั้งที่มีการประเมิน

๑.พัฒนาบุคลากรใหมีความพรอมและเหมาะสมกับการดําเนินงาน ๒. พัฒนาสถานบริการใหมีคุณภาพและไดรับการรับรองคุณภาพสถานบําบัดยาเสพติด

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

๓.ระบบรายงานขอมูล บสต.ไมเปนปจจุบันและระบบรายงานจํานวนผูรับการบําบัดไมตรงกับจํานวนจริงทั้งในระบบสมัครใจและบังคับบําบัด

๔. พัฒนาระบบฐานขอมูล

-รอยละ ๑๐๐ ของขอมูลรายบุคคลไดรับการบันทึกรายงานในระบบฐานขอมูล บสต. ครบถวน

-การจัดการที่มีประสิทธิภาพในระบบขอมูลผูเสพ/ผูติดสารเสพติดครบถวนทันตอเหตุการณเปนปจจุบันและสามารถนําไปใชประโยชนได - ประสานงาน สนง.คุมประพฤติในการสงขอมูล(บสต.๒และ บสต.๔)ใหครบถวนทันเวลา -จางพนักงานผูชวยเหลือในการลงขอมูลใหเปนปจจุบัน

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

แหลงงบประมาณ - สสจ.แพร - สนง.คุมประพฤติแพร - สถานพินิจฯแพรผูรับผิดชอบ ทีมงานบําบัดรักษายาเสพติดสูงเมน

Page 26: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๖ ๕.แผนยุทธศาสตรการแกปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ระยะ๓ - ๕ ป (ตอ)

สถานการณ ยาเสพติดของพ้ืนท่ี

แผนยุทธศาสตรแกไขปญหาระยะ ๓-๕ ป

กลยุทธ

ตัวชี้วัด

กิจกรรมหลัก

ระยะเวลาดําเนินการ

แหลงงบประมาณ/ผูรับผิดชอบ

๔.มีขอจํากัดในการดําเนินงาน โครงการ To be number one ในกิจกรรม Friend cornerยังไมชัดเจนและตอเน่ือง

๕.พัฒนาดานการปลุกพลังแผนดิน

๑.รอยละ ๖๐ ของโรงเรียนที่เขารวมโครงการ To be number one มีกิจกรรมอยางตอเน่ือง

๒.รอยละ ๖๐ ของชุมชนที่เขารวมโครงการ To be number oneมีกิจกรรมอยางตอเน่ือง

๓.รอยละ ๑๐๐ ของผูเสพ/ผูติดสารเสพติดจากชุมชนไดรับการสงเขารับการบําบัด

๑.การดําเนินงานใหแกนนํานักเรียนและชุมชนที่เขารวมโครงการ To be number one มีกิจกรรมอยางตอเน่ือง ๒.การดําเนินงานตามยุทธศาสตร “๕ รั้วปองกัน” ซึ่งมุงเนนการสรางภูมิคุมกัน สรางกิจกรรม สรางกระบวนการทํางาน ประกอบดวย รั้วชายแดน รั้วชุมชน รั้วสังคม รั้วโรงเรียน และรั้วครอบครัว ๓.สรางอาสาสมัครในการนําความรูและทักษะในการเฝาระวังและแกไขปญหายาเสพติด ไปเผยแพรในชุมชน

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

แหลงงบประมาณ - สสจ.แพร - ศตส.อ.สูงเมน ผูรับผิดชอบ ทีมงานบําบัดรักษายาเสพติดสูงเมน

Page 27: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๗

๕.แผนยุทธศาสตรการแกปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ระยะ๓ - ๕ ป (ตอ)

สถานการณ ยาเสพติดของพ้ืนท่ี

แผนยุทธศาสตรแกไขปญหาระยะ ๓-๕ ป

กลยุทธ

ตัวชี้วัด

กิจกรรมหลัก

ระยะเวลาดําเนินการ

แหลงงบประมาณ/ผูรับผิดชอบ

๕.อําเภอสูงเมนมีผูเขารับการบําบัดโดยสมัครใจนอยเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีบังคับบําบัด

๖.การคนหาผูเสพ/ผูติดเขารับการบําบัดแบบสมัครใจ

-จํานวนผูเขารบัการบําบัดแบบสมัครใจที่เพิ่มข้ึนจากเดิม

-ประชาสัมพันธใหความรู ความเขาใจผานทางวิทยุ และทางชุมชนเพื่อใหผูเสพ/ผูติดมีความเขาใจที่ถูกตองและเขาสูกระบวนการบําบัดแบบสมัครใจ - ประสาน ศพสอ.สูงเมน เพื่อแจงผูนําชุมชนในการจัดทําประชาคมและคนหาผูเสพ/ผูติดและนําเขาสูการบําบัดฯระบบสมัครใจ - จัดทําชองทางที่สะดวกตอผูมารับบําบัดแบบสมัครใจ - จัดต้ังศูนยคัดกรองเพื่อแบงกลุมผูติดสารเสพติด -จัดต้ังศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมนเพื่อติดตามและชวยเหลือหลังบําบัดครบกําหนดตามเกณฑ

๑ ต.ค.๕๓ – ๓๐ ก.ย.๕๖

แหลงงบประมาณ - สสจ.แพร - ศตส.อ.สูงเมน ผูรับผิดชอบ ทีมงานบําบัดรักษายาเสพติดสูงเมน

Page 28: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๘

ภาคผนวก

Page 29: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๒๙๑.นโยบายการแกไขปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ี (ท้ังระดับจังหวัดและระดับอําเภอ)

เพื่อใหการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในปงบประมาณ ๒๕๕๔ มีความสอดคลองกับ ปฏิบัติการรวมพลังไทยเขมแข็ง ชนะยาเสพติด ตามมาตรการ ๕ รั้วปองกัน ๙ โครงการและแนวทางการดําเนินการ ของศพสจ.แพร และศพสอ.สูงเมนจึงมีนโยบายและแนวทางการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดป ๒๕๕๔ ดังน้ี

๑.การจัดทําแผนปฏิบัติการฯ ใหจัดเปนแผนบูรณาการรวมกันของอําเภอ โดยมี ศพสอ. เปนเจาภาพการดําเนินการในระดับอําเภอ ๒.การจัดทําแผนปฏิบัติการฯของหนวยงานสาธารณสุขเกี่ยวของกับดานการบําบัดรักษา,และการปองกัน (โครงการ To Be Number One) ๓.การดําเนินการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูเสพ/ผูติด มีการดําเนินการดังน้ี

๓.๑ การคนหาผูเสพ / ผูติด ตามแบบ บสต.๑ โดย ศพสอ. จะเปนหลัก มีการประสานการดําเนินงานรวมกับสถานศึกษา และตํารวจภูธรอําเภอสูงเมน และสงใหเจาหนาที่สาธารณสุขคัดกรองตามแบบ บสต.๒

๓.๒ การบําบัดรักษาใหปรับรูปแบบการบําบัดใหเหมาะสมกับผูปวย และจัดทํารายงานตามแบบ บสต.๓ ๓.๓ การติดตามหลังการบําบัดใหติดตามทั้งผูปวยในระบบสมัครใจและบังคับบําบัด โดยเนนติดตามให ครบอยางนอย ๔ ครั้งใน ๑ ป พรอมทั้งผลการตรวจปสสาวะ ครั้งสุดทายอยูในชวง ๙ - ๑๒ เดือนหลังบําบัดครบ

๓.๔ การเฝาระวังพฤติกรรมใหดําเนินการประสานกับผูนําทองถ่ิน ผูประสานพลังแผนดิน และ อสม. ในการเฝาระวังพฤติกรรมผูที่ผานการบําบัด หากผูปวยตองการฝกอาชีพใหสงรายช่ือไปที่งานยาเสพติด รพ.สูงเมน เพื่อประสานกับศูนยพัฒนาฝมือแรงงานตอไป ๓.๕ การชวยเหลือผูผานกระบวนการบําบัดโดยการจัดต้ังศูนยดวยรักและหวงใยแตละอําเภอข้ึนโดยใชหนวยบําบัดเปนสถานที่ต้ังเพื่อใชในการประสานความชวยเหลือกรณีผูปวยตองการเปนการใหความชวยเหลืออยางตอเน่ือง

๓.๖ การบันทึกขอมูล บสต. มีการดําเนินการบันทึกใหเปนปจจุบัน กรณีมีปญหาการบันทึก บสต. ใหประสานกับ ผูรับผิดชอบของโรงพยาบาล หรือ สสจ. แพร ๓.๗ สําหรับผูปวยที่ทางชุมชน ตํารวจ สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนจังหวัด หรือหนวยงานอื่นๆไดสงตัว

มาบําบัดรักษาและลงบันทึกขอมูลเปนระบบสมัครใจ สําหรับระบบบังคับบําบัดจะตองเปนกรณีที่สํานักงานคุมประพฤติจังหวัดสงตัวมาบําบัดรักษาเทาน้ัน ๔. การดําเนินงานโครงการ To Be Number One เนนการดําเนินงานเชิงคุณภาพดังน้ี ๔.๑ ในชุมชน เนนการจัดต้ังชมรม To Be Number One ตนแบบอําเภอละ ๑ ชุมชน อยูระหวางการประสานงาน โดยไดเสนอในที่ประชุม ศพสอ.สูงเมน ๔.๒ ในสถานศึกษา เนนการจัดต้ังศูนยเพื่อนใจวัยรุน To Be Number One Friend Corner ในโรงเรียนมัธยมประจําอําเภอๆ ละ ๑ แหง คือ โรงเรียนสูงเมนชนูปถัมภ และขยายเครือขายไปยังโรงเรียนมัธยมอื่นๆ ๔.๓ การรณรงคปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในวงกวางมีการประสานการดําเนินงานกับ ศพสอและสถานศึกษาที่รับผิดชอบยุทธศาสตรดานการปองกัน ๕.สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเปนหนวยประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการฯของอําเภอ ในดานการ บําบัดรักษา และการสงเสริมปองกันตลอดถึงการฟนฟูสภาพ และรายงานในที่ประชุม ศพสอ.ทุกเดือน นอกจากน้ีโรงพยาบาลสงรายงานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูปวยให สสจ. ทุกวันที่ ๒๐ ของเดือน และประธาน ศพสอ.รวมประชุม ศพสจ. ทุกเดือน

Page 30: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๐สําหรับการดําเนินงานในป ๒๕๕๕ ซึ่งรัฐบาลไดกําหนดนโยบายบริหารราชการแผนดิน ๒ ระยะ คือ ๑.ระยะเรงดวนที่จะดําเนินการปแรก (๒๕๕๕) และกําหนดใหการแกไขและปองกันปญหายาเสพติดเปน “วาระแหงชาติ” ๒.ระยะการบริหารราชการ ๔ ป ของรัฐบาล เพื่อใหมีการพัฒนาอยางมีคุณภาพ สมดุล ย่ังยืนและมีภูมิคุมกันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สาระสําคัญของคําสั่งยุทธศาสตรพลังแผนดินเอาชนะยาเสพติดแหงชาติ วัตถุประสงคเพื่อยุติสถานการณการแพรระบาดของยาเสพติดที่เปนภัยคุกคามตอความมั่นคง และความสงบสุขของประชาชนและสังคมใหไดอยางรวดเร็ว ตอเน่ือง และย่ังยืน ดําเนินการ ภายใต ๗ มาตรการ คือมาตรการพลังสังคมและชุมชน มาตรการแกไขผูเสพผูติด มาตรการปองกัน มาตรการปราบปราม มาตรการความรวมมือระหวางประเทศ มาตรการสกัดกั้นตามแนวชายแดน และมาตรการบริหารจัดการ

กลยุทธในแผนยุทธศาสตรพลังแผนดินเอาชนะยาเสพติดของรองนายกรัฐมนตรี (รตอ.เฉลิม อยูบํารุง)

ประกอบดวย ๗ แผนปฏิบัติการ ๑. แผนการสรางพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด ๒. แผนการแกไขปญหาผูเสพผูติดยาเสพติด ๓. แผนปองกันยาเสพติด ๔. แผนการปราบปรามยาเสพติด ๕. แผนความรวมมือกับตางประเทศ ๖. แผนการสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน ๗. แผนการบริหารจัดการอยางบูรณาการ ๔ ปรับ

๑. ปรับขอมูล ๒. ปรับ เจาหนาที่.รัฐ ๓. ปรับกฎหมาย ๔. ปรับทัศนคติสงัคมชุมชน

๓ หลัก ๑. หลักเมตตา ๒. หลักนิติธรรม ๓. หลักพื้นที ่

๖ เรง ๑. เรงดานขอมูล ๒. เรงปราบผูคาลดความเดือดรอน ๓. เรงแกปญหากลุมเสี่ยง ๔. เรงสรางชุมชนเขมแข็ง ๕. เรงแกไขปญหาเยาวชนกลุมเสี่ยงทั้งในและนอกสถานศึกษา ๖. เรงสรางหมูบาน/ชุมชนใหมีความเขมแข็ง

Page 31: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๑ ในสวนของศพสอ.สูงเมนและคปสอ.สูงเมนไดดําเนินการตามนโยบายตางๆที่รัฐบาลกําหนดมาใหทุกจังหวัดและอําเภอดําเนินการทั้งดานการ ปองกัน ปราบปราม การบําบัดรักษาและติดตามชวยเหลือหลังบําบัด ประเด็นสําคัญในการจัดทําแผนพลังแผนดินเอาชนะยาเสพติดของ ศพส.จ./ศพส.อ.

๑. การกําหนดเปาหมายในแตละแผนงาน โครงการใหมีหนวยนับและชื่ออยางชัดเจน เพ่ือจะไดนําชื่อ เหลาน้ันเขาสูกระบวนการตอเน่ืองตอไป

๒. การกําหนดเปาหมายใหสมดุลกับสภาพปญหาเพื่อใหสามารถลดปญหายาเสพติดในจังหวัดไดอยางเห็นผลชัดเจน

๓. การจัดทําแผนครั้งน้ียึดระยะเวลา ๑ ป แบงการปฏิบัติออกเปน ๔ ชวงๆ ละ ๓ เดือน แตละชวงใหใสเปาหมาย แบงยอยใหชัดเจนสามารถแยกระยะเวลาไดโดยจัดทําในลักษณะ Roadmap

๔. การจัดทําแผนตามนโยบายเรงดวนของรัฐบาลกําหนดผลลัพธมุงหวังผลมากกวาทุกครั้งบูรณาการงบปกติ (Function) งบพัฒนายุทธศาสตรจังหวัดงบองคกรปกครองสวนทองถ่ินงบ ป.ป.ส.ฯลฯ

๕. การใส input ที่สําคัญในแตละแผนงานเปนสิ่งจําเปน เพื่อที่จะทําใหกระบวนการทํางานมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยใส Input ในแผนงานที่ ๑ (สรางพลังสังคมและชุมชนฯ) ไดแก การพัฒนาวิทยากรกระบวนการทั้งในระดับภาค จังหวัด อําเภอ เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการพลังแผนดิน / การจัดต้ัง 1 อําเภอ 1 ศูนยเรียนรูกองทุนแม รวมทั้งกิจกรรมตอเน่ือง

๖. มีการกําหนดเปาหมายในแผนแกไขปญหาผูเสพผูติดยาเสพติด โดยใส Input ในแผนงานที่ ๒ดังน้ี - วิทยากรคายอําเภอละ ๑ ชุด - คายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อําเภอละ ๑ คาย - คายฟนฟูแบบบังคับบําบัด ๓๕ จังหวัด - บําบัดผูเสพเนนระบบสมัครใจ ๗๐ % - ข้ึนทะเบียนรายช่ือผูผานการบําบัด (ศูนยขอมูล Demand) - อําเภอเปนตัวกลางประสานการติดตามผูผานบําบัด - กําหนดทีมงาน/ชุด/บุคคล ติดตามรายบุคคล - การบูรณาการงบประมาณเพิ่มเติมจากงบพัฒนาจังหวัดและงบอปท. - มีแบบซักถามผูบําบัดในคาย - เช่ือมโยงกับระบบอาชีพการงาน - มีการสงสัญญาณกับชุดปราบปรามสนับสนุนการบําบัด

๗. มีการกําหนดเปาหมายในแผนสรางภูมิคุมกันและปองกันยาเสพติด ใส Input ในแผนงานที่ ๓ ดังน้ี - กําหนดเปาหมายกลุมนักเรียนกอนวัยเสี่ยง (ป.๖) เพื่อการปองกัน (โดยใชวิทยากรพระ/D.A.R.E.) - กําหนดสถานศึกษาเปนเปาหมายเพื่อดําเนินงานเพื่อการปองกัน - ทํา MOU รวม (สวนกลาง/จังหวัด) - เพิ่มประสิทธิภาพเจาพนักงานสงเสริมความประพฤตินักเรียน - มีชุดจัดระเบียบสังคมจังหวัด

๘. มีการกําหนดเปาหมายในแผนการปราบปรามยาเสพติด โดยใส Input ในแผนงานที่ ๔ ดังน้ี - จัดต้ังศูนยขาวกรองยาเสพติดของประเทศ - รวบรวมขาวสารจากสถานีตํารวจ - กําหนดแผนยุทธการปราบปรามรายสําคัญ - เพิ่มการขยายผล/คดี/การขาว - เพิ่มการดําเนินการทรัพยสิน - การคาในเรือนจํา

Page 32: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๒๙. ข้ันตอนการจัดทําแผนงาน/งบประมาณของจังหวัด

- ทุกจังหวัดหาขอมูลปญหายาเสพติดใหเปนปจจุบัน - จัดต้ังคณะทํางานจัดทําแผนและบูรณาการแผนงาน งบประมาณของจังหวัด - แบงชวงเวลาการดําเนินการเพื่อบรรลุเปาหมายเปน 4 ระยะ แยกเปาหมายเปน 4 ชวง - กําหนดโครงการ/กิจกรรมหลัก ใหสอดคลองกับกรอบที่กําหนด - สอบถาม ประสานงาน บูรณาการงบทุกแหลงใสลงในกิจกรรที่เหมาะสม - กําหนดจัดสรร แผน/งบ ลงอําเภอ ใหอําเภอจัดทําแผนปฏิบัติการ - จัดสง แผน/งบ มายัง ศพส. ภายใน วันที่ 30 ต.ค. 2554

๑๐. ภายหลังจากสงแผน/งบประมาณมายังศพส.จะมีการแตงต้ังคณะทํางานวิเคราะหแผนงบประมาณ เพื่อ

๑. การบูรณาการงบสวนกลาง-จังหวัด ๒. การสนับสนุนงบจากแผนพัฒนาจังหวัดและทองถ่ิน ๓. การกําหนดเปาหมายกับโจทยปญหา ๔. Roadmap ๕. ฯลฯ

สําหรับการดําเนินงานในปงบประมาณ ๒๕๕๖ ดําเนินการตามนโยบายตอเน่ืองจากป๒๕๕๕ โดยมีแนว

ทางการดําเนินงานดานการขับเคลื่อนแผนการแกไขปญหาผูเสพ ผูติดยาเสพติด ภายใตยุทธศาสตรพลังแผนดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัดแพร ดังน้ี การดําเนินงาน ภารกิจ หนวยงานที่ดําเนินงาน

๑.การนําผูเสพ/ ผูติดยาเสพติด เขารับการ บําบัดรักษา

๑.การคนหา - การจัดเวทีประชาคมเพื่อคนหา - การจัดต้ังจุดตรวจ/จุดสกัด -การเฝาระวังสํารวจแหลงขาว ผูเกี่ยวของ

๑.ศพส.อ.ทุกอําเภอ ๒.ผูนํา / แกนนําชุมชน ๓.ศพส.อปท. ๔.สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด

๒.จัดต้ังศูนยคัดกรองระดับอําเภอ เพื่อจําแนกผูเกี่ยวของกับยาเสพติดและนําเขาสูระบบการบําบัดรักษาที่เหมาะสม

๑.เจาหนาที่ดานการบําบัดรักษา(สสอ./รพ.)

๒.การบําบัด รักษา

๑.ดําเนินการจัดบริการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพติด

๑.หนวยงานดานการบําบัดรักษา ๒.กองพันทหารมาที่ ๑๒

๒.กิจกรรมการบําบัดในรูปแบบคายปรับ เปลี่ ยนพฤติกรรม / การบําบัดในชุมชน

๑.ศพส.อ.ทุกอําเภอ ๒.ผูนํา / แกนนําชุมชน ๓.ศพส.อปท.

๓.รวมเฝาระวังผูเสพ ผูติดยาเสพติดที่อยูในระบวนการบําบัดเพื่อการเขารับการรักษาอยางตอเน่ืองและปองกันพฤติกรรมการเสพยาเสพติดซ้ํา

๑.ศพส.อ.ทุกอําเภอ ๒.ผูนํา / แกนนําชุมชน,อสม ๓.ศพส.อปท.

๔.การจัดต้ังศูนยขอมูลดาน DEMAND ระดับจังหวัดและระดับอําเภอ - รวบรวมขอมูลผูเสพ ผูติดยาเสพติด และผูที่ผานการบําบัดรักษาจากทุกระบบในจังหวัดแพร

๑.ศูนยระดับจังหวัด (สสจ.แพร) ๒.ศูนยระดับอําเภอ (รพ.แพร,รพช.ทุกอําเภอ)

Page 33: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๓

การดําเนินงาน ภารกิจ หนวยงานที่ดําเนินงาน ๓.การติดตามฟนฟู

๑.จัดบริการติดตามฟนฟูผูผานการบําบัดรักษา ๑.หนวยงานดานการบําบัดรักษา

๒. ร วมติดตามฟ นฟู โดยการ เฝ า ระ วั งผู ผ านการบําบัดรักษาเพื่อสงเสริมการใชชีวิตในสังคมไดปกติอยางปกติสุข สรางทัศนคติที่ดีของชุมชุน ตลอดจนลดปจจัยเสริมของชุมชน สิ่งแวดลอมในการกลับมาใชยาเสพติด/กระทําผิดซ้ํา

๑.ศพส.อ. ทุกอําเภอ ๒.ผูนํา/แกนนําชุมชน , อสม. ๓.ศพส.อปท.

๔.การสนับสนุนสงเสริมชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษา

๑.จัดกิจกรรมสงเสริมการฝกอาชีพ/พัฒนา/ยกระดับฝมือใหแกผูผานการบําบัดรักษา

๑.สํานักงานแรงงาน ๒.ศูนยพัฒนาฝมือแรงงาน ๓.ก.ศ.น

๒.สนับสนุนการประกอบอาชีพ การมีรายไดการมีงานทําใหแกผูผานการบําบัดฟนฟู

๑.ศตส.อ. ทุกอําเภอ ๒.ผูนํา/แกนนําชุมชน ๓.ศพส.อปท. ๔.หนวยงานในสังกัดกระทรวงแรงงาน

๓.การสงเสริมการศึกษาตอเน่ือง ๑.หนวยงานในสังกัดกระทรวง ศึกษาฯ ๒.กศน.

หมายเหตุ : การคัดกรองใชแบบคัดกรองของสถาบันธัญญารักษ(ใหมลาสุด) ซึ่งแบงผูปวยเปน ๔ กลุมตามความรุนแรงของการเสพติด รวมกับการใช บสต.๒

แนวทางการติดตามดูแลชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษาจังหวัดแพร ๑.การจัดต้ังศูนยขอมูลดานDemandโดยเปนศูนยกลางขอมูลผูผานการบําบัดรักษาจากทุกระบบในจังหวัดแพร

๑.๑ ศูนยขอมูลระดับจังหวัด สถานที่ต้ัง ณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร ภารกิจหลักเปนผูประสานและรวบรวมขอมูลผูผานการบําบัดรักษาจากหนวยบําบัดในจังหวัดแพร

และจําแนกขอมูลเปนรายอําเภอ ๑.๒ ศูนยขอมูลระดับอําเภอ

สถานที่ต้ัง ณ โรงพยาบาลแพรและโรงพยาบาลชุมชนทุกแหง ภารกิจหลักเปนศูนยขอมูลผูผานการบําบัดรักษาในระดับอําเภอ

๒.กลุมเปาหมาย ไดแกผูเสพ ผูติดยาเสพติดที่ผานการบําบัดรักษาจากทุกระบบในจังหวัดแพร ๓.เครือขายการติดตาม ไดแก ชุดปฏิบัติการประจําตําบลและอสม. ๔. รูปแบบการติดตาม

๔.๑ การติดตามในระบบการบําบัด เนนกิจกรรมกลุมปญญาสังคม ๔.๒ การติดตามในชุมชนตามรูปแบบที่ชุมชนกําหนดโดยใหสอดคลองและเอื้อประโยชนตอการ

ติดตามในระบบการบําบัด ๕. ระยะเวลา ติดตามตอเน่ืองภายหลังผานการบําบัดรักษาเปนเวลาอยางนอย ๑ ป

Page 34: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๔ ๖. การดําเนินงาน

๖.๑ ประชุมช้ีแจงคณะกรรมการระดับจังหวัด ๖.๒ จัดประชุมชุดปฏิบัติการประจําตําบลในรูปแบบประชาคม เพื่อสรางการมีสวนรวมในการกําหนด รายละเอียดการติดตาม ๖.๓ ประชุมถอดบทเรียน/สรุปแนวทางการดําเนินงาน

๗. ภารกิจเพิ่มเติม ๗.๑ การดูแลชวยเหลอืการดํารงชีวิตประจําวันดานอาชีพ การมีรายได การมีงานทํา การศึกษา ๗.๒ การปรับเจตคติและสรางการยอมรับ

๘.อื่นๆ ๘.๑จัดทําคูมือการติดตาม ดูแล ชวยเหลือ ผูผานการบําบัดรักษา ๘.๒ จัดทําสมุดประจําตัวผูเขารับการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพ

เปาหมายการดําเนินงานจําแนกรายอําเภอ อําเภอ ระบบสมัครใจ ติดตาม(ป ๒๕๕๕) ติดตาม(ป ๒๕๕๖) เมือง ๑๘๐ ๙๒๕ ๑๔๔ สูงเมน ๑๓๐ ๒๙๘ ๑๐๔ เดนชัย ๘๐ ๑๕๐ ๖๔ ลอง ๘๐ ๘๕ ๖๔ สอง ๑๐๐ ๑๒๐ ๘๐

รองกวาง ๑๐๐ ๑๓๙ ๘๐ หนองมวงไข ๕๐ ๖๔ ๔๐

วังช้ิน ๘๐ ๘๔ ๖๔ รวม ๘๐๐ ๑,๘๖๕ ๖๔๐

อําเภอสูงเมน โดย ศพส.อ.สูงเมน และพหุภาคีเครือขาย ดําเนินการรวมกันในการคนหา คัดกรองผูปวยให

เขารับการบําบัดรักษาในโรงพยาบาล และจัดคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผูปวยเขารับการบําบัดรักษา ต้ังแตวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ – ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖ ดังน้ี

ในระบบสมัครใจทั้งหมด ๓๑ ราย โดยบําบัดใน รพ. จํานวน ๒๖ ราย เขารวมกิจกรรมคาย “โรงเรียนวิวัฒนพลเมืองฝายปกครอง” ณ ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ ๓๙ บานปทุม ม.๒ ต.เหมืองหมอ อ.เมือง จ.แพร วันที่ ๑๐ - ๒๔ มกราคม ๒๕๕๖ จํานวน ๗ ราย (แตถูกจําคุกหลังออกคาย ๑ ราย ถูกสงไปบําบัดที่เชียงใหม ๑ ราย) จึงมารายงานตัว ๕ ราย และในระบบบังคับบําบัดจํานวน ๘๓ ราย รวมทั้งหมดจํานวน ๑๑๔ ราย

Page 35: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๕

๒.การจัดองคกรและการบริหาร (แผนภูมิโครงสรางของหนวยงาน) ผูอํานวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการดําเนินงานบําบัดรักษาฯ

กลุมเทคนิคบริการฯ กลุมงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน กลุมการพยาบาล

กลุมอํานวยการ

งานยาเสพติด งานสุขภาพจิต

(คลินิกฟาใส คลินิกงดสุรา/บุหรี่)

Page 36: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๖๓.แผนภูมิการปฏิบัติงานตางๆ

ขั้นตอนการบําบัดผูปวยในระบบสมัครใจ

ครบข้ันตอน(บสต.๔) ไมครบข้ันตอน

ลงทะเบียนเขารับบริการที่ OPD

คลินิกฟาใส ซักประวัติ,ตกลงบริการ

ฯลฯ

แจงศพส.อ. ติดตามหลังบําบัดครบตามกําหนดอีก 1 ป (บสต.๕)

ผูปวยสมัครใจ

ไมมารายงานตัว/ติดตามไมได

เขาสูกระบวนการบําบัด 2-4 เดือน

รายงานผลการติดตาม

แจงศพส.อ.และเครือขาย ในการติดตามและรายงาน

ผลการติดตาม

มารายงานตัว/ติดตามได

เลิกเสพ เสพซ้ํา

คืนคนดีกลับสูสังคมกรณีมีช่ือใน บสต.๑ใหตัดออก

กลับเขาสูกระบวนการบําบัดรักษารอบใหม

Page 37: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๗

ขั้นตอนการบําบัดผูปวยในระบบบังคับบําบัด

ครบข้ันตอน (บสต.๓ สงตอ) ไมครบข้ันตอน

เขาสูกระบวนการบําบัด 4- 6 เดือน

ติดตามหลังบําบัด 1 ป (บสต.๕)

ปรับแผนการบําบัด

หนวยงานที่สงมา คุมประพฤติตออีก ๒ เดือน (บสต.๔ )

แจงหนวยงานที่สงผูปวยมาและศพส.อ.

ลงทะเบียนเขารับบรกิารที ่OPD

สงผูปวยคืนหนวยงานที่สงมา(บสต.๓ สงตอ)

คลินิกฟาใส ซักประวัติ,ตกลงบริการ (รับ บสต.๒ เพื่อทําบสต.

๓)

ติดตามและรายงานผล

ผูปวยบังคับบําบัด

สงมาบําบัดใหม

คลินิกฟ้าใส รับ (บสต.๔ )

สงบําบัดแบบควบคุมตัว (ศูนยบําบัด,คายวิวัฒนพลเมือง)

ติดตามไมได มารายงานตัว/

ติดตามได

เสพซ้ํา เลิกเสพ

คืนคนดีกลับสูสังคมกรณีมีช่ือใน บสต.๑ใหตัดออก

กลับเขาสูกระบวนการบําบัดรักษารอบใหม

Page 38: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๘

ขั้นตอนการบําบัดผูปวยท่ีคัดกรองในชุมชน

(2-3 คะแนน) (4-26 คะแนน) (27 คะแนน) (27 คะแนน)และติด>3 ป

(บสต.๒,๓)

หนีคาย ครบข้ันตอน

ครบ ไมครบ

คัดกรองในชุมชน

กลุ่มติด กลุ่มติดเรือรัง กลุมใชครั้งคราว

คลินิกฟาใส คลินิกฟาใส ในรพ.สต. (ยาบา,สุรา,บุหรี่)

ติดตามหลังบําบัดครบตามกําหนดอีก 1 ป (บสต.๕)

คายบําบัด15วัน

(บสต.๒,๓)

แจงศพส.อ.

สิ้นสุดกระบวนการ แจงศพส.อ.ชวยติดตามผูปวย

คลินิกฟาใส

สงตอรพ.แพรหรือศูนยแมริม ฯลฯ

คลินิกฟาใสบันทึก(บสต. ๓,๔)

รายงานผลการติดตาม

คลินิกฟาใส

กลุ่มเสพ

Page 39: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๓๙

แผนภูมิงานบริการคลินิกฟาใส(รายใหม)

สมัครใจ/บังคับบําบัด

ลงทะเบียนที่ตึกผูปวยนอก

มี ไมม ี

ไมมีปญหาจิตเวช

ตรวจปสสาวะ

ใหบริการปรึกษา

นัดหมายครั้งตอไป

เสพซ้ํา

เลิกได

คลินิกฟาใส

ซักประวัติ ประเมินปญหาการใชสารเสพติด ตรวจรางกาย

ลงทะเบียนผูปวยใหม ตกลงบริการ

มีปญหาทางจิตเวชหรือไม

มีปญหา

ทางจิตเวช

สงพบแพทยเพื่อรับยา

สงตอ รพ.แพร

ติดตามจนครบ ๑ ปตามระบบ บสต.๕

จําหนาย

Page 40: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๐

แผนภูมิงานบริการคลินิกฟาใส(รายเกา)

สมัครใจ/บังคับบําบัด

ลงทะเบียนท่ีตึกผูปวยนอก

คลินิกฟาใส ประเมินปญหาการใชสารเสพติด

ตรวจรางกาย ลงทะเบียนผูปวยเกา

ตรวจปสสาวะ

ใหบริการปรึกษา รายบุคคล กลุมบําบัด

ครอบครัวบําบัด นัดหมายครั้งตอไป

เสพซํา

เลิกได้

ติดตามจนครบ ๑ ปตามระบบ บสต.๕

จําหนาย

Page 41: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๑

แผนภูมิการติดตามและชวยเหลือผูปวยหลังการบําบัดครบกําหนด

ผูปวยที่เขารับการบําบัดทุกระบบ

ตองการ ไมตองการ

จัดทําทะเบียนรายช่ือ มีงานทํา,กําลังศึกษา

ติดตามดูแลอยางตอเน่ือง

ประสานศพส.อ.และ ศูนยพัฒนาฝมือแรงงาน

-ใหการชวยเหลือดานการ

ฝกอาชีพหรืออื่นๆ

ประเมินความตองการความชวยเหลือของ

ผูปวย

จําหนาย

Page 42: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๒

แผนผังขั้นตอนการใหบริการชวยเลิกบุหรี ่รพ.สูงเมน

ผูปวยทั่วไปที่มารับบริการ ( OPD / DM / HT / COPD / Asthma / TB / IPD / ตรวจสุขภาพประจําป / ผูสูงอายุฯลฯ)

( A1 ) สอบถามประวัติการสูบบุหรี่และ การใชผลิตภัณฑยาสูบอื่นๆทุกชนิด

ไมสูบ สูบ เคยสูบแตเลิกแลว

สนับสนุนช่ืนชม และใหกําลังใจ สนใจเลิกสูบบุหรี่หรือไม ปองกันการกลับไปสูบซ้ําโดยการ มิใหเริ่มสูบบุหรี่และเนนยํ้าพิษภัย แนะนําใหเริ่มตนปองกันการกลับ

ของการสูบบุหรี่ที่จะเกิดข้ึนหาก ไปสูบซ้ําต้ังแตเลิกสูบมวนแรก

ทดลองสูบ สนใจ ไมสนใจ (P2- Prevent relapse) (P1 – Prevent new smokers)

พบแพทยตามปกติ พบแพทยตามปกติและแนะนํา พบแพทยตามปกติ

ใหเลิกบุหรี่ (A2)

รับยา สงคลินิกอดบุหรี ่ รับยา

กลับบาน กลับบาน

(A3 )ประเมินความพรอมในการเลิกบุหรี ่ สรางแรงจูงใจ

ยินยอมเขาโครงการ ไมยินยอม ชวยใหเลิกบุหรี่ (A4) ซักประวัติโดยละเอียด -ใหเอกสารคูมือ แผนพับความรู ประเมินความรุนแรงในการติดบุหรี ่ - บันทึกวาใหสอบถามความพรอมเลิกบุหรี ่ อธิบายวิธีเลิกบุหรี,่CXR / Spirometry ตามความเหมาะสม ใหคําปรึกษาตามปญหา/อุปสรรคในการเลิกบุหรี ่

นัดหมายรับบริการปรึกษาครั้งตอไปและ(A5) รับยา /กลับบาน ติดตามหลังเลิกบุหรี่ (มา รพ.หรือโทรศัพท) ในเวลา 1 ป

Page 43: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๓

แผนผังขั้นตอนการใหบริการคลินิกอดสุรา รพสูงเมน

ผูรับบริการ

ซักประวัติ/ประเมินปญหา ไมใช คลินิกสุขภาพจิต จากการด่ืมสุรา และจิตเวช

ใช

คลินิกอดสุรา ติดนอย ประเมิน AUDIT BA / BI

ติดมาก ประเมินอาการผิดปกติ ไมม ี บําบัดอาการติดสุรา

ทางจิตเวช ตามแนวทาง

มี

บําบัดรายบุคคล

ครอบครัวบําบัด

ใหยาตามแผนการรักษา

กลุมเสริมสรางแรงจูงใจ

แนวทางการบําบัด ติดซ้ํา : D10 1x3 pc + hs 2 วันแรก ประเมินอาการผิดปกติ : D5 1x3 pc + 2 hs 2 วัน (วันที่ 3 – 4) ทางจิตเวช : D5 1x2 pc ( เที่ยง + hs ) วันที่ 5 : B1 1x3 pc เลิกได : B1 100 mg im. 3 days

จําหนาย

จําหนาย

Page 44: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๔

๔.แนวทางปองกันความเสี่ยงท่ีสําคัญในหนวยงาน ความเสี่ยง แนวทางปองกัน / หลีกเลี่ยง / แกไข

๑.ผูเสพ/ผูติดสารเสพติดไมเขารับการบําบัดเน่ืองจากไมยอมเปดเผยตัวเองหรือเกรงวาจะไดรับอันตราย -ผูรับบริการไมยอมรับวาตนเองติดสารเสพติด และไมใหความรวมมือในการเขารับการบําบัด ๒.ขอมูลจากการประเมินสภาพกอนการบําบัดไมครบถวน ๓.การลักลอบนํายาเสพติดเขามาในสถานพยาบาล ๔.การบริหารยาและสาร เสพ ติดที่มี ไ ว ใ ช ในการบําบัดรักษา ๕ .การ ติด เ ช้ื อ /การแพร ก ระจาย เ ช้ือ ในระหว า งบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดของสถานพยาบาล ๖.ผู รับบริการ เสี่ ยงตอการ เกิดภาวะฉุกเ ฉินขณะบําบัดรักษา ๗.การเก็บปสสาวะสงตรวจทางหองปฏิบัติการไมถูกตอง ๘.บุคลากร/เอกสารประกอบการบําบัดมีไมเพียงพอหรือไมครบ

- มีการประสานงานในสวนที่เกี่ยวของ เชน ศพสอ. ตํารวจ สสอ. ชุมชนทองถ่ิน เพื่อนําผูเสพ/ผูติดเขารับการบําบัดในระบบสมัครใจ -เตรียมผูบําบัดใหมีความรูและทักษะในการประเมินสภาพผูปวยยาเสพติดใหไดมาตรฐานวิชาชีพ -ดูแลการเก็บตัวอยางสงตรวจทางหองปฏิบัติการใหถูกตองพรอมทั้งติดตามผลการตรวจทุกครั้งถาพบวาผิดปกติตองใหการดูแลอยางเหมาะสม -อธิบายระเบียบของการเขามาบําบัดใหชัดเจนหามพกพกยาเสพติดเขามาในสถานบําบัด -มีเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยตรวจตราอยางเขมงวด -เก็บไวอยางมิดชิดในหองยาของ โรงพยาบาล -มีการจดบันทึกจํานวนยาทุกครั้งที่มีการเบิกจาย -มีการสงตอผูปวยในรายมีอาการทางจิตรุนแรงหรือจําเปนตองบําบัดดวยยา Methadone -จัดสถานที่บําบัดใหสะอาด มีอากาศถายเทไดสะดวก รวมทั้งการรักษาความสะอาดของอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชและความสะอาดของหองนํ้าหองสวมใหถูกสุขลักษณะอยูเสมอ -ตองมีการสังเกตและประเมินสภาพจิตใจของผูรับบริการอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะอยางย่ิงในการตรวจรางกายและซักประวัติครั้งแรกที่มารับบริการ - มีการเตรียมพรอมในการใหบริการ เชน ทีมงานหองฉุกเฉิน อุปกรณและยาชวยฟนคืนชีพ หนวยรักษาความปลอดภัย และมีเจาหนาที่ทานอื่นอยูดวยขณะใหบริการแกผูปวยอธิบายถึงความจําเปนและประโยชนของการตรวจใหมากข้ึน/ใหเจาหนาที่ผูชายชวยดูแลในการเก็บปสสาวะ -ประสานทีมบําบัดหากมีผูขารับการบําบัดจํานวนมาก -เตรียมเอกสารในการบําบัดใหครบและมีจํานวนมากกวาจํานวนผูเขารับการบําบัดอยางนอย ๒ เทาเสมอ -ประเมินสัดสวนระหวางผูบําบัดและผูปวยยาเสพติดใหได ๑ : ๘-๑๒ คน /ครั้ง/กลุม -ตร วจส อบห ลั ก ฐาน เอกสา ร ให มี ค รบ ก อน เ ริ่ มกระบวนการบําบัด

Page 45: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๕

๔.แนวทางปองกันความเสี่ยงท่ีสําคัญในหนวยงาน “ตอ” ความเสี่ยง แนวทางปองกัน / หลีกเลี่ยง / แกไข

๙.แผนการบําบัดไมตรงกับความตองการของผูปวย ๑๐.ผูที่เสี่ยงตอการติดยาเสพติดและครอบครัวไมใหความรวมมือในการบําบัด ๑๑.ผูเสพ / ผูติดเขารับการบําบัดไมครบกําหนด ๑๒.เกิดภาวะแทรกซอนทางอารมณและจิตสังคม ขณะเขารับการบําบัด ๑๓.มีเหตุการณรุนแรงที่ไมพึงประสงคเกิดข้ึนระหวางการบําบัด เชน เกิดการทํารายรางกายผูปวยยาเสพติดและญาติหรือเจาหนาที่ผูใหการบําบัด ๑๔.ผูปวยยาเสพติดไดรับการติดตามไมครบ ๔-๗ ครั้งใน ๑ ป

-ประเมินความพรอมของผูปวยทุกครั้งกอนทําการบําบัด -ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการบําบัดใหเหมาะสมกับความพรอมของกลุมหรือของผูปวย -ประชาสัมพันธใหชุมชน ครอบครัว โรงเรียนและผูที่อยูในกลุมเสี่ยงทราบถึงประโยชน ผลดีของการเขารับการบําบัด -ประชาสัมพันธ ข้ันตอนและวิธีการบําบัดเพื่อเปนทางเลือกในการบําบัด -ช้ีแจงใหผูปวยยาเสพติดและครอบครัวใหทราบและเขาใจ เงื่อนไขในการเขารับการบําบัดฟนฟูผูปวยยาเสพติดพรอมทั้งลงนามในขอตกลงกอนเขารับการบําบัดทุกครั้ง และประสานเครือขายในการติดตามใหเขาบําบัดฯ -สรางบรรยากาศในการทํากลุมบําบัดใหผอนคลาย เปนกันเอง ใหเกิดปจจัยในการทํากลุมบําบัดในแตละครั้งอยางเหมาะสม -จัดกลุมบําบัดใหมีบรรยากาศเปนกันเอง ใหผูปวยรูสึกผอนคลาย ไววางใจและเช่ือมั่นในผูบําบัดและสมาชิกกลุม -ดําเนินการกลุมโดยใหสมาชิกกลุมมีสวนรวมหัวขอสนทนาในกลุมจิตบําบัด -เฝาระวังและสังเกตภาวะอารมณจิตใจและสังคมของผูปวยทุกครั้งเมื่อเขารับบริการ -ประเมินอาการผิดปกติของผูปวยทุกครั้งทั้งกอนหลังและระหวางใหการบําบัด -เฝาระวังเหตุการณรุนแรงไมพึงประสงคระหวางใหการบําบัด -จัดสถานที่ใหสะอาดและจัดบริเวณใหการบําบัดใหปลอดภัยจากสิ่งกระตุนหรืออุปกรณที่อาจทําใหเกิดอันตรายตอผูปวย ญาติ และผูบําบัด -จัดทําสมุดประจําตัวผูเขารับการบําบัดทุกคนพรอมทั้งอธิบายถึงแนวทางในการบําบัดฟนฟู เพื่อใหไดรับการติดตามครบ ๑ ป -ช้ีแจงใหผูปวยยาเสพติดและครอบครัวตระหนักถึงความสําคัญของการเขารับการติดตามจนครบ ๑ ป -ดําเนินการทุกรูปแบบในการติดตามผูปวยหลังบําบัด เชน โทรศัพท จดหมาย และการประสานงานกับเครือขายในชุมชน

Page 46: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๖

๔.แนวทางปองกันความเสี่ยงท่ีสําคัญในหนวยงาน “ตอ”

ความเสียง แนวทางป้องกัน / หลีกเลียง / แก้ไข

๑๕.การสงตอขอมูลพฤติกรรมของผูปวยระหวางเขารับบริการการบําบัดและฟนฟูสมรรถภาพ ๑๖.ถูกรองเรียนจากการละเมิดสิทธ์ิหรือเปดเผยความลับของผูปวย ๑๗.ผลการตรวจปสสาวะอาจไมไดผลตามความเปน จริง เน่ืองจากการนัดหมายลวงหนาในการติดตาม และใหผูปวยมาพบที่หนวยงาน

-จัดทําแบบบันทึกขอมูลรายบุคคลเพื่อสงตอ -ลงบันทึกพฤติกรรมของผูปวยระหวางเขารับบริการการบําบัดและฟนฟูสมรรถภาพทันทีหลังปดกลุมบําบัดแตละครั้ง -ลงบันทึกในสมุดประจําตัวของทุกคน -ใหบริการโดยยึดหลักสิทธิผูปวยเปนหลักสําคัญ -เจาหนาที่ศึกษาสิทธิผูปวยใหเขาใจและปฏิบัติตาม -สุมติดตามไปพบที่บานโดยประสานกับเจาหนาที่สาธารณสุขเครือขายในพื้นที ่-สอบถามขอมูลจากญาติ และเพื่อนบาน

Page 47: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๗

แบบสรุปการประเมินตนเองเพ่ือประกอบการนิเทศติดตามผลเพ่ือการรับรองคุณภาพ สถานพยาบาลทุกระดับท่ีใหบริการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติด

--------------------------------------------------------

วันที่.......๓....... เดือน ........พฤษภาคม........ พ.ศ. ......๒๕๕๖.....

เกณฑมาตรฐานในการรับรองคุณภาพ คาคะแนน

GEN ๑

GEN ๒

GEN ๓

GEN ๔

GEN ๕

GEN ๖

GEN ๗

GEN ๘

GEN ๙

รวมคะแนนเฉลี่ย

Page 48: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๘

เกณฑใหคะแนนเพ่ือรับรองคุณภาพ สถานพยาบาลทุกระดับท่ีใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด

ชื่อโรงพยาบาล/สถานพยาบาล .......โรงพยาบาลสูงเมน อ.สูงเมน จ.แพร.........

Gen ๑ มีการกําหนดพันธกิจ ขอบเขต เปาหมายและวัตถุประสงคของการจัดบริการบําบัดรักษาฟนฟูสมรรถภาพรวมถึงการสงเสริมปองกันผูใชยาและสารเสพติดตามบริบทท่ีเหมาะสมของหนวยงานเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจนและมีการดําเนินงานจนบรรลุผลตามท่ีกําหนดไว

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตามเปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑ มีการกําหนดความมุงหมายของหนวยงาน (Purpose Statement) เปาหมายหรือวัตถุประสงค รวมทั้งกําหนดขอบเขตการจัดบริการ เปนลายลักษณอักษร มีความเปนไปไดและสามารถวัดผลได

๒ มีการสื่อสารความมุงหมายของหนวยงาน เปาหมายหรือ วัตถุประสงค และขอบเขตการจัดบริการไปยังเจาหนาที่และหนวยงานที่เกี่ยวของ

๓ เจาหนาที่ มีความรูและเขาใจความมุงหมายของหนวยงาน เปาหมายหรือวัตถุประสงค และขอบเขตการจัดบริการและทราบบทบาทของตนเองในการทําใหบรรลุตามเปาหมายของหนวยงาน

๔ มีแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจนและการนําแผนไปสูการปฏิบัติอยางไดผล มีการนําขอมูลทางระบาดวิทยายาเสพติดและความตองการของผูรับบริการมาใชในการวางแผนการใหบริการ และมีการจัดทําตัวช้ีวัดสําคัญเพื่อติดตามความกาวหนาในการปฏิบัติตามแผน รวมทั้งมีการประเมนิผลลัพธ (Outcome) ของการดําเนินงานอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม

๕ มีการสนับสนุนและจัดสรรทรัพยากรใหสามารถดําเนินงานดานการบําบัดรักษายาเสพติดไดอยางตอเน่ือง และมีการกระตุน ติดตามความกาวหนาในการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ

๑.๕

คะแนนเฉลี่ย ตอนท่ี ๑ ๑.๙

Page 49: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๔๙

คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

๑.๕

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑.๕

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๓

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๔.๙

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑.มีคูมือการปฏิบัติงานคลินิกฟาใส ๒.มีการสื่อสารไปยังหนวยงานและเจาหนาที่ทราบทาง การประชุมเจาหนาที่ สงทางE-Office ๓.มีการแตงต้ังเจาหนาที่ปฏิบัติงานบําบัดรักษาผูติดสารเสพติด จากสหสาขาวิชาชีพ ๔.มีการจัดทําแผนยุทธศาสตร รพ./ คปสอ. และจัดทําโครงการ ตามนโยบายของระดับจังหวัดและอําเภอ ๕.มีคูมือการใหการบําบัด ตามโปรแกรม กาย จิต สังคมบําบัด (MATRIX PROGRAM) ๖.มีแบบประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการ ๗.มีการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานบําบัดรักษาเปนรายเดือนเสนอผูบริหารกอนสง สสจ.แพร, สถาบันธัญญารักษ และ ศพส.อ. รวมทั้งผลการบําบัดผูปวยระบบบังคับบําบัดฯสง สนง.คุมประพฤติเปนรายบุคคลเปนระยะ ๘.เขารวมประชุมระดับอําเภอเสนอผลการดําเนินงานและปญหาอุปสรรคตางๆทุกเดือน

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Page 50: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๐

Gen ๒ มีการจัดองคกรและการบริหารในลักษณะท่ีเอ้ือตอการใหบริการฟนฟูสมรรถภาพผูใชยาและสารเสพติด ตามพันธกิจท่ีกําหนดไวอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตามเปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน

ระดับคะแนน หนวยงาน

ประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑. โครงสรางองคกรของหนวยงานที่ใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสาร เสพติด ชัดเจนและเหมาะสม

๑.๕

๒. มีการกําหนดคุณสมบัติเฉพาะตําแหนงเปนลายลักษณอักษร ๒

๓. หัวหนาหนวยงานเปนบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ไดรับการมอบหมายหนาที่ที่เหมาะสม และมีความสามารถในการบริหารงานในหนวยงานใหบรรลุผลตามที่กําหนดไว

๑.๕

๔. มีกลไกการกําหนดแนวทางการปฏิบัติงาน การสื่อสารและการแกปญหาที่มีประสิทธิภาพ ทั้งภายในหนวยงานและระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ

๕. มีกลไกที่เอื้ออํานวยใหหนวยงานมีสวนรวมในการวางแผนตัดสินใจและกําหนดนโยบายในการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดในระดับสถานบําบัดรักษายาเสพติดในภาพรวม

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๑.๘

คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นท่ีประเมิน

ระดับคะแนน หนวยงานประเมิน

ตนเอง ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๒

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๓.๘

Page 51: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๑

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑. มีแผนภูมิการใหบริการหรือแนวทางปฏิบัติการใหบริการ ๒. มีการจัดทํา JOB DESCRIPTION ของผูรับผิดชอบ ๓.มีการแตงต้ังคณะกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด คปสอ.สูงเมน ,แตงต้ังเจาหนาที่ปฏิบัติงานบําบัดรักษาผูติดสารเสพติดของ คปสอ.สูงเมน และของรพ.สูงเมน ๔. รวมประชุมทําแผนยุทธศาสตรของโรงพยาบาลและ คปสอ. ๕.รวมเปนคณะกรรมการงานโรคไมติดตอและงานสุขภาพจิตของโรงพยาบาล ๖. มีการนําเสนอขอมูลผลการดําเนินงานในการตรวจนิเทศงานจากสวนกลาง

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Gen ๓ มีการจัดการทรัพยากรบุคคลเพ่ือใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดไดตามพันธกิจท่ีกําหนดไว อยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตาม

เปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑. มีเจาหนาที่เพียงพอและเหมาะสมกับการปฏิบัติงานดานการบําบัดรักษาผูใชยา และสารเสพติดของหนวยงานทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ

๑.๕

๒. บุคลากรใหมทุกคนไดรับการเตรียมความพรอมดานการบําบัดรักษาผูใชยา และสารเสพติดกอนเขาประจําการ

๓. เจาหนาที่ซึ่งมีคุณสมบัติไมครบตามที่กําหนดไวในคุณสมบัติเฉพาะตําแหนงหรือ นักเรียนฝกงาน จะตองปฏิบัติงานดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดภายใตการกํากับดูแล

๔. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดอยางสม่ําเสมอ โดยเนนผลการปฏิบัติงานเชิงบวกเพื่อสรางความภาคภูมิใจ และสงเสริมใหมีการพัฒนาอยางตอเน่ือง

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๑.๘๗

Page 52: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๒

คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๒

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๓.๘๗

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑. จํานวนเจาหนาที่ยังไมเพียงพอตอผูรับบริการ จึงไดมีการประสานการทํางานรวมกันกับงานสุขภาพจิต และงานควบคุมโรคไมติดตอ และแตงต้ังทีมสห-วิชาชีพรวมใหบริการบําบัดรักษาผูปวย ๒. มีการจัดทํา WORK LOAD ของผูรับผิดชอบงาน ๓. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดทุก ๖ เดือน ๔. มีการประชุมคณะทํางานเปนระยะ ทุก ๓-๔ เดือน หรือเมื่อพบปญหาในการทํางาน ๕. มีการปฐมนิเทศ ผูรวมงาน หรือทีมงานกอนการปฏิบัติงานรวมกัน ๖.มีก ารกํ ากั บ ดูแลเจ าหน าที่ ที่ ม าชวยง านโดยผูรับผิดชอบงานยาเสพติด

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Page 53: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๓Gen ๔ มีการเตรียมความพรอม การเพ่ิมพูนความรูและทักษะดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด เพ่ือให

เจาหนาท่ีสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตามเปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑. มีการจัดทําแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด ที่สอดคลองกับความตองการของบุคลากรและหนวยงาน

๒. บุคลากรมีการเพิ่มพูนความรู ทักษะ และแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดอยางสม่ําเสมอ ที่สอดคลองกับแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล

๓. มีการประเมินแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดในรูปแบบของการเปลี่ยนพฤติกรรมและผลกระทบตอการดูแล/การใหบริการแกผูปวยยาเสพติดและครอบครัว

๑.๕

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๑.๘๓ คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นที่ประเมิน ระดับคะแนน หนวยงานประเมิน

ตนเอง ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๒

คะแนนรวม (ตอนที๑+ตอนที๒) ๓.๘๓

Page 54: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๔

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑. มีการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร ในแผนงาน ยาเสพติดตามยุทธศาสตรของโรงพยาบาล ๒.ยังไมมีบุคลากรเขารับการอบรมเฉพาะทางดานยาเสพติด ๓. มีแผนการฝ กอบรมใหแก เ จ าหนาที่ ทั้ ง ใน โรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจําตําบล เกี่ยวกับการให คําปรึกษาผู เสพ/ผู ติดสารเสพติดโปรแกรม กาย จิต สังคมบําบัด การใหการดูแลและบริการปรึกษาผูติด สุรา /บุหรี่

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Gen ๕ มีคูมือและวิธีปฏิบัติเปนลายลักษณอักษรซึ่งสะทอนความรู ตามหลักจริยธรรมคุณธรรม และมาตรฐานวิชาชีพ สอดคลองกับพันธกิจในการใหบริการดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด/กฎระเบียบท่ีเก่ียวของ และเจาหนาท่ียึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติ

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตาม

เปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑. มีกระบวนการจัดทําคูมือ/วิธีปฏิบัติดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดที่เปนระบบ

๒. มีคูมือ/วิธีปฏิบัติงาน ครอบคลุมประเด็นสําคัญและสอดคลองกับกระบวนการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด

๓. เจาหนาที่ รับทราบ เขาใจ และปฏิบัติตามคูมือ/วิธีปฏิบัติที่จัดทําข้ึน ๒

๔. มีการประเมินเพื่อทบทวนการใชคูมือและวิธีปฏิบัติอยางสม่ําเสมอเพื่อใหมีความสมบูรณ ครบถวน และสอดคลองกับสภาวะการทํางาน

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๒

Page 55: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๕คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นที่ประเมิน

ระดับคะแนน หนวยงานประเมิน

ตนเอง ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

๑.๕

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑.๕

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๓

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๕.0

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑.มีการจัดทําคูมือและแนวทางปฏิบัติงานยาเสพติดโดยทีมงานบําบัด เพื่อลดความเสียหายหากไมปฏิบัติตามนโยบายและวิธีปฏิบัติที่ดี ลดความแตกตางของการปฏิบัติระหวางผูปฏิบัติงานดานการบําบัดรักษา และลดความเสี่ยงของการดูแลผูปวยยาเสพติดอันมีสาเหตุมาจากความแตกตางเหลาน้ัน ๒. มีคูมือบําบัดตามโปรแกรมกาย จิต สังคมบําบัด คูมือบําบัดผูติดสุรา และบุหรี่ และคูมือติดตามทํากลุมปญญาสังคม ๓.มีสมุดประจําตัวผูรับบริการขณะบําบัดฯ และติดตามหลังบําบัดครบกําหนด ๔.มีขอตกลงกอนรับบริการ ๕.ใหขอมูลที่จําเปนแกผูปวย/ครอบครัวเมื่อแรกรับ ๖. มีการรักษาความลับของผูปวย ๗.ไมมีการรองเรียนเกี่ยวกับการใหบริการ ๘.มีการประเมินและทบทวนการใชคูมือและวิธีปฏิบัติอยางสม่ําเสมอเพื่อใหมีความสมบูรณ ครบถวน และสอดคลองกับสภาวะการทํางาน

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Page 56: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๖Gen ๖ สิ่งแวดลอมทางกายภาพ มีความปลอดภัย และเอ้ือตอการบําบัดรักษาฟนฟูสมรรถภาพ ของผูรับบริการและผูใหบริการ

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตาม

เปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑. สถานที่ต้ังหนวยบริการมีความเหมาะสมสะดวกตอการเขาถึงบริการ ๒

๒. มีพื้นที่ใชสอยเพียงพอและมีการจัดแบงโครงสรางภายในเหมาะสมสําหรับการใหบริการ การปฏิบัติงาน และ การเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุตางๆ

๓. สถานที่ตรวจ/รักษา/ใหคําปรึกษา เปนสัดสวนและมีความมิดชิดพนจากสายตาและการไดยินโดยบุคคลอื่น

๑.๕

๔. สภาพแวดลอมเอื้อตอการสรางเสริมสุขภาพดาน กาย จิต สังคม มีความปลอดภัย มีการระบายอากาศที่ดี มีแสงสวางและอุณหภูมิเหมาะสม ไมมีสิ่งรบกวน มีความสะอาดและเปนระเบียบ

๑.๕

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๑.๗๕ คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นท่ีประเมิน

ระดับคะแนน หนวยงานประเมิน

ตนเอง ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑.๕

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๒.๕๐

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๔.๒๕

Page 57: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๗เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง ผู ้นิเทศประเมิน

๑.มีหองบริการ(คลินิกฟาใส ช้ัน ๑ ตึกใหม)เปนสัดสวนพอควร มีการถายเทอากาศที่ดี มีแสงสวางและอุณหภูมิเหมาะสม มีความสะอาด เปนระเบียบเรียบรอย สะดวกตอการใช ไมกีดขวางทางสัญจรของผูให /ผูรับบริการ ๒.ปราศจากความเสี่ยงทางดานกายภาพในการดูแลผูปวยยาเสพติด และสามารถบริหารความเสี่ยงดานการลักลอบนําสารเสพติดเขามาในสถานบริการได ๓.มีหองทํากิจกรรม/ใหคําปรึกษาเปนสัดสวน มิดชิด พนจากสายตาและการไดยินโดยบุคคลอื่น (หองพักใจช้ัน ๒ ตึกเกา)

๑. สิงทีพบ

๒. จุดเด่น

๓. ข้อเสนอแนะ

Gen ๗ มีเครื่องมือ อุปกรณ วัสดุ และสิ่งอํานวยความสะดวก ท่ีไดมาตรฐานเพ่ือใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดไดอยางปลอดภัย มีคุณภาพและประสิทธิภาพ

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตาม

เปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑. มีหลักเกณฑและกลไกในการคัดเลือก/ประเมินเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ ที่จําเปนในการใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด

๒. มีเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ เพียงพอสําหรับการใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด

๑.๕

๓. มีระบบสํารองเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ ที่จําเปนดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติด พรอมที่จะใชในการใหบริการไดตลอดเวลา

๔. มีระบบตรวจสอบ และบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ ใหพรอมที่จะใชงานไดตลอดเวลา

๕. มีผูใชเครื่องมือพิเศษดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดไดรับการอบรมเปนการเฉพาะและมีความรูในการใชงานเปนอยางดี

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๑.๙

Page 58: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๘

คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นท่ีประเมิน

ระดับคะแนน หนวยงานประเมิน

ตนเอง ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

๑.๕

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑.๕

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๓

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๔.๙

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑.มีอุปกรณที่จําเปนในการใหบริการ เชนปรอทวัดไข เครื่องวัดความดันโลหิต สายวัดเอว และเครื่องช่ังนํ้าหนัก เปนตน ๒.มีกระบวนการสงตอตรวจพิสูจนหาสารเสพติดเบื้องตน (ที่งานชันสูตร) ๓.มีการตรวจพิสูจนหาสารเสพติดไดอยางเหมาะสมและทันเวลา (มีการประกันเวลา) ๔. มียาสําหรับใหการบําบัดรักษาอาการทางยาเสพติดตามอาการ (Supportive treatment) เชน Major tranquilizer , Minor tranquilizer เปนตน ๕.มีคูมือการใหบริการผูปวย และสมุดประจําตัวผูปวย เพียงพอ รวมทั้งอุปกรณอื่นๆมีความพรอมในการใหบริการ ๖.มี ก ารบันทึ กประ วั ติของ เครื่ อ งมื อ และการบํารุงรักษาเครื่องมือแตละช้ินทุกป (มีระบบการตรวจความเที่ยงของเครื่องมือทุกหนวยงาน)

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Page 59: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๕๙

Gen ๘ มีกระบวนการใหบริการดานการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพ ท่ีตอบสนองความตองการของผูใชยาและสารเสพติดแตละราย อยางมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตาม

เปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑. การเขาถึงและเขารับบริการ: ทีมผูใหบริการสรางความมั่นใจวาผูรับบริการสามารถเขาถึงบริการที่จําเปนไดงาย, กระบวนการรับผูใชยาและสารเสพติด เหมาะกับปญหาสุขภาพ/ความตองการของผูใชยาและสารเสพติด ทันเวลา มีการประสานงานที่ ดี ภายใตระบบและสิ่ งแวดลอมที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล

๒. การประเมินผูใชยาและสารเสพติด: ผูใชยาและสารเสพติดทุกรายไดรับการประเมินความตองการและปญหาสุขภาพอยางถูกตอง ครบถวน และเหมาะสม

๓. การวางแผนการบําบัดรักษา : มีการวางแผนดูแลผูใชยาและสารเสพติดที่มีการประสานกันอยางดีและมีเปาหมายที่ชัดเจนสอดคลองกับปญหา/ความตองการดานสุขภาพของผูใชยาและสารเสพติด มีการเตรียมความพรอมผูใชยาและสารเสพติดใหพรอมเผชิญกับปญหาหลังจําหนายเพื่อใหสามารถดูแลตนเองและไดรับการดูแลอยางเหมาะสม กับสภาพปญหาและความตองการหลังจากจําหนายจากสถานบําบัดรักษา

๔. การดูแลผูใชยาและสารเสพติดใชยาและสารเสพติดอยางทันทวงที ปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพ

๕. การใหขอมูลเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพแกผูใชยาและสารเสพติด / ครอบครัว และกิจกรรมที่วางแผนไว เพื่อเสริมพลังผูใชยาและสารเสพติด / ครอบครัวใหมีความสามารถและรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของตนเอง รวมทั้งเช่ือมโยงการสรางเสริมสุขภาพเขาในทุกข้ันตอนของการดูแล

๖. การดูแลตอเน่ือง : ทีมผูใหบริการสรางความรวมมือและประสานงานเพื่อใหมีการติดตามและดูแลผูใชยาและสารเสพติดอยางตอเน่ืองที่ใหผลดี

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๒

Page 60: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๖๐ คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

๑.๕

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑.๕

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๓

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๕.0

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑.มีการประชาสัมพันธ ข้ันตอนการมารับบริการในโรงพยาบาลทางเสียงตามสาย,สถานีวิทยุชุมชนทุกวัน ๒.มีการอธิบายข้ันตอนการรับบริการในครั้งแรกที่มารับบริการจากเจาหนาที่ในคลินิกฟาใส ๓.มีการประสานงานระหวางหนวยงานเพื่อความสะดวก รวดเร็วแกผูรับบริการ ๔.มีการประเมินผูปวยแรกรับทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม ประวัติการเจ็บปวย ซักประวัติตามแบบคัดกรองและสงตอ( Update ๓๐/๑๑/๒๕๕๕) บสต.๒และบสต.๓ ๕.มีการอธิบายกระบวนการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพ ระยะเวลาการบําบัด การติดตามหลังบําบัดครบ ความรับผิดชอบในการมาบําบัด การตรงตอเวลา ระเบียบ ขอกําหนดของการมารับบริการ ๖.การลงนามยินยอมรับการรักษาโดยผูปวยหรือญาติ หลังจากไดรับการอธิบายจนเปนที่เขาใจ ๗.มีการวางแผนบําบัดรักษาหลังจากการประเมินสภาพผูปวยและบันทึกกิจกรรมทุกครั้งในสมุดผูปวย ๘.มีการประชุมรวมกันระหวางผูปวย ครอบครัว และผูใหบริการ อยางนอย 2 – 3 ครั้ง ระหวางบําบัดฯ ๙.ประชุมรวมกันระหวางทีมผูใหบริการ เพื่อใหการบําบัดและทบทวนผลการบําบัดรักษารวมกัน

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Page 61: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๖๑

๑๐.ประเมินปญหาความคาดหวังและความตองการการชวยเหลือตางๆ และประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ ๑๑.มีการประสานความรวมมือไปยัง ศพส.อ. ผูนําชุมชน ตํารวจ รพ.สต. และอสม.เพื่อติดตามผูปวยใหเขารับการบําบัดตามโปรแกรม และติดตามดูแล ชวยเหลือ หลังบําบัดครบกําหนด ๑๒.มีการคนหาคัดกรองกลุมผู ติดสุรา/ บุหรี่ ในผูรับบริการตึกผูปวยนอกต้ังแตอายุ ๑๕ ปโดยเฉพาะในคลินิกโรคไมติดตอเรื้อรังของโรงพยาบาล และประเมินความพรอมในการเลิกเสพ เพื่อประสานและสงตอเขาคลินิกอดสุรา/บุหรี่

Gen ๙ มีกิจกรรมติดตามประเมินและพัฒนาคุณภาพของหนวยงานหรือการใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสาร เสพติด โดยการประเมินตนเอง การทํางานเปนทีม การบริหารความเสี่ยง และมีการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผูปวยอยางตอเน่ือง

คะแนนตอนท่ี ๑ การปฏิบัติตามมาตรฐาน เกณฑการใหคะแนน : ๐ = เริ่มมีแนวทาง เริ่มตนปฏิบัติ ๑ = ยังมีประเด็นสําคัญตองปรับปรุง ๒ = ปฏิบัติไดตาม

เปาหมายของมาตรฐาน

ประเด็นท่ีประเมิน ระดับคะแนน

หนวยงานประเมินตนเอง

ผูนิเทศประเมิน

๑. การทํางานเปนทีม : หนวยงานหรือหนวยที่ใหบริการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ โดยความรวมมือของผูปฏิบัติงานทุกระดับ/ทุกสาขาวิชาชีพ ทั้งภายในหนวยงานและระหวางหนวยงาน

๒. มีระบบการบริหารความเสี่ยงทางดานคลินิกและความเสี่ยงทั่วไป ในทุกหนวยงานและในทุกระดับ ครอบคลุมทั้งการคนหา การกําหนดกลยุทธและมาตรการปองกัน มีระบบรายงานอุบัติการณ มีการวิเคราะหสาเหตุที่แทจริง (root cause) มีการประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยอยางสม่ําเสมอ ตลอดจนมีการบูรณาการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารความเสี่ยง

๓. การทบทวน และการพัฒนาคุณภาพการดูแลผูปวย โดยมีการวิเคราะหความตองการ ความคาดหวังและสารสนเทศของผูปวยยาเสพติดและลูกคา (customer) หนวยงานที่ใชบริการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ กําหนดเปาหมาย เครื่องช้ีวัดและมีการติดตาม วิเคราะหผลลัพธตามตัวช้ีวัดเพื่อการประเมินและพัฒนา แกปญหาหรือพัฒนาคุณภาพดานการบําบัดรักษาผูใชยาและสารเสพติดโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในหนวยงาน ในองคกรหรือในพื้นที่

๔. การพัฒนาการทํางานเชิงรุกเพื่อปองกันและแกไขปญหายาเสพติด โดยการสรางพลังชุมชน สรางการมีสวนรวมของเครือขาย และชุมชน

คะแนนเฉลี่ย ตอนที่ ๑ ๒

Page 62: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๖๒

คะแนนตอนท่ี ๒ การประเมินและพัฒนาตอเน่ือง เกณฑการใหคะแนน : คะแนนเต็ม ๑.๕ ในแตละประเด็น

ประเด็นที่ประเมิน

ระดับคะแนน หนวยงานประเมิน

ตนเอง ผูนิเทศประเมิน

Evaluation and improvement and Innovation การประเมิน ปรับปรุง และการสรางนวัตกรรม

๑.๕

Outcome ผลลัพธมีแนวโนมดีข้ึน ๑.๕

รวมคะแนน ตอนที่ ๒ ๓

คะแนนรวม (ตอนท่ี๑+ตอนท่ี๒) ๕.0

เอกสารหรือสิ่งท่ีประกอบการใหคะแนน หนวยงานประเมินตนเอง ผูนิเทศประเมิน

๑.มี ก ารทํ า ง าน เปนที ม โดยความร วมมื อขอ งผูปฏิบั ติงานทุกระดับ/ทุกสาขาวิชาชีพทั้ งภายในหนวยงานและระหวางหนวยงานโดย -มีการแตงต้ังเจาหนาที่ปฏิบัติงานคลินิกฟาใส -จัดต้ังคลินิกฟาใสเครือขายในรพ.สต.ทุกแหง=๑๗ แหง -มีการแตงต้ังผูรับผิดชอบหลักและผูรับผิดชอบรองในคลินิกฟาใสเครือขาย เพื่อคัดกรองและใหบริการกลุมเสพที่สมัครใจบําบัดรักษาใกลบาน รวมทั้งสงตอกรณีเปนกลุมติดหรือมีปญหาสุขภาพกายหรือสุขภาพจิต ๒.มีการปองกันอุบัติการณความเสี่ยงผูใหบริการถูกทํารายโดยมีเจาหนาที่บําบัด อยางนอย ๒ คนอยูระหวางบําบัดผูปวย หรือมีเจาหนาที่ชายอยูดวย ๓. มีการควบคุมกํากับการเก็บปสสาวะสงตรวจโดยเจาหนาที่ชาย และมีการประกันเวลาในการตรวจ ๔.มีการสอบถามความตองการ ความคาดหวัง ประเมินความพึงพอใจ และตรวจสอบขอรองเรียนของผูรับบริการ ๕.ประเมินผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดทุก ๖ เดือนและวิเคราะหผลลัพธเพื่อนํามาพัฒนาปรับปรุงการใหบริการ ๖.มีการจัดต้ังศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมนเพื่อติดตามดูแลชวยเหลือผูผานกระบวนการทุกระบบ

๑. สิ่งที่พบ ๒. จุดเดน ๓. ขอเสนอแนะ

Page 63: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

๖๓ ๗.มีการแตงต้ังคณะกรรมการเครือขายศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมน เพื่อติดตามผูปวยใหเขารับการบําบัดตามนัด และดูแลชวยเหลือผูผานกระบวนการทุกระบบ ๘.มีการดําเนินงานปองกันกลุมเสี่ยงทั้งในและนอกสถานศึกษา ๙.มีคําสั่งอําเภอสูงเมนที่ ๒๙/๒๕๕๖ เรื่อง แตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการในการบําบัดรักษาและติดตาม ผูเสพ/ผูติดยาเสพติดอําเภอสูงเมน ๑๐.จัดประชุมเครือขายศูนยดวยรักและหวงใยอําเภอสูงเมนทุกป เพื่อติดตามผูปวยใหเขารับการบําบัดตามนัด และดูแลชวยเหลือผูผานกระบวนการทุกระบบ

Page 64: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

การพัฒนาคุณภาพอยางตอเนือ่ง(CQI) ปงบประมาณ 2555

การใหบริการบําบัดผูปวยนอกตามโปรแกรมกายจิตสังคมบําบัดมีการคนหาจุดออน,จุดแข็ง พบปญหาจากการ ปฏิบัติงานจึงนําปญหามาจัดลําดับความสําคัญดังน้ี 1. ผูรับการบําบัดไมมาตามนัด 2. ครอบครัวใหความรวมมือในการบําบัดรักษานอย 3. ทีมผูบําบัดสับสนเกี่ยวกบัหลักสูตรการบําบัดรักษายาเสพติด

นําปญหาที่สําคัญและเรงดวนมาพัฒนาอยางตอเน่ืองตามลําดับความสําคัญดังน้ี

ปญหาท่ี ๑ : ผูรับการบําบัดฯไมมาตามนัด ที่มาของปญหา 1. ผูรับการบําบัดประกอบอาชีพรับจางรายวัน 2. ญาติไมมีสวนรวมในการรักษา 3. ผูบําบัดปฐมนิเทศอาจไมชัดเจนทําใหผูปวยไมเขาใจแผนการบําบัดรักษาฯ 4. ผูรับการบําบัดขาดความรับผิดชอบในตัวเอง ต้ังเปา 1.ผูรับการบําบัดมาตามนัดไมขาดการรักษา 2.ผูรับการบําบัดรับการรักษาครบกําหนด เฝาดู ดําเนินการติดตามเครื่องชี้วัดโดย 1. ติดตามผลการบันทึกการมารับการรักษาในสมุดนัดและในทะเบียนรายบุคคล

ปรับเปลี่ยน

สิ่งท่ีกระทําในอดีต สิ่งท่ีปรับเปลี่ยน ๑. ไมมีมาตรฐานการปฐมนิเทศผูรับการบําบัด ๒. และครอบครัว ๓. ญาติไมมีสวนรวมในการวางแผนการบําบัดรักษา ๔. ในระยะเตรียมการ ๕. ผูปวยไมมีเบอรโทรศัพท

1. จัดทํามาตรฐานการปฐมนิเทศผูรับการบําบัดและ ครอบครัว 2. ปรับปรุงสมุดประจําตัวเพื่อนัดวัน เวลาผูปวยใหชัดเจน 3. ญาติตองมีสวนรวมในการวางแผนการรักษาในระยะ เตรียมการทุกราย 4. ทําขอตกลงและการยินยอมรับการบําบัดรักษาทุกราย 5. ขอเบอรโทรศัพทของผูปวย,ผูปกครอง,บุคคลในครอบครัว 6. ประสานการติดตามโดยแจงรายช่ือในที่ประชุม ศพสอ. และสงรายช่ือให สสอ. และ ผูรับผิดชอบงานคลินิกฟาใส เครือขายรพ.สต.แตละแหงที่มีผูปวย

ผลลัพธ

ผูรับการบําบัดรักษายาเสพติดมาตามนัดดีข้ึน รอยละ90 และญาติมีสวนรวมในการรักษาทุกระยะของการรักษาทุกราย

Page 65: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

65

ปญหาท่ี ๒ : ครอบครัวใหความรวมมือในการบําบัดรักษานอย

ท่ีมาของปญหา 1. ครอบครัวตองประกอบอาชีพไมมีเวลามาพบผูบําบัด 2. ครอบครัวรูสึกอาย,เบื่อหนาย 3. ไมเห็นความสําคัญในการมาพบผูบําบัด 4. ผูรับการบําบัดฯบางคนไมมีโทรศัพท 5. ครอบครัวไมทราบวามารับการบําบัดเน่ืองจากถูกบังคับมารับการบําบัดจากตํารวจและผูนําชุมชน 6. ผูรับการบําบัดฯไมบอกครอบครัวใหมาพบผูบําบัด 7. มีปญหาในการเดินทางมาพบผูบําบัด เชน ไมมีพาหนะ หรือไมมีคาพาหนะ

ต้ังเปา

1. ครอบครัวผูรับการบําบัดฯมาพบผูบําบัดเพื่อวางแผนการบําบัดรักษารวมกัน 2. ผูรับการบําบัดฯเลิกยาเสพติดไดโดยไมกลับไปเสพซ้ําภายใน 1 ป 3. ความพึงพอใจครอบครัวมากกวารอยละ85

เฝาดู ดําเนินการติดตามเครื่องชี้วัดโดย

๑. บันทึกจํานวนครอบครัวผูรับการบําบัดฯไดพบผูบําบัด ๒. ติดตามผูรับการบําบัดและสงตรวจปสสาวะอยางนอย ๔ ครั้ง ภายใน 1 ปหลังบําบัดครบตามเกณฑ ๓. ครอบครัวตอบแบบประเมินความพึงพอใจหลังจากไดพบผูบําบัดแลว

ปรับเปลี่ยน

สิ่งท่ีกระทําในอดีต สิ่งท่ีปรับเปลี่ยน 1.เขียนใบนัด/โทรศัพทใหครอบครัวผูรับการ บําบัดฯมาพบ

๑. ทําขอตกลงการบําบัดฯใหผูปวยนําครอบครัวเขารวมใน การบําบัดฯดวยจํานวน ๓ ครั้งจึงจะผานมาตรฐานการ บําบัดฯตามเกณฑ ๒. นัดใหครอบครัวมาพบผูบําบัด ครั้งที่ ๒ ของการมาบําบัด, เดือนที่ ๓ และเดือนที่ ๔ ของการบําบัด ๓. ประสานผูนําชุมชน,อ.ส.ม.เช่ียวชาญยาเสพติด,ผูบําบัดใน รพ.สต.ชวยติดตามใหครอบครัวมาพบ ๔. เตรียมครอบครัวและชุมชนใหยอมรับผูเลิกยาและสามารถ อยูรวมกันไดอยางปกติสุขโดยการใหความรูโรคสมองติดยา และวิธีอยูรวมกับผูติดยา

ผลลัพธ หลังปฏิบัติงาน 3 เดือน ไดผลดังน้ี

1. ครอบครัวไดพบผูบําบัดรอยละ 80 2. ติดตามหลังบําบัดครบกําหนด ๔ ครั้งใน ๑ ปไดเพิ่มข้ึนทุกป 3. ผูเลิกยาเสพติดเลิกยาไดสําเร็จ และไมกลับไปเสพซ้ํามากกวารอยละ ๙๐ 4. ครอบครัวผูรับการบําบัดฯมคีวามพึงพอใจตอบริการบําบัดรักษาฯรอยละ 90

Page 66: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

66

ปญหาท่ี ๓ : เรื่องทีมผูบําบัดสับสนเก่ียวกับหลักสูตรการบําบัดรักษายาเสพติด

ท่ีมาของปญหา 1. มีหลักสูตรการบําบัดหลายประเภท 2. ทีมผูบําบัดมีภาระงานมากไมคอยมีโอกาสปฏิบัติจริง 3. เน้ือหาหลักสูตรเมตริกซโปรแกรมบางเรื่องไมเหมาะสมกับผูปวยและเขาใจยาก 4. ผูรับการบําบัดมีปญหาหลายประเภท 5. ทีมผูบําบัดขาดประสบการณในการบําบัดเมตริกซโปรแกรม

ต้ังเปา 1.ผูบําบัดยาเสพติดสามารถใหการบําบัดอยางถูกตองและมั่นใจ 2.ผูบําบัดยาเสพติดสามารถบําบัดยาเสพติดไดเปนแนวทางเดียวกัน เฝาดู ดําเนินการติดตามเครื่องชี้วัดโดย 1. การตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผูรับการบําบัด 2. สอบถามการบําบัดในการประชุมทุกเดือน 3. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของผูบําบัด 4. ผูบําบัดตอบแบบประเมินตนเองในเรื่องทักษะในการปฏิบัติงาน

ปรับเปลี่ยน

สิ่งท่ีกระทําในอดีต สิ่งท่ีปรับเปลี่ยน 1. บําบัดยาเสพติดโดยใชหลักสูตรตางๆตามความ เหมาะสมของผูปวย ดังน้ี

-เมตริกซโปรแกรมในชุมชน 8 ครั้ง -คายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -การใหคําปรึกษาแบบสั้น(Brief intervention) -Modify Matrix Program 4 เดือน ๑๑ ครั้ง 2. มีการประชุมทีมผูบําบัดในเรื่องเน้ือหาเมตริกซ โปรแกรมนอยเน่ืองจากภาระงานมาก

1. บําบัดยาเสพติดโดยยึดผูรับการบําบัดเปนศูนยกลางโดยการ แบงกลุมผูปวย ๔ กลุมตามแบบคัดกรองลาสุดของสถาบัน ธัญญารักษกอนใหการบําบัดรักษาฯ ดังน้ี ๑.๑ กลุมใชครั้งคราว บําบัดฯใน รพ.สต. (BA ,BI) ๑.๒ กลุมเสพ สงเขาคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผูปวยหญิง บางรายสมัครใจเขาบําบัดใน รพ. ใชหลักเสริมสรางแรงจูงใจ(MI) ๑.๓ กลุมติดบําบัดในรพ.หลักสูตร Modify Matrix Program 4 เดือน 1๑ ครั้งหรือระบบบงัคับบําบัดฯนัดทุกสัปดาห๑๖ ครั้งเพื่อปองกันการขาดนัด ๑.๔ กลุมติดรุนแรง บําบัดใน รพ.และสงตอกรณีเกินขีด ความสามารถ 2.ประชุมทบทวนทีมผูบําบัด เกี่ยวกับเน้ือหาหลักสูตรและจัดทํา มาตรฐานการบําบัดยาเสพติด,รวมทั้งใหฝกปฏิบัติติดตามนิเทศ และประเมินผลการบําบัด

ผลลัพธ ผูบําบัดยาเสพยติดสามารถใหการบําบัดอยางถูกตอง ,มั่นใจและเปนแนวทางเดียวกัน

Page 67: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

67

การนําหลักศาสนามาปรับใชรวมกับการบําบัดฯ 1.ชื่อเรื่อง สติปฏฐาน 4 วิถีพุทธ หยุดใชยาเสพติด คลินิกฟาใส โรงพยาบาลสูงเมน 2.สรุปจุดท่ีเปนแบบอยางท่ีดี การดําเนินการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติด ตามโปรแกรมจิตสังคมบําบัด ตองใชระยะเวลาในการบําบัด 4 เดือน ซึ่งเปนการดูแลผูปวยในระยะยาว แตการดูแลผูใหการบําบัดและผูปวยมิไดอยูดวยกันตลอดเวลา เชนเดียวกับการบําบัดแบบควบคุมตัว ดังน้ันการฝกใหผูปวยดูแลตนเองไดโดยการใชหลักสติปฏฐาน 4 ตามหลักคําสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยการมีสติในการระลึกรู กาย เวทนา จิตและธรรม จึงเปนสิ่งที่ทําใหผูปวยลด ละ เลิกการกระทําท่ีเปนอกุศล หรือสิ่งที่ไมดีได โดยเฉพาะเรื่องของการเสพยาเสพติด และสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันในเรื่องอื่นๆไดอีกดวย เพราะหากผูปวยรูเทาทัน กาย เวทนา จิตและธรรม ความคิด คําพูด และการกระทําก็จะเปนดานกุศล คิดดี พูดดี และทําดี ไมคิดช่ัว พูดช่ัว หรือทําช่ัว ถึงแมวาจะเปนเรื่องที่ทําไดยากแมแตคนปกติทั่วไปก็ทําไดยาก แตทุกอยางจะสําเร็จไดก็ดวยความเพียร การฝกบอยๆ ฝกตอเน่ืองเปนประจําจะทําใหเกิดเปนนิสัย เริ่มต้ังแตเรื่องงายๆ โดยการระลึกรูตามกายที่เคลื่อนไหว รูและเห็นดวยตาใน(ความรูสึกและการรูจักสังเกต) เมื่อฝกบอยๆก็จะรูเทาทันความคิด อารมณ และความประพฤติของตน แมแตสิง่ที่มากระทบ(สิ่งกระตุน)ทางตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ ความรูสึก เย็น รอน ออน แข็ง อารมณตางๆที่มากระทบ ก็จะรูเทาทันความรูสึกนึกคิด(จิตที่ปรุงแตง)ที่เกิดข้ึนของตน เมื่อรูเทาทันความคิดและอารมณ ก็สามารถหยุดความคิดที่ไมดีได มีปญญา ทําใหเกิดการวิเคราะหความคิด อารมณ กอนลงมือกระทําหรือแสดงพฤติกรรมออกมา หรือมีความฉลาดในการจัดการและแกไขอารมณและการกระทําตนเองน่ันเองและกอใหเกิดความสงบสุขในชีวิตครอบครัว สังคมและประเทศชาติโดยรวม 3.ประสิทธิผล

1.ผูปวยมีสมาธิในการรับคําปรึกษา และมีปฏิสัมพันธที่ดี ในการเขากลุม 2.สามารถนําหลักปฏิบัติไปใชในการดําเนินชีวิตและเลิกยาเสพติดไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.สถิติอัตราการไมกลับมาเสพซ้ําเพิ่มข้ึน (ผูปวยยาบา) การทบทวนอัตราการไมกลับไปเสพซ้ําของผูปวยที่บําบัดครบโปรแกรม

ชนิดของ

สารเสพติด

ปงบประมาณ ๒๕๕๓

ปงบประมาณ ๒๕๕๔

ปงบประมาณ ๒๕๕๕

ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

ไมเสพยาซ้ํา

รอยละ

ติดตามไดครบ ๔ ครั้ง

ไมเสพยาซ้ํา

รอยละ

ติดตามไดครบ

๔ ครั้ง

ไมเสพยาซ้ํา

รอยละ

ยาบา ๓๐ ๒๙ ๙๖.๖๗ ๗๐ ๗๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๑๕ ๑๑๕ ๑๐๐.๐๐ สุรา ๗ ๔ ๕๗.๑๔ ๑๐ ๖ ๖๐.๐๐ ๑๕๔ ๖๒ ๔๐.๒๖ บุหรี่ รพ. ๔๓ ๒๓ ๕๓.๔๘ ๗๙ ๓๔ ๔๓.๐๔ ๑๓๗ ๕๐ ๓๖.๕๐ บุหรี่ รพ.สต. ๑๑ ๘ ๗๒.๗๓ ๙ ๖ ๖๖.๖๗ สารระเหย - - - - - - - - - กัญชา - - - - - - - - - รวม ๘๐ ๕๖ ๗๐ ๑๗๐ ๑๑๘ ๖๙.๔๑ ๔๑๕ ๒๓๓ ๕๖.๑๔

Page 68: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

68 4.บทสรุปผูบริหาร/ความเปนมา/อดีต การบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติด โปรแกรมจิตสังคมบําบัดของโรงพยาบาลสูงเมนที่ผานมา พบวามีปญหาผูเขารับการบําบัด เขารับการบําบัดลาชา ไมตรงตามเวลานัด ไมมาตามนัด ขาดนัด ไมเห็นความสําคัญของการเขารับการบําบัดรักษา ไมสนใจและไมใหความรวมมือในกิจกรรมการบําบัดรักษาเน่ืองจากผูปวยและครอบครัว เกิดความเบื่อหนายในกิจกรรมบําบัดและระยะเวลาที่ยาวนาน เพราะบางรายมาบําบัดรอบที่สอง ทําใหการบําบัดรักษาไมประสบผลสําเร็จ หรือเลิกไมได 5.แนวทางการปรับปรุง วิเคราะหและประเมินสิ่งที่ทําใหผูปวย Drop out หรือหยุดเสพยาไมได พัฒนาปรับกิจกรรมในการเขารับการบําบัดรักษาแตละครั้งตามบริบทของผูปวยและครอบครัว เพิ่มทักษะตางๆ การนัดหมาย สรางแรงจูงใจ มีขอตกลงที่ชัดเจนรวมกัน มีแนวทางในการใหบริการที่ชัดเจน เนน one stop service นําวิธีการเชิงบวกทั้งพฤติกรรมและการพูดมาใช ที่สําคัญคือ การนําหลักสติปฏฐาน 4 มาแนะนําใหผูปวยไดฝกหัดทําขณะเขากลุม และนําไปปฏิบัติเมื่อเผชิญกับสิ่งกระตุน ที่กอใหเกิดความคิดที่จะใชยา และเกิดอารมณอยากยา โดยการมีสติรูเทาทันสิ่งที่มากระตุนทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ หากไมสามารถรูทันตัวกระตุน ก็ขอใหรูเทาทันความคิดและอารมณที่เกิดข้ึนก็จะทําใหสามารถควบคุมความประพฤติของตนเองอันจะนําไปสูการเสพยาได

ตัวกระตุน ความคิด อารมณอยาก เสพยา สติรูทันตัวกระตุน สติรูทัน ความคิด สติรูทันอารมณ สติรูทันตัวกระตุน ความคิด และอารมณ ทําใหหยุดความคิด อารมณอยากยาได ทําใหไมมีการเสพยา 6.กระบวนการและวิธีปฏิบัติท่ีดี 1.การสรางสัมพันธภาพ สรางความนาเช่ือถือ ความไววางใจ 2.การใชวิธีการเชิงบวกทั้งคําพูดและการกระทําเปนเครื่องดึงดูดใหเกิดสัมพันธภาพที่ดีระหวางผูบําบัด ผูปวยและครอบครัว 3.ปรับกิจกรรมการบําบัดในเรื่อง วงจรการใชยา (ตัวกระตุน ความคิด อารมณและพฤติกรรม) ในโปรแกรมกายจิตสังคมบําบัด โดยนําหลักสติปฏฐานสี่เขามาสอดแทรกในแตละหัวขอเรื่อง (สติปฏฐาน4 คือ การมีสติรูเทาทัน กายที่เคลื่อนไหวหรือการกระทํา เวทนาหรืออารมณตางๆที่เกิดข้ึนพอใจ ไมพอใจ เฉยๆ จิตที่คิดโลภ(อยาก) โกรธ หลง และธรรมารมณ คือการพิจารณาธรรม(สิ่งตางๆ)ที่บังเกิดแกใจเปนอารมณทั้งที่เปนกุศลหรืออกุศล มีเกิดข้ึน ต้ังอยู แลวก็ดับไป ไมมีอะไรเที่ยงหรือย่ังยืน แมแต ความคิด อารมณ ความรูสึกตางๆที่เกิดข้ึนก็จะคอยๆลดลงหรือหายไป) หากผูปวยฝกสติบอยๆจนชํานาญจะมองเห็น(สังเกต)ความรูสึก ความคิด และอารมณของตนเองไดเร็ว เห็นการเกิดข้ึน ต้ังอยูและดับไปและมีปญญาวิเคราะหวิจารณความรูสึก ความคิด และอารมณของตนเอง สามารถจัดการแกไขความคิด อารมณ และพฤติกรรมของตนเองไดถูกตอง(ตามกฎหมายและศีลธรรม) และเหมาะสม (ตามกาลเทศะ) 4.มีการติดตามและประสานความรวมมือภาคีเครือขาย ใหคําแนะนํา ชวยเหลือผูปวยทุกคน 5.พัฒนาระบบการสื่อสารเปนสองทาง ใหผูปวยและครอบครัวมีสวนรวมในการวางแผนการมารับบริการ

Page 69: ( Re-Acc V. ๐๓ -๐๕-๒๕๕๖) แบบประเมินตนเอง · 2015-01-25 · เตรียมการเพื่อการเยี่ยมสํารวจซ้ํา

69 7.ประโยชนท่ีไดรับ

1. ผูปวยและครอบครัวใหความรวมมือในการเขารับการบําบัดรักษา 2. สัมพันธภาพระหวางผูปวยและครอบครัวดีข้ึน 3. ผูปวยนําหลักปฏิบัติไปใชในชีวิตประจําวันไดตลอดไป 4. ผูปวยเลิกยาเสพติดไดอยางถาวร

8.ปจจัยความสําเร็จ

1.ผูบําบัดตองสรางสัมพันธภาพที่ดีกับผูปวยแตละราย 2.ผูปวยตองศรัทธาเช่ือถือในความรูความสามารถของผูบําบัด 3.ผูบําบัดมีความรักที่จะทํางาน อดทน และพัฒนาตนเองตลอดเวลา 4.ความมุงมั่นต้ังใจจริง ความเพียรพยายาม ความอดทนของผูปวยและการมีสวนรวมของผูปวยและครอบครวั 5.การเปดโอกาสใหผูปวยและครอบครัวมีสวนรวมในการวางแผนการรักษา

9.ขอจํากัด

1.การมีจํานวนผูเขารับการบําบัดที่มากเกินไปอาจทําใหผูบําบัดเกิดความเครียด อาจเปนอุปสรรคในการ บําบัด ซึ่งอาจแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมขณะใหบริการบําบัด 2.ผูปวยตองมีสมาธิในการรับคําแนะนํา และพรอมที่จะฝกฝนเปลี่ยนแปลงตนเอง 3. เจาหนาที่จะตองมีความรูความสามารถดานวิปสสนาจึงจะแนะนําหรือฝกผูปวยใหปฏิบัติได 4. ผูปวยตองฝกสติอยางตอเน่ืองจึงจะทําใหเกิดผลจนเปนนิสัยและนําไปใชในชีวิตประจําวันได

10.ขอเสนอแนะ ความมุงมั่นต้ังใจจริงความเพียรพยายาม ความอดทนของผูปวย รวมทั้งสติในการดําเนินชีวิตเปนหนทางหน่ึงในการเลิกยาเสพติดไดอยางถาวร รวมทั้งกําลังใจ ความรวมมือของครอบครัวในการเขารับการบําบัดรักษา สามารถสงผลใหประสบผลสําเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกเสพสารเสพติดของผูปวย