ร่าง GMP 07

162
(ราง) คําแนะนําการปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑและวิธีการในการผลิตยาแผนปจจุบัน ตามกฎหมายวาดวยยา .........

Transcript of ร่าง GMP 07

Page 1: ร่าง GMP 07

(ราง) คําแนะนําการปฏิบัติงาน

ตามหลักเกณฑและวิธีการในการผลิตยาแผนปจจุบัน ตามกฎหมายวาดวยยา พ.ศ........

Page 2: ร่าง GMP 07

ii

คําช้ีแจง เปนที่ทราบกันวาสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีนโยบายที่จะพัฒนามาตรฐาน

อุตสาหกรรมผลิตยาภายในประเทศ โดยการนําหลักเกณฑ GMP ของ PIC/S มาประกาศใชเปนกฎหมาย

เพื่อใหผูประกอบการอุตสาหกรรมผลิตยาถือปฏิบัติตาม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่ง

ไดรับงบประมาณจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย จึงไดรวมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหาร

และยา และสมาคมไทยอุตสาหกรรมผลิตยาแผนปจจุบัน จัดทําเอกสารคําแนะนําการปฏิบัติงาน (practice

guidance) ขึ้น โดยมีจุดประสงคเพื่ออธิบายความหมายของขอความในหลักเกณฑ GMP ของ PIC/S ฉบับ

ภาษาไทย ที่กําลังจะประกาศเปนกฎกระทรวง เพื่อใหผูประกอบการและผูปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมยาเกิด

ความเขาใจชัดเจนมากขึ้นและสามารถนําไปปฏิบัติได

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒไดแตงตั้งคณะทํางานเพื่อจัดทําเอกสารคําแนะนําฯ

ดังกลาว ซึ่งประกอบดวยเจาหนาที่กลุมกํากับดูแลยาหลังออกสูตลาด สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ตัวแทนจากสถานประกอบการผลิตยาในประเทศ ผูทรงคุณวุฒิและคณาจารยจากมหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญ

ดาน GMP โดยคณะทํางานฯ ไดใชเวลาหลายเดือนที่ผานมาประชุมรวมกัน โดยไดนําหลักเกณฑ GMP ฉบับ

ภาษาไทยมาจัดทําคําอธิบายในทุกหมวด ยกเวน หมวด ๑๕-๑๘ ซึ่งเกี่ยวของกับการผลิตยาเฉพาะบางกลุม

และหมาด ๒๐ (บทเฉพาะกาล) จนเสร็จสมบูรณเปนเอกสารฉบับที่อยูในมือทาน อยางไรก็ตาม กอนที่จะมี

การนําเอกสารฉบับนี้ไปใชอยางเปนทางการ คณะทํางานฯ เห็นควรจัดใหมีการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็น

จากบุคลากรที่ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมยาซึ่งจะเปนผูไดรับผลกระทบโดยตรงจากเนื้อความในเอกสารฉบับนี้

จึงขอใหทานศึกษาเนื้อความในสวนของคําอธิบายและหมายเหตุและใหขอคิดเห็นกลับมายังคณะทํางานฯ

เพื่อจะไดนําขอคิดเห็นตางๆ ดังกลาวมาพิจารณาเพื่อปรับปรุงแกไขเนื้อความในเอกสารอีกครั้งกอนจะ

ประกาศใชอยางเปนทางการ

คณะทํางานฯ ใครขอเรียนย้ําวาเอกสารคําแนะนําฯ ฉบับนี้เมื่อเสร็จสมบูรณแลวจะถูกใชเพื่อเปน

เอกสารอางอิงสําหรับการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ GMP ในสถานประกอบการผลิตยา และสําหรับการ

ตรวจประเมินโดยเจาหนาที่ผูตรวจประเมิน GMP ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงเปนเอกสารที่

มีความสําคัญยิ่ง จึงขอใหทานศึกษาโดยละเอียดและแสดงความคิดเห็นกลับมายังคณะทํางาน ฯ

ขอขอบพระคุณทุกทานมา ณ ที่นี้

คณะทํางานจัดทําคําแนะนําการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ GMP ของ PIC/S

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

มิถุนายน 2553

Page 3: ร่าง GMP 07

iii

สารบัญ

หนา

คําชี้แจง ii

สารบัญ iii

หมวด ๑ การบริหารคุณภาพ ๑

หมวด ๒ บุคลากร ๑๐

หมวด ๓ อาคารสถานที่และเครื่องมือ ๒๐

หมวด ๔ การดําเนินการดานเอกสาร ๓๙

หมวด ๕ การดําเนินการผลิต ๔๙

หมวด ๖ การควบคุมคุณภาพ ๖๔

หมวด ๗ การจางการผลิตและการวิเคราะห ๗๗

หมวด ๘ ขอรองเรียนและการเรียกคืนผลิตภัณฑ ๘๒

หมวด ๙ การตรวจสอบตนเอง ๘๕

หมวด ๑๐ การสุมตัวอยางวตัถุดิบและวัสดุการบรรจ ุ ๘๗

หมวด ๑๑ ตัวอยางอางอิงและตัวอยางจัดเกบ็ ๙๑

หมวด ๑๒ การตรวจรับรองและการตรวจสอบความถูกตอง ๙๗

หมวด ๑๓ การผลิตยาน้ํา ครีม และขี้ผ้ึง ๑๐๖

หมวด ๑๔ การผลิตยาปราศจากเชื้อ ๑๑๑

หมวด ๑๙ ระบบท่ีใชคอมพิวเตอร ๑๕๓

Page 4: ร่าง GMP 07
Page 5: ร่าง GMP 07

หมวด ๑ การบริหารคุณภาพ

หลักการ ผูรับอนุญาตผลิต ตองทําการผลิตผลิตภัณฑยาเพื่อใหมีความมั่นใจวา ผลิตภัณฑที่ผลิตไดมีความ

เหมาะสมสําหรับจุดมุงหมายในการใช มีความถูกตองตรงตามขอกําหนดของทะเบียนตํารับยา และไมเกิด

ความเสี่ยงตอผูบริโภคอันเนื่องมาจากผลิตภัณฑมีคุณภาพ ประสิทธิผล หรือความปลอดภยัไมเพียงพอ

การบรรลุวัตถุประสงคคุณภาพเปนความรับผิดชอบของผูบริหารระดับสูง ซึ่งตองการการมีสวนรวม

และความมุงมัน่จากบุคลากรทุกฝายในทุกระดับขององคกร รวมถึงผูสงมอบและผูจัดจาํหนาย

เพื่อใหวัตถุประสงคคุณภาพประสบความสําเร็จอยางนาเชื่อถือ ระบบของการประกันคุณภาพรวมถึง

หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต และการควบคุมคุณภาพตองมีการออกแบบใหมีรายละเอียดครบถวน

ครอบคลุมอยางเขาใจและนําไปปฏิบัตอิยางถกูตอง มีการกําหนดไวเปนเอกสารอยางครบถวนและมีการตรวจ

ติดตามอยางมปีระสิทธิภาพ

ระบบการประกันคุณภาพทุกสวนควรมีทรัพยากรเพียงพอและมีบุคลากรที่มีความสามารถ มอีาคาร

สถานที่ เครื่องมือ และสิ่งอํานวยความสะดวกที่เหมาะสมและเพียงพอ รวมถึงความรบัผิดชอบทางกฎหมาย

สําหรับผูรับอนุญาตผลิต และสําหรับผูที่ไดรับมอบหมาย

ขอ ๕ หลักการพื้นฐานของการประกนัคุณภาพ หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต และการ

ควบคุมคุณภาพจะมีความสมัพันธระหวางกัน ในหมวดนี้ไดอธิบายไวเพื่อเนนถึงความสัมพันธและความ

สําคัญตอการดําเนินการผลิตและการควบคุมของผลิตภัณฑยา

คําอธิบาย มีการจัดทําคูมอืคุณภาพเปนลายลักษณอักษร อยางนอยประกอบดวย

(๑) ขอบขายระบบบริหารงานคุณภาพ

(๒) นโยบายคุณภาพ วัตถุประสงคคุณภาพ

(๓) โครงสรางองคกร

(๔) วิธีปฏบิัติ กระบวนการ และทรัพยากร โดยการกําหนดตองใหสอดคลองกับการปฏิบัตเิพื่อใหองคกรสามารถบริหารระบบการประกันคุณภาพ หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต และการควบคุม

คุณภาพ

(๕) กําหนดความรับผิดชอบของผูบริหารสูงสุด

(๖) ลงนามอนุมัติคูมือคุณภาพโดยผูบริหารสูงสุดขององคกร หมายเหต ุ ไมมีคูมอืคุณภาพเปนลายลักษณอักษร ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 6: ร่าง GMP 07

การประกันคุณภาพ ขอ ๖ การประกันคุณภาพเปนแนวคิดที่ครอบคลุมทุกอยางที่มีผลตอคุณภาพของผลิตภัณฑ

เปนผลรวมของการบริหารจัดการที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหมั่นใจวาผลิตภัณฑยามีคุณภาพตามที่กําหนดสําหรับ

จุดมุงหมายในการใช ดังนั้นการประกันคุณภาพจึงเปนการรวมหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตและปจจัย

อื่นไวดวยกัน

ระบบของการประกันคุณภาพที่เหมาะสมสําหรับการผลิตผลิตภัณฑยาจะตองมั่นใจวา

(๑) ผลิตภัณฑยามีการออกแบบและพัฒนาโดยคํานึงถึงขอกําหนดของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีใน

การผลิต และหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในหองปฏิบัติการ

(๒) การดําเนินการผลิตและการควบคุมมีการกําหนดใหชัดเจนโดยนําเอาหลักเกณฑและวิธีการที่ดี

ในการผลิตมาใช

(๓) กําหนดความรับผิดชอบในการบริหารจัดการใหชัดเจน

(๔) มีการจัดการผลิต การจัดหา การใชวัตถุดิบและวัสดุการบรรจุอยางถูกตอง

(๕) มีการควบคุมที่จําเปนของผลิตภัณฑระหวางผลิต การควบคุมระหวางการผลิตและมีการ

ตรวจสอบความถูกตอง

(๖) ผลิตภัณฑสําเร็จรูปผานกระบวนการผลิตและตรวจสอบอยางถูกตองตามวิธีการปฏิบัติที่

กําหนดไว

(๗) ผลิตภัณฑยาจะนําไปจําหนายหรือสงมอบไมไดถายังไมผานการรับรองจากผูที่ไดรับมอบหมาย

วารุนการผลิตนั้น มีการผลิตและควบคุมอยางถูกตองตามทะเบียนตํารับยาและกฎเกณฑอื่นที่เกี่ยวของกับ

การผลิต การควบคุม และการปลอยผานผลิตภัณฑยา

(๘) มีการจัดการที่ดีเพื่อใหมั่นใจวาผลิตภัณฑยามีการจัดเก็บ การจัดสง และการจัดการที่ตอเนื่อง

เพื่อใหมีคุณภาพตลอดอายุการใช

(๙) มีวิธีการปฏิบัติสําหรับการตรวจสอบตนเองและ/หรือการตรวจติดตามคุณภาพ ซึ่งทําเปนประจํา

เพื่อประเมินประสิทธิภาพ และความสามารถในการปฏิบัตติามระบบประกันคุณภาพ

คําอธิบาย (๑) หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต ใหปฏิบตัิตามหมวด ๑ ขอ ๗ สวนหลักเกณฑและวิธีการที่

ดีในหองปฏิบัตกิาร ใหปฏบิัตติามหมวด ๖ ขอ ๑๗๒-๑๗๓

(๒) การดําเนินการผลิตและการควบคุม ตองมีการกําหนดตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต

โดยใหปฏิบัติตามหมวด ๕ และหมวด ๑๓-๑๗ เปนตน

(๓) การกําหนดความรับผิดชอบในการบริหารจัดการ ใหปฏบิตัิตามหมวด ๒ ขอ ๑๒-๑๗

(๔) การจัดการผลิต การจัดหา การใชวัตถุดิบและวสัดุการบรรจ ุใหปฏิบัติตามหมวด ๔ และ ๕ เปนตน

(๕) การควบคุมผลิตภัณฑระหวางผลิต การควบคุมระหวางการผลิต และการตรวจสอบความ

ถูกตอง ใหปฏบิัติตามหมวด ๖ ขอ ๑๘๕ หมวด ๕ ขอ ๑๓๗-๑๔๑ และหมวด ๕ ขอ ๑๒๓-๑๒๖ เปนตน

Page 7: ร่าง GMP 07

(๖) ผลิตภัณฑสําเร็จรูปผานกระบวนการผลิตและตรวจสอบอยางถูกตอง ใหปฏิบัติตามหมวด ๕ ขอ

๑๖๐-๑๖๒

(๗) การปลอยผานยาไปจาํหนายตองผานการรับรองจากผูที่ไดรับการมอบหมายตามหมวด ๒ ขอ

๑๔ โดยใหปฏบิัติตามหมวด ๕ ขอ ๑๖๑ และหมวด ๖ ขอ ๑๗๐ และผลิตยาถูกตองตามทะเบียนตํารับยา

(๘) การจัดเก็บ การจัดสง และการจัดการผลิตภัณฑยา ใหปฏบิตัิตามหมวด ๓ ขอ ๔๘-๕๕ หมวด ๔

ขอ ๘๔ (๔), ๘๖ (๖) และหมวด ๕ ขอ ๑๖๒- ๑๖๗ รวมถึงอาจนําหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการจัดเก็บและ

การจัดสงของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามาประยุกตใช

(๙) การตรวจสอบตนเองและ/หรือการตรวจติดตามคุณภาพ ใหปฏิบัติตามหมวด ๙ หมายเหต ุ ไมมีระบบประกันคุณภาพ หรือระบบประกันคุณภาพลมเหลว ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ไมปฏิบัติตามระบบประกันคุณภาพที่วางไว หรือระบบประกันคุณภาพไมสมบูรณซึ่งสงผลกระทบตอ

คุณภาพของผลิตภัณฑ ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตยา ขอ ๗ หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตเปนสวนของการประกันคุณภาพ ซึ่งทําใหมัน่ใจวา

ผลิตภัณฑผานขั้นตอนการผลิตและไดรับการควบคุมอยางสม่ําเสมอ เพือ่ใหมีคุณภาพที่เหมาะสมสําหรบัจุด

มุงหมายการใช และตรงตามทะเบียนตํารับยาหรือขอกําหนดของผลิตภัณฑ

หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต เกี่ยวของกับการดําเนินการผลิตและการควบคุมคณุภาพ ขอ

กําหนดพื้นฐานของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต มีดังนี้

(๑) มีการกําหนดกระบวนการผลิตทั้งหมดอยางชัดเจน มีการทบทวนอยางเปนระบบโดยพจิารณา

จากขอมูลและประสบการณทีผ่านมา และแสดงใหเห็นวามีความสามารถในการผลิตผลิตภัณฑยาใหมี

คุณภาพตามทีก่ําหนด และถูกตองตามขอกาํหนดอยางสม่ําเสมอ

(๒) มีการตรวจสอบความถูกตองของขั้นตอนวิกฤตของกระบวนการผลิตและเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง

กระบวนการอยางมีนัยสําคัญ

(๓) จัดใหมีส่ิงอํานวยความสะดวกที่จําเปนอยางเพียงพอ ประกอบดวย

(ก) บุคลากรที่มีคุณสมบัติและผานการฝกอบรมอยางเหมาะสม

(ข) สถานที่และเนื้อที่อยางเพียงพอ

(ค) เครื่องมือและการบริการที่เหมาะสม

(ง) วัตถุดิบ ภาชนะบรรจุ และฉลากถูกตอง

(จ) วิธีการปฏบิัติและคําแนะนําที่ผานการรับรอง

(ฉ) การจัดเก็บและการขนยายที่เหมาะสม

(๔) มีคําแนะนําและวิธีการปฏบิัตซิึ่งเขียนโดยใชภาษาที่ผูปฏิบตัิเขาใจไดงาย ไมคลุมเครือ และมี

ความจาํเพาะใชไดกับส่ิงอํานวยความสะดวกที่มี

Page 8: ร่าง GMP 07

(๕) ผูปฏิบัติงานไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติอยางถกูตอง

(๖) มีการบันทึก (บันทึกดวยมอืและ/หรืออุปกรณบันทึก) ระหวางการผลิตเพื่อแสดงใหเห็นวาทุก

ขั้นตอนที่กําหนดในวิธีการปฏบิัติและคําแนะนําที่ระบุไวไดมกีารปฏิบัติจริง และปริมาณกับคุณภาพของ

ผลิตภัณฑเปนไปตามที่คาดหวังไว ในกรณีที่มีความเบี่ยงเบนอยางมีนัยสําคัญ ตองบันทึกและสืบสวนหา

สาเหตุ

(๗) บันทึกการผลิตและบันทึกการจําหนายตองสามารถสอบกลับไดถึงประวัตทิี่สมบูรณของรุนการ

ผลิตนั้น ตองเก็บรักษาไวในรูปแบบท่ีเขาใจไดและสามารถนําออกมาใชได

(๘) การจัดสงผลิตภัณฑ ตองใหมคีวามเสี่ยงตอคุณภาพนอยที่สุด

(๙) มีระบบการเรียกเก็บคืนผลิตภัณฑจากการขายหรือการสงมอบ

(๑๐) มีระบบการตรวจสอบขอรองเรียนเกี่ยวกับผลิตภัณฑในทองตลาด การสืบสวนหาสาเหตุของ

ผลิตภัณฑที่มีความบกพรองดานคุณภาพ และมมีาตรการที่เหมาะสมในการจัดการกับผลิตภัณฑที่มีความ

บกพรอง และมาตรการในการปองกันการเกิดซ้ํา

คําอธิบาย

หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตเปนสวนของการประกันคุณภาพ โดยตองผลิตยาใหถกูตอง

ตามทะเบียนตํารับยา

(๑) การกําหนดกระบวนการผลิตและการทบทวนกระบวนการผลิตอยางเปนระบบ ใหปฏบิัติตาม

หมวด ๑ ขอ ๙ โดยอาศัยขอมลูจากหมวด ๔ มาประกอบการพิจารณา

(๒) ผูผลิตตองมีการระบุถึงขั้นตอนวิกฤตของกระบวนการผลิตและการเปลี่ยนแปลงที่กระทบตอ

คุณภาพเปนลายลักษณอักษรโดยมีการนําหลักการบริหารความเสี่ยงดานคุณภาพมาใช และตองมีการตรวจ

สอบความถูกตองของขั้นตอนวิกฤต ใหปฏิบตัิตามหมวด ๑ ขอ ๑๐-๑๑ หมวด ๕ ขอ ๑๓๙ และหมวด ๑๒ ขอ

๒๕๘-๒๖๕

(๓) จัดใหมีส่ิงอาํนวยความสะดวกที่เพียงพอตามหมวด ๒, ๓, ๕ และ ๖ เพื่อใหสามารถ

ดําเนนิการตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตผลติภัณฑยาตามขอกําหนดพืน้ฐาน

(๔) คําแนะนําและมาตรฐานวิธีการปฏิบัต ิ ควรใชภาษาที่ผูปฏิบัติงานเขาใจ ในกรณีทีม่คีนงาน

ตางดาว/ตางประเทศอาจมีภาษาตางประเทศควบคูกับภาษาไทย ใหปฏิบัติตามหมวด ๔, ๕ และ ๖

(๕) ผูปฏิบัติงานไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติ ใหปฏบิัติตามหมวด ๒ ขอ ๑๘-๒๒

(๖) การบันทึกระหวางการผลิตใหใชหมึกถาวรเขียนใหชัดเจน อานงาย ลงขอมูลใหครบถวน การ

แกไขขอมูลที่ผิดพลาดตองลงลายมือชื่อและวันที่กํากับการแกไขโดยตองอานขอมูลเดิมได ถาจาํเปนตอง

บันทึกเหตุผลการแกไขไวดวย ใหปฏิบัติตามหมวด ๔ ขอ ๘๐-๘๑, ๙๐-๙๑, ๙๓, ๙๘ และ ๑๐๑-๑๐๒ หมวด

๖ ขอ ๑๗๖-๑๗๗ หมวด ๗ ขอ ๒๑๓ หมวด ๘ ขอ ๒๑๘, ๒๒๐-๒๒๑ และ ๒๓๐ และหมวด ๑๑ ขอ ๒๔๔ ใน

กรณีการบันทึกดวยระบบอิเล็กทรอนกิสสามารถทําไดโดยการปฏิบัติตามหมวด ๔ ขอ ๘๒ และหมวด ๑๙

(๗) การบันทึกการผลิตและการจําหนายตองมีขอมูลที่สามารถสืบยอนได

Page 9: ร่าง GMP 07

(๗.๑) ประวัติที่สมบูรณของรุนการผลิตนั้น

(๗.๒) ผลิตภัณฑยารุนนั้นๆ มีปริมาณการผลิตจํานวนเทาใด และแตละรุนมีการขายไปที่

ใดบาง เพือ่ประโยชนในการเรียกเก็บยาคืนกรณีมีปญหาดานคุณภาพผลิตภัณฑยา

(๗.๓) ระยะเวลาการจัดเก็บเอกสารบันทึกการผลิตและการจําหนายตองไมนอยกวา ๕ ป

ใหเปนไปตามหมวด ๔ ขอ ๘๑ และหมวด ๖ ขอ ๑๗๕

(๘) ตองจัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการจัดสงผลิตภัณฑ หรืออาจปฏิบัติตามหลักเกณฑ

และวิธีการที่ดีในการจัดสงของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในกรณีที่มีการจางการจัดสงใหปฏิบัติ

ตามสัญญาจางในหมวด ๗

(๙) การเรียกเก็บคืนผลิตภัณฑ ใหปฏิบัติตามหมวด ๓ ขอ ๔๘ และ ๕๓ หมวด ๕ ขอ ๑๖๗ และ

หมวด ๘ ขอ ๒๒๔-๒๓๑

(๑๐) การตรวจสอบขอรองเรียนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ใหปฏบิัติตามหมวด ๓ ขอ ๔๘ และ ๕๓ หมวด

๕ ขอ ๑๖๗ และหมวด ๘ ขอ ๒๑๖-๒๒๓ หมายเหต ุ ไมปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตอยางเครงครัด ซึ่งสงผลกระทบตอคุณภาพของ

ผลิตภัณฑยาอยางรายแรง เชน ไมทํา sterilization ของเครื่องมือ/อปุกรณที่ใชในการผลิตผลิตภัณฑปราศจาก

เชื้อโดยวิธ ีaseptic technique ถือเปนขอบกพรองรายแรง

การควบคุมคุณภาพ ขอ ๘ การควบคุมคณุภาพเปนสวนของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตซึ่งเกี่ยวของกับการ

สุมตัวอยาง ขอกําหนด และการทดสอบ มกีารทํางานรวมกับหนวยงานอืน่ภายในองคกร ในการดําเนินการ

ดานเอกสารและวิธีการปฏบิัตใินการปลอยผาน เพื่อใหมั่นใจไดวาไมมกีารปลอยผานวัตถุดิบและ/หรือวัสดุ

การบรรจุเพื่อนาํไปใช หรือไมมีการปลอยผานผลิตภัณฑเพื่อจําหนายหรือจัดสง จนกวาจะผานการตัดสินวามี

คุณภาพเปนที่นาพอใจ

ขอกําหนดพื้นฐานของการควบคุมคุณภาพ ไดแก

(๑) มีส่ิงอํานวยความสะดวกเพียงพอ มีผูปฏบิัตงิานที่ผานการฝกอบรม และมีวิธีการปฏิบตัิที่ผาน

การรับรองสําหรับการสุมตัวอยาง การตรวจสอบและการทดสอบวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ ผลิตภัณฑระหวาง

ผลิต ผลิตภัณฑรอบรรจุ ผลิตภัณฑสําเร็จรูป และการตรวจติดตามสภาวะแวดลอมตามความเหมาะสมเพื่อให

เปนไปตามวัตถุประสงคของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต

(๒) การสุมตัวอยางวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ ผลิตภัณฑระหวางผลิต ผลิตภัณฑรอบรรจ ุ และ

ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ตองปฏิบตัิโดยผูปฏิบัติงานและดวยวิธกีารที่ผานการรับรองจากฝายควบคุมคุณภาพ

(๓) มีการตรวจสอบความถูกตองของวิธีการทดสอบ

(๔) มีการบันทึก (บนัทึกดวยมือและ/หรืออปุกรณบันทึก) เพือ่แสดงใหเห็นวา วิธีการปฏิบัตใินการสุม

ตัวอยาง การตรวจสอบและการทดสอบ ไดมีการปฏบิัติจริงตามที่กําหนด หากเกิดความเบี่ยงเบนใดๆ ตองมี

Page 10: ร่าง GMP 07

การบันทึกและสืบสวน

(๕) ผลิตภัณฑสําเร็จรูปมปีริมาณสารออกฤทธิ์ถกูตอง และมีคณุภาพตรงตามทะเบียนตํารับยา มี

ความบริสุทธิ์ตามขอกาํหนด บรรจุในภาชนะที่เหมาะสมและปดฉลากที่ถูกตอง

(๖) มีการบันทึกผลของการตรวจสอบและการทดสอบวัตถุดิบ วสัดุการบรรจุ ผลิตภัณฑระหวางผลิต

ผลิตภัณฑรอบรรจุ และผลิตภัณฑสําเร็จรูป พรอมทั้งนําไปประเมินเปรียบเทียบกับขอกาํหนด การประเมิน

ผลิตภัณฑประกอบไปดวยการทบทวนและการประเมินการดําเนินการดานเอกสารของการผลิต รวมถึงการ

ประเมินความเบี่ยงเบนจากวิธกีารปฏิบัติที่กําหนดไว

(๗) ไมมีการปลอยผานผลิตภัณฑรุนใดเพื่อจําหนายหรือสงมอบกอนไดรับการรับรองโดยหัวหนาฝาย

ควบคุมคุณภาพหรือผูมีหนาที่ในการปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป ตามท่ีกําหนดไวในหมวด ๒ ขอ ๑๔ วา

ผลิตภัณฑมีความถูกตองตรงตามทะเบียนตํารับยา

(๘) มีการเก็บรักษาตัวอยางวัตถุดิบและผลิตภัณฑไวอางอิงในจาํนวนที่เพียงพอ เพื่อการตรวจสอบ

ผลิตภัณฑในอนาคตหากจําเปน และตองเก็บรักษาในภาชนะบรรจุที่สงออกจาํหนาย นอกจากเปนกรณีของ

การผลิตในภาชนะบรรจุขนาดใหญ

คําอธิบาย การตัดสินวาคุณภาพเปนที่นาพอใจ ใหปฏบิตัิตามหมวด ๕ ขอ ๑๖๑ และหมวด ๖ ขอ ๑๗๐

(๑) มีส่ิงอํานวยความสะดวกเพียงพอใหปฏิบัติตามหมวด ๓ ขอ ๓๑-๓๕, ๕๖-๕๙ และ ๖๓-๗๔

หมวด ๔ ขอ ๙๕-๙๗ และ ๑๐๐ และหมวด ๖ ขอ ๑๗๒-๑๗๔ และ ๑๗๘

จัดทํามาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการฝกอบรม การสุมตัวอยาง การวิเคราะหทดสอบ

ขอกําหนดเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุการบรรจ ุ ขอกําหนดเกี่ยวกับยาระหวางการผลิตและยารอการบรรจุ

ขอกําหนดเกี่ยวกับยาสําเร็จรูป

มีขอกําหนดและการตรวจสภาวะแวดลอม การตรวจติดตามสภาวะแวดลอมตามความ

เหมาะสม หมายถึงการติดตามเฝาระวังเปนประจําของปจจัยที่มีผลตอคุณภาพของวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ ยา

กึ่งสําเร็จรูป ยาสําเร็จรูป รวมถงึในกระบวนการผลิตและบรรจุ เชนอุณหภูม ิความชื้นสัมพทัธ ปริมาณของฝุน

ละอองและปรมิาณเชื้อจุลินทรียของหองสะอาด คาของความแตกตางความดันอากาศ เปนตน

(๒) การสุมตัวอยาง ใหปฏิบัติตามหมวด ๖ ขอ ๑๗๘-๑๘๑ และหมวด ๑๐ ขอ ๒๓๕-๒๓๙

(๓) การตรวจสอบความถูกตองของวิธีการทดสอบ ใหปฏิบัติตามหมวด ๔ ขอ ๙๙ และหมวด ๖ ขอ ๑๘๒

(๔) การลงบันทึกใหใชหมึกถาวร เขียนใหชัดเจน อานงาย ลงขอมูลใหครบถวน การแกไขขอมูลที่

ผิดพลาดตองลงลายมือชือ่และวันที่กํากับการแกไขโดยตองอานขอมูลเดิมได ถาจําเปนตองบันทึกเหตุผลการ

แกไขไวดวย ใหปฏิบัติตามหมวด ๔ ขอ ๘๐–๘๑, ๙๓, ๙๘ และ ๑๐๑-๑๐๒ หมวด ๖ ขอ ๑๗๖-๑๗๗ และ

๑๘๓-๑๘๔ หมวด ๗ ขอ ๒๑๓ และหมวด ๑๑ ขอ ๒๔๔ ในกรณีการบนัทึกดวยระบบอิเล็กทรอนิกสสามารถ

ทําไดโดยการปฏิบัติตามหมวด ๔ ขอ ๘๒ และหมวด ๑๙

(๗) การปลอยผานผลิตภัณฑ ใหปฏิบัติตามหมวด ๕ ขอ ๑๖๑ และหมวด ๖ ขอ ๑๗๐

Page 11: ร่าง GMP 07

(๘) การเก็บรักษาตัวอยางวัตถุดิบและผลิตภัณฑไวอางอิง ใหปฏิบัติตามหมวด ๖ ขอ ๑๗๙-๑๘๑

หมวด ๑๑ ขอ ๒๔๑-๒๕๗ ในกรณีการผลิตในภาชนะบรรจุที่สงออกจําหนายในภาชนะบรรจุขนาดใหญไม

จําเปนตองเก็บในภาชนะบรรจขุนาดดังกลาวไวอางอิง ใหเก็บในภาชนะที่เปนวัสดุชนิดเดียวกันที่มีขนาดเล็ก

ลงได โดยขึ้นอยูกับรูปแบบยา (dosage form) ดังนี้

ยาน้ําขนาดบรรจุมากกวา ๑ แกลลอน (๓.๗๕ ลิตร)

ยาครีม/ขี้ผ้ึงขนาดบรรจุมากกวา ๕๐๐ กรัม

ยาผงขนาดบรรจุมากกวา ๑ กโิลกรัม หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามระบบควบคุมคณุภาพอยางเครงครัด ซึ่งสงผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑยา

อยางรายแรง เชน ไมตรวจวิเคราะหผลิตภัณฑยากอนปลอยผาน ถือเปนขอบกพรองรายแรง

(๑) ไมมีการจัดทําขอกําหนดการฝกอบรม การสุมตัวอยาง ขอกําหนดและวิธีทดสอบ ขอกําหนด

เกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุการบรรจุ ขอกําหนดเกี่ยวกับยาระหวางการผลิตและยารอการบรรจุ ขอกําหนด

เกี่ยวกับยาสําเร็จรูป และขอกาํหนดการตรวจสภาวะแวดลอม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

(๓) ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของวิธีการทดสอบ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

(๖) ไมมีบันทึกการวิเคราะหทดสอบ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีขอมูลดิบของการชั่ง ตวง วัด ในการวิเคราะหปริมาณตัวยาสําคัญ หรือบันทึกขอมูลในเศษ

กระดาษ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

(๗) มีการปลอยผานยาที่ไมเขามาตรฐานตรงตามทะเบียนตํารับยา ถือเปนขอบกพรองรายแรง

การทบทวนคุณภาพผลิตภัณฑ ขอ ๙ มีการทบทวนคุณภาพของผลิตภัณฑยาทั้งหมดที่ขึ้นทะเบียนตํารับไว ซึ่งรวมถึงผลิตภัณฑ

ยาสําหรับสงออกดวย โดยใหทําเปนระยะอยางสม่ําเสมอหรือหมุนเวียนกันทํา

วัตถุประสงคในการทบทวนจะตองครอบคลุมเร่ืองความสม่าํเสมอของกระบวนการผลิตและการ

ควบคุม ความเหมาะสมของขอกําหนดที่ใชในปจจบุันสําหรับวัตถุดิบและผลิตภัณฑยาสําเร็จรูป เพื่อพจิารณา

แนวโนมและเพื่อพัฒนาผลิตภณัฑและกระบวนการใหดียิ่งขึ้น

การทบทวนเหลานี้ ตองทําเปนลายลักษณอกัษรเปนประจําทุกป โดยดูจากผลการทบทวนครั้งกอน

ประกอบดวย และอยางนอยตองประกอบดวย

(๑) การทบทวนเกี่ยวกับวัตถุดิบและวัสดุการบรรจุที่ใชสําหรับผลิตภัณฑ โดยเฉพาะในกรณีของ

วัตถุดิบและวัสดุการบรรจุที่มาจากแหลงใหม

(๒) การทบทวนเกี่ยวกับผลของการควบคุมระหวางกระบวนการในสวนที่เปนจุดวิกฤตและ

ผลิตภัณฑยาสําเร็จรูป

(๓) การทบทวนเกี่ยวกับทุกรุนผลิตที่พบวาไมผานขอกําหนดและการสืบสวนหาสาเหตุ

(๔) การทบทวนเกี่ยวกับทุกความเบี่ยงเบน หรือการไมสอดคลองตามขอกําหนดที่มีนัยสําคัญ การ

Page 12: ร่าง GMP 07

สืบสวนหาสาเหตุ ประสิทธิภาพของปฏบิัติการแกไข และปฏิบัติการปองกนั

(๕) การทบทวนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่เกี่ยวของกับกระบวนการหรือวิธีวิเคราะห

(๖) การทบทวนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของการยื่นคําขออนุญาต การอนญุาต การปฏิเสธเอกสาร

ประกอบการขึน้ทะเบียนตํารับ รวมถึงเอกสารประกอบการขึ้นทะเบียนตํารับสําหรับประเทศที่ ๓ ในกรณีของ

การสงออก

(๗) การทบทวนเกี่ยวกับผลของการตรวจติดตามความคงสภาพ และแนวโนมที่ไมพึงประสงค

(๘) การทบทวนเกี่ยวกับการคืนผลิตภัณฑยาทั้งหมด ขอรองเรียน และการเรียกเก็บยาคืนที่เกี่ยวของ

กับคุณภาพผลิตภัณฑ รวมถึงการสืบสวนหาสาเหตุทันที

(๙) การทบทวนความเพียงพอของปฏิบัติการแกไขของกระบวนการหรืออุปกรณที่เกิดขึ้นกอนหนา

(๑๐) กรณีของยาที่ขึ้นทะเบียนตํารับใหม หรือมีการเปล่ียนแปลงไปจากทะเบียนตํารับ ตองทําการ

ทบทวนเงื่อนไขหรือคํารับรองที่ไดทําไวเกี่ยวกับการตรวจสอบภายหลังที่ผลิตภัณฑยาออกสูตลาดแลว

(๑๑) สถานะของการตรวจรับรองเครื่องมือและระบบสนับสนนุการผลิตที่เกี่ยวของเชน ระบบอากาศ

ระบบน้ํา กาซอดั และอื่นๆ

(๑๒) การทบทวนเกี่ยวกับขอตกลงทางเทคนิค (technical agreements) เพื่อใหแนใจวามีความ

ทันสมัยอยูเสมอ

ผูรับอนุญาตผลิต ตองประเมินผลของการทบทวนนี้ และตองนํามาประเมินวา จะตองมีปฏบิัติการ

แกไขและปองกัน หรือการตรวจสอบความถกูตองซ้ําดวยหรือไม เหตุผลสําหรับปฏิบัติการแกไขนั้น ควรทําเปน

ลายลักษณอักษร

ปฏิบัติการแกไข และปฏบิัติการปองกันที่ตกลงกันไว ตองแลวเสร็จทันเวลาที่กําหนดอยางมี

ประสิทธิภาพ ตองมวีิธีการปฏิบัติสําหรับการบริหารจัดการ ทั้งในเรื่องของการจัดการแบบตอเนื่องและการ

ทบทวนวิธีการแกไขเหลานั้น รวมถึงประสทิธิภาพของวิธกีารปฏิบัติดังกลาวตองไดรับการทวนสอบในระหวาง

การตรวจสอบตนเอง การทบทวนคุณภาพผลิตภัณฑอาจแบงเปนกลุมตามประเภทของผลิตภัณฑ ตัวอยาง

เชน ยารูปแบบของแข็ง ยารูปแบบของเหลว ผลิตภัณฑปราศจากเชื้อ และอื่นๆ

คําอธิบาย ยาแตละตํารับที่ไดมีการผลิตไปในแตละปตองมีการทบทวนคุณภาพ โดยจําแนกยาเปน 3 กลุมคือ

high risk, medium risk และ low risk

High risk เชน ยากลุมยาฉีด, cytotoxic drugs และ sustained release preparations ในกรณีที่ไม

มีการผลิตยาดังกลาวใหหมายถึงยาตํารับที่มีปริมาณการผลิตสูงสุดสามอนัดับของแตละบริษัทฯ ดําเนินการ

ภายใน ๑ ป หลังจากประกาศกระทรวงฯ มผีลใชบังคับ และมีการทบทวนตอเนื่องทุกป

Medium risk เชน ยากลุม potent drugs หรือยาที่มีปริมาณตัวยาสําคัญต่ํากวา ๒ mg ตอ unit

dose และยากลุม penicillins, cephalosporins, carbapenems หรือยากลุมที่มี β-lactam ring ดําเนินการ

ภายใน ๒ ป หลังจากประกาศกระทรวงฯ มผีลใชบังคับ และมีการทบทวนตอเนื่องทุก ๒ ปเปนอยางนอย

Page 13: ร่าง GMP 07

Low risk ไดแก ยาตํารับอื่นๆ นอกเหนือจากตํารับขางตน ดําเนินการภายใน ๔ ป หลังจากประกาศ

กระทรวงฯ มีผลใชบังคับ และมีการทบทวนตอเนื่องทุก ๓ ปเปนอยางนอย

ในกรณีตํารับยาที่มีตัวยาสําคญั รูปแบบยา (dosage form) และกระบวนการผลิตเหมือนกัน แตมี

หลายขนาดบรรจุ อาจเลือกขนาดบรรจุใดขนาดบรรจุหนึ่งในการทบทวนคุณภาพยา หมายเหต ุ ไมมีการทบทวนคุณภาพของผลิตภัณฑยา ถือเปนขอบกพรองสําคญั

การบริหารความเสี่ยงดานคุณภาพ ขอ ๑๐ การบริหารความเสี่ยงดานคุณภาพคือ กระบวนการที่เปนระบบสําหรับการประเมิน การ

ควบคุม การสื่อสาร และการทบทวนความเสี่ยงตอคุณภาพของผลิตภัณฑยา โดยสามารถนําไปประยุกตไดทั้ง

การเตรียมการลวงหนาและการทบทวนยอนหลัง

ขอ ๑๑ ระบบการบริหารความเสี่ยงดานคุณภาพ

(๑) การประเมินความเสี่ยงตอคุณภาพตองใชพื้นฐานความรูทางวิทยาศาสตร ประสบการณเกี่ยวกับ

กระบวนการ และทายสุดตองเชื่อมโยงไปสูการคุมครองผูปวย

(๒) ระดับของการบริหาร ระเบยีบแบบแผน และเอกสารของกระบวนการบริหารความเสี่ยงดาน

คุณภาพตองสัมพันธกับระดบัของความเสี่ยง

คําอธิบาย จัดใหมี quality risk management plan ที่ระบุถึงกระบวนการที่ใชในการชี้บง จําแนก ควบคุม และ

ประเมินความเสี่ยงดานคุณภาพ หมายเหต ุ ไมมี quality risk management plan ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 14: ร่าง GMP 07

๑๐

หมวด ๒ บุคลากร

หลักการ การจัดทําและรักษาระบบประกันคุณภาพใหคงอยูได และการผลิตผลิตภัณฑยาอยางถูกตองนั้น

ขึ้นอยูกับผูปฏบิัติงาน ดังนั้นจึงเปนความรับผิดชอบของผูรับอนุญาตผลิตที่ตองจัดหาบุคลากรที่มีคุณสมบัติ

เหมาะสมในจาํนวนที่เพียงพอสําหรับการปฏบิัติงาน โดยแตละคนตองเขาใจในภาระหนาที่อยางชัดเจนและมี

การบันทึกไว บุคลากรทุกคนตองตระหนักในหลักการของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตและไดรับการ

ฝกอบรมกอนปฏิบัติงาน มกีารฝกอบรมอยางตอเนื่อง รวมถึงมีคําแนะนําเรื่องสุขอนามัยที่เกี่ยวของกับงานที่ทํา

ขอ ๑๒ ผูรับอนุญาตผลิตตองจัดใหมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและประสบการณในจํานวน

ที่เพียงพอ ภาระหนาที่ที่มอบหมายใหแตละบุคคลตองไมมากเกินไปจนเกิดความเสี่ยงตอคุณภาพ

คําอธิบาย มีการกําหนดคุณสมบัติของบคุลากร (qualification) ที่ดํารงตําแหนงเปนลายลักษณอักษร

หัวหนาฝายผลิตมีประสบการณในการดําเนินการผลิตและ/หรือประกัน/ควบคุมคุณภาพไมนอยกวา

๓ ป โดยตองมปีระสบการณในดานการผลิตไมนอยกวา ๑ ป และหัวหนาฝายควบคุมคณุภาพมปีระสบการณ

ในการดําเนินการผลิตและ/หรือประกัน/ควบคุมคุณภาพไมนอยกวา ๓ ป โดยตองมีประสบการณในดาน

ประกัน/ควบคมุคุณภาพไมนอยกวา ๑ ป

ในกรณีการผลิตผลิตภัณฑยาปราศจากเชือ้หรือชีววัตถ ุ หัวหนาฝายผลิตตองมีประสบการณในการ

ดําเนินการผลิตและ/หรือประกัน/ควบคุมคณุภาพไมนอยกวา ๓ ป โดยตองมีประสบการณในการดําเนินการ

ผลิตยาปราศจากเชื้อหรือชวีวตัถุไมนอยกวา ๑ ป หมายเหต ุ หัวหนาฝายผลิตและฝายประกัน/ควบคมุคณุภาพมปีระสบการณที่เกี่ยวของนอยกวาทีก่ําหนดใน

คําอธิบายขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๓ ผูรับอนุญาตผลิตตองมีผังองคกร บุคลากรที่มีตําแหนงรับผิดชอบตองมีการกําหนด

ภาระหนาที่เปนลายลักษณอักษรในใบแสดงลักษณะงาน (job description) และมีอาํนาจหนาที่เพียงพอใน

งานที่รับผิดชอบ อาจมีผูที่มีคุณสมบัติในระดับที่สามารถปฏิบัติหนาที่แทนได บุคลากรที่เกี่ยวของกับ

หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตตองไมมภีาระหนาที่ที่ซ้าํซอนหรอืเกิดชองวางที่ไมสามารถหาผูรับผิดชอบได

คําอธิบาย องคกรตองจัดใหมีเอกสารดังตอไปน้ี

(๑) แผนผังโครงสรางและการบริหารงานขององคกร (organization chart) ที่แสดงสายการบังคับ

บัญชาชัดเจนและเปนปจจบุัน

(๒) รายละเอียดบคุลากรที่มกีารปฏิบัติที่มีผลตอระบบการผลิตและควบคุมคุณภาพ

Page 15: ร่าง GMP 07

๑๑

(๓) มีใบแสดงลักษณะงาน (job description) ที่ระบุหนาที่ความรับผิดชอบของบุคลากรในตําแหนง

ที่มีผลตอระบบการผลิตและควบคุมคุณภาพเปนลายลักษณอักษร

กรณีแตงตั้งผูปฏิบัติหนาที่ทดแทนในกรณีจําเปน เชน ลาปวย หรือลาพักรอน เปนตน ตองมีการระบุ

ชื่อบุคลากรและ/หรือตําแหนงที่สามารถปฏิบตัิงานทดแทนไวเปนลายลักษณอักษร หมายเหต ุ

ไมมีแผนผังองคกร (organization chart) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีใบแสดงลักษณะงาน (job description) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

บุคลากรหลัก ขอ ๑๔ บุคลากรหลักประกอบดวยหัวหนาฝายผลิตและหัวหนาฝายควบคุมคุณภาพ ตองเปน

อิสระไมขึ้นตอกัน หัวหนาฝายควบคุมคุณภาพมีหนาที่ปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป หากองคกรใดที่หัวหนา

ฝายควบคุมคุณภาพมิไดรับผิดชอบปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป องคกรตองแตงตั้งผูมีหนาที่ในการปลอย

ผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป

ทั้งนี้ หัวหนาฝายผลิต หัวหนาฝายควบคุมคณุภาพ และผูมีหนาที่ในการปลอยผานผลิตภัณฑ

สําเร็จรูป ตองเปนเภสัชกรที่มีใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม และตองเปนตําแหนงงานประจําเต็มเวลา ในกรณี

ที่เปนองคกรขนาดใหญ อาจจําเปนตองมีการมอบหมายหนาที่บางอยางที่กําหนดในขอ ๑๕, ๑๖ และ ๑๗ ให

ผูอื่นทําหนาที่แทนได

คําอธิบาย สายการบังคับบัญชาของฝายผลิตและฝายควบคุณภาพตองเปนอิสระไมขึ้นตอกัน และฝายควบคุม

คุณภาพควรแยกเปนอิสระจากฝายอื่นๆ ดวย ในกรณีที่องคกรมิไดมอบหมายใหหัวหนาฝายควบคุมคณุภาพมี

หนาที่รับผิดชอบปลอยผานผลติภัณฑ ตองมีการแตงตั้งผูมีหนาที่ในการปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูปเปน

ลายลักษณอักษร ผูที่ปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูปตองเปนเภสัชกรที่มีใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมและ

ทํางานเต็มเวลา โดยที่ไมอยูในฝายผลิต

บางองคกรอาจมีฝายประกันคณุภาพ โดยสายการบังคับบัญชาของฝายประกันคุณภาพและฝาย

ผลิตตองเปนอิสระไมขึ้นตอกัน และฝายประกันคุณภาพควรแยกเปนอิสระจากฝายอื่นๆ ดวย

การมอบหมายหนาที่ที่กําหนดในขอ ๑๕, ๑๖ และ ๑๗ ตองทําเปนลายลักษณอักษร ทั้งนี้ผูที่ทํา

หนาที่แทนตองผานการฝกอบรมและเคยปฏิบัติงานในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายกอนจึงจะปฏบิัติงานได และ

หัวหนาฝายที่เกี่ยวของตองเปนผูรับผิดชอบการมอบหมายนัน้ หมายเหต ุ

ฝายประกันคุณภาพและฝายควบคุมคุณภาพไมเปนอิสระจากฝายผลิต ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ในกรณีหัวหนาฝายควบคุมคณุภาพมิไดรับผิดชอบปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป และองคกรไมได

แตงตั้งผูมีหนาที่ในการปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป ถือเปนขอบกพรองรายแรง

Page 16: ร่าง GMP 07

๑๒

หัวหนาฝายผลิต หัวหนาฝายควบคุมคุณภาพ และผูมีหนาที่ในการปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป

ไมใชเภสัชกรทีม่ีใบประกอบวชิาชพีเภสัชกรรม ถือเปนขอบกพรองรายแรง แตถาเปนเภสัชกรที่ไมไดทํางาน

ประจําเต็มเวลา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ผูที่ทําหนาที่บางอยางแทนหัวหนาฝายผลิตหรือฝายควบคุมคุณภาพไมไดรับการฝกอบรมในเรื่องที่

เกี่ยวของกอนการปฏิบัติงาน ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๕ หัวหนาฝายผลิต โดยทั่วไปมีความรับผิดชอบดังตอไปนี้

(๑) ใหความมั่นใจวามีการผลิตผลิตภัณฑและจัดเก็บอยางถูกตองตรงตามที่ระบุไวในเอกสาร

เพื่อใหไดคุณภาพตามที่กําหนด

(๒) รับรองวิธีการปฏิบัติทุกอยางที่เกี่ยวของกับการดําเนินการผลิต และตองมั่นใจวามีการนําไป

ปฏิบัติอยางเครงครัด

(๓) ใหความมั่นใจวามีการประเมนิบันทึกการดําเนินการผลิตและลงลายมือชือ่โดยผูที่ไดรับ

มอบหมายกอนสงไปยังฝายควบคุมคุณภาพ

(๔) ตรวจสอบการบํารุงรักษาสถานที่และเครื่องมือในฝายผลิต

(๕) ใหความมั่นใจวามีการตรวจสอบความถูกตองอยางเหมาะสม

(๖) ใหความมั่นใจวาบุคลากรในฝายผลิตผานการฝกอบรมกอนปฏิบัติงานและมีการอบรมอยาง

ตอเนื่องตามที่กําหนด โดยปรับใชใหเหมาะสมไดตามความตองการ

คําอธิบาย หัวหนาฝายผลิตควบคุมใหมีการนําขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวของกับงานการผลิต และหนาที่ที่กําหนด

ไปปฏิบัตอิยางครบถวนและสามารถสอบกลับไดทุกขั้นตอน

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๖ หัวหนาฝายควบคุมคุณภาพ โดยทั่วไปมีความรบัผิดชอบดังตอไปน้ี

(๑) รับรองหรือไมรับรองผลการตรวจสอบวัตถุดิบ วัสดุการบรรจ ุ ผลิตภัณฑระหวางผลิต ผลิตภัณฑ

รอบรรจุ และผลิตภัณฑสําเร็จรูป

(๒) ประเมินบันทึกการผลิต

(๓) ใหความมั่นใจวามีการทดสอบทุกอยางที่จําเปน

(๔) รับรองขอกําหนด วิธีการสุมตวัอยาง วิธีการทดสอบและวิธปีฏิบัติในการควบคุมคุณภาพ

(๕) รับรองและตรวจติดตามผูรับจางวิเคราะหตามสัญญาการจางวิเคราะห

(๖) ตรวจสอบการบํารุงรักษาสถานที่และเครื่องมือในฝายควบคมุคุณภาพ

(๗) ใหความมั่นใจวามีการตรวจสอบความถูกตองอยางเหมาะสม

(๘) ใหความมั่นใจวาบุคลากรในฝายควบคุมคณุภาพผานการฝกอบรมกอนปฏิบัติงานและมกีาร

อบรมอยางตอเนื่องตามที่กําหนด โดยปรับใชใหเหมาะสมไดตามความตองการ

นอกจากนี ้หนาที่อื่นของฝายควบคุมคุณภาพ ยังมีการกําหนดไวเพิ่มเติมอีกในหมวด ๖

Page 17: ร่าง GMP 07

๑๓

คําอธิบาย หัวหนาฝายควบคุมคุณภาพควบคุมใหมีการนําขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวของกับงานการควบคุม

คุณภาพ และหนาที่ที่กําหนด ไปปฏิบัตอิยางครบถวนและสามารถสอบกลับไดทุกขั้นตอน

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๗ หัวหนาฝายผลิตและหัวหนาฝายควบคุมคุณภาพมีความรับผิดชอบรวมกันในงานที่

เกี่ยวของกับคุณภาพ ดังตอไปนี้

(๑) อนุมัติวิธีการปฏิบัติและเอกสารอื่น รวมถึงการแกไข

(๒) ตรวจติดตามและควบคุมสภาวะแวดลอมในการผลิต

(๓) สุขลักษณะของสถานที่ผลิต

(๔) ตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการ

(๕) การฝกอบรม

(๖) รับรองและตรวจติดตามผูสงมอบวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุ

(๗) รับรองและตรวจติดตามผูรับจางผลิตตามสัญญาการจางผลิต

(๘) กําหนดและตรวจติดตามสภาวะการเก็บรักษาวัตถุดิบ วัสดกุารบรรจุ และผลิตภัณฑ

(๙) เก็บรักษาบันทึก

(๑๐) ตรวจติดตามการปฏิบัติตามขอกําหนดของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต

(๑๑) ตรวจสอบ สืบสวน และเก็บตัวอยาง เพื่อตรวจติดตามปจจัยทีอ่าจมีผลตอคุณภาพของ

ผลิตภัณฑ

คําอธิบาย หัวหนาฝายผลิตและควบคุมคุณภาพรวมกันควบคุมใหมกีารนําขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวของกับงาน

ตามที่ระบุในหมวด ๒ ขอ ๑๗ (๑-๑๑) ไปปฏบิัติอยางครบถวนและสามารถสอบกลับไดทกุขั้นตอน

หมายเหต ุ -

การฝกอบรม ขอ ๑๘ ผูรับอนุญาตผลิตตองจัดใหมีการฝกอบรมบคุลากรทุกคนที่มีหนาที่เขาไปในบริเวณการ

ดําเนินการผลิต หรือหองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ และบุคลากรอื่นที่มีกิจกรรมซึ่งมีผลตอคุณภาพของ

ผลิตภัณฑ รวมถึงพนักงานเทคนิค พนักงานซอมบํารุง และพนักงานทําความสะอาดดวย

คําอธิบาย ตองจัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการฝกอบรมบุคลากรซึ่งประกอบดวย

(๑) แผนกําหนดการฝกอบรมประจําปที่ไดรับการรับรองจากหัวหนาฝายผลิต หรือหัวหนาฝาย

ควบคุมคุณภาพแลวแตกรณี อยางนอยแผนกําหนดการฝกอบรมประจําปตองมีหัวขอการอบรมและชวงเวลา

การฝกอบรม

(๒) เกณฑการประเมินผลการฝกอบรมของบุคลากรทุกตําแหนง โดยอาจกําหนดเกณฑไวดังนี้

Page 18: ร่าง GMP 07

๑๔

(๒.๑) ระยะเวลาการเขารับการฝกอบรม บุคลากรตองเขารับการฝกอบรมอยางนอย ๘๐%

ของระยะเวลาการฝกอบรม

(๒.๒) การตอบคําถามปากเปลา

(๒.๓) การสอบขอเขียน

(๒.๔) การฝกปฏิบัติ

ทั้งนี้การประเมินผลอาจใชวิธีผสมผสานมากกวา ๑ วิธีได

(๓) การประเมินผล และการจัดเก็บบันทึกการฝกอบรม

บุคลากรที่อยูในองคกรซึ่งปฏิบัติหนาที่ในการดําเนินการผลิต ควบคุมคุณภาพ หรือกิจกรรมที่มีผลตอ

คุณภาพ รวมถงึพนักงานเทคนิค ซอมบํารุง ทําความสะอาด ตองมีการฝกอบรมดาน GMP ในสวนที่เกี่ยวของ

และประเมินผลการฝกอบรมอยางนอยปละ ๑ ครั้ง

การฝกอบรมตองจัดใหมบีันทึกการฝกอบรมซึ่งจัดทําเปน ๒ ลักษณะ คอื

(๑) บันทึกการฝกอบรมของแตละครั้ง อยางนอยตองมีหัวขอการฝกอบรม วันเดือนปที่ดําเนินการ

ชื่อวิทยากร/ผูบรรยาย และรายชื่อผูเขารับการอบรม โดยตองเก็บรักษาบันทึกการฝกอบรมไวอยางนอย ๕ ป

(๒) บันทึกการฝกอบรมของบุคลากรแตละคน โดยจัดทําเปนประวัติการฝกอบรมของบุคลากรตั้งแต

เขาปฏิบัติหนาที่ในองคกร ซึ่งการเก็บรักษาบนัทึกการฝกอบรมตองเก็บตลอดอายุงานของบุคลากร

การเขาพื้นที่การผลิตและหองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพตองมีระบบปองกนัซึ่งอนุญาตใหเฉพาะ

บุคลากรที่มีหนาที่ปฏิบัติงานเทานั้น เชน ปายที่ระบุไวชดัเจนถึงบุคคลที่สามารถเขาไปในพื้นที่ได ปายหาม

บุคคลภายนอกเขาโดยมิไดรับอนุญาต หรือระบบ security card สําหรับบคุคลเฉพาะเขาพื้นที่ หมายเหต ุ ไมมีการฝกอบรมบุคลากรทางดาน GMP อยางนอยปละ ๑ คร้ัง หรือไมมีการบันทึกการประเมินผล

การฝกอบรม ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๙ บุคลากรใหม ตองไดรับการฝกอบรมหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต ทั้งดานทฤษฎี

และการปฏิบัต ิ รวมทั้งตองไดรับการฝกอบรมในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ตองมีการฝกอบรมอยางตอเนื่อง

และมีการประเมินประสิทธิภาพในการปฏบิัติเปนประจํา ตองจัดใหมีกําหนดการฝกอบรมท่ีผานการรับรอง

จากหัวหนาฝายผลิตหรือหัวหนาฝายควบคุมคุณภาพแลวแตความเหมาะสม และตองเก็บรักษาบันทึกการ

ฝกอบรมไว

คําอธิบาย มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการฝกอบรมตองประกอบดวยหัวขอการฝกอบรมบุคลากรใหมและ

หัวขออื่นๆ ทีบ่คุลากรตองรับทราบ เชน ความปลอดภัยในการทํางาน เปนตน

บุคลากรใหมตองไดรับการฝกอบรมเบือ้งตนดาน GMP และงานในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายทั้ง

ภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ โดยอาจเปนการอบรมระหวางทีท่ํางานไปดวย (on the job training) ทั้งนี้จะตองมี

การบันทึกรายงานการอบรมเก็บไวดวย

Page 19: ร่าง GMP 07

๑๕

บุคลากรใหมตองไดรับการประเมินประสิทธิภาพการทํางาน (performance test) ในระหวางการ

ทดลองงานและตองมีการบันทึกผลการประเมิน หลังจากบุคลากรผานการทดลองงานใหมีการฝกอบรมและ

ประเมินผลอยางตอเนื่องตามหมวด ๒ ขอ ๑๘ หมายเหต ุ ไมมีการฝกอบรมบุคลากรใหมหรือไมมีการบันทึกการฝกอบรม ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการประเมนิประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากรใหมในระหวางการทดลองงาน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๐ บุคลากรที่ทํางานในบริเวณที่มีการปนเปอนซึ่งกอใหเกิดอันตราย ตัวอยางเชน บริเวณ

สะอาด หรือบริเวณที่มีสารออกฤทธิ์สูง สารที่เปนพิษ สารที่ทําใหเกิดการติดเชื้อหรือทําใหเกิดการแพ ตอง

ไดรับการฝกอบรมเฉพาะดาน

คําอธิบาย ตองจัดใหมีการฝกอบรมพิเศษสําหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานเฉพาะอยาง เชน งานที่เกี่ยวของกับสารที่

มีฤทธิ์แรง สารพิษ สารที่ทําใหเกิดการติดเชื้อหรือทําใหเกิดการแพ เปนตน และมีการบันทึกการฝกอบรม เพื่อ

ปองกันบุคลากรผูปฏิบัติงานไมใหเกิดอันตราย และปองกันการปนเปอนของผลิตภัณฑยาและสิ่งแวดลอม หมายเหต ุ ไมมีการฝกอบรมบุคลากรหรือไมมีการบันทกึการฝกอบรม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๑ ผูเยี่ยมชมหรือบุคลากรที่ไมผานการฝกอบรม ไมควรใหเขาไปในบริเวณการดําเนินการ

ผลิตและบริเวณควบคุมคุณภาพ แตถาหลีกเลี่ยงไมได ตองใหขอมลูลวงหนาโดยเฉพาะเกี่ยวกับสุขอนามัย

สวนบุคคล และคําแนะนําในการสวมใสเครื่องแตงกายในการปองกันการปนเปอน และควรใหการดูแลอยาง

ใกลชิด

คําอธิบาย ตองจัดใหมีคําแนะนําสําหรับผูเยี่ยมชมหรือบุคลากรที่ไมผานการฝกอบรมในการเขาไปในบริเวณ

ดําเนินการผลิตและควบคุมคุณภาพ ซึ่งประกอบดวยสุขอนามัยสวนบุคคล คําแนะนําในการสวมใสเครื่องแตง

กาย และการปฏิบัติตัวเพื่อปองกันการปนเปอน

แจงใหผูเยี่ยมชมหรือบุคลากรที่จําเปนตองเขาในบริเวณดําเนินการผลิตและควบคุมคุณภาพทราบ

โดยการอธิบายพรอมเอกสาร วีดีทัศน หรือโปสเตอรติดไวกอนที่จะถึงบริเวณทางเขา หรือการสื่อสารใหบคุคล

เหลานั้นทราบทางเอกสาร เชน ใบแทรกในชดุสําหรับเขาพื้นที่การผลิต หมายเหต ุ ไมมีคําแนะนํา เชน เอกสาร วีดีทัศน หรือโปสเตอร สําหรับผูเยี่ยมชมหรือบุคลากรที่ไมผานการ

ฝกอบรมในการเขาไปในบริเวณดําเนินการผลิตและควบคุมคุณภาพ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๒ แนวคิดของการประกันคุณภาพและมาตรการทุกอยางที่สงเสริมความเขาใจและการ

นําไปปฏบิัติ ควรใหมีการอภปิรายอยางกวางขวางในระหวางการฝกอบรม

Page 20: ร่าง GMP 07

๑๖

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

สุขอนามัยสวนบุคคล ขอ ๒๓ ตองจัดทํารายละเอียดเกี่ยวกับสุขอนามัยและปรับใหเหมาะสมกับความตองการที่

แตกตางกันภายในโรงงาน ซึ่งประกอบไปดวยวิธีการปฏบิตัิที่เกี่ยวของกับสุขภาพ หลักปฏิบัติดานสุขอนามัย

และการแตงกายของบุคลากร วิธีการปฏบิตัิเหลานี้ทุกคนที่มีหนาที่ที่ตองเขาไปในบริเวณดําเนินการผลิตและ

บริเวณควบคุมตองเขาใจและปฏิบัติตามอยางเขมงวด รายละเอียดเกี่ยวกับสุขอนามัย ควรไดรับการสงเสริม

โดยฝายบริหาร และสนับสนุนใหมีการอภปิรายอยางกวางขวางในระหวางการฝกอบรม

คําอธิบาย ตองจัดใหมีวธิปีฎิบัติมาตรฐานสําหรับสุขอนามัยสวนบุคคล ซึ่งประกอบดวย

(๑) รายละเอียดอนามัยสวนบุคคลของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในแตละพื้นที่

(๒) การแตงกายของบุคลากรเพื่อปองกันการปนเปอนภายในพืน้ที่การผลิต โดยขึ้นอยูกับความเสี่ยง

ตอการปนเปอนของแตละพื้นที่ ใหปฏิบัติตามหมวด ๑๔ ขอ ๓๕๔ และตองมกีารฝกอบรมบคุลากร

ผูปฏิบัติงานในบริเวณดําเนินการผลิตและควบคุมคุณภาพใหเขาใจและปฏิบัตติามอยางเขมงวด

(๓) การจัดการบุคลากรที่มีโรคติดเชื้อ ไมใหปฏบิัติงานในสวนที่มีความเสี่ยงตอการปนเปอนการผลิต

(๔) ขอหามตางๆ ที่ไมสามารถกระทําไดในบริเวณการผลิตและควบคุมคุณภาพ ที่ตองปฏิบตัิตาม

อยางเขมงวดในการเขาไปปฏบิัติงานในบริเวณดําเนินการผลิตและควบคุมคุณภาพ หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติหรือไมมีการนํามาตรฐานวิธีการปฏิบัติไปใช ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๔ บุคลากรทุกคนตองไดรับการตรวจสุขภาพกอนรับเขาทํางาน เปนความรับผิดชอบของ

ผูรับอนุญาตผลิตในการจัดใหมีคําแนะนําเกี่ยวกับสุขภาพทีม่ีผลตอคุณภาพของผลิตภัณฑ ภายหลังจากไดรับ

การตรวจสุขภาพครั้งแรกแลว ตองมีการตรวจซ้ําตามความจําเปนใหเหมาะสมกบังานที่ทําและสุขภาพของ

บุคลากร

คําอธิบาย ตองจัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการตรวจสุขภาพ ซึ่งระบใุหบคุลากรใหมกอนเขาทํางาน

และบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยูแลวมีการตรวจสขุภาพซ้ําอยางนอยปละ ๑ คร้ัง โดยประเภทการตรวจขึ้นอยูกับ

ความเสี่ยงตอสุขภาพของงานแตละหนาที่ ซึ่งอยางนอยตองประกอบดวยการ X-ray ปอด การตรวจเลือด [เชน

หาจํานวนเม็ดเลือดแดงและตรวจการทํางานของตับ (SGOT และ SGPT tests) และการตรวจสอบอื่นๆ เพื่อ

บงชี้วาบุคลากรไมเปนโรคติดตอที่มีผลตอคุณภาพยา] หากพบวามีความผิดปกติตองมีการตรวจหาสาเหตุ

ของความผิดปกตินั้นๆ และถาความผิดปกตสิงผลตอคุณภาพยา บุคลากรตองไดรับการรักษาและระหวางการ

รักษาตองยายบุคลากรไปปฏบิัติ งานในหนาที่อื่นที่ไมมีผลตอคุณภาพยา

บุคลากรใหมใหตรวจสอบตาบอดสีเพิ่มเติม

Page 21: ร่าง GMP 07

๑๗

บุคลากรที่ปฏิบตัิหนาที่อยูแลวอาจตองมีการตรวจเพิ่มเติมตามความจําเปน เชน

(๑) ผูปฏิบัติงานตรวจ clarity test และตรวจความผิดปกติดานกายภาพของยา ตองมีการตรวจ

สายตาเปนประจํา

(๒) ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับยากลุม sulfonamides, penicillins, cephalosporins และยากลุม β-

lactams ตัวอื่นๆ ใหสอบถามและตรวจสอบประวัติการแพยาดังกลาว

(๓) ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับยากลุม cytotoxic drugs ใหตรวจสอบชนิดและปริมาณของเม็ดเลือดขาว

อยางนอยปละ ๒ ครั้ง

(๔) ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับยากลุมฮอรโมน ใหตรวจสอบระดับฮอรโมน

(๕) ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับยากลุมตานไวรัส ใหตรวจสอบระบบเลอืด ตับ และไต

(๖) ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับชวีวัตถุ (vaccine and serum) อยางนอยตองไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกัน

ตามชนิดชีววัตถุที่เกี่ยวของ หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการตรวจสุขภาพ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจสขุภาพบุคลากรกอนเขาทํางาน หรือไมมีการตรวจสุขภาพซ้าํอยางนอยปละ ๑ คร้ัง ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๕ ตองมีขั้นตอนที่ทําใหมั่นใจไดวา ผูที่มีโรคติดเชื้อหรือมีแผลเปดบนผิวหนังของรางกายจะ

ไมเกี่ยวของในการผลิตผลิตภัณฑยา

คําอธิบาย ตองมีขอกําหนดเปนลายลักษณอักษรใหบุคลากรที่เกี่ยวของกับการดําเนินการผลิตหรือควบคุม

คุณภาพ ซึ่งมโีรคติดตอรายแรงหรือแผลเปดบนผิวหนังของรางกาย รวมทัง้โรคติดเชื้อ ทองเสีย ไอ ไขหวัด และ

โรคผิวหนัง แจงใหหัวหนาผูควบคุมหรือผูที่ไดรับมอบหมายทราบ เพื่อจดัใหบุคลากรปฏิบัติงานในสวนที่ไมมี

ผลตอคุณภาพยาหรือตอบุคลากรอื่นๆ ที่ปฏบิัติหนาที่ และมีการบันทึกการยายงานชั่วคราว

จัดใหมีการบันทึกการประเมินบุคลากรที่มีโรคติดเชื้อหรือมีแผลเปดบนผิวหนัง แตทํางานเกี่ยวกับการ

ผลิตในสวนที่มีการเปดของผลิตภัณฑและมีความเสี่ยงตอการปนเปอน หมายเหต ุ ไมมีขอกาํหนด หรือบุคลากรที่เปนโรคติดตอ โรคติดเชื้อ หรือมบีาดแผลเปดที่ผิวหนังปฏิบัติงานใน

บริเวณที่เกี่ยวของกับการผลิตยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๖ ทุกคนที่เขาไปในบริเวณการผลิตตองสวมใสเครื่องแตงกายตามความเหมาะสมกับงานที่

ปฏิบัต ิ

คําอธิบาย การแตงกายเพื่อเขาในพื้นที่ที่กําหนดระดับความสะอาด ใหปฏิบัติตามหมวด ๑๔ ขอ ๓๕๓-๓๕๖

หากไมไดเปนพื้นที่ที่กําหนดระดับความสะอาด ใหปฏบิัติตามมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับสุขอนามยัสวน

Page 22: ร่าง GMP 07

๑๘

บุคคล เพื่อปองกันการปนเปอนสิ่งสกปรกจากภายนอกเขาสูบริเวณดําเนินการผลิต รวมถึงใชประกอบการ

ฝกอบรมใหกบับุคลากร หมายเหต ุ บุคลากรสวมชดุจากบาน หรอืชุดที่ไมเหมาะสมที่อาจกอใหเกิดการปนเปอนเขาไปในสถานที่ผลิตยา

โดยตรง ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

ขอ ๒๗ หามรับประทานอาหาร หามดื่มเครื่องดื่ม หามเคี้ยวของขบเคี้ยว หามสบูบุหรี่ หรือเกบ็

อาหาร เครื่องดื่ม บุหรี่ หรือยาประจาํตัวในบริเวณดําเนินการผลิตและบริเวณจัดเก็บผลิตภัณฑที่อยูระหวาง

ผลิต ตองไมมีการปฏบิัติที่ไมถูกสุขอนามัยในบริเวณการผลิตหรือบริเวณอื่น ซึ่งส่ิงดังกลาวอาจมีผลไมพึง

ประสงคตอผลิตภัณฑ

คําอธิบาย มีขอกําหนดหรือมาตรการที่ไมใหบุคลากรนําอาหารและเครื่องดื่มเขาไปรับประทาน รวมถึงการสูบ

บุหรี่ในสถานที่ผลิต เชน จัดทําเปนเอกสาร โปสเตอร และรูปภาพหามรับประทานอาหาร หามดื่มเครื่องดื่ม

หามเคี้ยวของขบเคี้ยว หามสูบบุหรี่ หรือหามเก็บอาหาร เครื่องดื่ม และบุหรี่ ในพื้นที่การผลิตและคลังสินคา

เปนตน

ในกรณียาสําหรับการปฐมพยาบาลเบื้องตนที่จําเปน ใหเกบ็ไวในหองสํานกังานฝายผลิต หมายเหต ุ บุคลากรรับประทานอาหาร ดืม่น้ํา สูบบุหรี่ หรือเก็บอาหาร เครื่องดื่ม บุหรี่ และยารักษาโรคประจําตัว

ภายในบริเวณที่ใชในการผลิตยาและบริเวณที่ใชในการเก็บยา วัตถุดิบ และวัสดุอื่นๆ รวมท้ังบริเวณอื่น ซึ่งส่ิง

ดังกลาวมีผลตอคุณภาพของยาที่ผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๘ หามผูปฏิบัติงานใชมอืสัมผัสโดยตรงกับผลิตภัณฑยา รวมถึงสวนของวัสดุการบรรจุปฐม

ภูมิและบริเวณของเครื่องมือที่มีการสัมผัสกับผลิตภัณฑ

คําอธิบาย บุคลากรที่จําเปนตองสัมผัสโดยตรงกับผลิตภัณฑยา รวมถึงสวนของวัสดุการบรรจุปฐมภูมิและ

บริเวณของเครื่องมือที่มกีารสัมผัสกับผลิตภัณฑ ตองสวมถุงมือท่ีทําจากวัสดุที่ไมปลดปลอยอนุภาคปนเปอน

เพื่อปองกันการปนเปอนของผลิตภัณฑยา หมายเหต ุ ผูปฏิบัติงานใชมือสัมผัสโดยตรงกับผลิตภัณฑยา วัสดุการบรรจุปฐมภูม ิหรือบริเวณของเครื่องมือท่ีมี

การสัมผัสกับผลิตภัณฑปราศจากเชื้อ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ผูปฏิบัติงานใชมือสัมผัสโดยตรงกับผลิตภัณฑยา วัสดุการบรรจุปฐมภูม ิหรือบริเวณของเครื่องมือท่ีมี

การสัมผัสกับผลิตภัณฑยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๙ บุคลากรตองไดรับคําแนะนําการใชส่ิงอํานวยความสะดวกในการลางมือ

Page 23: ร่าง GMP 07

๑๙

คําอธิบาย จัดใหมคีําแนะนําในการใชส่ิงอํานวยความสะดวก เชน การเปดปดน้ํา การใชสารละลายฆาเชื้อ และ

การทําใหมือแหง เปนตน โดยอาจจัดทําเปนโปสเตอร เอกสารการลางมือ หรือรูปภาพประกอบ ติดไวใน

บริเวณลางมือ เพื่อใหบุคลากรในทุกตําแหนงที่เกี่ยวของรับทราบ รวมถึงมีการฝกอบรมบุคลากร

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๐ ขอกําหนดเฉพาะสําหรับการผลิตผลิตภัณฑเฉพาะกลุม ตัวอยางเชน การเตรียมยา

ปราศจากเชือ้ อยูในหมวดที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑนั้น

คําอธิบาย - หมายเหต ุ -

Page 24: ร่าง GMP 07

๒๐

หมวด ๓ อาคารสถานที่และเครื่องมือ

หลักการ อาคารสถานที่และเครื่องมือตองอยูในตําแหนงที่เหมาะสม มีการออกแบบ สราง ดัดแปลง

และบํารุงรักษาใหเหมาะสมกบัการใชงาน การวางผังและออกแบบ ตองมีจุดมุงหมายที่จะใหเกิดความเสี่ยง

ตอความผิดพลาดนอยที่สุด การทําความสะอาดและบาํรุงรักษาตองทําไดอยางมีประสิทธิภาพเพื่อหลีกเลี่ยง

การปนเปอนขาม การสะสมของฝุนละออง และสิ่งอื่นใดที่จะมีผลไมพึงประสงคตอคุณภาพของผลิตภัณฑ

อาคารสถานที่ ขอกําหนดทั่วไป

ขอ ๓๑ อาคารสถานที่ ตองตั้งอยูในสภาวะแวดลอมซึ่งเมื่อพจิารณารวมกับมาตรการอื่นในการ

ปกปองการผลิตแลว มีความเสี่ยงนอยที่สุดที่จะเปนสาเหตุในการปนเปอนของวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ หรือ

ผลิตภัณฑ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๒ อาคารสถานที่ ตองมีการบํารุงรักษาอยางระมัดระวัง การซอมแซมและการบํารุงรักษาตอง

มั่นใจวาไมกอใหเกิดอันตรายตอคุณภาพของผลิตภัณฑ ตองทําความสะอาดสถานที่และฆาเชื้อตามความ

เหมาะสม ตามรายละเอียดวิธีการปฏิบัติที่เขียนไว

คําอธิบาย (๑) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการทําความสะอาดและการฆาเชื้อบริเวณตางๆ ตามความ

เหมาะสม

(๒) ตองมีการบันทกึการทําความสะอาดและการฆาเชื้อบริเวณตางๆ ตามที่ระบุในมาตรฐานวิธีการ

ปฏิบัต ิ

(๓) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการบํารุงรักษาสถานที่ รวมถึงแผนและบันทึกการ

บํารุงรักษาสถานที่บริเวณตางๆ ตามความเหมาะสม หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติและบนัทึกวิธีการทําความสะอาดและวิธีการฆาเชื้อ ถอืเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการบํารุงรักษาสถานที่ รวมถึงแผนและบันทึกการบํารุงรักษา

สถานที่ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 25: ร่าง GMP 07

๒๑

ขอ ๓๓ ตองมีแสงสวาง อณุหภูมิ ความชืน้ และการระบายอากาศอยางเหมาะสม ไมกอให เกิดผล

อันไมพึงประสงคทั้งทางตรงและทางออมตอผลิตภัณฑยาระหวางการผลิตและการจัดเก็บ หรือมีผลตอความ

แมนยําของเครื่องมือ

คําอธิบาย (๑) บริเวณทั่วไปควรติดตั้งหลอดไฟใหมีแสงสวาง ๒๐๐-๓๐๐ ลักซ บริเวณที่ปฏิบัติงานควรมีแสง

สวาง ๕๐๐-๑,๐๐๐ ลักซ ขึ้นกับลักษณะงานที่ทําและใหสามารถอานตัวอักษร สัญลักษณหรือตัวเลขได

ชัดเจน

(๒) บริเวณทั่วไปควรควบคุมอุณหภูมิที่ ๒๕±๒oC อยางไรก็ตามตองมีการควบคุมอุณหภมูิทั้งบริเวณ

ผลิต บริเวณจัดเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑยาใหสอดคลองตามมาตรฐานการผลิต และขอมูลความคงตัวของ

วัตถุดิบและผลิตภัณฑยา ทั้งนี้อาจแตกตางกนัขึ้นกับผลิตภัณฑนั้นๆ

(๓) บริเวณทั่วไปควรควบคุมความชื้นที่ ๔๐-๖๐% (relative humidity, RH) หรือตามขอกําหนด

เฉพาะของผลิตภัณฑ

(๔) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการควบคุมความชื้นสมัพัทธ โดยเฉพาะบริเวณที่สงผลตอ

กระบวนการผลิตและความคงตัวของผลิตภัณฑยา ทั้งนี้หากมีสภาวะนอกเหนือขอกําหนด ตองมีขอมูล

สนับสนุนวาสภาวะดังกลาวไมสงผลกระทบตอผลิตภัณฑยา

(๕) บริเวณทั่วไปตองมีการระบายอากาศที่ดี ไมมีกล่ินอับและฝุน ทั้งนี้ขึ้นกับบริเวณที่ตองมีการ

ควบคุมระบบอากาศ หมายเหต ุ

กรณีที่อุณหภูมิและความชื้นสมัพัทธมีผลกระทบตอผลิตภัณฑยา แลวไมมีการควบคุมอณุหภูมิและ

ความชื้นสัมพัทธตามที่กําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีระบบกําจดัฝุน ไอระเหย และกลิ่น ที่เพียงพอ ซึ่งอาจทําใหเกิดอันตราย หรือมีผลกระทบตอ

ผลิตภัณฑยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๔ อาคารสถานที่ตองออกแบบ ติดตั้งอุปกรณปองกนัไมใหแมลงและสัตวอื่นเขามาได

คําอธิบาย (๑) อาคารตองประกอบดวยประตูที่ปดไดสนิท โดยเฉพาะกรอบประตูดานลางตองสามารถปองกัน

แมลงและสัตวอื่นเดินเขามาได

(๒) ประตูบริเวณที่เปดออกสูภายนอกอาคารตองมีกรอบประตูปดสนิท ทั้งนี้ควรมีระบบ air lock

หรือเครื่องมือปองกันแมลงที่เหมาะสม

(๓) บริเวณทอระบายน้ํา ตองมีระบบปองกันแมลงและสัตวอื่นเขาสูตัวอาคารได

(๔) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการควบคุมปองกันแมลงและสัตวอื่นเขาสูอาคาร (pest

control)

Page 26: ร่าง GMP 07

๒๒

(๕) มีบันทึกการปฏบิัติตามมาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการควบคุมปองกันแมลงและสัตวอื่นเขาสูอาคาร

(๖) ตองมีแผนผังและกําหนดระยะเวลาในการวางเครื่องมือ กบัดัก หรือเหยื่อเพื่อควบคมุแมลงและ

สัตวอื่น ทั้งนี้ตองมีการหมุนเวยีนสถานที่ที่วางเครื่องมือดังกลาวตามความเหมาะสม

(๗) หากมีการใชสารเคมีหรือเหยื่อในการควบคุมแมลงและสัตวอื่นตองใชเฉพาะภายนอกอาคารผลิตและจัดเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑยา ทั้งนี้ตองแสดงรายละเอียดของสารเคมีที่ใชดังกลาวในบันทึกตาม

ขอ (๕) ดวย หมายเหต ุ

อาคารสถานที่ไมมีมาตรการหรือลักษณะตามคําอธบิายขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๕ ควรจัดใหมีขั้นตอนการปองกันไมใหผูที่ไมมีหนาที่เขาไปในบริเวณดําเนินการผลิต

คลังสินคา และบริเวณการควบคุมคุณภาพ รวมถึงไมควรเปนทางเดินผานของบุคลากรที่ไมไดทํางานใน

บริเวณนั้น

คําอธิบาย (๑) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับบุคคลที่สามารถและไมสามารถเขาไปในบริเวณที่กําหนด

รวมทั้งแสดงวิธีการปฏิบัติสําหรับผูที่มีหนาที่เมื่อเขาไปในบรเิวณดังกลาว และวิธีการปฏิบัติสําหรับผูที่ไมมี

หนาที่เมื่อจําเปนตองเขาไปในบริเวณดังกลาว

(๒) ตองมีขอความหรือเครื่องหมายแสดงอยางชัดเจนเพื่อปองกนัไมใหผูไมมีหนาที่เขาไปในบริเวณที่กําหนด

หมายเหต ุ -

บริเวณการดําเนินการผลิต ขอ ๓๖ เพื่อใหการผลิตยาที่มีอันตรายรายแรงมีความเสี่ยงนอยที่สุดตอการเกิดการปนเปอนขาม

ตองมีพื้นที่แยกเฉพาะที่มีส่ิงอํานวยความสะดวกครบถวนสําหรับการผลิตผลิตภัณฑยาดังกลาว ตัวอยางเชน

ยาที่ทําใหเกิดการแพสูง ตัวอยางเชน เพนนิซิลลิน หรือผลิตภัณฑชีวภาพ ตัวอยางเชน ผลิตภัณฑจากจลิุนทรีย

ที่มีชีวิต รวมถึงการดําเนินการผลิตผลิตภัณฑบางประเภท ตัวอยางเชน ยาปฏชิีวนะบางอยาง ฮอรโมน

บางอยาง ยาที่เปนพิษตอเซลลบางอยาง ยาที่ออกฤทธิ์แรงบางอยาง และผลิตภัณฑที่ไมใชยาตองไมผลิตใน

บริเวณการผลิตเดียวกัน

ในบางกรณีผลิตภัณฑเหลานี้อาจยอมรับใหผลิตในบริเวณการผลิตเดียวกันกับการผลิตยาอื่นได ดวย

การใชหลักการของการแยกเวลาผลิต (campaign) และตองจัดใหมีขอควรระวังเฉพาะที่ตองปฏิบัติ รวมถึง

ตองมีการตรวจสอบความถูกตอง ทั้งนี้ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขตามที่สํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยาประกาศกําหนด

สําหรับการผลิตสารที่เปนพิษ ตัวอยางเชน สารฆาสัตวรังควาน สารฆาวชัพืช ไมอนุญาตใหทําการ

ผลิตในอาคารสถานที่เดียวกับการผลิตผลิตภัณฑยา

Page 27: ร่าง GMP 07

๒๓

คําอธิบาย (๑) ตองมีพื้นที่แยกเฉพาะที่มีส่ิงอํานวยความสะดวกครบถวนสําหรับการผลิตผลิตภัณฑยากลุม

penicillins, cephalosporins, ชีววัตถุ, sex hormone, cytotoxic drug เชน anticancer โดยตองมีการแยก

ผนัง ระบบอากาศ ระบบน้ํา (distribution loop) อปุกรณการผลิต ทางเขาออก หองชั่งยา หองเก็บตัวยาออก

ฤทธิ์ ถาเปนโรงงานใหมควรแยกตึกสําหรับผลิตยากลุมดังกลาว โดยไมอนุญาตใหทําการผลิตแบบ

campaign กับยากลุมนี ้ ทั้งนี้ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขตามที่สํานักงานคณะกรรมการ

อาหารและยาประกาศกําหนด

(๒) ยากลุม potent drugs เชน anti-inflammatory steroid ตองไมเกิด cross contamination

กับ product อืน่ ในกรณีผลิตผลิตภัณฑเหลานี้รวมกับผลิตภัณฑอื่นในบริเวณเดียวกันตองผลิตแบบแยกเวลา

ผลิต (campaign) และตองมีเร่ืองการปองกันการปนเปอน cleaning validation process validation

มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการทําความสะอาดบริเวณผลิต (daily, weekly & monthly) มาตรฐานวิธีการ

ปฏิบัติสําหรับการดูแลรักษาบริเวณผลิต มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับ environmental monitoring รวมถึง

มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการแกไขถาเกิดขอผิดพลาด เชน ยาหก ภาชนะบรรจุยาแตก หมายเหต ุ

ไมแยกพื้นที่ / ระบบอากาศ / ระบบน้ํา ในการผลิตยาแตละกลุมขางตน ยกเวนกรณีผลิตแบบแยก

เวลาผลิต (campaign) ถือเปนขอบกพรองรายแรง

กรณีผลิตแบบแยกเวลาผลิต (campaign) แลวไมปฏบิัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขตามที่

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยากําหนด ถือเปนขอบกพรองรายแรง

มีการผลิตสารที่เปนพิษ ตวัอยางเชน สารฆาสัตวรังควาน สารฆาวัชพชื ในอาคารสถานที่เดียวกับ

การผลิตผลิตภัณฑยา ถือเปนขอบกพรองรายแรง

กรณีแยกพื้นที่แตไมปฏิบัติตามหลักเกณฑเฉพาะตามที่สํานกังานคณะกรรมการอาหารและยา

กําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๗ ควรวางผังอาคารสถานที่ใหการดําเนินการผลิตตอเนื่องไปตามลําดับของขั้นตอนการ

ดําเนินการ และระดับความสะอาดที่กําหนด

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๘ ควรมีพื้นที่เพียงพอในการทํางานและการจัดเก็บระหวางกระบวนการ เพื่อใหมีการวาง

เครื่องมือและวตัถุตางๆ อยางเปนระเบียบในตําแหนงที่สมควร เพื่อใหเกิดความเสี่ยงนอยที่สุดตอการปะปน

ระหวางผลิตภัณฑยาตางชนิดกันหรือสวนประกอบตางชนดิกัน รวมถึงเพือ่หลีกเลี่ยงการปนเปอนขาม และให

เกิดความเสี่ยงนอยที่สุดในการขามขั้นตอนหรือความผิดพลาดในขั้นตอนการผลิตหรือการควบคุม

Page 28: ร่าง GMP 07

๒๔

คําอธิบาย (๑) มีพื้นที่สําหรับจดัวางเครื่องมือและวัตถุตางๆ อยางเปนระเบียบ และผูปฏิบัติงานสามารถ

ปฏิบัติงานไดอยางสะดวก

(๒) ผลิตภัณฑยาตางชนิดหรือตางรุนผลิตตองมีการจัดเก็บไมปะปนกัน หมายเหต ุ

พื้นที่ไมเพียงพอในการจัดเก็บ หรือไมมมีาตรการปองกัน ทําใหเกิดความสับสนหรือปะปนกันระหวาง

ผลิตภัณฑที่ตางชนิดหรือตางรุนการผลติ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙ ในบริเวณที่วัตถุดิบและวัสดุการบรรจุปฐมภูม ิ ผลิตภัณฑระหวางผลิต หรือผลิตภัณฑรอ

บรรจุมีการสัมผัสกับสภาวะแวดลอม พื้นผิวภายในสถานที่ (ผนัง พื้น และเพดาน) ตองเรียบ ปราศจากรอย

แตกราว หรือรอยตอที่เชื่อมไมสนิท รวมทั้งไมปลอยอนุภาค ตองทําความสะอาดไดงายและมีประสิทธิภาพ ใน

กรณีจําเปนตองสามารถทําการฆาเชื้อได

คําอธิบาย (๑) ผนัง พื้น และเพดาน ตองเรียบ ปราศจากรอยแตกราว หรือรอยตอท่ีเชื่อมไมสนิท รวมทั้งไม

ปลอยอนุภาค ตองทําความสะอาดไดงายและมีประสิทธภิาพ ในกรณีจําเปนตองสามารถทําการฆาเชื้อได

บริเวณรอยตอของผนัง พื้นและเพดาน ควรมกีารลบมุมเพือ่ใหสามารถทําความสะอาดไดงาย

(๒) บริเวณผลิตหามใชวัสดุที่ทําจากไม

(๓) ผนังอาจทําดวยปูนฉาบเรียบทา epoxy ทับ หรือผนัง insulated sandwich panel หรืออื่นๆ

ที่เหมาะสม

(๔) พื้นควรเปน sealed concrete ทา epoxy หรือ poly urethane ทับ หรือ vinyl composition

tile หรือ PVC sheet หรือ self leveling epoxy หรืออื่นๆ ที่เหมาะสม

(๕) พื้นหองลางอุปกรณ ควรเปน concrete เคลือบทับดวย poly urethane หนา ๓-๕ มิลลิเมตร

(๖) เพดานควรเปนยิปซั่มบอรดทา epoxyทับ, กระเบื้องแผนเรียบทา epoxy ทบั, แผนโลหะ,

fiberglass reinforced plastic (FRT) หรือวัสดุพื้นเรียบที่ปราศจากรูพรุน หรืออื่นๆ ที่เหมาะสม

(๗) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการทําความสะอาดบริเวณผลิต (daily, weekly &

monthly) และมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการดูแลรักษาบริเวณผลิต หมายเหต ุ

โครงสรางอาคารแตกราว พื้น ฝาผนัง ฝา และทอตางๆที่เกี่ยวกับการผลิตยา ออกแบบและติดตั้งใน

ลักษณะที่ทําความสะอาดยาก ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๐ ทอ หลอดไฟ จุดระบายอากาศ และงานบริการอืน่ ควรหลีกเลี่ยงการออกแบบและติดตั้งที่

ทําใหมีซอกมมุซึ่งทําความสะอาดไดยาก หากเปนไปไดการบํารุงรักษาควรทําไดจากภายนอกบริเวณการผลิต

คําอธิบาย (๑) ทอควรติดตั้งภายนอก หากมกีารเดินทอเขามาขางในตองมกีารปดรอยตอระหวางทอกับพื้น

ผนัง หรือ เพดานใหสนิท ทอที่เดินภายในไมควรอยูชิดผนัง

Page 29: ร่าง GMP 07

๒๕

(๒) โคมไฟตองมีฝาปดสนิท ไมมีรอยแยกระหวางโคมไฟกับเพดาน

(๓) จุดจายอากาศเขาและทอระบายอากาศออก รวมทั้งทอกาํจัดฝุนไมควรอยูเหนือเครื่องมือ

ผลิตโดยตรง หากเปนไปไดทอระบายอากาศออกควรอยูดานลาง (low level return)

(๔) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการดูแลบํารุงรักษา หมายเหต ุ

จุดจายอากาศเขาและทอระบายอากาศออก รวมทั้งทอกําจัดฝุนอยูเหนือเครื่องมือผลิตโดยตรง ซึ่ง

อาจทําใหเกิดการปนเปอนได ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๑ ทอระบายน้ําควรมขีนาดเหมาะสม และมีที่ดักเพื่อปองกันการยอนกลับ หากเปนไปไดไม

ควรเปนทางระบายน้ําที่เปนระบบเปด แตถาจําเปนควรเปนชนิดตื้นเพื่อใหทําความสะอาดและฆาเชื้อไดงาย

คําอธิบาย (๑) ทอระบายน้ําตองมีระบบปองกันอากาศและน้ําไหลยอนกลับ เชน air trap, water trap,

valve หรือมีฝาปดเมื่อไมใชงาน

(๒) ทอควรติดตั้งภายนอก หากมกีารเดินทอเขามาขางในตองมกีารปดรอยตอระหวางทอกับพื้น

ใหสนิท ไมมีรอยแยก

(๓) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการดูแลบํารุงรักษา ควรมวีิธีการ sanitization ทอระบาย

น้ําดวยวิธีที่เหมาะสม หมายเหต ุ

ไมมีระบบปองกันอากาศและน้ําไหลยอนกลับ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๒ บริเวณการดําเนินการผลิต ตองมีการถายเทอากาศที่มีประสิทธิภาพ มีส่ิงอาํนวยความ

สะดวกในการควบคุมอากาศ ตัวอยางเชน อุณหภูมิ ความชื้น และการกรองอากาศ ใหเหมาะสมทั้งตอ

ผลิตภัณฑ การดําเนินการที่ทําอยูภายในบริเวณนั้น และตอส่ิงแวดลอมภายนอก

คําอธิบาย (๑) ควรมีระบบ HVAC ที่มีการกรองที่เหมาะสม ถามีการผลิตยาหลายชนิดในบริเวณเดียวกัน

โดยไมไดใชระบบปด ตองมรีะบบกําจัดฝุนที่มีประสิทธิภาพ มีการกรองที่มีประสิทธิภาพพอที่จะปองกันการ

ปนเปอนหรือการปนเปอนขาม เชน มีการติด Filter G4 + F9 + HEPA (H13) ที่ AHU

(๒) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการปองกันการปนเปอนหรือการปนเปอนขาม หรือระบุ

ใน batch record ,มีการทาํ environmental monitoring เชน viable monitoring (settling plate, air

sampler) มีบันทึกการวัด อุณหภูมิ ความชื้น หมายเหต ุ

ในกรณีมีการผลิตยาหลายชนิดในบริเวณเดียวกัน แตไมมีระบบกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพตาม

คําอธิบาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการทํา environmental monitoring ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๓ การชั่งวัตถุดิบ ตองทําในหองชั่งซึ่งแยกตางหากที่มีการออกแบบสําหรับการชั่งเปนการเฉพาะ

Page 30: ร่าง GMP 07

๒๖

คําอธิบาย (๑) หองชั่งมีระบบกําจัดฝุนที่มีประสิทธิภาพ มีการกรองที่มีประสิทธิภาพพอที่จะปองกันการ

ปนเปอนหรือการปนเปอนขาม เชน dispensing booth มีการควบคุมอากาศ อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทางการ

ไหลของอากาศ และความสะอาด หมายเหต ุ

ไมมีหองชั่งเฉพาะ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีระบบกําจดัฝุนในหองชั่ง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๔ ในกระบวนการที่มีการเกิดฝุน ตัวอยางเชน ระหวางสุมตัวอยาง ชั่ง ผสม ดําเนินการผลิต

และบรรจุผลิตภัณฑชนิดแหง ตองใหความสําคัญเปนกรณีพิเศษเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปอนขามและใหทํา

ความสะอาดไดงาย

คําอธิบาย (๑) หองมีระบบกําจัดฝุนที่มีประสิทธิภาพ มีการกรองที่มปีระสิทธิภาพพอที่จะปองกันการ

ปนเปอนหรือการปนเปอนขาม มีการควบคมุอากาศ อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทางการไหลของอากาศ และความ

สะอาด

(๒) ควรมีระบบ HVAC ที่มีการกรองที่เหมาะสม ถามีการผลิตยาหลายชนิดในบริเวณเดียวกัน

โดยไมไดใชระบบปด ตองมีระบบกาํจัดฝุนที่มีประสิทธิภาพ

(๓) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการทําความสะอาด (daily, weekly & monthly) มาตรฐาน

วิธีการปฏบิัติสําหรับการดูแลรักษาบริเวณปฏบิัติงาน มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการชั่งยา มาตรฐาน

วิธีการปฏบิัติสําหรับการควบคุมการบรรจุผลิตภัณฑชนิดแหง หมายเหต ุ

สถานที่ไมมีมาตรการหรือลักษณะตามคําอธิบายขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๕ อาคารสถานที่สําหรับการบรรจุผลิตภัณฑยา ควรออกแบบและวางผังเพื่อใหหลีกเลี่ยงการ

ปะปน หรือการปนเปอนขาม

คําอธิบาย (๑) หองบรรจุตองมีระบบการกรองอากาศที่มปีระสิทธิภาพ ในกรณีที่มีกระบวนการที่ทําใหเกิด

ฝุนตองมีระบบกําจัดฝุนที่มีประสิทธิภาพพอทีจ่ะปองกันการปนเปอนหรือการปนเปอนขาม มีการควบคุม

อากาศ ตัวอยางเชน อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทางการไหล ความสะอาด เปนตน

(๒) สําหรับการบรรจุใสภาชนะบรรจุปฐมภูมิ (primary packaging) ตองมีการแยกหองสําหรับ

บรรจุผลิตภัณฑตางชนิดกันออกเปนสัดสวน

(๓) สําหรับการบรรจุใสภาชนะบรรจุทุติยภูมิ (secondary packaging) ตองมกีารแยกสายการ

บรรจุผลิตภัณฑตางชนิดกัน และควรมีแผนกั้น (partition) แยกจากกันอยางชัดเจน หรือมีระยะหางระหวาง

สายการบรรจุที่สามารถปองกันไมใหเกิดการปะปน

Page 31: ร่าง GMP 07

๒๗

หมายเหต ุสถานที่ไมมีมาตรการหรือลักษณะตามคําอธิบายขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๖ บริเวณการดําเนินการผลิต ตองมีแสงสวางเพียงพอ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการควบคุมดวย

สายตาในสายการผลิต

คําอธิบาย (๑) บริเวณทั่วไปควรใหมีแสงสวาง ๒๐๐-๓๐๐ ลักซ สําหรับบริเวณที่ปฏิบัติงานควรมีแสงสวาง

ไมนอยกวา ๕๐๐ ลักซ โดยวดัจากพื้นสูงขึ้นมา ๑ เมตร ขึ้นกับลักษณะงานที่ทําและใหสามารถอานตวัอักษร

สัญลักษณหรือตัวเลขไดชัดเจน

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๗ การควบคุมระหวางกระบวนการ อาจทําภายในบริเวณการดําเนินการผลิตไดโดยมีเงื่อนไข

วาตองไมนําความเสี่ยงมาสูการดําเนินการผลิต

คําอธิบาย (๑) ตองมีหองเฉพาะสําหรับการควบคุมระหวางกระบวนการ ในกรณีที่กระบวนการนั้น

กอใหเกิดฝุนหรือมีความเสี่ยงตอการปนเปอนผลิตภัณฑ

(๒) ตองไมมีการทดสอบทางเคมี และทางจุลชีววทิยาในบริเวณดําเนินการผลิต

(๓) ไมนําตัวอยางที่ผานการควบคุมระหวางกระบวนการ กลับเขาสูบริเวณดําเนินการผลิต หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอ (๑) และขอ (๒) ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

บริเวณจัดเก็บ ขอ ๔๘ บริเวณจัดเก็บ ควรมีพื้นที่เพยีงพอในการจดัเก็บวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ ผลิตภัณฑระหวาง

ผลิต ผลิตภัณฑรอบรรจุ ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ผลิตภัณฑในสถานะกักกัน ปลอยผานหรือไมผาน ผลิตภัณฑ

สงคืน หรือผลิตภัณฑเรียกคืนไดอยางเปนระเบียบ

คําอธิบาย (๑) ควรแยกเปนหองหรือบริเวณในการจัดเก็บวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ ผลิตภัณฑระหวางผลิต

ผลิตภัณฑรอบรรจุ ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ผลิตภัณฑในสถานะกักกัน ปลอยผานหรือไมผาน ผลิตภัณฑสงคืน

หรือผลิตภัณฑเรียกคืนที่เปนสัดสวน และควรมี log book ประจําแตละหองหรือบริเวณ

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๙ บริเวณจัดเก็บควรออกแบบหรือดัดแปลงใหอยูในสภาวะทีด่ีสําหรับการจัดเก็บ โดยเฉพาะ

ตองสะอาดและแหง และรักษาอุณหภูมใิหอยูในขีดจํากัดที่ยอมรับ โดยเฉพาะในกรณีที่ตองมีการจดัเก็บใน

สภาวะพิเศษ ตัวอยางเชน อุณหภูมิ ความชื้น ตองจัดใหมีสถานที่พรอมท้ังตองมีการตรวจสอบและตรวจ

ติดตาม

Page 32: ร่าง GMP 07

๒๘

คําอธิบาย (๑) มีการกําหนดสภาวะในการจัดเก็บ ไดแก อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ

(๒) มีบันทึกอุณหภมูิ และความชืน้สัมพัทธ หมายเหต ุ

ไมมีการกําหนดสภาวะการจดัเก็บ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีบันทึกการตรวจสอบและตรวจติดตาม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๐ บริเวณรับและสงสินคาควรสามารถปองกันสินคาจากสภาพอากาศ บริเวณรับสินคาตอง

ออกแบบและตดิตั้งอุปกรณทําความสะอาดภาชนะบรรจวุัตถุดิบ วัสดุการบรรจุที่สงเขามา กอนนําไปจัดเก็บ

คําอธิบาย (๑) เปนบริเวณที่มีหลังคาปกคลุม สามารถปองกันฝนและแดดสองโดยตรงระหวางรับและสงสินคา

(๒) ตองมีอุปกรณทําความสะอาดภาชนะบรรจวุัตถุดิบ วัสดกุารบรรจุที่สงเขามา กอนนาํไป

จัดเก็บ เชน เครื่องเปา (compressed air) เครื่องดูดฝุน หรือผาชื้นสําหรับเช็ดฝุน

(๓) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการรับ ตรวจ และทําความสะอาดภาชนะบรรจุวัตถดุิบ

วัสดุการบรรจุที่สงเขามา กอนนําไปจัดเก็บ

หมายเหต ุ -

ขอ ๕๑ สินคาในสถานะกักกัน ใหจัดเก็บในบริเวณแยกตางหาก บริเวณนี้ตองบงชี้ใหชัดเจน และผูที่

ไดรับมอบหมายเทานั้นที่สามารถเขาสูบริเวณนี้ได ระบบอื่นที่ใชแทนการกักกันทางกายภาพตองใหระดับการ

ปองกันที่เทาเทียมกัน

คําอธิบาย (๑) ตองมีหองหรือบริเวณกักกันแยกเฉพาะ และสามารถปองกันผูที่ไมไดรับมอบหมายเขา

บริเวณนี้ หรือมีระบบอื่นที่ใชแทนการกักกันทางกายภาพ เชน location control by computer ที่ตองมีระดับ

การปองกันเทาเทียมกัน

(๒) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการเก็บรักษาวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ และผลิตภัณฑยา

สําเร็จรูป ที่ตองระบุในเรื่องสินคาในสถานะกักกัน ใหจัดเก็บในบริเวณแยกตางหาก ซึง่บริเวณนี้ตองบงชี้ให

ชัดเจน หมายเหต ุ

ไมมีมาตรการในการแยกสินคาในสถานะกักกันตามคําอธบิายขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒ ตองมีบริเวณแยกตางหากสําหรับการสุมตัวอยางวัตถุดิบ ถาทําการสุมตัวอยางในบริเวณ

จัดเก็บ ตองทําโดยมีการปองกันการปนเปอนและการปนเปอนขาม

คําอธิบาย (๑) ควรมีหองสุมตัวอยางโดยเฉพาะที่มีระดับความสะอาดเทากับบริเวณผลิต และมีมาตรการ

การปองกันการปนเปอน เชน dispensing booth หรือ ตู laminar air flow ที่มีระบบกาํจัดฝุนที่เหมาะสม

Page 33: ร่าง GMP 07

๒๙

(๒) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการสุมตัวอยางวัตถุดิบ หมายเหต ุ

การสุมตัวอยางโดยไมมีมาตรการการปองกันการปนเปอน หรือไมมบีริเวณแยกตางหากสําหรับการ

สุมตัวอยาง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๓ ตองมีบริเวณแยกตางหากสําหรับการจัดเก็บวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ หรือผลิตภัณฑที่ไมผาน

ขอกําหนด ผลิตภัณฑเรียกคืน หรือผลิตภัณฑสงคืน

คําอธิบาย (๑) ควรมีพื้นที่ที่ปองกันการสูญหายหรือนําไปใชโดยไมไดรับอนุญาตสําหรับการจัดเก็บวัตถุดิบ/

วัสดุการบรรจุ/ผลิตภัณฑที่ไมผานขอกําหนด ผลิตภัณฑเรียกคืน ผลิตภัณฑสงคืน และมีมาตรฐานวิธีการ

ปฏิบัติที่เกี่ยวของ รวมทั้ง log book สําหรับควบคุม

(๒) สําหรับผลิตภัณฑสงคืนที่อยูระหวางการตรวจสอบ รวมทัง้วัตถุดิบที่รอสงคืนผูสงมอบ ตอง

จัดเก็บในสภาวะตามที่กําหนดไวในฉลาก หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๔ วตัถุดิบหรือผลิตภัณฑที่ออกฤทธิ์แรงควรจัดเก็บในบริเวณที่มกีารรักษาความปลอดภัยที่

แนนหนา

คําอธิบาย (๑) ผลิตภัณฑที่ออกฤทธิ์แรง ไดแก วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท และยาเสพติดใหโทษ ตอง

จัดเก็บในสถานที่เก็บที่แนนหนา แข็งแรงและปลอดภัย ปองกันการนําไปใชโดยไมไดรับอนุญาต และมี

มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการจัดเก็บผลิตภัณฑดังกลาว รวมท้ังมี log book สําหรับควบคุม

(๒) สําหรับวัตถุไวไฟ และวัตถุที่ระเบิดงาย ตองมพีื้นที่จัดเก็บโดยเฉพาะที่แข็งแรงและปลอดภัย หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอ (๑) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๕ วัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลว ตองมีความถูกตองตรงกันกับผลิตภัณฑยา และเก็บ

รักษาในบริเวณที่มีการรักษาความปลอดภัยที่แนนหนา

คําอธิบาย (๑) ควรมีพื้นที่ที่ปองกันการสูญหายหรือนําไปใชโดยไมไดรับอนุญาตสําหรับการจัดเก็บวัสดุการ

บรรจุที่พิมพขอความแลว เชน ฉลากยา กลองที่พิมพขอความแลว เอกสารกํากับยา หลอดอะลูมิเนียมหรือ

ฟอยลที่พิมพขอความแลว และมีมาตรฐานวธิีการปฏิบัติสําหรับการรับ/จายและมีบันทึกการปฏิบัติดังกลาว

(๒) ฉลากยา/กลองยาที่พิมพ lot number แลวตองมีการแยกเก็บเปนสัดสวน เพื่อปองกันการ

สับสนและปะปนกัน และมีบันทึกควบคุมการเบิกจายหรือบนัทึกการใช

Page 34: ร่าง GMP 07

๓๐

หมายเหต ุไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอ (๑) และ ขอ (๒) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

บริเวณควบคุมคุณภาพ ขอ ๕๖ หองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ ตองแยกจากบริเวณการดําเนินการผลิต โดยเฉพาะอยาง

ยิ่งหองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพชีววัตถุ จุลชวีวิทยา และไอโซโทปกมัมันตรังสี ซึ่งแตละหองตองแยกจากกันดวย

คําอธิบาย - หมายเหตุ

หองควบคุมคณุภาพไมแยกออกจากบริเวณผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

หองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพชีววัตถุ จุลชวีวิทยา และไอโซโทปกมัมันตรังสี ไมแยกจากกัน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๗ หองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ ควรออกแบบใหเหมาะสมกับการดําเนินการ มพีื้นที่เพียง

พอที่จะไมทําใหเกิดการปะปนและการปนเปอนขาม มีบริเวณสําหรับจัดเก็บตัวอยางและจัดเก็บบนัทึกได

อยางเหมาะสมเพียงพอ

คําอธิบาย (๑) ตองมีการควบคุมความสะอาด และระบบอากาศตามความเหมาะสม เชน หองปฏบิัติการ

ควบคุมคุณภาพ ใชระบบปรับอากาศแบบ split type ได ตองมี hood เพื่อใชในการดดูกลิ่นหรือไอระเหยของ

สารเคมี มี safety shower และ eye wash ติดตั้งอยู หองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพชีววัตถุ จุลชีววทิยา

และไอโซโทปกมัมันตรังสี ตองมีระบบอากาศแยกตางหากโดยเฉพาะ อาจตองใช ระบบ HVAC โดยเฉพาะ

หองทํา sterility test (class A ใน B) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการแตงกาย และการปฏบิตัิตัวใน

หองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ แตละชนิด มี log book ในการใชหองปฏิบัติการควบคมุคุณภาพชวีวตัถุ จุล

ชีววิทยา และไอโซโทปกัมมันตรังสี ซึ่งแตละหองตองแยกจากกันดวย

(๒) หองแยกเปนสัดสวน มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการจัดเก็บและควบคุมตัวยาง,

มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการจัดเก็บและควบคุมสารเคมี, reference standard, จุลชีวะ, มาตรฐาน

วิธีการปฏบิัติสําหรับการจัดเก็บและบํารุงรักษาอุปกรณและเครื่องมือตางๆ ในหองปฏิบตัิการควบคุมคุณภาพ,

มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการ operate, and clean, calibrate and maintenance อุปกรณและ

เครื่องมือตางๆ ในหองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ

(๓) แยกพื้นที่และระบบอากาศที่สามารถปองกันการปนเปอนจากสถานที่ควบคุมคุณภาพ

ยาสูบริเวณการผลิตยาและบริเวณที่ใชในการเก็บยาและวัสดุอื่นๆ

(๔) เนื้อที่ การออกแบบ การจัดวางวัสดุเหมาะสม มีความสะอาดและเปนระเบียบ พืน้ ผนังเพดาน

ทําความสะอาดงาย สําหรับวัสดุอุปกรณที่ใชในหองปฏบิัติการทางชีววทิยาและจุลชีววิทยาใหใชชนดิที่ทํา

ความสะอาดไดงายไมสะสมฝุนละอองและจุลินทรีย

Page 35: ร่าง GMP 07

๓๑

(๕) มีตูสําหรับดูดควันและ/หรือระบบการระบายอากาศที่เหมาะสม สามารถกําจัดกลิน่ ควัน กาซ

ไอระเหยตางๆ และความชื้นอยางมีประสิทธภิาพ

(๖) การจัดแบงหองปฏิบัตกิารชีววิทยาและจุลชีววิทยา ควรจัดใหมีหองสําหรับเตรียมอาหารเลี้ยง

เชื้อ หองลางภาชนะและอปุกรณที่เกี่ยวของ หองทดสอบ toxicity (safety) แยกตางหาก รวมทั้งจัดแยกหอง

อื่นๆ ดังตอไปน้ี

หองวิเคราะหปริมาณตวัยาโดยวิธีทางจุลชีววทิยา

- มีหองสวมชุดปฏิบัติการกอนเขาหองปฏิบัตกิารโดยเฉพาะ หรือปฏิบัติการใน biohazard

safety cabinet

- มีตูสําหรับถายเชื้อ

หองตรวจสอบ microbial limit test

- มีหองสวมชุดปฏิบัติการกอนเขาหองปฏิบัตกิารโดยเฉพาะ

- มีตู LAF (laminar air flow)

- หองมีระดับความสะอาดอยางนอย class 100 000 โดยการตรวจสอบมาตรฐานทางดาน

จุลินทรีย หรือมีวิธีอื่นที่ใหผลเทาเทียมกัน

หองตรวจสอบ endotoxin โดยวิธี LAL

- มีหองโดยเฉพาะ อาจใชหองรวมกับหองตรวจสอบ microbial limit test

หองตรวจสอบความปราศจากเชื้อ

- มีหองเปลี่ยนเสื้อผากอนเขาหองตรวจสอบ

- มี pass box สําหรับสงวัสดุอุปกรณและตัวอยางยา

- หองมีระดับความสะอาดอยางนอย class 10 000 โดยตดิตั้ง HEPA filter กรองอากาศ

กอนเขาหอง

- หองมีความดนัอากาศเปน positive pressure อยางนอย ๐.๐๕ นิ้วน้าํ และติดตั้งอุปกรณ

สําหรับตรวจวดั

- มีตู LAF (laminar air flow) ซึ่งมีระดับความสะอาดอยางนอย class 100

หองทดสอบ pyrogen

- อยูหางจากเสียงรบกวน

- เปนหองปรับอากาศซึ่งอุณหภูมิเปล่ียนแปลงไมเกิน ๓ องศาเซลเซียส

หองเลี้ยงสัตวทดลอง

- แยกสถานที่ทางเขา-ออก และระบบอากาศ ออกจากหองอืน่ๆ และอยูหางจากเสียงรบกวน

- กรงขังกระตายเปนกรงขังเดี่ยวซึ่งสามารถทําความสะอาดไดงาย

- มีสถานที่เก็บอาหารสําหรับเล้ียงสัตวทดลองโดยเฉพาะ

หองพักกระตาย

- อยูติดกับหองทดสอบ โดยอณุหภูมิของหองตางจากหองทดสอบไมเกิน ๓ องศาเซลเซียส

Page 36: ร่าง GMP 07

๓๒

- กรณีหองเลี้ยงกระตายอยูติดกับหองทดสอบ โดยมีอุณหภมูิของหองตางจากหองทดสอบ

ไมเกิน ๓ องศาเซลเซียส ไมจําเปนตองมีหองพักกระตาย

หองปฏิบัติการที่มีเครื่องมือที่ใชในการควบคมุคุณภาพยาซึง่ใชในสภาวะพเิศษ

- มีเนื้อที่ การออกแบบ การจัดวางวัสดุเหมาะสม มีความสะอาดและเปนระเบียบ

- เครื่องมือสําหรับการควบคุมคุณภาพยา มีการควบคุมอุณหภูมิประมาณ ๒๕ องศา

เซลเซียส สําหรับเครื่องมือพิเศษบางชนิดใหมกีารควบคุมอณุหภูมิและความชื้นตามความจําเปน

- มีเครื่องควบคุมกระแสไฟฟาใหคงที่ตามความจําเปนของเครื่องมือแตละชนิด

- มีระบบการระบายอากาศที่เหมาะสม หมายเหต ุ

ออกแบบไมเหมาะสมกบังานที่ปฏิบัติ เชน ถาไมมีตู LAF สําหรับหองตรวจสอบ microbial limit test

หรือหองตรวจสอบ Sterility test หรือไมแยกหองวิเคราะหปริมาณตัวยาโดยวิธีทางจลุชีววิทยา ถอืเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการควบคุมระบบอากาศที่เหมาะสม เชน ไมม ี hood ดูดสารที่เปนไอระเหย ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ไมมี safety shower และ eye wash ติดตั้งอยู ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๘ เครื่องมือที่มีความไวตอการสั่นสะเทือน การรบกวนของกระแสไฟฟา ความชื้น และอื่นๆ

ควรมีหองแยกตางหาก

คําอธิบาย (๑) หองแยกเปนสัดสวน มีการควบคุมการสั่นสะเทือน มีการควบคุมอณุหภูม ิ ความชื้น ติดตั้ง

Electrical stabilizer เพื่อปองกันการรบกวนของกระแสไฟฟา

(๒) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการจัดเก็บและบํารุงรักษาเครื่องมือท่ีมีความไวตอการ

ส่ันสะเทือน การรบกวนของกระแสไฟฟาและความชื้น หมายเหต ุ

เครื่องมือที่มีความไวตอการส่ันสะเทือน การรบกวนของกระแสไฟฟา และความชื้น ไมมหีองแยก

ตางหาก ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

ขอ ๕๙ ตองมีขอกําหนดเฉพาะของหองปฏิบัติการที่ใชสําหรับสารบางชนิด ตัวอยางเชน สารชวี

วัตถุ หรือวัสดุกัมมันตรังสี

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

บริเวณอื่นๆ ขอ ๖๐ หองพกัผอน ตองแยกออกจากบริเวณอื่นๆ

Page 37: ร่าง GMP 07

๓๓

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๖๑ หองเปลี่ยนเสื้อผา อางลางมือ และสุขา มีจาํนวนเพียงพอสําหรับผูใช หองสุขาไมควรอยูติด

กับบริเวณการดําเนินการผลิตและบริเวณจัดเก็บ

คําอธิบาย (๑) อางลางมือ และสุขา มจีํานวนเพียงพอสําหรับผูใช โดยเปนไปตามเกณฑของกรมโรงงาน

อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ดังนี้

หองน้ํา หองสวมมจีํานวนมากเพียงพอกับจาํนวนพนักงานภายในโรงงาน โดยมจีํานวนหองสวม ที่

ปสสาวะ สถานที่ทําความสะอาดรางกายตามกฎกระทรวงฉบับท่ี ๒ ของ พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕

(กระทรวงอุตสาหกรรม)

หองสวม โถปสสาวะ อางลางมอื

๑-๑๕ คน ๑ ๑ ๑

๑๖-๔๐ คน ๒ ๒ ๒

๔๑-๘๐ คน ๓ ๓ ๓

และคนงานที่เพิ่มขึ้นอีกทุก ๕๐ คน จะเพิม่จํานวนอีกอยางละ ๑ ที่ สําหรับโรงงานที่มีคนงานชายและหญิง

รวมกันมากกวา ๑๕ คน ใหจัดสวมแยกสําหรับคนงานหญิงตามอัตราสวนขางตนดวย นอกจากนี้หองน้ําหอง

สวมตองไมอยูภายในบริเวณผลิตหรือบริเวณเปลี่ยนเสื้อผา

(๒) หองสุขาตองไมเปดเขาโดยตรงกับบริเวณการดําเนินการผลิตและบริเวณจัดเก็บ และพนักงาน

ตองไมสวมชุดปฏิบัติงานเขาหองสุขา

(๓) สถานที่เปล่ียนเสื้อผาควรแยกหองชาย/หญิงและกอนเขาสูบริเวณเปลี่ยนเสื้อผาสะอาดใหผาน

แอรล็อค หรือหองเปลี่ยนเสื้อผาที่ใสมาจากบานกอน ระดับความสะอาดของหองเปลี่ยนเสื้อผา ใหมคีวาม

สะอาดระดบัเดียวกับสถานที่ที่จะเขาไปปฏิบตัิงาน

- หองเปลี่ยนเสื้อผาอาจแบงเปน ๑) หองเสื้อผาที่ใสมาจากบาน ๒) หองเสื้อผา

สะอาด หรือแบงบริเวณไมสะอาดกับบริเวณสะอาด โดยบริเวณไมสะอาดเปนบริเวณที่พนักงานใสรองเทามา

จากบานสามารถเขามาไดส้ินสุดแคบริเวณนี้ จากนั้นจึงทาํการเปลี่ยนรองเทาเปนรองเทาภายในโรงงานกอน

เขาสูบริเวณสะอาด เพื่อเปล่ียนเสื้อผาเปนชุดเฉพาะภายในบริเวณผลิตยา

- ตองจัดใหมีตูล็อคเกอรเฉพาะสวนบุคคล สําหรับเก็บชุดเสื้อผาที่ใสมาจากบาน

และของมีคาสวนบุคคลตาง ๆ กอนเขาสูบริเวณผลิตยา โดยแยกออกจากตูเก็บชุดเสื้อผาสะอาด

- ควรจัดใหมีกระจกเงาบานใหญที่สามารถมองเห็นไดทั้งตัว เพื่อตรวจดูความ

เรียบรอยของการแตงตัว

- จัดใหมีอางลางมือ น้ํายาทาํความสะอาดและน้ํายาฆาเชือ้ใหพนักงานไดลางทํา

ความสะอาด (ไมควรใชสบูชนดิกอน)

Page 38: ร่าง GMP 07

๓๔

หมายเหต ุไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอ (๒) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๖๒ หองสําหรับงานซอมบาํรุง ตองแยกจากบริเวณการดําเนินการผลิต หากเก็บอะไหลหรือ

อุปกรณการบาํรุงรักษาในบริเวณการดําเนินการผลิต ตองเก็บในหองหรือตูเก็บของที่จัดไวเฉพาะ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

หองสําหรับงานซอมบํารุง ไมแยกจากบริเวณการดําเนินการผลิต ยกเวนกรณีการซอมบาํรุง

เครื่องจักรที่ไมสามารถยกออกจากบริเวณการดําเนินการผลิตได ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๖๓ สถานที่เล้ียงสัตว ตองแยกตางหากจากบริเวณอื่น รวมถึงตองมีทางเขาของสัตวและระบบ

อากาศแยกตางหาก

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

สถานที่เล้ียงสัตว ไมแยกบริเวณ ทางเขาออก และระบบอากาศตางหากจากบริเวณอื่น ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

เครื่องมือ ขอ ๖๔ เครื่องมือการผลิต ตองออกแบบ จัดวาง และบาํรุงรักษาใหเหมาะสมสําหรับจุดมุงหมาย

การใช

คําอธิบาย (๑) มีการทํา qualification ของเครื่องมือการผลติ, มีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับ operating,

cleaning, maintenance and/or calibration และมี log book ประจาํเครื่อง

(๒) ควรมีบัญชีรายชื่อเครื่องมือ แผนการบํารุงรักษาเชิงปองกันและบนัทึกการบํารุงรักษา

(preventive maintenance) หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับ operating, cleaning, maintenance and/or calibration และไม

มีบันทึกการปฏบิัติของเครื่องมือการผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีแผนการบาํรุงรักษาเชิงปองกันและบันทึกการบํารุงรักษา (preventive maintenance) ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๖๕ การซอมแซมและบาํรุงรักษา ตองไมทําใหเกิดอันตรายตอคุณภาพของผลิตภัณฑ

คําอธิบาย (๑) ควรทําในขณะที่ไมมีการผลิตยา หรือทําที่หองซอมบํารุง มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับ

การทําความสะอาดเครื่องหลังจากการซอมแซมและบาํรุงรักษา

Page 39: ร่าง GMP 07

๓๕

หมายเหต ุ -

ขอ ๖๖ เครื่องมือการผลิต ตองออกแบบใหลางไดงายและสะอาดอยางทั่วถึง การทําความสะอาด

ตองปฏิบัติตามวิธีการปฏบิัติที่เขียนไว ภายหลังจากทําความสะอาดแลวใหเก็บไวในสภาวะที่สะอาดและแหง

คําอธิบาย (๑) ควรออกแบบไมใหมจีุดอับ (dead leg) รอยตอเชื่อมและพื้นผิวภายในตองเรียบ ไมเปนที่

สะสมของฝุนและสิ่งสกปรก

(๒) ตองมีการทํา cleaning validation, มีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับ cleaning, มีหองลาง

อุปกรณและเครื่องมือ มีวิธีทําใหแหง เชน การเปาดวย clean compressed air สําหรับอปุกรณและเครื่องมือ

ที่สะอาดและแหงแลวตองหอหุมเพื่อปองกันการปนเปอนและควรเก็บในหองที่สะอาด

(๓) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการดูแลอุปกรณและเครื่องมือท่ีสะอาดและแหงแลว ซึ่ง

รวมถึงปายระบสุถานะและระยะเวลานานที่สุดที่เก็บได กอนนําไปทําความสะอาดซ้ํา

(๔) อุปกรณที่ผานการทําความสะอาดแลว เชน punch dies และ mould ควรจัดเก็บในบรเิวณ

หรือหองที่ควบคุมความสะอาด หมายเหต ุ

อุปกรณและเครื่องมือที่ทําความสะอาดแลว เก็บในบริเวณที่ไมมีการควบคุมความสะอาด หรือไมมี

มาตรการการปองกันการปนเปอน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

อุปกรณหรือเครื่องมือที่ทําความสะอาดแลว แตพบวายังมีคราบสกปรกติดอยู ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

อุปกรณที่ทําความสะอาดยากและสัมผัสกับยาไมทํา cleaning validation ตามหมวด ๑๒ ขอ ๒๙๓-

๒๙๙ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

พนักงานไมปฏบิัติตามมาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการทําความสะอาดที่ผานการ validate แลว

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๖๗ ตองเลือกใชอุปกรณสําหรับการลางและทําความสะอาดที่ไมเปนแหลงกําเนิดของการ

ปนเปอน

คําอธิบาย (๑) ตองหมั่นเปล่ียนฟองน้ําและผาที่ใชทําความสะอาด และไมควรใชผาที่ปลอยเสนใยมาก เชน

ผาขนหนู

(๒) ควรมีหองสําหรับจัดเก็บอปุกรณสําหรับทําความสะอาด (janitor room)

(๓) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการทําความสะอาดอุปกรณทําความสะอาด รวมทั้งวิธกีาร

ทําใหแหง เชน อบผา

(๔) ในขั้นตอนทําใหอุปกรณการผลิตแหง หามใชผาเช็ด ควรใชวธิอีบหรือใช clean

compressed air

Page 40: ร่าง GMP 07

๓๖

หมายเหต ุ อุปกรณที่ใชทําความสะอาดเครื่องมือเปนแหลงสะสมสิ่งสกปรกและทําใหเกิดการปนเปอน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๖๘ ตองติดตั้งเครื่องมือในลักษณะที่ปองกันความเสี่ยงตอความผิดพลาดหรือการปนเปอน

คําอธิบาย (๑) ตัวอยางเชน ไมควรติดตั้งอุปกรณดูดฝุนหรือหัวจายอากาศใหอยูเหนือเครื่องมือการผลิต

โดยตรง หมายเหต ุ

อุปกรณที่ติดตั้งไมสามารถปองกันความผิดพลาดหรือการปนเปอน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๖๙ เครื่องมือการผลิต ตองไมกอใหเกดิอันตรายตอผลิตภัณฑ รวมถึงชิ้นสวนของเครื่องมือท่ีใช

ในการผลิตที่สัมผัสกับผลิตภัณฑตองไมเกิดปฏิกิริยา ปลอยสาร หรือดูดซบัสารจนเกิดผลตอคุณภาพ

ผลิตภัณฑ หรือทําใหเกิดอันตราย

คําอธิบาย (๑) โดยทั่วไป ใหใช stainless steel 304, 316 หรือ 316L ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของผลิตภัณฑ

หมายเหต ุเครื่องมือการผลิตกอใหเกิดอันตรายตอผลิตภัณฑ ชิ้นสวนของเครื่องมือท่ีใชในการผลิตที่สัมผัสกับ

ผลิตภัณฑเกิดปฏิกิริยา ปลอยสาร หรือดูดซบัสารจนเกิดผลตอคุณภาพผลิตภัณฑ หรือทําใหเกิดอันตราย ถือ

เปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๗๐ เครื่องชั่งและเครื่องวัด ตองมีชวงการใชงานและความแมนยําที่เหมาะสมสําหรับการ

ดําเนินการผลิตและการควบคุม

คําอธิบาย (๑) เครื่องชั่งหรือเคร่ืองวัดตองมีการกําหนดชวงการใชงาน และแสดงใหเห็นชัดเจน

หมายเหต ุ -

ขอ ๗๑ เครื่องชั่ง เครื่องวัด เครื่องบันทึก และเครื่องควบคุม ตองสอบเทียบและตรวจสอบใน

ชวงเวลาที่กําหนดไวดวยวิธีที่เหมาะสม ตองมีการเก็บรักษาบันทึกการทดสอบไว

คําอธิบาย (๑) ตองมีบัญชีรายชื่อเครื่องชั่ง เครื่องวัด เครื่องบนัทึก และเครื่องควบคุม โดยตองระบุรหัสหรือ

หมายเลขเครื่อง และตําแหนงที่ตั้งของเครื่อง รวมทั้งแผนการสอบเทียบและบันทึก (master calibration

program)

(๒) มี log book การใช มี daily weight checking สําหรับเครื่องชั่ง, มีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ

สําหรับ operating, cleaning and calibration และมีการเก็บ calibration record

Page 41: ร่าง GMP 07

๓๗

(๓) วิธีการสอบเทียบตองมีการอางอิงวิธีการสอบเทียบที่เปนมาตรฐานสากล เชน มาตรฐาน

สมอ. มาตรฐาน ASTM เปนตน

(๔) กรณีที่มีการสอบเทียบโดยหนวยงานภายนอก ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการ

สอบเทียบหรือเอกสารอางอิงวธิีการสอบเทียบที่เปนมาตรฐานสากล เชน มาตรฐาน สมอ. มาตรฐาน ASTM

เปนตน

(๕) ความถี่ของการสอบเทียบ ขึ้นกับการทํา impact assessment หรือปฏิบัติตามตัวอยาง ดังนี้

- จัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติและแผนการสอบเทียบ (calibrate) อุปกรณการผลิตที่ใชในการชั่ง

ตวง วัดอยางนอยปละ ๑ ครั้ง (ยกเวนเครื่องชั่งตอง calibrate อยางนอย ๓ เดือน/คร้ัง แตละวันกอนใชงาน

ตองมีการทํา daily check) และมีบันทึกการ calibrate เปนหลักฐานถูกตองตามหลักวิชาการและมีการอางอิง

(reference) ที่นาเชื่อถือไว

- จัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการสอบเทียบ และมีการสอบเทียบอุปกรณการวเิคราะหตาม

ความถี่ดังนี้

• pH meter ทุกครั้งที่ใชงาน

• เครื่องชั่งทุก ๓ เดือน และใหทํา daily check ในแตละวันกอนใชงาน

• UV-visible spectrophotometer ทุก ๑ ป

• HPLC ทุก ๑ ป และใหทํา system suitability กอนวิเคราะหยาทุกครั้ง

• อุปกรณอื่นๆ ตามความจําเปน แตอยางนอยปละ ๑ คร้ัง

- จัดใหมมีาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการทําความสะอาดอปุกรณการผลิตโดยระบุถึงวิธีการทํา

ความสะอาดสารหรืออุปกรณที่ใชในการทําความสะอาด และผูรับผิดชอบ หลังทําความสะอาดตามมาตรฐาน

วิธีการปฏบิัติสําหรับที่กําหนดตองจัดใหมีปายแสดงสถานะความสะอาดและมีการปองกันการปนเปอนดวย

- จัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการบํารุงรักษาและทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ตางๆ และบันทึกการปฏิบัติงานบํารุงรักษาไวเปนหลักฐาน หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ แผน และการบันทึกการสอบเทียบ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมปฏิบัติตามแผนและมาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการสอบเทียบ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๗๒ ทอทีต่ิดตั้งไว ตองมีการบงชี้ส่ิงที่อยูภายใน และทศิทางการไหลใหชัดเจน

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการบงชี้ส่ิงที่อยูภายในทอ และทิศทางการไหลที่ชัดเจน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๗๓ ทอน้าํกลั่น ทอน้ําบริสุทธิ์ และทอนํ้าชนิดอื่น ตองมีการกําจัดเชือ้ตามวิธีการปฏบิัติที่เขียนไว

ซึ่งตองมีรายละเอียดของขีดจํากัดปฏิบัติการสําหรับการปนเปอนจุลินทรีย และมาตรการที่ตองทํา

Page 42: ร่าง GMP 07

๓๘

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการ sanitization ระบบน้าํ และตองมีการตรวจสอบความ

ถูกตองของ sanitizing method

(๒) มีการกําหนด alert limit, action limit และการวิเคราะหแนวโนม (trend analysis)

(๓) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการดําเนินการ ในกรณีที่เกิน alert limit และ/หรือ

action limit หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอ (๑), (๒) และ (๓) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๗๔ เครื่องมือที่ชํารุด ตองนําออกไปจากบริเวณการดําเนินการผลิตและบริเวณการควบคุม

คุณภาพ หรืออยางนอยตองติดปายใหชัดเจนวาชํารุด

คําอธิบาย (๑) เครื่องมือที่ชํารุดหรือไมใชและสามารถนําออกจากบริเวณการดําเนินการผลิตและบริเวณ

การควบคุมคณุภาพได ใหนาํออกจากบริเวณนั้น

(๒) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการจัดการกบัเครื่องมือท่ีชํารุด

(๓) ในกรณีที่ไมสามารถนําเครื่องมือท่ีชํารุดออกจากบริเวณที่กาํหนดได ตองจัดใหมีปายระบุ

สถานะที่ชัดเจน และมีขอความแสดง “เครื่องมือชาํรุด หามใชงาน” ผูแจงซอม วันที่แจงซอม

หมายเหต ุนําเครื่องมือชํารุดที่พิสูจนแนชัดแลววาชํารุดซึง่มีผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑและเกิดความ

เส่ียงตอผูปวยไปใช เชน เครื่องมือในระบบการผลิตยาปราศจากเชื้อ (laminar flow, ระบบ vacuum ของ

saturated steam autoclave) ถือเปนขอบกพรองรายแรง

นําเครื่องมือชํารุดที่พิสูจนไดไมแนชัดวาสงผลตอคุณภาพตอผลิตภัณฑมาใช ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

Page 43: ร่าง GMP 07

๓๙

หมวด ๔ การดําเนินการดานเอกสาร

หลักการ การดําเนินการดานเอกสารที่ดีเปนสวนประกอบที่สําคัญของระบบประกันคุณภาพ เอกสารที่เขียน

อยางชัดเจนจะปองกันขอผิดพลาดจากการสื่อสารดวยการพูด และทําใหสามารถสอบกลับถึงประวัติของการ

ผลิตยาแตละรุนได

ขอกําหนด สูตรตํารับ และคําแนะนําการผลิต วิธีการปฏบิัติและบันทึก ตองจัดทําเปนลายลักษณ

อักษรโดยไมมขีอผิดพลาด เอกสารที่ชัดเจนอานงายเปนสิ่งที่สําคัญมาก

ขอกําหนดทั่วไป

ขอ ๗๕ เอกสาร ตองออกแบบ จัดทํา ทบทวน และแจกจายอยางระมัดระวัง มีความถูกตองหรือ

สอดคลองตรงกับเอกสารในสวนที่เกี่ยวของกับการผลิตและทะเบียนตํารับยา

ขอ ๗๖ เอกสาร ตองมกีารรับรอง ลงลายมือชื่อและวันที่โดยผูที่ไดรับมอบหมาย

ขอ ๗๗ เอกสาร ตองไมมีขอความที่คลุมเครือ ตองระบุชื่อเร่ือง ชนิด และวัตถุประสงคอยาง

ชัดเจน ตองจดัรูปแบบใหเปนระเบียบและตรวจสอบไดงาย การทําสําเนาเอกสารตองใหชัดเจนและอานงาย

รวมทั้งตองไมใหมีขอผิดพลาดเกิดขึ้นในกระบวนการทําสําเนาจากเอกสารตนฉบับ

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการกําหนดขั้นตอน อํานาจหนาที่ในการอนุมัติ เปล่ียนแปลง

ทบทวน ยกเลิก และแจกจายเอกสาร

(๒) หามเจตนาบันทึกขอมูลอันเปนเท็จ

(๓) เอกสาร หมายถึง ขอกําหนด สูตรแมบท สูตรตํารับ คําแนะนําการผลิต วิธีการปฏบิตัิ ที่เปนลาย

ลักษณอักษร และบันทึกการปฏิบตัิงาน หมายเหต ุ

(๑) ถาการแกไขไมไดรับการอนุมตัิจากผูรับผิดชอบ หรือแกไขโดยไมแจงผูเกี่ยวของทราบเปนลาย

ลักษณอักษร ถอืเปนขอบกพรองรายแรง

(๒) ถาตรวจพบวามีเจตนาบันทึกขอมูลสําคัญอนัเปนเท็จ เชน ปริมาณการผลิต รุนผลิต ขอมูลการ

ใชวัตถุดิบ วัสดสํุาหรับการบรรจุ ขั้นตอนการผลิต และผลิตภัณฑสําเร็จรูป ถอืเปนขอบกพรองรายแรง ถาไมใช

ขอมูลสําคัญ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๗๘ เอกสาร ตองมีการทบทวนอยางสม่ําเสมอและเปนปจจบุัน เมื่อมีการปรบัปรุงเอกสาร

ตองมีระบบการดําเนินการเพื่อปองกันไมใหมีการนําเอกสารที่ยกเลิกแลวมาใช

Page 44: ร่าง GMP 07

๔๐

คําอธิบาย (๑) ในบริเวณปฏิบตัิงาน ตองมีเอกสารฉบับใชงานที่เปนปจจุบันเทานั้น ตองนําเอกสารที่ไมใชแลว

หรือยกเลิก ออกจากบริเวณปฏิบัติงาน

(๒) เอกสารที่ยกเลิกถาจําเปนตองเก็บไว ใหทําเครื่องหมายใหชดัเจน

(๓) การทบทวนเอกสารใหทันสมัย ควรกําหนดอยางนอยทุก ๓ ป หมายเหต ุ

มีเอกสารที่ไมไดใชแลวหรือเอกสารที่ยกเลิกการใชงาน โดยไมมีเครื่องหมายแสดงวายกเลิก อยูใน

บริเวณปฏิบัติงาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมเก็บเอกสารที่พิมพเปนลายลักษณอักษรเกี่ยวของกับการผลิตยาไวอยางนอย ๕ ป ถอืเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๗๙ เอกสาร ตองไมเขียนดวยลายมือ ถาเอกสารที่ตองมีการลงบันทึกขอมูลดวยการเขียน ให

ใชหมึกถาวรเขียนใหชัดเจน อานงาย รวมทั้งตองเวนชองวางสําหรับการลงบันทึกใหเพียงพอ

ขอ ๘๐ การแกไขในบันทึก ตองลงลายมือชือ่และวันทีก่ํากับการแกไข ตองใหอานขอมูลเดิมได ถา

จําเปนตองบันทึกเหตุผลการแกไขไวดวย

ขอ ๘๑ ตองลงบันทึกใหสมบูรณเมื่อปฏิบัติงานแตละอยางเสร็จส้ิน การบันทึกกิจกรรมสําคัญที่

เกี่ยวของกับการผลิตผลิตภัณฑยาตองสอบกลับได และตองเก็บบันทึกเหลานี้ไวอยางนอย ๑ ป หลังจากวัน

ส้ินอายุของผลิตภัณฑสําเร็จรูป

ขอ ๘๒ ขอมูลอาจบันทกึโดยระบบอิเล็กทรอนิกส การถายรูป หรือวิธีอื่นที่นาเชื่อถือ ตองมีราย

ละเอียดของวิธกีารปฏิบัติที่เกี่ยวของกับระบบท่ีใช และตองตรวจสอบความถูกตองแมนยําของการบนัทึกได

(ดูหมวด ๑๙)

การดําเนินการดานเอกสารโดยวิธีอิเล็กทรอนิกส ผูที่ไดรับมอบหมายเทานั้นที่สามารถเขาถึงหรือ

เปล่ียนแปลงขอมูลในคอมพิวเตอร และตองมีบันทึกการเปลี่ยนแปลงและการลบขอมูล ตลอดจนการเขาถึง

ขอมูลไดตองจาํกัดดวยรหัสผานหรือวิธีการอืน่ และผลของการปอนขอมูลวิกฤตตองไดรับการตรวจสอบโดย

บุคคลอื่นอยางเปนอิสระ

การเก็บบันทึกการผลิตดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส ตองปองกันการสูญหายของขอมูลโดยการถายขอมูล

สํารองลงในแถบแมเหล็ก ไมโครฟลม กระดาษ หรือวิธีอื่น ทั้งนี้ ตองมีขอมูลที่พรอมแสดงไดตลอดชวงเวลา

การเก็บรักษา

คําอธิบาย

มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการบันทึกเอกสารที่เกี่ยวของกับการผลิต หมายเหต ุ ไมเก็บขอมูลบนัทึกการผลิตไวอยางนอย ๑ ป หลังวันสิ้นอายุของผลิตภัณฑสําเร็จรูป ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

Page 45: ร่าง GMP 07

๔๑

ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของระบบการบันทึกขอมูลดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส การถายรูป หรือวิธี

อื่นที่นาเชื่อถือ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการบันทึกเอกสารที่เกี่ยวของกับการผลิต ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอกําหนด ขอ ๘๓ ตองมีขอกําหนดที่ไดรับการอนุมัติและลงวันที่กํากับไวสําหรับวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ

ผลิตภัณฑระหวางผลิต ผลิตภัณฑรอบรรจุ และผลิตภัณฑสําเร็จรูป

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีขอกาํหนดของวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ หรือยาสําเร็จรูป ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอกําหนดสําหรับวัตถุดิบและวัสดุการบรรจุ ขอ ๘๔ ขอกําหนดสําหรับวัตถุดิบและวัสดุการบรรจุปฐมภูมิหรือวัสดุสําหรับการบรรจุที่พิมพ

ขอความแลว อยางนอยตองประกอบดวย

(๑) ขอมูลของวัตถดุิบและวัสดุการบรรจุ ประกอบดวย

(ก) ชื่อที่กําหนดและรหัสอางอิงที่ใชภายใน

(ข) เอกสารอางอิง ตัวอยางเชน โมโนกราฟในเภสัชตํารับ

(ค) ผูสงมอบ (หมายถึง ผูขายหรือผูใหการบริการ) ที่ผานการรับรอง และ/หรือผูผลิตของ

ผลิตภัณฑ

(ง) ตัวอยางของวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลว

(๒) วิธีการสุมตัวอยางและการทดสอบ หรือเอกสารอางอิงวิธีการปฏบิัติ

(๓) ขอกําหนดเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พรอมดวยขีดจํากัดการยอมรับ

(๔) สภาวะการเก็บรักษา และขอควรระวัง

(๕) ระยะเวลานานที่สุดของการเก็บรักษากอนที่จะมีการตรวจสอบซ้ํา

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

มีรายละเอียดในขอกําหนดไมครบถวน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอกําหนดสําหรับผลิตภัณฑระหวางผลิตและผลิตภัณฑรอบรรจุ ขอ ๘๕ ตองจัดทําขอกาํหนดสําหรับผลิตภัณฑระหวางผลิตและผลิตภัณฑรอบรรจ ุ ในกรณีที่มี

การซื้อเขามา หรือสงออกขาย หรือกรณีที่มกีารใชขอมูลจากผลิตภัณฑระหวางผลิตในการประเมินผลิตภัณฑ

สําเร็จรูป

Page 46: ร่าง GMP 07

๔๒

ขอกําหนดนี้จะคลายคลึงกับขอกําหนดสําหรับวัตถุดิบหรือสําหรับผลิตภัณฑสําเร็จรูปตามความ

เหมาะสม

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีขอกาํหนดในกรณีที่มีการซื้อเขามา ถอืเปนขอบกพรองรายแรง

มีรายละเอียดในขอกําหนดไมครบถวน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอกําหนดสําหรับผลิตภัณฑสําเร็จรูป ขอ ๘๖ ขอกําหนดสําหรับผลิตภัณฑสําเร็จรูป อยางนอยประกอบดวย

(๑) ชื่อผลิตภัณฑตามที่ขึ้นทะเบียน และรหัสอางอิง (ถามี)

(๒) สูตรตํารับหรือเอกสารที่อางอิงถึง (๓) ขอมูลลักษณะรูปแบบของเภสัชภัณฑและรายละเอียดของภาชนะหีบหอ

(๔) วิธีการสุมตัวอยางและการทดสอบ หรือเอกสารอางอิงวิธีการปฏิบัต ิ

(๕) ขอกําหนดเชิงคุณภาพและเชงิปริมาณ พรอมดวยขีดจํากัดการยอมรับ

(๖) สภาวะการเก็บรักษา และขอควรระวังพิเศษ (ถามี)

(๗) อายุการใช

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

มีรายละเอียดในขอกําหนดไมครบถวน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

สูตรการผลิตและคําแนะนํากระบวนการผลิต สูตรการผลิตและคําแนะนํากระบวนการผลิต ตองจัดทําสําหรับแตละผลิตภัณฑ และแตละขนาดของ

รุนที่จะทําการผลิต เปนเอกสารที่ตองมีการอนุมัติอยางเปนทางการ เอกสารเหลานี้มักรวมเปนเอกสารชุด

เดียวกัน

ขอ ๘๗ สูตรการผลิต อยางนอยตองประกอบดวย

(๑) ชื่อผลิตภัณฑตามที่ขึ้นทะเบียนตํารับยา และรหัสอางอิงของผลิตภัณฑที่มีความสัมพันธกับขอ

กําหนดของผลิตภัณฑนี้

(๒) รูปแบบและลักษณะเภสัชภัณฑ ความแรงของผลิตภัณฑ และขนาดของรุนการผลิต

(๓) รายการของวัตถุดิบทุกชนิดที่ใช พรอมท้ังปริมาณของแตละชนิด เขียนโดยใชชือ่ท่ีกําหนดและ

รหัสอางอิงที่เฉพาะของวัตถุดบินั้น และตองระบุดวยวาสารใดบางที่อาจหายไประหวางกระบวนการผลิต

(๔) กําหนดผลผลิตที่คาดวาจะไดพรอมกับขีดจํากัดการยอมรับ และผลผลิตระหวางการผลิต (ถามี)

ขอ ๘๘ คําแนะนํากระบวนการผลิต อยางนอยตองประกอบดวย

Page 47: ร่าง GMP 07

๔๓

(๑) ระบุสถานที่ของกระบวนการผลิตและเครื่องมือหลักที่ใชในการผลิต

(๒) วิธีการหรืออางอิงวิธีการที่ใชสําหรับการเตรียมเครื่องมือท่ีสําคัญ ตัวอยางเชน การลาง การ

ประกอบอปุกรณ การสอบเทยีบ การทําใหปราศจากเชื้อ

(๓) รายละเอียดขั้นตอนกระบวนการผลิต ตัวอยางเชน การตรวจสอบวัตถดุิบ การเตรียมขั้นตน

ลําดับการเติมวัตถุดิบ เวลาผสม อุณหภมูิที่กาํหนด

(๔) การควบคุมระหวางกระบวนการ พรอมทั้งขีดจํากัดที่กําหนด

(๕) ขอกําหนดการจัดเก็บผลิตภัณฑรอบรรจุ รวมถึงภาชนะ ฉลาก และสภาวะพิเศษของการเก็บ

รักษา (ถามี)

(๖) ขอควรระวังพิเศษ

คําแนะนําการบรรจุ ขอ ๘๙ ตองมีคําแนะนําการบรรจุสําหรับผลิตภัณฑแตละชนิด ในเรื่องของขนาดและประเภท

ภาชนะบรรจุทีผ่านการอนุมัติอยางเปนทางการแลว ซึ่งประกอบดวยหรือมกีารอางอิงถึง ดังตอไปน้ี

(๑) ชื่อผลิตภัณฑตามที่ขึ้นทะเบียนตํารับยา

(๒) รูปแบบและลักษณะเภสัชภัณฑ และความแรง (ถาม)ี

(๓) ขนาดบรรจุแสดงเปนจํานวน น้ําหนัก หรือปริมาตรของผลิตภัณฑในภาชนะบรรจุสุดทาย

(๔) รายการของวสัดุการบรรจุทั้งหมดที่ตองการสําหรับขนาดของรุนการผลิต รวมทั้งปริมาณ ขนาด

และประเภท พรอมทั้งรหัส หรือหมายเลขอางอิงที่มีความสมัพันธกับขอกาํหนดของวัสดุการบรรจุแตละชนิด

(๕) ตัวอยางหรือสําเนาของวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลว และตัวอยางที่ระบุ ตําแหนงของการ

พิมพหมายเลขรุนและวันสิ้นอายุ

(๖) การตรวจสอบสถานที่และเครื่องมือกอนเริ่มการปฏิบัติงานวา ปราศจากสิ่งตกคาง หรือหลง

เหลือจากการผลิตครั้งกอน

(๗) การบรรยายวิธดีําเนินการบรรจุ รวมถึงเครื่องมือท่ีใช

(๘) รายละเอียดของการควบคุมระหวางกระบวนการบรรจ ุ พรอมทั้งคําแนะนําสําหรับการสุม

ตัวอยางและขดีจํากัดที่ยอมรับ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมจัดทําสูตรการผลิต คําแนะนํากระบวนการผลิตและการบรรจุ (เอกสารแมบท) ของยาทุกตํารับ

หรือตัวยาสําคัญ (active ingredient) ในเอกสารแมบทไมสอดคลองกับท่ีระบุในทะเบียนตํารับยา ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

รายละเอียดในเอกสารแมบทไมครบถวนตามขอกําหนดขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ตัวยาไมสําคัญ (inactive ingredient) ไมสอดคลองกับท่ีขึ้นทะเบียนตํารับยา หรือมหีัวขอและ

รายละเอียดไมครบถวนตามขอกําหนดขางตน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 48: ร่าง GMP 07

๔๔

บันทึกกระบวนการผลิต ขอ ๙๐ บันทึกกระบวนการผลิต ตองเก็บรักษาไวสําหรับผลิตภัณฑแตละรุนที่ทําการผลิต ซึ่งตอง

มีขอมูลตามสูตรตํารับและคําแนะนํากระบวนการผลิตที่ผานการรับรองครั้งลาสุด วิธีการจัดทําบันทึกนี้ตอง

ออกแบบใหหลกีเลี่ยงความผิดพลาดจากการคัดลอก และตองบันทึกหมายเลขของรุนที่จะทําการผลิตลงใน

บันทึกกระบวนการผลิต กอนที่จะเริ่มกระบวนการผลิต ตองบันทึกการตรวจสอบวาเครื่องมือและสถานที่ปฏิบัติงานไมมี

ผลิตภัณฑครั้งกอนหรือเอกสารหรือวัตถุดิบที่ไมเกี่ยวของตกคางหรือหลงเหลืออยู รวมท้ังเครื่องมือตองสะอาด

และเหมาะสมที่จะใชในระหวางกระบวนการผลิต ผูที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานแตละอยาง ตองลงลายมือ

ชื่อและวันที่ภายหลังจากเสร็จงานดังกลาว โดยตองบันทึกขอมูลดังตอไปน้ี

(๑) ชือ่ผลิตภัณฑตามที่ขึ้นทะเบียนตาํรับยา

(๒) วันและเวลา นับตั้งแตเร่ิมตนการผลิต ขั้นตอนที่สําคัญระหวางการผลิต จนกระทั่งการผลิตเสร็จ

ส้ินสมบูรณ

(๓) ระบุผูรับผิดชอบแตละขั้นตอนของการดําเนินการผลิต

(๔) ลายมือชื่อของผูปฏิบัติงานในแตละขั้นตอนสําคัญของการดําเนินการผลิต และตองมีลายมือชือ่

ของผูตรวจสอบในแตละขั้นตอนเหลานี้ ตัวอยางเชน การชั่ง

(๕) หมายเลขรุนและ/หรือหมายเลขควบคุมการวิเคราะห และปริมาณของวตัถุดิบแตละชนิดที่ชั่งจริง

รวมถึงหมายเลขรุนและปรมิาณของวัตถุดบิที่นํากลับมาใชใหม หรือนํามาผานกระบวนการใหมที่ผสมเขาไปดวย

(๗) กระบวนการผลิตอยางละเอียดและเครื่องมือหลักที่ใช (๘) บันทึกของการควบคุมระหวางกระบวนการผลิต ลายมือชือ่ของผูปฏิบัติและผลการควบคุมที่ได

(๙) ปริมาณผลผลิตที่ไดในแตละขั้นตอนของกระบวนการผลิต

(๑๐) บันทึกปญหาที่เกิดขึ้นพรอมทั้งรายละเอียด และลายมือชื่อผูอนุมตัิความเบี่ยงเบนไปจากสูตร

การผลิตและคําแนะนํากระบวนการผลิตในกรณีที่ยอมรับได

คําอธิบาย - หมายเหตุ

ไมมีการจัดทําบันทึกกระบวนการผลิตของยาทุกรุน ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ตรวจพบวามีเจตนาบันทึกขอมูลสําคัญเปนเท็จ เชน ปริมาณการผลิต รุนการผลิต ขอมูลการใช

วัตถุดิบ วัสดุสําหรับการบรรจ ุขั้นตอนการผลิตและผลิตภัณฑสําเร็จรูป ถือเปนขอบกพรองรายแรง

การผลิตยามีสูตรตํารับไมสอดคลองกับท่ีระบุในเอกสารแมบท หรอืบนัทึกกระบวนการผลิตมี

รายละเอียดไมครบถวนและไมสามารถสอบกลับขอมูลได ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

บันทึกการบรรจุ ขอ ๙๑ ตองเก็บรักษาบันทึกการบรรจุของผลิตภัณฑแตละรุน หรือบางสวนของรุนในกรณีที่มีการ

บรรจุไมตอเนื่องกัน และตองมีขอมูลคําแนะนําการบรรจุ วิธีการจัดทําบนัทึกการบรรจุตองออกแบบใหหลีก

Page 49: ร่าง GMP 07

๔๕

เล่ียงความผิดพลาดจากการคัดลอก และตองบันทึกหมายเลขรุน ปริมาณของผลิตภัณฑรอบรรจุที่จะทําการ

บรรจุ และปรมิาณของผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่คาดวาจะได

กอนที่จะเริ่มทําการบรรจุ ตองบันทึกการตรวจสอบวาเครื่องมือและสถานที่ปฏิบัติงาน ไมมีผลิตภัณฑ

ครั้งกอนหรือเอกสารหรือวัตถุดิบที่ไมเกี่ยวของตกคางหรือหลงเหลืออยู รวมถึงเครื่องมือตองสะอาดและ

เหมาะสมที่จะใชในระหวางการบรรจุ ผูที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานแตละอยาง ตองลงลายมือชือ่และวันที่

ภายหลังจากเสร็จงานดังกลาว โดยตองบันทึกขอมูลดังตอไปนี้

(๑) ชือ่ผลิตภัณฑตามที่ขึ้นทะเบียนตํารับยา

(๒) วันและเวลาการบรรจุ (๓) ชือ่ผูรับผิดชอบแตละขั้นตอนของการบรรจุ

(๔) ลายมอืชือ่ของผูปฏิบัติงานในแตละขั้นตอนการบรรจ ุ

(๕) บันทึกการตรวจสอบเอกลักษณและความถูกตองตรงกันกับคําแนะนําการบรรจุ รวมถึงผลของ

การควบคุมระหวางกระบวนการบรรจ ุ

(๖) รายละเอียดของวิธีการบรรจุ เครื่องมือ และสายการบรรจุที่ใช

(๗) ตัวอยางของวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลว ซึ่งระบุหมายเลขรุน วันสิ้นอายุ และอืน่ ๆ ที่พิมพ

เพิ่มเติม

(๘) บันทึกปญหาที่เกิดขึ้นพรอมท้ังรายละเอียด และลายมือชื่อผูอนุมตัิความเบี่ยงเบนไปจากสูตร

การผลิตและคําแนะนํากระบวนการผลิตในกรณีที่ยอมรับได

(๙) ปริมาณและหมายเลขอางอิงหรือการบงชี้ของวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลวทกุชนิดและ

ผลิตภัณฑรอบรรจุที่รับมา ใชไป ทําลาย หรือสงคืนคลัง เพื่อการตรวจสอบ ความสอดคลองของปริมาณ

ทั้งหมดกับปริมาณของผลิตภัณฑที่บรรจุได

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ตรวจพบวามีเจตนาบันทึกขอมูลสําคัญอันเปนเท็จ เชน ปริมาณการบรรจ ุ รุนการผลิต ขอมูลการใช

วัสดุสําหรับการบรรจุ ขั้นตอนการบรรจุ เปนตน หรือมีการปลอยผานยาสําเร็จรูปไปจําหนาย กอนที่จะทราบ

ผลวิเคราะห ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีการจัดทําบันทึกการบรรจุของยาทุกรุน ถือเปนขอบกพรองรายแรง

บันทึกการบรรจุมีรายละเอียดไมครบถวนและไมสามารถสอบกลับขอมูลเกี่ยวกับการบรรจไุด ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

วิธีการปฏิบัติและบันทึก การรับ ขอ ๙๒ ตองเขียนวิธีการปฏิบัติและบันทึกสําหรับการรับแตละครั้งของวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุปฐมภูมิ

และวัสดุสําหรับการบรรจุที่พมิพขอความแลว

Page 50: ร่าง GMP 07

๔๖

ขอ ๙๓ บันทึกการรับ อยางนอยตองประกอบดวย

(๑) ชือ่ของวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุ ในใบสงของและบนภาชนะบรรจุ

(๒) ชือ่ “ที่ใชในโรงงาน” และ/หรือรหัสของวัตถุดิบ/วัสดุการบรรจุ (ถาแตกตางจากขอ (๑))

(๓) วันที่รับ

(๔) ชื่อผูสงมอบและ/หรือชือ่ของผูผลิต

(๕) หมายเลขรุนการผลิตของผูผลิตหรือหมายเลขอางอิง (๖) ปริมาณทั้งหมดและจํานวนของภาชนะบรรจทุี่รับ

(๗) หมายเลขรุนที่ใหหลังจากการรับ

(๘) ขอสังเกตที่เกี่ยวของ ตัวอยางเชน สภาพของภาชนะบรรจ ุ

ขอ ๙๔ ตองเขียนวิธีการปฏิบัติสําหรับการปดฉลาก การกักกัน และการจัดเก็บวัตถุดิบ วัสดุการ

บรรจุ และวัสดอุื่นตามความเหมาะสม

คําอธิบาย มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการรับและการปดฉลากของวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุปฐมภูม ิ และวัสดุ

สําหรับการบรรจุที่พิมพขอความแลว หมายเหต ุ ไมจัดทํามาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการรับและการปดฉลากของวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุปฐมภูมิ

และวัสดุสําหรับการบรรจุที่พมิพขอความแลว ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีการบันทึกการรับ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การสุมตัวอยาง ขอ ๙๕ ตองเขียนวิธีการปฏิบัติสําหรับการสุมตัวอยาง ซึ่งประกอบดวยผูที่ไดรับมอบหมายใหทํา

การสุมตัวอยาง วิธีการสุมตัวอยางและอปุกรณที่ใช ปริมาณตัวอยางที่เก็บ และขอควรระวังที่ตองสังเกต เพื่อ

หลีกเลี่ยงการปนเปอนหรือการเสื่อมคุณภาพของวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุ (ดูเพิ่มเติมในหมวด ๖ ขอ

๑๗๘)

คําอธิบาย ดูรายละเอียดการสุมตัวอยางในหมวด ๑๐ หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการสุมตัวอยาง ถอืเปนขอบกพรองรายแรง

การทดสอบ ขอ ๙๖ ตองเขียนวิธีการปฏิบัติสําหรับการทดสอบวัตถุดิบและ/หรือวสัดุการบรรจุ และผลิตภัณฑ

ในแตละขั้นตอนของการผลิต ซึ่งอธบิายถงึวิธีการและเครื่องมือท่ีใช รวมทั้งตองบันทึกผลการทดสอบ (ดู

เพิ่มเติมในหมวด ๖ ขอ ๑๘๔)

Page 51: ร่าง GMP 07

๔๗

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการทดสอบขางตน ถอืเปนขอบกพรองรายแรง

อ่ืนๆ ขอ ๙๗ ตองเขียนวิธีการปฏิบัติในการปลอยผานและไมผาน สําหรับวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการ

บรรจุ รวมถึงผลิตภัณฑ โดยเฉพาะการปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูปสําหรับจําหนาย โดยผูที่ไดรับมอบหมาย

ใหทําหนาที่นี้

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการปลอยผานและไมผาน ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๙๘ ตองเก็บรักษาบันทึกของการจําหนายผลิตภัณฑแตละรุน เพื่อเปนขอมูลในกรณีมีเหตุ

จําเปนที่ตองเรียกคืนผลิตภัณฑรุนนั้น (ดูเพิ่มเติมในหมวด ๘)

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมเก็บบันทึกของการจําหนายผลิตภัณฑแตละรุน เพื่อเปนขอมูลในกรณีเรียกคืนผลิตภัณฑ ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

ขอ ๙๙ ตองเขียนวิธีการปฏิบัติและบันทึกการดําเนินการที่เกี่ยวของหรือขอสรุปที่ได สําหรับ

(๑) การตรวจสอบความถูกตอง

(๒) การประกอบเครื่องมือและการสอบเทียบ

(๓) การบํารุงรักษา การทําความสะอาด และ การกําจัดเชื้อ

(๔) เร่ืองเกี่ยวกับบุคลากร ซึ่งรวมถึงการฝกอบรม การแตงกาย สุขอนามัย

(๕) การตรวจติดตามสภาวะแวดลอม

(๖) การควบคุมสัตวและแมลง (๗) ขอรองเรียน

(๘) การเรียกคืนผลิตภัณฑ (๙) การคืนผลิตภัณฑ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติและบันทึกการดําเนินการ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๐๐ ตองมีวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการใชเครื่องมือหลกัของการผลิตและการทดสอบ

คําอธิบาย -

Page 52: ร่าง GMP 07

๔๘

หมายเหต ุไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๐๑ ตองจัดใหมีและเก็บรักษาสมดุบันทึกสําหรับเครื่องมือหลัก ในกรณีที่มีการตรวจสอบ

ความถูกตอง การสอบเทียบ การบาํรุงรักษา การทําความสะอาด หรอืการซอมแซม ตองมีการบันทึก ลง

ลายมือชื่อผูปฏบิัติงานและวันที่กํากับ

ขอ ๑๐๒ สมุดบันทึกตองบันทึกการใชเครื่องมือหลัก โดยเรียงตามลําดับการใชและบริเวณที่ใช

คําอธิบาย จัดใหมีสมุดบันทึก (log book) ตามรายละเอยีดขางตน สําหรับเครื่องมือหลักที่เกี่ยวของกับการผลิต

และการทดสอบ หมายเหต ุ ไมมีสมุดบันทึก (log book) ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 53: ร่าง GMP 07

๔๙

หมวด ๕

การดําเนินการผลิต

หลักการ การดําเนินการผลิตตองทําตามวิธีการที่กําหนดไวอยางชัดเจน และตองถูกตองตามหลักการของ

หลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต เพื่อใหไดผลิตภัณฑที่มีคุณภาพตามที่กําหนดและเปนไปตามทะเบียน

ตํารับยา

ขอกําหนดทั่วไป ขอ ๑๐๓ การดําเนินการผลิตตองปฏิบัติและควบคุมโดยผูมีความรูความสามารถ

คําอธิบาย (๑) ประสบการณของหัวหนาฝายผลิต ใหดูรายละเอียดในหมวด ๒ ขอ ๑๒

(๒) พนักงานผูทําหนาที่ดําเนินการผลิตและควบคุมการผลิต ควรมีความรูพื้นฐานดานวิทยาศาสตร

ที่เกี่ยวของ เชน ความรูทางเคมี ชีววิทยา จุลชีววิทยา เภสัชวิทยา พิษวิทยา รวมท้ังมีทักษะ ประสบการณ และ

ผานการฝกอบรม หมายเหต ุ

(๑) หัวหนาฝายดําเนินการผลิตไมเปนเภสัชกร ถือเปนขอบกพรองสําคัญ (๒) ถาประสบการณของหัวหนาฝายดําเนินการผลิตไมเปนไปตามหมวด ๒ ขอ ๑๒ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ ขอ ๑๐๔ การจัดการทุกอยางเกี่ยวกับวตัถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจแุละผลิตภัณฑ ตัวอยางเชน

การรับและการกักกัน การสุมตัวอยาง การเก็บรักษา การติดฉลาก การเบิกจาย กระบวนการผลิต การบรรจ ุ

และการจําหนาย ตองทําใหถูกตองตาม (in accordance with) วิธีการปฏิบัติหรือคําแนะนําที่เขียนไว และ

ตองมีการบันทกึ

ขอ ๑๐๕ วัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจทุี่รับเขามาทุกครั้งตองตรวจสอบใหแนใจวาถูกตองตรงกับ

ที่ส่ังซื้อ ภาชนะบรรจุตองทําความสะอาดและมีฉลากที่มีขอมลูตามที่กําหนด

ขอ ๑๐๖ ภาชนะบรรจุที่เสียหายและมีปญหาอื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดผลที่ไมตองการตอคุณภาพของวัตถุ

ดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุ ตองสืบสวน บันทึก และรายงานใหฝายควบคุมคุณภาพทราบ

ขอ ๑๐๗ วัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจแุละผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่รับเขามา ตองกักกันไวทันทีหลัง

จากรับหรือผลิตเสร็จ จนกวามีการปลอยผานใหนําไปใชหรือจําหนายได

ขอ ๑๐๘ ผลิตภัณฑระหวางผลิตและผลิตภัณฑรอบรรจุที่ซื้อมาตองมีการจัดการในการรับเขามาเชนเดียวกับวัตถุดิบ

ขอ ๑๐๙ วัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุและผลิตภัณฑทุกชนิด ตองเก็บรักษาในสภาวะที่

Page 54: ร่าง GMP 07

๕๐

เหมาะสมตามที่ผูผลิตกําหนด และเก็บใหเปนระเบียบ จัดแยกแตละรุน และสะดวกตอการหมุนเวียนไปใช

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติหรือคําแนะนํา (instruction) การจัดการทุกอยางเกี่ยวกับวัตถุดิบและ/

หรือวัสดุการบรรจุและผลิตภัณฑ เชน การรบัและการกักกนั การสุมตัวอยาง การเก็บรักษา การปดฉลาก การ

เบิกจาย กระบวนการผลิต การบรรจุ การจําหนาย

(๒) มีการปฏิบัติและบันทึกการจัดการทุกอยางเกี่ยวกับวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุและผลิตภณัฑ

ที่สอดคลองตามมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติหรือคําแนะนําที่กําหนดไว

(๓) มีการควบคุมสภาพแวดลอมตามที่กําหนด มกีารจัดเก็บอยางเปนระเบียบ จัดแยกแตละรุน และ

สะดวกตอการหมุนเวียนไปใช หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติหรือคําแนะนําการจัดการทุกอยางเกี่ยวกับวัตถุดิบและ/หรือวสัดุการ

บรรจุและผลิตภัณฑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการปฏิบัตแิละบันทึกการจัดการทุกอยางเกี่ยวกับวัตถุดิบและ/หรือวัสดกุารบรรจุและผลิตภัณฑ

ที่สอดคลองตามมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติหรือคําแนะนําที่กําหนดไว ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการควบคุมสภาพแวดลอมตามที่กําหนด ไมมีการจัดเก็บอยางเปนระเบียบ ไมมจีัดแยกแตละรุน

และสะดวกตอการหมุนเวียนไปใช ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๑๐ ตองทําการตรวจสอบผลผลิต และตรวจสอบความสอดคลองของปริมาณเมื่อจําเปน

เพื่อใหแนใจวาไมมีความแตกตางเกินกวาขีดจํากัดที่ยอมรับ

คําอธิบาย (๑) มีการกําหนดผลผลิตมาตรฐานในแตละขั้นตอนการผลิตที่สําคัญไว

(๒) มีการตรวจสอบผลผลิตที่ไดไวทําการเปรียบเทียบกับผลผลิตมาตรฐาน หมายเหต ุ ไมมีการกําหนดผลผลิตมาตรฐานในแตละขั้นตอนการผลิตที่สําคัญไว ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีดําเนินการสืบสวนหาสาเหตุของความแตกตางไปจากเกณฑที่ยอมรับได ถือเปนขอบกพรองหลัก

ไมมีการบันทึกสาเหตุของความความแตกตางในขอ (๒) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๑๑ ตองไมทําการผลิตผลิตภัณฑตางชนิดกันในหองเดียวกันในเวลาเดียวกันหรือผลิต

ตอเนื่องกัน นอกจากวาไมมีความเสี่ยงของการปะปนหรือการปนเปอนขาม ขอ ๑๑๒ ในทุกขั้นตอนของกระบวนการ ตองมีการปองกันผลิตภัณฑและวัตถุดิบจากการปนเปอน

จุลินทรียและสิ่งปนเปอนอื่น

ขอ ๑๑๓ ในการทํางานกับวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑชนิดแหง ตองระวังเปนพิเศษเพื่อปองกันการเกิด

และการฟุงกระจายของฝุน โดยเฉพาะวัตถุดิบที่ออกฤทธิ์แรงหรือทําใหเกิดการแพ

คําอธิบาย -

Page 55: ร่าง GMP 07

๕๑

หมายเหต ุ ทําการผลิตผลิตภัณฑตางชนิดกันในหองเดียวกันในเวลาเดียวกันหรือผลิตตอเนื่องกัน ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

ไมมีการปองกนัผลิตภัณฑและวัตถุดิบจากการปนเปอนจุลินทรียและสิ่งปนเปอนอื่นในทุกขั้นตอน

ของกระบวนการ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการปองกนัการเกิดและการฟุงกระจายของฝุนของวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑชนิดแหง ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๑๔ ตลอดเวลาระหวางกระบวนการผลิต วัตถุดิบ ภาชนะใสผลิตภัณฑรอบรรจุ เครื่องมือหลัก

และหองผลิตตองติดฉลากหรือมีปายบงชี้ของผลิตภัณฑหรือวัตถุดิบท่ีกําลังอยูในกระบวนการ ความแรง และ

หมายเลขรุน ปายบงชีอ้าจระบุขั้นตอนของการดําเนินการผลิตดวย

ขอ ๑๑๕ ฉลากที่ติดบนภาชนะบรรจ ุ เครื่องมือหรือสถานที่ตองชัดเจน ไมคลุมเครือ และมีรูปแบบ

ตามที่องคกรกําหนด ฉลากนอกจากจะมีขอความแลว อาจใชสีชวยเพือ่บงชี้สถานะ ตัวอยางเชน กักกัน ปลอย

ผาน ไมผาน สะอาด

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีฉลากหรือปายบงชี้ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ฉลากหรือปายบงชี้ที่แสดงรายละเอียดและสถานะไมถูกตอง ไมชัดเจนหรือคลุมเครือ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๑๖ ตองมีการตรวจสอบเพื่อใหแนใจวา ทอและชิ้นสวนอื่นของเครื่องมือท่ีใชสําหรับการสง

ลําเลียงผลิตภัณฑจากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง มีการเชื่อมตอในลักษณะที่ถูกตอง

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบและบันทึกรายละเอียดการเชื่อมตอทอและชิ้นสวนอื่นของเครื่องมือ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๑๗ ตองหลีกเลี่ยงความเบี่ยงเบนจากคําแนะนําหรือวิธีการปฏบิัติ ถามีความเบี่ยงเบนเกิดขึ้น

ตองรับรองเปนลายลักษณอักษรโดยผูที่มีความรูความสามารถ พรอมท้ังการมีสวนรวมของฝายควบคุม

คุณภาพตามความเหมาะสม

คําอธิบาย มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติของการดําเนินการเกี่ยวกับความเบี่ยงเบนและการควบคุมการเปลี่ยนแปลง

(change control) หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ หรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานวธิีการปฏิบัต ิถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 56: ร่าง GMP 07

๕๒

ขอ ๑๑๘ การเขาไปในบริเวณดําเนินการผลิต ตองจํากัดเฉพาะผูที่ไดรับมอบหมาย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการควบคุมผูที่จะเขาไปในบริเวณดําเนินการผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๑๙ ควรหลีกเลี่ยงการดําเนินการผลิตผลิตภัณฑที่ไมใชยาในบริเวณเดียวกัน และไมใช

เครื่องมือสําหรับการดําเนินการผลิตผลิตภัณฑยา

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ดําเนินการผลิตผลิตภัณฑที่ไมใชยาในบริเวณเดียวกัน และใชเครื่องมอืสําหรับการดําเนินการซึ่งมี

ผลรายแรงตอสุขภาพผูบริโภค ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ดําเนินการผลิตผลิตภัณฑที่ไมใชยาในบริเวณเดียวกัน และใชเครื่องมอืสําหรับการดําเนินการซึ่งมีผล

ตอคุณภาพของผลิตภัณฑโดยไมมีผลรายแรงตอสุขภาพผูบริโภค ถือเปนขอบกพรองสําคัญ ทั้งนี้ยกเวน

ผลิตภัณฑที่ไดรับอนุมัติจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการ

อาหารและยา

การปองกันการปนเปอนขามในการดําเนินการผลิต ขอ ๑๒๐ ตองหลีกเลี่ยงการปนเปอนวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑจากวัตถุดบิหรือผลิตภัณฑชนิดอื่น

ความเสี่ยงของการปนเปอนขามโดยไมตั้งใจเกิดขึ้นจากไมมกีารควบคุมการปลอยฝุน กาซ ไอ สเปรย

หรือจุลินทรีย จากวัตถุดิบและผลิตภัณฑระหวางกระบวนการผลิต จากสิ่งที่ตกคางบนเครื่องมือ และจาก

เส้ือผาของผูปฏิบัติงาน

ความเสี่ยงของการปนเปอนขาม มคีวามสําคัญแปรผันตามประเภทของสิ่งปนเปอนและของ

ผลิตภัณฑที่เกิดการปนเปอน

ส่ิงปนเปอนที่มีอันตรายมากคอืวัตถุดิบที่ทําใหเกิดการแพสูง ผลิตภัณฑชีวภาพที่ม ี

จุลินทรียที่มีชีวติ ฮอรโมนบางชนิด สารที่เปนพิษตอเซลล และวัตถุดิบที่ออกฤทธิ์แรง

ผลิตภัณฑที่มีอันตรายมากที่สุดเมื่อมีการปนเปอน คือ ยาฉีดที่ใหในขนาดสูงและ/หรือใหเปนระยะ

เวลานาน

ขอ ๑๒๑ ตองหลีกเลี่ยงการปนเปอนขามโดยเทคนิคที่เหมาะสม หรือมีมาตรการในการจัดการ

ตัวอยางเชน

(๑) ดําเนินการผลิตในบริเวณแยกตางหาก ซึง่เปนขอกําหนดสําหรับผลิตภัณฑพวกกลุม

เพนิซิลลิน วัคซีนที่มีชีวิต วัคซีนชนิดเชื้อเปน ผลิตภัณฑแบคทีเรียที่มีชีวิต และผลิตภัณฑชีววัตถุบางชนดิ หรือ

ทําการผลิตโดยการแยกเวลาผลิต หลังจากนั้นใหทําความสะอาดอยางเหมาะสม

(๒) จัดใหมีแอรล็อก และการกําจดัอากาศตามความเหมาะสม

Page 57: ร่าง GMP 07

๕๓

(๓) ลดความเสี่ยงของการปนเปอนจากอากาศที่หมุนเวียน หรืออากาศที่นํากลับเขามาใหมโดยไมมี

การกรองหรือมกีารกรองไมเพียงพอ

(๔) เก็บเครื่องแตงกายสําหรับใชปฏบิัติงานไวภายในบรเิวณที่ทําการผลิตผลิตภัณฑที่มีความเสี่ยง

เปนพิเศษที่ทําใหเกิดการปนเปอนขาม

(๕) ใชวิธกีารทําความสะอาดและการกําจดัส่ิงปนเปอนที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากการทําความ

สะอาดเครื่องมือที่ไมมปีระสิทธิภาพมักเปนแหลงเกิดการปนเปอนขาม

(๖) ใช “ระบบปด” ในการดําเนินการผลิต

(๗) มีการทดสอบสารตกคางและใชฉลากแสดงสถานะสะอาดติดที่เครื่องมือท่ีผานการทําความ

สะอาดแลว

คําอธิบาย ตองมีมาตรการในการปองกันและตรวจสอบประสิทธิภาพในการปองกันการปนเปอนขามตามวธิีการ

และเวลาที่กําหนด โดยเฉพาะผลิตภัณฑที่มีขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเกี่ยวกับการ

ผลิตยาที่มีความเปนพิษสูงหรืออาจทําใหเกิดการแพไดงาย เชน การผลิตยากลุมเพนิซิลลิน (พ.ศ. ๒๕๓๑) ยา

ที่เปนพิษตอเซลล (พ.ศ. ๒๕๓๖) และยากลุมเซฟาโลสปอรนิ (พ.ศ. ๒๕๔๓) หมายเหต ุ

ไมดําเนินการใหเปนไปตามขอกําหนดขางตนของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

ไมมีระบบกําจดัฝุน ซึ่งเกิดจากการผลิตภายในสถานที่ผลิต ถือเปนขอบกพรองรายแรง อปุกรณกําจัด

ฝุนและกลิ่นที่อาจเปนอันตราย ซึ่งเกิดจากการผลิตภายในสถานที่ผลิต ไมมีประสิทธิภาพ ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ไมมีการกรองอากาศที่หมุนเวียนหรืออากาศที่นํากลับเขามาใหมผานแผนกรองที่เหมาะสม ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีสถานที่จัดเก็บและเปลี่ยนเสื้อผาที่เหมาะสมโดยเฉพาะผลิตภัณฑที่กลาวถึงในขอ ๑๒๑ (๑) ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติของการทําความสะอาดและวิธกีําจัดส่ิงปนเปอนที่มีประสิทธภิาพสําหรับ

เครื่องมือที่ใชในการผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจสอบความถูกตองวิธีการทําความสะอาดและการกําจัดส่ิงปนเปอนที่มีประสิทธิภาพ ถอื

เปนขอบกพรองสําคัญ

อาคารผลิตไมเปนระบบปด ถอืเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีการทดสอบสารตกคาง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีฉลากแสดงสถานะสะอาดติดที่เครื่องมือท่ีผานการทําความสะอาดแลว ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๑๒๒ ตองมีการตรวจสอบมาตรการและประสิทธิภาพในการปองกันการปนเปอนขาม เปนระยะ

Page 58: ร่าง GMP 07

๕๔

ตามวิธีการปฏบิัติที่กําหนดไว

คําอธิบาย - หมายเหตุ

ไมมีการตรวจสอบมาตรการและประสิทธิภาพในการปองกันการปนเปอนขามตามที่ระบใุนขอ ๑๒๑

เปนระยะๆ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตอง ขอ ๑๒๓ การศึกษาการตรวจสอบความถูกตองจะเสริมใหหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตมี

ผลดีขึ้น ตองปฏิบัติใหถูกตองตามวิธีการปฏบิัติที่กําหนดไว รวมทั้งตองมีการบันทึกและสรุปผลการศึกษา

ขอ ๑๒๔ เมื่อมีสูตรการผลิตหรือวิธีการผลิตใหม ตองมีขั้นตอนที่แสดงใหเห็นวากระบวนการที่ทํา

เปนประจํามีความเหมาะสม รวมถึงตองแสดงใหเห็นวากระบวนการที่กําหนด การใชวัตถุดิบและเครื่องมือ

ตามที่ระบุ จะใหผลผลิตของผลิตภัณฑที่มีความสม่ําเสมอและมีคุณภาพตามที่ตองการ

ขอ ๑๒๕ ตองทําการตรวจสอบความถูกตองเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแกไขที่สําคัญในกระบวนการ

ผลิต รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของเครื่องมือหรือวัตถุดิบซึง่อาจมีผลตอคณุภาพของผลิตภัณฑ และ/หรือ

กระบวนการผลิตที่ทําซ้ําไดเหมือนเดิม

ขอ ๑๒๖ ตองทําการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการและวิธีการปฏิบัติซ้ําเปนระยะ เพื่อให

แนใจวายังคงมคีวามสามารถทําไดผลตามที่ตองการ

คําอธิบาย ดูรายละเอียดในหมวด ๑๒

หมายเหต ุพิจารณารวมกับหมวด ๑๒

วัตถุดิบ ขอ ๑๒๗ การจัดซื้อวัตถุดบิเปนการดําเนินการสําคัญ ตองมีผูปฏิบัติงานที่มีความรูโดยเฉพาะและมี

รายละเอียดของผูสงมอบ

ขอ ๑๒๘ ตองจัดซื้อวัตถุดิบจากผูสงมอบที่ผานการรับรองและมีรายชือ่อยูในขอกําหนดของวัตถุดิบ

ชนิดนั้นเทานั้น และถาเปนไปไดใหซื้อโดยตรงจากผูผลิตวัตถุดิบ แนะนําวาขอกาํหนดของวัตถุดิบท่ีจดัทําขึ้น

โดยผูผลิตยาควรมีการพิจารณารวมกับผูสงมอบ

ในทุกประเด็นของการผลิตและการควบคุมวตัถุดิบที่มีขอสงสัย ใหมีการพิจารณารวมกันระหวาง

ผูผลิตยาและผูสงมอบ ประกอบดวยขอกําหนดสําหรับการจัดการ การตดิฉลาก การบรรจุที่กําหนด รวมถึง

วิธีการปฏบิัติสําหรับการจัดการกับขอรองเรียนและการไมยอมรับวัตถุดิบ

คําอธิบาย (๑) ผูปฏบิัติงานมีความรูและผานการฝกอบรมดานการจัดซื้อและความรูเกี่ยวกับวัตถุดิบ

Page 59: ร่าง GMP 07

๕๕

(๒) มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติของการจัดซื้อ ประกอบดวย การประเมินและรับรองผูสงมอบ รวมถึง

การตรวจประเมินผูผลิตตามความเหมาะสม มีขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดการวัตถุดิบ การปดฉลาก การบรรจุ

การจัดการกับขอรองเรียนและการไมยอมรับวัตถุดิบ

(๓) มีรายชือ่และขอมูลรายละเอียดของผูสงมอบที่ผานการรับรอง (approved vendor list; AVL) หมายเหตุ ผูปฏิบัติงานไมมีความรูและผานการฝกอบรมดานการจัดซือ้และความรูเกีย่วกับวัตถุดิบ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติของการจัดซือ้ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีรายชือ่และขอมูลรายละเอยีดของผูสงมอบที่ผานการรับรอง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๒๙ การสงมอบทุกครั้ง ตองตรวจสอบความสมบูรณและการปดผนึกของภาชนะบรรจุ รวมทั้ง

ตรวจสอบความถูกตองตรงกันระหวางใบสงของกับฉลากของผูสงมอบ

คําอธิบาย มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติตามที่ระบุในหมวด ๕ ขอ ๑๐๔-๑๐๙

หมายเหตุ ดูหมวด ๕ ขอ ๑๐๔-๑๐๙

ขอ ๑๓๐ การสงมอบวัตถุดิบแตละครั้ง หากวัตถุดิบชนิดเดียวกันมีหลายรุนการผลิต ตองแยกการสุม

ตัวอยาง การทดสอบและการปลอยผานของแตละรุน

คําอธิบาย (๑) วัตถุดิบชนิดเดียวกันที่มีหลายรุนการผลิต หรือวัตถุดิบรุนเดียวกันแตสงมอบหลายครั้ง ตองแยก

สุมตัวอยาง การทดสอบและการปลอยผานของแตละรุน หมายเหตุ วัตถุดิบชนิดเดียวกันที่มีหลายรุนการผลิต หรือวัตถุดิบรุนเดียวกันแตสงมอบหลายครั้ง ถาไมแยกสุม

ตัวอยาง การทดสอบและการปลอยผานของแตละรุน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๓๑ วัตถดุิบที่จัดเก็บในบริเวณจัดเก็บตองมีการติดฉลากที่เหมาะสม (ดูเพิ่มเติมในหมวด ๕ ขอ

๑๑๕) ฉลากตองมีขอมูลอยางนอยดังตอไปน้ี

(๑) ชือ่ที่กําหนดและรหัสอางอิง (ถามีการใช)

(๒) หมายเลขรุนที่ใหเมื่อมีการรับ

(๓) สถานะของวัตถุดิบ ตัวอยางเชน กักกัน รอการทดสอบ ปลอยผาน ไมผาน

(๔) วันสิ้นอายุหรือวันครบกําหนดการทดสอบซ้ํา

ถาใชระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรในการจัดเก็บ ขอมูลทั้งหมดดังกลาวไมจาํเปนตองอยูในรูปของ

ฉลาก

Page 60: ร่าง GMP 07

๕๖

คําอธิบาย (๑) วัตถุดิบทีจ่ัดเก็บในบริเวณจัดเก็บตองมกีารติดฉลากที่เหมาะสม โดยมีขอมูลอยางนอยไดแก ชื่อ

ที่กําหนดและรหัสอางอิง หมายเลขรุน สถานะของวัตถุดิบ วนัสิ้นอายุ

(๒) ถาใชระบบคอมพิวเตอรควบคุม การจัดเก็บขอมูลขางตนอาจระบใุนรูปรหัส เชน บารโคด บน

ฉลาก หมายเหตุ ฉลากวัตถุดิบไมมีขอมูลบงชี้ตามที่กําหนด หรือมีไมครบ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ในกรณีที่ใชระบบคอมพิวเตอรควบคุมการจดัเก็บขอมูลในรปูรหัส เชน บารโคด ตองมีการตรวจสอบ

ความถูกตองของระบบดวย ถาไมมีการตรวจสอบความถูกตอง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๓๒ ตองมีวิธีการปฏิบัติหรือมาตรการที่เหมาะสมเพื่อใหมั่นใจในเอกลักษณของวัตถุดิบที่อยู

ในแตละภาชนะ รวมถึงตองมกีารบงชี้ภาชนะวัตถุดิบท่ีถูกสุมตัวอยาง (ดูเพิ่มเติมในหมวด ๖ ขอ ๑๗๘)

คําอธิบาย ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการพิสูจนเอกลักษณวตัถุดิบและบงชีภ้าชนะวัตถุดิบ

หมายเหตุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการพิสูจนเอกลักษณของวัตถุดิบทุกภาชนะ ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๑๓๓ วัตถุดิบที่มีการปลอยผานโดยฝายควบคุมคณุภาพและยังอยูภายในอายกุารใชเทานั้นจงึ

จะนําไปใชได

คําอธิบาย - หมายเหต ุ วัตถุดิบที่นําไปใชไมมีการปลอยผานโดยฝายควบคุมคุณภาพ หรือไมอยูในอายุการใช ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

ขอ ๑๓๔ วัตถุดิบตองจายโดยผูที่ไดรับมอบหมายเทานั้น และปฏิบัติตามวิธีการปฏิบัติที่เขียนไว

เพื่อใหแนใจวาไดวัตถุดิบที่ถูกตอง มีการชั่งหรือตวงอยางแมนยํา บรรจใุนภาชนะที่สะอาด และติดฉลาก

ถูกตอง

ขอ ๑๓๕ ตองมีการตรวจสอบชนิด และน้ําหนัก หรือปริมาตรของวัตถุดิบที่จาย โดยใหมีบุคคลที่

สองทําการตรวจสอบซ้ํา และมีการบันทึกผล

ขอ ๑๓๖ วัตถุดิบที่จายสาํหรับการผลิตแตละรุน ตองเก็บรวมไวดวยกันและติดฉลากใหชัดเจน

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการชั่ง ตวง จายวัตถุดิบเพื่อการผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจสอบชนิด และน้ําหนัก หรือปริมาตรของวัตถุดิบท่ีจายซ้าํโดยบุคคลที่สอง ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

Page 61: ร่าง GMP 07

๕๗

ไมมีการเก็บรวมวัตถุดิบที่จายสําหรับการผลิตแตละรุนไวดวยกันและติดฉลากใหชัดเจน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

การดําเนินการกระบวนการผลิตผลิตภัณฑระหวางการผลิตและผลิตภัณฑรอบรรจุ ขอ ๑๓๗ กอนที่จะเริ่มดําเนินการกระบวนการผลิต ตองแนใจวาบรเิวณที่ทํางานและเครื่องมือมี

ความสะอาด ปราศจากวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑตกคางหรือเอกสารที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินการ

กระบวนการผลิตครั้งนี้หลงเหลืออยู

คําอธิบาย (๑) มบีันทึกการทํา line clearance ไดแก การตรวจสอบใหแนใจวาบริเวณที่เกี่ยวกับการผลิตยา

เครื่องมือและอปุกรณการผลิตมีความสะอาด ไมมีวัตถุดิบ ผลิตภัณฑยาอื่น วัสดุสําหรับการบรรจุ และเอกสาร

ตาง ๆ จากการผลิตครั้งกอนหลงเหลืออยู หมายเหต ุ ไมมีบันทึกการทํา line clearance ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๑๓๘ ผลิตภัณฑระหวางผลิตและผลิตภัณฑรอบรรจุ ตองเก็บภายใตสภาวะที่เหมาะสม

คําอธิบาย (๑) มมีาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการเก็บผลิตภัณฑระหวางผลิตและผลิตภัณฑรอบรรจุ มีการ

ควบคุม/ตรวจสอบสภาวะแวดลอมระหวางการผลิต เชน อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ และบันทึกไวเปน

หลักฐาน หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการเก็บผลิตภัณฑระหวางผลิตและผลิตภัณฑรอบรรจ ุ หรือไมมี

การบันทึกไวเปนหลักฐาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๓๙ กระบวนการวิกฤตตองตรวจสอบความถูกตอง (ดูเพิ่มเติมในหัวขอ “การตรวจสอบความ

ถูกตอง” ในหมวด ๑๒)

คําอธิบาย (๑) ใชแนวทางการประเมินความเสี่ยงในการพิจารณากระบวนการวิกฤต หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการวิกฤต ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๑๔๐ ตองทําการควบคุมระหวางกระบวนการผลิต และการควบคุมสภาวะแวดลอมการผลิต

รวมถึงมีการบนัทึก

คําอธิบาย (๑) มมีาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการควบคุมระหวางกระบวนการผลิต และมีการบันทึกไวเปน

หลักฐาน

Page 62: ร่าง GMP 07

๕๘

(๒) มีมาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการควบคุมสภาวะแวดลอมการผลิตที่จําเปน เชน อุณหภูมิ

ความชื้นสัมพัทธ และมีการบันทึกไวเปนหลักฐาน หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ หรือไมมีการบนัทึกไวเปนหลักฐาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๔๑ ผลผลิตที่ไดถามีความเบี่ยงเบนอยางมีนัยสําคัญจากที่กําหนดไว ตองมีการบันทึกและ

สืบสวนหาสาเหตุ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ ปฏิบัติตามหมวด ๕ ขอ ๑๑๐

วัสดุการบรรจุ ขอ ๑๔๒ การจัดซื้อ การจัดการ และการควบคุมวัสดุการบรรจุปฐมภูมิและวัสดุการบรรจุที่พิมพ

ขอความแลว ตองปฏิบัติเชนเดียวกับวัตถุดิบ

คําอธิบาย - หมายเหตุ ไมปฏิบัติเชนเดียวกับวัตถุดิบตามความจําเปน ตามหมวด ๕ ขอ ๑๒๗-๑๓๖ ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๑๔๓ ตองใหความสนใจเปนพิเศษกับวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความ ตองเก็บรักษาไวในสภาวะ

ที่ปลอดภัยเพียงพอ ตัวอยางเชน หามผูที่ไมเกี่ยวของเขาถึง ฉลากชนดิที่ตัดเสร็จเรียบรอยแลว หรือวัสดุ

สําหรับการบรรจุที่พิมพขอความแลวที่แยกเปนชิ้น ตองเก็บและขนยายในภาชนะปดแยกกันเพื่อหลีกเลี่ยงการ

ปะปน วัสดกุารบรรจุที่จะนาํไปใชตองไดรับการอนุมัตจิายโดยผูที่ไดรับมอบหมายเทานั้น และปฏิบัติตาม

เอกสารวิธีการปฏิบัติที่รับรองแลว

คําอธิบาย - หมายเหตุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการจัดการวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลวและวัสดุการบรรจุ

ปฐมภมูิ ไดแก การควบคุม การจัดเก็บ การจาย การขนยาย การทําลาย ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมแยกเก็บวัสดุสําหรับการบรรจุที่พิมพขอความแลวไวในสภาวะที่ปลอดภัยเพียงพอเพื่อปองกันการ

สูญหายหรือการนําไปใชโดยไมไดรับอนุญาต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมแยกเก็บวัสดุสําหรับการบรรจุที่พิมพขอความ Lot No./Control No. วันที่ผลิต และวันสิ้นอายุ แต

ละรุนใหแยกเก็บเปนสัดสวนเพื่อปองกันการสับสนหรือปะปน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

วัสดุสําหรับการบรรจุที่พิมพขอความแลว ถาไมมีการตรวจสอบทั้งชนิดและจํานวนกอนการรับ-จาย

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๔๔ วัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลวและวัสดุการบรรจุปฐมภูมทิี่สงมอบทุกครั้งหรือทุกรุน

Page 63: ร่าง GMP 07

๕๙

ตองใหหมายเลขอางอิงเฉพาะหรือเครื่องหมายบงชี้เฉพาะ

คําอธิบาย -

(๑) ตองมีหมายเลขอางอิงเฉพาะหรือเครื่องหมายบงชี้เฉพาะสําหรับวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความ

แลวและวัสดุการบรรจุปฐมภมูิที่สงมอบทุกครั้งหรือทุกรุน (version ของแมพิมพ) หมายเหตุ ไมมีหมายเลขอางอิงเฉพาะหรือเครื่องหมายบงชี้เฉพาะ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๔๕ วัสดุการบรรจุปฐมภูมิที่ลาสมยัหรือเปนรุนเกาที่เลิกใชงานแลว หรือวัสดุการบรรจุที่เหลือ

จากการใชงานซึ่งพิมพขอความไปแลว ตองนําไปทําลายและมีบันทึกการทาํลาย

คําอธิบาย (๑) มมีาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการทําลายวัสดุสําหรับการบรรจุที่พมิพขอความแลวที่เหลือ ซึ่ง

ไดระบุรหัสแสดงครั้งที่ผลิตและวัน เดือน ปที่ผลิต/ส้ินอายุ และบันทึกไวเปนหลักฐาน หมายเหตุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการทําลาย หรือไมมีบันทึกการทําลาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การดําเนินการบรรจ ุ ขอ ๑๔๖ ในการจัดกําหนดการสําหรับดําเนินการบรรจุ ตองเอาใจใสเปนพิเศษเพื่อลดความเสี่ยง

ของการปนเปอนขาม การปะปน หรือการสลับกัน โดยตองไมทําการบรรจุผลิตภัณฑตางชนิดกันในสถานที่

ใกลชิดกัน นอกจากมีการแยกทางกายภาพตามความเหมาะสม ตัวอยางเชน มีผนังกั้นเปนสัดสวน

ขอ ๑๔๗ กอนเริ่มดําเนินการบรรจุหีบหอ ตองแนใจวาบริเวณที่ทํางาน สายการบรรจุ เครื่องพิมพ

และอุปกรณอืน่ มีความสะอาดและปราศจากผลิตภัณฑอื่นใด วัสดุการบรรจุ หรือเอกสารของการบรรจุครั้ง

กอนหลงเหลืออยู โดยตองทําการตรวจสอบตามรายการตรวจสอบที่เหมาะสม

ขอ ๑๔๘ ตองแสดงชื่อและหมายเลขรุนของผลิตภัณฑที่กําลังบรรจุในแตละตําแหนงหรือสายการ

บรรจุ

ขอ ๑๔๙ ตองตรวจสอบผลิตภัณฑและวัสดุการบรรจุทุกอยางที่จะใช เมื่อมีการสงมายังแผนกบรรจุ

วามปีริมาณ เอกลักษณ และความถูกตองตรงกับคําแนะนําการบรรจุ

ขอ ๑๕๐ ภาชนะบรรจุกอนการบรรจุตองสะอาด และตองเอาใจใสตอการหลีกเลี่ยงและการกําจัด

ส่ิงปนเปอน ตัวอยางเชน เศษแกว เศษโลหะ

ขอ ๑๕๑ เมื่อบรรจุใสภาชนะและปดผนึกแลว ตองทําการติดฉลากใหเร็วที่สุด ถาไมสามารถทําได

ตองมีวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อใหแนใจวาไมมีการปะปนหรือการติดฉลากผิด

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการตรวจรับ การเตรียมภาชนะบรรจุ การบรรจุ และการบรรจุหีบ

หอ เพื่อปองกันการปนเปอนหรือเกิดการปะปน การสลับกันของผลิตภัณฑ

Page 64: ร่าง GMP 07

๖๐

(๒) ควรปดฉลากทันทีหลังบรรจุยาเสร็จ หากไมสามารถทาํได ตองมีวธิีการปฏิบัติที่เหมาะสมสําหรับ

ภาชนะที่ผานการบรรจุและปดผนึกแลว แตยังไมปดฉลาก เพือ่ปองกันการปะปนหรือการปดฉลากผิด หมายเหตุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการตรวจรับ การเตรียมภาชนะบรรจ ุ การบรรจุ และการบรรจุหีบ

หอ เพื่อปองกันการปนเปอนหรือเกิดการปะปน การสลับกันของผลิตภัณฑ หรือถาการบรรจุยามโีอกาสเกิด

การปนเปอนหรือเกิดการสับสนของผลิตภัณฑตางชนิดกัน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีวธิีการปฏบิัติที่เหมาะสมสําหรับภาชนะที่ผานการบรรจุและปดผนึกแลว แตยังไมปดฉลาก ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๕๒ ตองทําการตรวจสอบและบันทึกความถูกตองของการพิมพ ตัวอยางเชน รุนการผลิต วัน

ส้ินอายุ ไมวาจะทําการพิมพแยกกันหรือพิมพในระหวางบรรจุ ในกรณีที่เปนการพิมพดวยมือตองเอาใจใสเปน

พิเศษดวยการตรวจสอบซ้าํเปนระยะ

ขอ ๑๕๓ ตองระมัดระวังเปนพิเศษถาใชฉลากที่ตัดเสร็จเรียบรอยแลวและมีการพิมพนอกสายการ

บรรจุ การใชฉลากชนิดมวนดีกวาฉลากที่ตัดเสร็จเรียบรอยแลว เนื่องจากชวยหลีกเลี่ยงการปะปน

ขอ ๑๕๔ ตองมีการตรวจสอบเพื่อใหแนใจวาเครื่องอิเล็กทรอนิกสสําหรับอานรหัส เครื่องนับฉลาก

หรืออุปกรณคลายกันมีการทํางานอยางถูกตอง

ขอ ๑๕๕ ขอมูลที่พิมพหรือปมนูนบนวัสดุการบรรจุ ตองเห็นชัดเจนและทนทานไมลบเลือน

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบและบันทึกความถูกตองของการพิมพ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจสอบเพื่อใหแนใจวาเครื่องอิเล็กทรอนิกสสําหรับอานรหัส เครื่องนับฉลาก หรืออุปกรณ

คลายกันมีการทํางานอยางถูกตอง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอมูลที่พิมพหรือปมนูนบนวัสดุการบรรจุเห็นไมชัดเจนหรือลบเลือน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๕๖ การควบคุมผลิตภัณฑระหวางกระบวนการบรรจุ ตองมีการตรวจสอบดังตอไปนี้

(๑) ลักษณะทัว่ไปของภาชนะบรรจุ

(๒) ความสมบูรณของภาชนะบรรจุ (๓) ความถูกตองของผลิตภัณฑและวัสดุการบรรจุที่ใช (๔) ความถูกตองของการพิมพ (๕) ความถูกตองในการทํางานของอุปกรณตรวจติดตามที่สายการบรรจ ุ

ตัวอยางที่นําออกไปจากสายการบรรจุ ตองไมนํากลับคืนมาใชอีก

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบตามที่กาํหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

นําตัวอยางที่นําออกไปจากสายการบรรจุกลับคืนมาใชอีก ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 65: ร่าง GMP 07

๖๑

ขอ ๑๕๗ ผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับเหตุการณที่ไมปกต ิ สามารถนาํกลับคืนมาในกระบวนการได

หลังจากมีการตรวจสอบเปนพิเศษ สืบสวน และผานการรับรองจากผูที่ไดรับมอบหมายแลวเทานั้น และตอง

เก็บบันทึกรายละเอียดในการดําเนินการ

คําอธิบาย -

(๑) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการตรวจสอบการนําผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับเหตุการณที่

ไมปกติกลับคืนมาในกระบวนการผลิต หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการตรวจสอบการนําผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับเหตุการณที่ไมปกติ

กลับคืนมาในกระบวนการผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๕๘ การตรวจสอบความสอดคลองของปริมาณผลิตภัณฑรอบรรจุและวัสดุการบรรจุที่พิมพ

ขอความแลว กบัจํานวนผลิตภัณฑที่บรรจุได ถาพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญหรือผิดปกติ ตอง

สืบสวนสาเหตุและไดเหตุผลที่นาพอใจกอนจึงปลอยผานได ขอ ๑๕๙ หลังจากดําเนินการบรรจุเสร็จเรียบรอยแลว วัสดุการบรรจุที่มีการพมิพหมายเลขรุนแลว

ตองนําไปทําลายและบันทึกการทําลาย ถายังไมมีการพมิพใหสงกลับคืนคลังโดยทําตามวิธีการปฏิบัติที่เขียนไว

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการตรวจสอบความสอดคลองของปริมาณผลิตภัณฑรอบรรจุและ

วัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลว กับจาํนวนผลิตภัณฑที่บรรจุได ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการทําลายวัสดุการบรรจุที่มีการพมิพหมายเลขรุนแลว และ

บันทึกการทําลาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการสงวัสดุการบรรจุที่ไมมีการพิมพกลับคืนคลัง ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ขอ ๑๖๐ ผลิตภัณฑสําเร็จรูปตองเก็บกกักันจนกวาจะมีการปลอยผานภายใตเงื่อนไขที่กําหนดโดย

ผูผลิต

ขอ ๑๖๑ การประเมินผลิตภัณฑสําเร็จรูปและเอกสารเปนสิ่งจําเปนกอนการปลอยผานผลิตภัณฑ

ไปจําหนายได โดยอธิบายไวในหมวด ๖ เร่ือง “การควบคุมคุณภาพ”

ขอ ๑๖๒ หลังจากปลอยผาน ตองเก็บรักษาผลิตภัณฑสําเร็จรูปในคลังสินคาภายใตเงื่อนไขที่

กําหนดโดยผูผลิต

คําอธิบาย -

Page 66: ร่าง GMP 07

๖๒

หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการกักกันผลิตภัณฑสําเร็จรูปจนกวาจะมีการปลอยผาน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการประเมนิผลิตภัณฑสําเร็จรูปและเอกสารกอนการปลอยผานผลิตภัณฑไปจําหนาย ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

ไมมีการเก็บรักษาผลิตภัณฑสําเร็จรูปในคลังสินคาภายใตเงื่อนไขที่กําหนดโดยผูผลิต หลังจากปลอย

ผาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

วัตถุที่ไมผานขอกําหนด วัตถุที่นํากลับมาใชใหม และวัตถุที่สงกลับคืน ขอ ๑๖๓ วัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจแุละผลิตภัณฑที่ไมผานขอกําหนดตองทําเครื่องหมายให

ชัดเจนและเก็บแยกในบริเวณควบคุม อาจตองสงกลับคืนไปยังผูสงมอบหรืออาจไปทาํซ้ําดวยกระบวนเดิม

หรือทําลายแลวแตความเหมาะสม ไมวาจะปฏิบัติการโดยวิธีใดตองผานการรับรองและบันทึกโดยผูที่ไดรับ

มอบหมาย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุและผลิตภัณฑที่ไมผานขอกําหนด

หรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานวธิีการปฏิบัต ิถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๖๔ การนําผลิตภัณฑที่ไมผานขอกําหนดไปทําซ้ําดวยกระบวนเดิมเปนกรณีพิเศษ สามารถทํา

ไดเมื่อไมมีผลตอคุณภาพของผลิตภัณฑสุดทาย มีความถูกตองตรงตามขอกําหนดของผลิตภัณฑ และถูกตอง

ตามวิธีการปฏบิัติที่กําหนดซึ่งไดรับอนุมัติภายหลังจากผานการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวของ รวมทั้งตองเก็บ

รักษาบันทึกผลการดําเนินการดังกลาวไว

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการนําผลิตภัณฑที่ไมผานขอกําหนดไปทําซ้ําดวยกระบวนเดิม

เปนกรณีพิเศษ หรือไมปฏบิัตติามมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๖๕ การนําทั้งหมดหรือบางสวนของรุนที่ผานมา ที่มีคุณภาพตามขอกาํหนดกลับมาใชใหม

โดยผสมกับอีกรุนของผลิตภัณฑชนิดเดียวกันในขั้นตอนที่กําหนดของการผลิต ตองถูกตองตามวิธีการปฏิบัติที่

กําหนดซึ่งไดรับการอนุมัติหลงัจากผานการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวของ รวมถึงผลที่อาจจะเกิดตออายุการ

ใชของผลิตภัณฑ โดยตองมีการบันทึกผลการดําเนินการดังกลาวไว

ขอ ๑๖๖ ตองพิจารณาใหมีการทดสอบเพิ่มเติมสําหรับผลิตภัณฑสําเร็จรูปท่ีไดมีการนําไปทําซ้ํา

ดวยกระบวนเดิม หรือมีการนําผลิตภัณฑกลับมาใชใหมผสมรวมลงไป

คําอธิบาย -

Page 67: ร่าง GMP 07

๖๓

หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติและการบันทึกผลการดําเนินการเกี่ยวกับการนําทั้งหมดหรือบางสวนของ

รุนที่ผานมาที่มีคุณภาพตามขอกําหนดกลับมาใชใหม หรือไมปฏบิัติตามมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการประเมนิความเสี่ยงเกี่ยวกับผลตอคุณภาพของยา รวมทั้งการพิจารณาทดสอบเพิ่มเติมโดย

ฝายควบคุมคณุภาพ และไมมีการอนุมัติการนํากลับมาใชใหม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๖๗ ผลิตภัณฑที่สงคืนมาจากทองตลาดซึ่งไมอยูภายใตการควบคุมของผูผลิตตองนําไป

ทําลาย ยกเวนในกรณีที่ผูผลิตพิจารณาแลววาการใหนําไปจาํหนายใหม นําไปติดฉลากใหม หรือนํากลับมาใช

ใหมรวมกบัรุนตอไปได ผานการประเมินอยางเขมงวดจากฝายควบคุมคณุภาพตามวธิกีารปฏิบัติที่กําหนดไว

และพบวาไมมขีอสงสัยในคุณภาพ

การประเมินนี้ตองพิจารณาถึงประเภทของผลิตภัณฑ สภาวะพิเศษของการเก็บรักษาที่กําหนด

สภาพและประวัติ และเวลาที่ผานไปหลังจากจําหนาย

ถามีขอสงสัยในคุณภาพของผลิตภัณฑ ตองไมผานการพิจารณาใหนํากลับมาจาํหนายหรือนํา

กลับมาใชใหม แมวาสามารถนําตัวยาสําคัญกลับคืนมาใชใหมไดก็ไมควรทํา

การปฏิบัติการทุกอยาง ตองมกีารบันทึกอยางเหมาะสม

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับผลิตภัณฑที่สงคืนมาจากทองตลาด หรือไมปฏบิัติตามมาตรฐาน

วิธีการปฏบิัติ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการบันทึกการปฏิบัติอยางครบถวน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 68: ร่าง GMP 07

๖๔

หมวด ๖ การควบคุมคุณภาพ

หลักการ การควบคุมคณุภาพเปนการดําเนินการที่เกี่ยวของกับการสุมตัวอยาง ขอกําหนด การทดสอบ และ

รวมกับหนวยงานอื่นภายในองคกรในการบริหารจัดการระบบเอกสารและวธิีการปฏิบัตใินการปลอยผาน

เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุไดรับการปลอยผานไปใช หรอืผลิตภัณฑสําเร็จรูป

ไดรับการปลอยผานไปจําหนาย ตอเมือ่มีการตัดสินแลววาไดผานการทดสอบที่จาํเปนและมีคุณภาพ

การควบคุมคณุภาพไมไดจาํกัดเฉพาะการดําเนินการในหองปฏิบัติการ แตเกี่ยวของในการตัดสินใจ

ทุกอยางที่อาจเกี่ยวของกับคณุภาพของผลิตภัณฑ ความเปนอิสระของการควบคุมคุณภาพจากการ

ดําเนินการผลิตเปนพื้นฐานที่สําคัญตอการดําเนินการของการควบคุมคุณภาพ (ดูเพิ่มเติมในหมวด ๑)

ขอกําหนดทั่วไป ขอ ๑๖๘ ผูรับอนุญาตผลิตยาตองมีฝายควบคุมคุณภาพที่เปนอิสระจากฝายอื่น บริหารจัดการโดย

ผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีประสบการณทํางานในหองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ รวมถึงตองมีทรพัยากร

อยางเพียงพอเพื่อทําใหเกิดความมั่นใจวา การจัดการเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพไดดําเนินการอยางมี

ประสิทธิภาพและนาเชื่อถือ

คําอธิบาย หมวด ๒ ขอ ๑๒ และ ๑๔

หมายเหต ุหมวด ๒ ขอ ๑๒ และ ๑๔

ขอ ๑๖๙ หนาที่หลักของหัวหนาฝายควบคุมคุณภาพไดกําหนดไวในหมวดที่ ๒ นอกจากนี้ฝาย

ควบคุมคุณภาพยังมีหนาที่อื่นอีก ตัวอยางเชน การจัดทําวิธีการปฏบิัติในการควบคุมคุณภาพทั้งหมด การ

ตรวจสอบความถูกตองของวธิีการปฏิบัติเหลานี้และการนําไปปฏบิัต ิ การเก็บตัวอยางสําหรับอางอิงของ

วัตถุดิบ/วัสดุการบรรจุและผลิตภัณฑ การควบคุมความถกูตองของการติดฉลากของภาชนะบรรจ ุ วัตถุดิบ/

วัสดุการบรรจุ และผลิตภัณฑ การควบคุมความถูกตองของการตรวจติดตามความคงสภาพของผลิตภัณฑ

รวมถึงมีสวนรวมในการสืบสวนขอรองเรียนที่เกี่ยวของกับคุณภาพของผลิตภัณฑ เปนตน

การดําเนินการทั้งหมดเหลานี้ ตองดําเนินการใหถูกตองตามวิธีการปฏบิัติที่เขียนและทําการบันทึกไว

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๗๐ การประเมินผลิตภัณฑสําเร็จรูปตองรวบรวมปจจัยทุกอยางที่เกี่ยวของ ซึ่งประกอบดวย

สภาวะในการดาํเนินการผลิต ผลของการทดสอบในระหวางกระบวนการผลิต การทบทวนเอกสารบันทึก

Page 69: ร่าง GMP 07

๖๕

กระบวนการผลิตและเอกสารบันทึกการบรรจุ ความสอดคลองกับขอกําหนดของผลิตภัณฑสําเร็จรูปและการ

ตรวจสอบภาชนะบรรจุของผลิตภัณฑสําเร็จรูป

คําอธิบาย การประเมินผลิตภัณฑสําเร็จรูปหมายถึงการประเมินเพื่อการปลอยผานไปจําหนาย หมายเหต ุ ไมปฏิบัติตามขอ ๑๗๐ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๗๑ บุคลากรฝายควบคุมคุณภาพ สามารถเขาไปยงับริเวณการดําเนินการผลิตเพื่อทําการสุม

ตัวอยางและตรวจสอบตามความเหมาะสม

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

หลักเกณฑและวิธีการที่ดีสําหรับหองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ ขอ ๑๗๒ หองปฏิบัติการควบคุมคุณภาพและเครื่องมือ ตองสอดคลองกับขอกําหนดทั่วไปและ

ขอกําหนดเฉพาะสําหรับบริเวณการควบคุมคุณภาพ ตามทีร่ะบุไวในหมวด ๓

คําอธิบาย หมวด ๓

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๗๓ บุคลากร สถานที่ และเครื่องมือในหองปฏิบัติการตองเหมาะสมกับงานที่ทํา โดยลักษณะ

และขนาดของการผลิต การใชหองปฏิบตัิการภายนอกตองดําเนินการใหสอดคลองตามหลักการที่ระบุไวใน

หมวด ๗ ทั้งนี้ การจางวิเคราะห อาจยอมรบัไดสําหรับบางกรณี แตตองระบุไวในบันทึกการควบคุมคุณภาพ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

เอกสาร ขอ ๑๗๔ การจัดทําเอกสารสําหรับหองปฏบิัติการตองปฏบิัติตามหลักการที่ระบุไวในหมวด ๔ สวน

สําคัญของเอกสารที่เกี่ยวของกับการควบคุมคุณภาพและรายละเอียดที่ตองจัดใหมีอยูในฝายควบคุมคณุภาพ

มีดังตอไปน้ี

(๑) ขอกําหนด

(๒) วิธีการปฏิบัติในการสุมตัวอยาง (๓) วิธีการปฏิบัติในการทดสอบและบันทึก ประกอบดวยบันทึกการวิเคราะหและ/หรือสมุด

บันทึก

(๔) รายงานการวิเคราะหและ/หรือใบรับรองการวิเคราะห

(๕) ขอมูลจากการตรวจสภาวะแวดลอม ตามที่กาํหนด

Page 70: ร่าง GMP 07

๖๖

(๖) บันทึกการตรวจสอบความถูกตองของวิธีการทดสอบ ตามความเหมาะสม

(๗) วิธีการปฏิบัติ บันทึกของการสอบเทียบและการบํารุงรักษาเครื่องมือ

(๘) วิธีการปฏิบัติ กรณีการไมผานขอกําหนด

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีขอกาํหนดถือเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีขอใดขอหนึ่งในขอ (๒) - (๘) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๗๕ เอกสารการควบคุมคุณภาพที่เกี่ยวของกับบันทึกการผลิต ตองเก็บรักษาไวเปนเวลาอยาง

นอย ๑ ป หลังจากวันสิ้นอายุของผลิตภัณฑรุนนั้น ยกเวนเอกสารแสดงรายละเอียดการวิเคราะหวัตถุดิบและ

ยาที่ผลิต ตองเก็บรักษาไวไมนอยกวา ๕ ป

คําอธิบาย

เอกสารการควบคุมคุณภาพในที่นี้ ไมรวมถึงเอกสารการตรวจสอบความถูกตอง (validation

document) เอกสารการตรวจรับรอง (qualification document) และเอกสารการทดสอบความคงสภาพยา

(stability study document) ซึ่งเอกสารเหลานี้ตองเก็บไวตลอดที่ยังมีการผลิตผลิตภัณฑยานั้นๆ หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๑๗๕ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๗๖ ขอมูลบางชนิด ตัวอยางเชน ผลการวิเคราะห/การทดสอบ ผลผลิต การควบคุมสภาวะ

แวดลอม ตองบันทึกในลักษณะที่สามารถประเมินแนวโนมได

คําอธิบาย การบันทึกขอมลูขางตนตองบันทึกในลักษณะที่สามารถนํามาประเมินแนวโนม (trend analysis) ได

เชน quality control chart สําหรับผลการวิเคราะห ในรุนการผลิตตางๆ

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๗๗ นอกจากขอมูลทีเ่ปนสวนหนึ่งของบันทึกการผลิต ขอมูลที่เปนตนฉบับอื่น ตัวอยางเชน

สมุดบันทึกการปฏิบัติการและ/หรือบันทึกการปฏิบัติการ ตองเก็บรักษาไวและพรอมใหตรวจสอบได

คําอธิบาย ขอมูลตนฉบับในการควบคุมคุณภาพที่นอกเหนือจากที่ระบใุนหมวด ๖ ขอ ๑๗๕ เชน สมดุบันทึกการ

ปฏิบัติการ(laboratory notebook) และ/หรือบันทึกการปฏิบตัิการ (record) ตองเก็บรักษาไวอยางนอย ๕ ป

และพรอมใหตรวจสอบได หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๑๗๗ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

การสุมตัวอยาง

Page 71: ร่าง GMP 07

๖๗

ขอ ๑๗๘ การสุมตัวอยางตองดําเนินการตามวิธีการปฏิบัตทิี่ผานการอนุมัติซึ่งอธิบายถึง

(๑) วิธีการสุมตัวอยาง

(๒) เครื่องมือที่ใช (๓) ปริมาณตวัอยางที่สุม

(๔) คําแนะนําสําหรับการแบงตัวอยาง (๕) ชนิดและสภาพของภาชนะบรรจุตัวอยาง (๖) การบงชี้ถึงภาชนะบรรจุที่ถกูสุมตัวอยาง

(๗) ขอควรระวังพิเศษที่ตองสังเกต โดยเฉพาะการสุมตัวอยางวตัถุดิบท่ีปราศจากเชื้อหรือที่

เปนอันตราย

(๘) สภาวะการเกบ็รักษา

(๙) ขอแนะนําสําหรับการทําความสะอาด และการเก็บเครื่องมือท่ีใชในการสุมตัวอยาง

คําอธิบาย - หมายเหตุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติเลย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๗๙ ตัวอยางอางอิง ตองเปนตัวแทนของรุนของวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุ หรือผลิตภัณฑ

ที่สุมตัวอยาง อาจมีการเก็บตัวอยางอื่นเพิ่มเติม เพื่อตรวจติดตามขั้นตอนสําคัญของกระบวนการ ตัวอยางเชน

ตอนเริ่มตนหรือตอนสุดทายของกระบวนการผลิต

คําอธิบาย ตองปฏิบัติตามหลักการที่ระบุในหมวด ๑๑

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๘๐ ภาชนะบรรจุตัวอยาง ตองติดฉลากระบุถึงส่ิงที่บรรจุอยูภายใน รวมทั้งหมายเลขรุน วันที่

สุมตัวอยาง และภาชนะที่ไดทําการสุมตัวอยางมา

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ฉลากไมแสดงสิ่งที่บรรจุ หมายเลขรุน หรือภาชนะที่ไดทําการสุมถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๘๑ ตัวอยางอางอิง จากผลิตภัณฑสําเร็จรูปแตละรุนตองเก็บรักษาไวอยางนอย ๑ ปหลังจาก

วันสิ้นอายุของผลิตภัณฑสําเร็จรูปจะตองเก็บในภาชนะบรรจสุุดทายและเก็บรักษาภายใตสภาวะที่แนะนําไว

ตัวอยางของวัตถุดิบ (ยกเวน ตัวทําละลาย กาซ และน้ํา) ถามีความคงสภาพดี ตองเก็บรักษาไวอยาง

นอย ๒ ปหลังจากปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป ถาผลความคงสภาพตามที่ระบใุนขอกําหนดสั้นกวา

ระยะเวลาการเก็บอาจจะสั้นกวานี้

ตัวอยางอางอิงของวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุและผลิตภัณฑ ตองมจีํานวนเพียงพอที่จะทําการ

ตรวจสอบอยางสมบูรณไดอยางนอยสองครั้ง

Page 72: ร่าง GMP 07

๖๘

คําอธิบาย ตองปฏิบัติตามหลักการที่ระบุในหมวด ๑๑

หมายเหต ุ -

การทดสอบ ขอ ๑๘๒ วิธีการวิเคราะห ตองมีการตรวจสอบความถูกตอง การทดสอบทั้งหมดที่อธิบายไวใน

ทะเบียนตํารับยาตองดําเนินการตามวิธีการที่ไดรับอนุมัติ

คําอธิบาย (๑) การวิเคราะหและการทดสอบตํารับยาสําเร็จรูปที่ปรากฏในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศ

(official monograph) หรือฉบับใหมกวาที่ใชวิธวีิเคราะห/ทดสอบตามตาํรายาฯ ใหทําการทวนสอบ

(verification) ตามหัวขอทีร่ะบุไวในตํารายาฯ เลมนั้น หรือใหทดสอบอยางนอยในหัวขอ accuracy,

precision และ linearity

(๒) การวิเคราะหและการทดสอบตํารับยาสําเร็จรูปที่ปรากฏในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศ

(official monograph) หรือฉบับใหมกวาที่ไมใชวิธีวิเคราะห/ทดสอบตามตํารายาฯ ตองมีการตรวจสอบความ

ถูกตอง (validation) รายละเอียดตาม ASEAN guidelines for validation of analytical procedures หรือ

guidelines อืน่ที่เทียบเทา

(๓) การวิเคราะหและการทดสอบตํารับยาสําเร็จรูปที่ไมปรากฏในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศ

(non-official monograph) ที่ใชวิธวีิเคราะห/ทดสอบตามตํารายาฯ สําหรับรูปแบบยา (dosage form) อื่น

หรือใชวธิีอื่น ตองมีการตรวจสอบความถูกตอง (validation) รายละเอียดตาม ASEAN guidelines for

validation of analytical procedures หรือ guidelines อื่นทีเ่ทียบเทา

(๔) การวิเคราะหและการทดสอบวัตถุดิบที่ไมใชวิธีตามตํารายาฯ ตองมกีารตรวจสอบความ

ถูกตอง (validation) รายละเอียดตาม ASEAN guidelines for validation of analytical procedures หรือ

guidelines อื่นที่เทียบเทา

(๕) กรณีทะเบียนตํารับยาที่ไดขึ้นทะเบียนแลว การทําการตรวจสอบความถูกตอง (validation) ให

ปฏิบัติตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่องหลักเกณฑการขอแกไขทะเบียนตํารับยาแผน

ปจจบุันฯ (เมื่อมีผลบังคับใช) หมายเหต ุ ไมปฏิบัติตามขอ ๑๘๒ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๘๓ ตองบันทึกและตรวจสอบผลการทดสอบที่ไดเพื่อใหมั่นใจวามคีวามสม่ําเสมอในแตละครั้ง

ในการคํานวณตองตรวจสอบอยางระมัดระวงั

คําอธิบาย ผลการทดสอบในแตละหัวขอของผลิตภัณฑยาในรุนเดียวกันตองมีการบันทึกและตรวจสอบวาผล

การทดสอบเหลานั้นมีความถกูตอง และสอดคลองกัน ระหวางแตละหัวขอท่ีทดสอบ

Page 73: ร่าง GMP 07

๖๙

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๘๔ ตองมีการบันทึกการทดสอบที่ทํา ซึ่งบันทึกตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดงัตอไปน้ี

(๑) ชื่อของวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุ หรือผลิตภัณฑและรูปแบบของเภสัชภัณฑ

(๒) หมายเลขรุน ชือ่ผูผลิตและ/หรือผูสงมอบ ตามความเหมาะสม

(๓) การอางอิงถึงขอกําหนดและวิธีการปฏิบัติที่เกี่ยวของ (๔) ผลการทดสอบ ประกอบดวยขอสังเกต การคํานวณ และการอางอิงถึงใบรับรองผลการ

วิเคราะห

(๕) วันที่ทําการทดสอบ

(๖) ลายมือชื่อของผูที่ทําการทดสอบ

(๗) ลายมือชื่อของผูที่ทําการทวนสอบการทดสอบและการคํานวณ ตามความเหมาะสม

(๘) ขอความที่แสดงใหชัดเจนถึงการปลอยผานหรือไมผาน หรือสถานะการตัดสินใจอื่น

และลายมือชื่อพรอมวันที่ของผูรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย

คําอธิบาย (๔) ผลการทดสอบวัตถุดิบ และวัสดุการบรรจุบางชนิด การอางอิงถงึใบรับรองผลการวิเคราะห

หมายถึงใหแนบเอกสาร หรืออางอิง certificates of analysis ของ supplier

(๗)-(๘) อาจอนุโลมใหผูที่ทําการทวนสอบและผูมีอํานาจปลอยผานผลการทดสอบเปนบุคคล

เดียวกันได ในกรณีที่เปนองคกรขนาดเล็กและกรณีการปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูปสําหรับจาํหนายใหดู

หมวด ๒ ขอ ๑๔ ประกอบ หมายเหต ุ

ไมมีบันทึกการทดสอบ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ตรวจพบวาเจตนาบันทึกขอมูลเท็จในเรื่องที่มีความสําคัญ ถอืเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีขอมูลดิบของการชั่ง ตวง วัด ในการวิเคราะหปริมาณตัวยาสําคัญ หรือบันทึกขอมูลในเศษ

กระดาษ ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

ไมมีการลงลายมือชือ่ผูปลอยผานผลการทดสอบ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๘๕ การควบคุมระหวางกระบวนการผลิตทั้งหมดที่ทําในบริเวณการดําเนินการผลิตโดย

บุคลากรฝายผลิต ตองดําเนินการตามวิธีการที่ไดรับการอนุมัติจากฝายควบคุมคุณภาพ และมีการบันทึกผล

การทดสอบไว

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมไดรับการอนมุัติจากฝายควบคุมคุณภาพ หรือไมมีการบนัทึกผลการทดสอบไว ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๑๘๖ ตองเอาใจใสเปนพิเศษตอคุณภาพของสารเคมีที่ใชในหองปฏบิัติการ เครื่องแกวสําหรับ

ตวงวัด และสารละลาย สารมาตรฐานอางอิง และอาหารเพาะเชื้อ ซึ่งตองทําการเตรียมใหถูกตองตามวิธีการ

Page 74: ร่าง GMP 07

๗๐

ปฏิบัติที่เขียนไว

คําอธิบาย (๑) จัดใหมีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการจัดการเครื่องแกวสําหรับตวงวัดในหองปฏิบัติการ

(เชน ระบุชนิดของเครื่องแกว การสอบเทียบ การทําความสะอาด เปนตน) และ สําหรับการจัดการสารเคมีที่

ใชในหองปฏิบตัิการ สารละลาย สารมาตรฐานอางอิง และอาหารเพาะเชือ้

(๒) ใหมีบันทึกการรับสารเคมี สารละลาย สารมาตรฐานอางอิง อาหารเพาะเชื้อ และมบีันทึกการ

เตรียมน้ํายาทดสอบ volumetric solutions อาหารเพาะเชื้อ และขอมูลการวิเคราะหความแรงของ

volumetric solutions

(๓) มีการทดสอบ positive/negative control ของอาหารเพาะเชื้อท่ีเตรียมแตละรุน

(๔) สารมาตรฐานอางอิง หมายถึงสารมาตรฐานอางอิงตามตํารายา หรือสารมาตรฐานอางอิงที่

ผูผลิตเตรียมขึ้น ซึ่งตองผานการทดสอบมาตรฐาน อนุมัตใิหผานและเก็บรักษาในบริเวณที่ปลอดภัยในความ

รับผิดชอบของผูที่ไดรับมอบหมายเชนเดียวกับสารมาตรฐานอางอิงตามตาํรายา

(๕) สารมาตรฐานทุติยภูมิซึง่เปนสารมาตรฐานที่ไดจากการสอบเทียบกบัสารมาตรฐานอางอิงตาม

ตํารายาหรือสารมาตรฐานอางอิงที่ผูผลิตเตรียมขึ้น ตองวิเคราะหทดสอบตามความเหมาะสมและตรวจสอบ

เปนระยะๆ เพื่อใหมั่นใจในมาตรฐาน (ประเมินตามความคงสภาพของสารมาตรฐานนั้นๆ) หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการจัดการเครื่องแกวสําหรับตวงวัด และการจัดการสารเคมีที่ใช

ในหองปฏิบัติการ สารละลาย สารมาตรฐานอางอิง และอาหารเพาะเชื้อ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีบันทึกการเตรียมน้ํายาทดสอบ volumetric solutions ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีขอมูลการวิเคราะหความแรงของ volumetric solutions รายการใดรายการหนึ่งที่ตองใชคาความ

แรง หรือคาความเขมขนในการคํานวณหาปริมาณของตัวยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีทั้งบันทึกการเตรียมและขอมูลการวิเคราะหความแรงของ volumetric solutions ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

ไมมีการทดสอบอาหารเพาะเชื้อ (positive/negative control) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

นําคาความแรงจากใบ certificate of analysis ของวัตถุดิบ (รุนที่ใชเปนสารมาตรฐานทุติยภูมิ) จาก

ผูผลิต หรือ supplier มาใชโดยไมมีการสอบเทียบ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมสอบเทียบสารมาตรฐานทตุิยภูมิเปนระยะๆ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๘๗ สารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการทีจ่ะเก็บไวใชเปนเวลานาน ตองมีฉลากระบวุันที่ที่เตรียม

และลายมือชื่อผูที่เตรียม สารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการที่ไมคงตัวและอาหารเพาะเชื้อ ตองระบุวันสิ้นอายุและ

สภาวะการเก็บรักษาบนฉลาก นอกจากนี้ สําหรับสารละลายที่ทราบความเขมขนแนนอน ตองระบวุันที่หาคา

ความเขมขนครั้งสุดทายและคาแฟคเตอรลาสุด

Page 75: ร่าง GMP 07

๗๑

คําอธิบาย สําหรับสารละลายที่ทราบความเขมขนแนนอน (volumetric solution) กรณีที่ไมจําเปนตอง re-

standardize ทุกครั้งที่ใช แตละโรงงานตองมีขอมูลการศึกษาความคงสภาพ (stability study) ของ

volumetric solution โดยที่คาของความเขมขนตองเปลี่ยนแปลง

- ไมเกินรอยละ ๐.๑ ในกรณีที่ใชสารละลายนี้วิเคราะหหาปริมาณตัวยาสําคัญในการ

วิเคราะหวัตถุดิบ

- ไมเกินรอยละ ๐.๕ ในกรณีทีใ่ชสารละลายนีว้ิเคราะหหาปริมาณตัวยาสาํคญัในยาสําเร็จรูป

ที่มีมาตรฐานกาํหนดรอยละ ๙๕.๐-๑๐๕.๐ ของปริมาณที่แจง (%LA)

- ไมเกินรอยละ ๑.๐ ในกรณีทีใ่ชสารละลายนีว้ิเคราะหหาปริมาณตัวยาสําคญัในยาสําเร็จรูป

ที่มีมาตรฐานกาํหนดรอยละ ๙๐.๐-๑๑๐.๐ ของปริมาณที่แจง (%LA)

หรือควร re-standardise สารละลายที่ทราบความเขมขนแนนอนทุกครั้งทีใ่ช และควรใชภายใน ๑-๒ วัน หมายเหต ุ เจตนาแสดงขอมูลบนฉลากเปนเท็จ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอมูลบนฉลากไมครบตามที่ระบุ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๘๘ ควรระบุวันที่ที่รับและเปดใชสารที่ใชในการทดสอบไวบนภาชนะบรรจ ุ ตัวอยางเชน

สารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการ สารมาตรฐานอางอิง รวมถึงควรปฏิบัตติามคําแนะนําในการใชและการเก็บ

รักษา

ในบางกรณี สารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการควรทําการทดสอบพิสูจนเอกลกัษณและ/หรือการทดสอบ

อื่นภายหลังการรับหรือกอนการใช

คําอธิบาย

ในบางกรณี เชน ซื้อสารเคมีจากผูผลิตรายใหม (แมวาจะมใีบรับรองผลการวิเคราะหก็ตาม) หรือซือ้

สารเคมีนานแลว แตไมแนใจในความคงสภาพหรืออาจเกิดปญหาในการวเิคราะห ควรทําการทดสอบพสูิจน

เอกลักษณและ/หรือการทดสอบอื่นภายหลังการรับหรือกอนการใช หมายเหต ุ

เก็บรักษาสารมาตรฐานอางอิงไมเหมาะสม ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ฉลากไมระบุวนัที่ที่รับและเปดใชสารที่ใชในการทดสอบไวบนภาชนะบรรจุ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๘๙ สัตวทดลองที่ใชสําหรับทดสอบตองกักกันไวกอนนํามาใชตามความเหมาะสม สัตวทดลอง

เหลานี้ตองดูแลและควบคุมเพื่อใหมั่นใจวามีความเหมาะสมกับวัตถุประสงคที่จะใช นอกจากนี้ ตองมีการบง

บอกและบันทึกที่เพียงพอเพื่อแสดงประวัติของการใชสัตวทดลองเหลานี้

Page 76: ร่าง GMP 07

๗๒

คําอธิบาย

ขอมูลที่ตองบันทึกเกี่ยวกับสัตวทดลองที่ใชสําหรับทดสอบ เชน genus species เพศ อายุ

น้ําหนัก ลักษณะทางกายภาพ แหลงที่มา รหัสประจําตัว (ยกเวน mice) บันทึกการตรวจสุขภาพ ฯลฯ

ระยะเวลาการกักกันขึ้นกับวัตถุประสงคของการนําสัตวไปใช หมายเหต ุ ไมมีบันทึกเกี่ยวกับสัตวทดลองที่ใชสําหรับทดสอบ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง ขอ ๑๙๐ ภายหลังปลอยผานผลิตภัณฑออกสูตลาด ตองมีการตรวจตดิตามความคงสภาพของ

ผลิตภัณฑยาตามที่กําหนดไวในแผนอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถตรวจหาปญหาที่เกี่ยวกับความคงสภาพ

ของสูตรตํารับในภาชนะที่บรรจุจําหนาย ตัวอยางเชน การเปล่ียนแปลงของระดับปริมาณสิ่งปนเปอน หรือ

ขอมูลการละลาย

คําอธิบาย ผลิตภัณฑที่ออกสูตลาดทุกตํารับในภาชนะทีบ่รรจุจําหนายตองทําแผน (program) และตรวจติด

ตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจตดิตามความคงสภาพอยางตอเนื่องทั้งหมด (ไมวาจะมีแผนหรือไมก็ตาม) ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

มีการตรวจติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องบางตํารับ (ไมวาจะมแีผนหรือไมก็ตาม) ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีแผนการตรวจติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง แตมีการตรวจติดตามความคงสภาพอยาง

ตอเนื่อง ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

มีแผนการตรวจติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง แตไมปฏิบัติตามแผน ฯ และทําใหเกิดความ

เส่ียงตอคุณภาพ หรือผูบริโภค ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๙๑ วัตถุประสงคของการศึกษาความคงสภาพอยางตอเนื่อง เพื่อตรวจติดตามอายุการใชของ

ผลิตภัณฑยา และเพื่อพจิารณาวาผลิตภัณฑนั้นมีคุณภาพและคาดวายังคงมีคุณภาพตามขอกาํหนดภายใต

สภาวะการเก็บรักษาที่ระบุไวบนฉลาก

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๙๒ การติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง ใหใชกับผลิตภัณฑยาที่บรรจุในภาชนะที่

จําหนาย แตควรมีแผนการติดตามความคงสภาพสําหรับผลิตภัณฑรอบรรจุดวย ตัวอยางเชน เมื่อเก็บ

ผลิตภัณฑรอบรรจุไวเปนเวลานานกอนทําการบรรจุ และ/หรือรอการสงตอจากสถานที่ผลิตไปยังสถานที่บรรจุ

Page 77: ร่าง GMP 07

๗๓

ตองมีการประเมินและศึกษาผลกระทบตอความคงสภาพของผลิตภัณฑภายใตสภาวะปกติ รวมถงึตอง

ติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องผลิตภัณฑระหวางผลิตที่เก็บและรอใชเปนเวลานาน

หากมีการศึกษาความคงสภาพของผลิตภัณฑผสมนํ้าหรือตัวทําละลายอื่นกอนใช ไดศึกษาภายหลัง

การผสมตามชวงเวลาตางๆ ในระหวางการพัฒนาผลิตภัณฑแลว ในการตรวจติดตามความคงสภาพอยาง

ตอเนื่องของผลิตภัณฑดังกลาว ไมจําเปนตองตรวจในแตละชวงเวลาภายหลังการผสม อยางไรก็ตาม ยังคง

แนะนําวาหากสามารถทําไดควรติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องของผลิตภัณฑผสมน้ําหรือตัวทําละลาย

อื่นกอนใชตามชวงเวลาตางๆ

คําอธิบาย ผลิตภัณฑระหวางผลิต และผลิตภัณฑรอบรรจุที่ตองเก็บไวนานกอนดําเนินการผลิต หรือบรรจุในขั้น

ตอไป ควรทําแผนและตรวจติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง โดยพจิารณาจากการประเมินความเสี่ยงที่

อาจเกิดขึ้นตอคุณภาพของผลิตภัณฑ การประเมินและศึกษาผลกระทบตอความคงสภาพของผลิตภัณฑ

ภายใตสภาวะปกติ หมายถึงสภาวะจัดเก็บผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นจริงระหวางกระบวนการ หมายเหต ุ ไมมีการประเมนิและศึกษาความคงสภาพของผลิตภัณฑรอบรรจุ และผลิตภัณฑระหวางผลิตที่เก็บ

และรอใชเปนเวลานาน ภายใตสภาวะปกต ิถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๙๓ ตองมีการเขียนโปรโตคอล และจัดทํารายงานผลการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง

ตามหลักการที่กําหนดไวในหมวด ๔ รวมท้ังตองมีการตรวจรับรองและบํารุงรักษาเครื่องมือท่ีใชในการติดตาม

ความคงสภาพอยางตอเนื่อง ตัวอยางเชน ตูสําหรับติดตามความคงสภาพที่สภาวะตามหลักการที่ระบุไวใน

หมวด ๓ และหมวด ๑๒

คําอธิบาย ใหเขียนโปรโตคอล และรายงานผลการติดตามความคงสภาพอยางตอเนือ่ง แยกกันใหชดัเจน หมายเหต ุ ไมมีการเขียนโปรโตคอล หรือไมมกีารจัดทํารายงานผลการติดตามความคงสภาพอยางตอเนือ่ง

หรือไมมีการตรวจรับรอง (รวมถึงการสอบเทียบเครื่องมือ) และไมมีการบํารุงรักษาเครื่องมือท่ีใชในการติดตาม

ความคงสภาพอยางตอเนื่อง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๙๔ โปรโตคอลสําหรับการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง ตองครอบคลุมถงึส้ินสุดอายุ

การใชของผลิตภัณฑยานั้น และอยางนอยตองประกอบดวย

(๑) จํานวนรุนที่ผลิตสําหรับแตละความแรง และขนาดรุนที่ผลิต (ถามี)

(๒) วิธีการทดสอบทางกายภาพ เคมี จุลชวีวิทยา และชีววิทยา

(๓) เกณฑการยอมรับ

(๔) อางอิงวิธีการทดสอบที่ใช (๕) รายละเอียดของระบบภาชนะบรรจุและการปดผนึก

(๖) ชวงเวลาการทดสอบที่จุดเวลาตางๆ

Page 78: ร่าง GMP 07

๗๔

(๗) รายละเอียดของสภาวะการเก็บ โดยเฉพาะสภาวะในการทดสอบระยะยาวใหใชตาม

ประกาศของสาํนักงานคณะกรรมการอาหารและยาและตองกําหนดไวบนฉลาก

(๘) พารามิเตอรที่เฉพาะเจาะจงสําหรับแตละผลิตภัณฑยา (ถามี)

คําอธิบาย (๑) ที่ความแรงเดียวกัน แตขนาดรุนที่ผลิตตางกันมากกวา ๑๐ เทาขึ้นไป ตองมีโปรโตคอลการ

ติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องแยกกัน

(๕) รายละเอียดของระบบภาชนะบรรจุและการปดผนึก ไดแก ชนิดของภาชนะบรรจ ุขนาดบรรจุ ฝา

เกลียว หรือ seal

(๗) สภาวะการเก็บตามประกาศของสาํนักงานคณะกรรมการอาหารและยาใหใช ASEAN

guidelines for stability study of drug product ฉบับปจจบุัน

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๙๕ โปรโตคอล การติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง อาจแตกตางจากการศึกษาความคง

สภาพแบบระยะยาวที่ไดยื่นขอขึ้นทะเบียนตํารับไว โดยมขีอแมวาตองมกีารใหเหตุผลที่สมควรและระบุไวใน

โปรโตคอล ตัวอยางเชน ความถี่ของการทดสอบ หรือปรับใหเปนปจจบุันตามประกาศของสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา

คําอธิบาย โปรโตคอลการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องตองสอดคลองตามการศึกษาความคงสภาพแบบ

ระยะยาวที่ไดยื่นขอขึ้นทะเบียนตํารับไว ถาแตกตางกันตองระบุเหตุผลไวในโปรโตคอลดวย

หมายเหต ุ -

ขอ ๑๙๖ จํานวนรุนที่ผลิตและความถี่ของการทดสอบ ตองใหขอมูลเพียงพอสําหรับการวิเคราะห

แนวโนม นอกจากมีเหตุผลเพียงพอ ใหทําการติดตามความคงสภาพอยางนอย ๑ รุนการผลิตตอป ในทุก

ความแรงและทุกประเภทของวัสดุการบรรจุปฐมภูมิทีใ่ช เวนแตไมมีการผลิตในระหวางป

สําหรับผลิตภัณฑที่การตรวจติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องซึ่งปกตทิดสอบโดยใชสัตวทดลอง

และไมมีวธิีการอื่นที่เหมาะสมซึ่งผานการตรวจสอบความถูกตองแลว ความถี่ของการทดสอบอาจจะพจิารณา

จากความเสี่ยงและประโยชนที่ไดรับ

อาจนําหลักการของการออกแบบแบบแบรกเกตติง และการออกแบบแบบเมทริกซิง มาใช หากมีการ

ระบุเหตุผลตามหลักวิทยาศาสตรในโปรโตคอล

คําอธิบาย จํานวนรุนที่ผลิตและความถี่ของการทดสอบ ตองมีขอมูลเพียงพอและนําขอมูลดังกลาว มาใชในการ

วิเคราะหแนวโนมได (trend analysis) โดยใหศึกษาหลังจากไดรับทะเบียนตํารับแลวอยางนอยปละ ๑ รุน

ติดตอกันเปนเวลาไมนอยกวา ๕ ป และตองไมนอยกวา ๕ รุนที่ไดผลการศึกษาเปนแนวเดียวกัน สามารถ

ศึกษาความคงสภาพอยางตอเนื่องทุก ๓ ป

Page 79: ร่าง GMP 07

๗๕

การตรวจติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องของผลิตภัณฑ ถาไมทดสอบทุกขนาดบรรจุที่มีการ

ผลิตในปนั้น โดยอาศัยหลักการของ แบรกเกตติง และเมทริกซิง จาก ICH Topic Q1D Bracketing and

Matrixing designs for stability testing of drug substances and drug products หมายเหต ุ ไมมีการติดตามความคงสภาพอยางนอย ๑ รุนการผลิตตอป ในทุกความแรงและทุกประเภทของวัสดุ

การบรรจุปฐมภูมิที่ใช เวนแตไมมีการผลิตในระหวางป หรือมีขอมูลความคงสภาพของผลิตภัณฑเพียงพอถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๙๗ ในบางสถานการณ การติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องอาจมีการเพิ่มจํานวนรุนการ

ผลิตที่ศึกษา ตัวอยางเชน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือมีความเบี่ยงเบนอยางมีนัยสําคัญในกระบวนการหรือ

วัสดุการบรรจุ รวมถึงการทําซ้ําดวยกระบวนการใหม การทําซ้ําดวยกระบวนการเดิม หรือการนํากลับมาใชใหม

คําอธิบาย กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีความเบี่ยงเบนอยางมีนัยสําคัญที่เกิดขึ้นเฉพาะครั้ง ในกระบวนการ

หรือวัสดุการบรรจุ รวมถึงการทําซ้ําดวยกระบวนการใหม การทําซ้ําดวยกระบวนการเดิม หรือการนํากลับมา

ใชใหม ตองมีการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องเพิ่มเติม หมายเหต ุ ไมมีการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องเพิ่มเติม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๑๙๘ ผลของการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง ตองเสนอไปยงับุคลากรหลัก โดยเฉพาะ

ผูที่ไดรับมอบหมาย

การติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องที่สถานที่อื่นนอกเหนือจากสถานทีผ่ลิตผลิตภัณฑรอบรรจุ

หรือผลิตภัณฑสําเร็จรูป ควรมขีอตกลงที่เปนลายลักษณอักษรระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ

รายงานผลการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องควรมีไวที่สถานที่รับอนุญาตผลิตยา เพื่อให

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสามารถตรวจสอบได

คําอธิบาย ผลของการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่อง ตองเสนอไปยังหัวหนาฝายควบคุมคุณภาพ หัวหนา

ฝายผลิต และผูที่ไดรับมอบหมายที่เกี่ยวของ (ดูหมวด ๒ ขอ ๑๔ ประกอบ) เพื่อพิจารณาดาํเนินการตอไป

กรณีการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องที่จางหนวยงานอื่นวิเคราะห ควรมีขอตกลงที่เปนลาย

ลักษณอักษรระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ (เปนไปตามหลักการที่ระบุไวในหมวด ๗) หมายเหต ุ ไมมีการเสนอผลการติดตามความคงสภาพอยางตอเนื่องไปยังบุคลากรหลัก และผูไดรับมอบหมายที่

เกี่ยวของ ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

ไมมีการเก็บรายงานความคงสภาพอยางตอเนื่องไวที่สถานที่รับอนุญาตผลิตยา ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๑๙๙ การไมผานขอกาํหนด หรือแนวโนมที่มีความผิดปกติอยางมนีัยสําคัญ ตองสืบสวนหา

Page 80: ร่าง GMP 07

๗๖

สาเหตุ

การยืนยันผลของการไมผานขอกําหนดหรือแนวโนมเชิงลบที่มีนัยสําคัญ ตองมีการรายงานตอ

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ผลกระทบที่เปนไปไดตอแตละรุนการผลิตในทองตลาด ตองพิจารณาตามที่ระบุไวในหมวด ๘ และ

ตองแจงสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

คําอธิบาย เมื่อมีการสืบสวนแลวพบวามปีญหาจริง ใหดําเนินการตามหมวด ๘ และตองรายงานตอสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา หมายเหต ุ ถาพบวาผลิตภัณฑไมผานขอกําหนด และไมมีการดําเนินการเรียกคืนผลิตภัณฑ ถือเปนขอบกพรอง

รายแรง

ถาพบวาผลิตภัณฑไมผานขอกําหนดหรือมีแนวโนมเชิงลบที่มีนัยสําคัญ และไมรายงานตอสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๐๐ ผลสรุปของขอมูลทั้งหมด รวมถึงผลสรุปแตละชวงเวลาของแผนการติดตาม ตองเขียนเปน

ลายลักษณอักษรและเก็บรักษาไว ผลสรุปนี้ควรมีการทบทวนเปนระยะ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการบันทึก และเก็บผลสรุปของขอมูลไวเปนลายลักษณอักษร ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 81: ร่าง GMP 07

๗๗

หมวด ๗ การจางการผลิตและการวิเคราะห

หลักการ การจางการผลิตและการวิเคราะหตองมีการกําหนดเงื่อนไข ขอตกลง และการควบคุมใหชัดเจนเพื่อ

หลีกเลี่ยงการเขาใจผิดซึ่งจะสงผลใหผลิตภัณฑหรืองานที่ทํามีคุณภาพไมเปนที่นาพอใจ โดยตองทําสัญญา

จางเปนลายลักษณอักษรระหวางผูวาจางและผูรับจางซึ่งกําหนดหนาที่ของแตละฝายใหชัดเจน โดยสัญญา

จางดังกลาวตองระบุถึงวิธีการและความรับผิดชอบของผูที่ไดรับมอบหมายปลอยผานผลิตภัณฑแตละรุน

ออกจาํหนายใหชัดเจน

เนื้อหาในหมวดนี้เกี่ยวกับความรับผิดชอบของผูรับอนุญาตผลิตที่มีตอสํานักงานคณะกรรมการ

อาหารและยาซึง่เปนผูอนุญาตการผลิตและรับขึ้นทะเบียนตํารับยา โดยไมครอบคลุมถึงความรับผิดของผู

รับจางและผูวาจางที่มีตอผูบริโภค

ขอกําหนดทั่วไป ขอ ๒๐๑ ตองมีการจัดทําสัญญาจางเปนลายลักษณอักษรครอบคลุมขอตกลงของการผลิตและ/

หรือการวิเคราะห รวมถึงขอตกลงทางเทคนิคที่เกี่ยวของภายใตสัญญาดังกลาว ขอ ๒๐๒ ขอตกลงทุกอยางของสัญญาจางการผลิตและการวิเคราะห รวมถึงขอเสนอในการเปลี่ยน

แปลงเทคนิคหรือขอตกลงอื่น ตองเปนไปอยางถูกตองตรงตามทะเบียนตํารับยาของผลิตภัณฑนั้น

ผูวาจาง ขอ ๒๐๓ ผูวาจางตองรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของผูรับจาง ในการทํางานไดสําเร็จ

ลุลวงตามที่ตองการ และปฏบิัติตามหลักการของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตที่กําหนดไวในประกาศ

กระทรวงสาธารณสุขฉบับนี้ ขอ ๒๐๔ ผูวาจางตองจัดใหมีขอมูลทุกอยางที่จําเปนแกผูรับจางในการดําเนินการตามสัญญาจาง

อยางถูกตองตามทะเบียนตํารับยาและกฎเกณฑอื่นที่กําหนด

ผูวาจางตองแนใจวาผูรับจางมคีวามระมัดระวงัตอปญหาทุกอยางที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑหรืองานที่

ทําซึ่งอาจเกิดอันตรายตออาคารสถานที่ เครื่องมือ บุคลากร วัตถุอื่นหรือผลิตภัณฑอื่นของผูรับจาง ขอ ๒๐๕ ผูวาจางตองแนใจวาผลิตภัณฑและวัตถุทุกอยางที่ผูรับจางสงมอบมาให ถูกตองตรงกับ

ขอกําหนด หรือผลิตภัณฑที่สงมอบมาใหนั้นไดมีการปลอยผานโดยผูที่ไดรับมอบหมาย

คําอธิบาย ผูวาจางตองทําการประเมินความสามารถของผูรับจางในการจางผลิตและ/หรือวิเคราะหทั้งในดาน

เทคนิค ศักยภาพการผลิต/วเิคราะห และเอกสารที่เกี่ยวของ วาผูรับจางสามารถบรรลุวัตถุประสงคไดตาม

ความตองการและมีคุณภาพตามขอกาํหนดไดอยางถูกตองตามทะเบียนตํารับยาและกฎเกณฑอื่นๆ ที่กาํหนด

Page 82: ร่าง GMP 07

๗๘

กอนการทําสัญญาจางการผลิตและการวิเคราะห และตองมีการบันทึกการประเมินความสามารถเพื่อใชใน

การทบทวนการประเมินรอบตอไป

หมายเหต ุ -

ผูรับจาง ขอ ๒๐๖ ผูรับจางตองมอีาคารสถานที่และเครื่องมือท่ีเพียงพอ มคีวามรูและประสบการณ มี

บุคลากรที่มีความสามารถทํางานตามที่ผูวาจางสั่งทํา สัญญาจางการผลิตตองทํากับผูรับอนุญาตผลิตเทานั้น ขอ ๒๐๗ ผูรับจางตองแนใจวาผลิตภัณฑหรือวัตถุทุกอยางที่ผูวาจางสงมอบมาให มีความ

เหมาะสมตามวัตถุประสงค

ขอ ๒๐๘ ผูรับจางตองไมนํางานที่ไดรับมอบหมายใหทําตามสัญญาจางไปมอบหมายตอใหบุคคลที่สามโดยไมไดรับการอนุมัติจากผูวาจาง ขอตกลงที่ทําระหวางผูรับจางและบุคคลที่สามตองแนใจวามีขอมูล

เกี่ยวกับการผลิตและการวิเคราะหเหมือนกับที่ผูวาจางและผูรับจางทําไวแตเดิม

ขอ ๒๐๙ ผูรับจางตองละเวนกิจกรรมที่อาจเกิดผลเสียตอคุณภาพของผลิตภัณฑที่ผลิตและ/หรือ

วิเคราะหตอผูวาจาง

คําอธิบาย ผูรับจางตองทําการประเมินความสามารถของตนเองในการจางผลิตและวิเคราะหวาสามารถบรรลุ

วัตถุประสงคไดตามความตองการของผูวาจาง และมีคุณภาพตามขอกําหนดอยางถูกตองตามทะเบียนตํารับ

ยาและกฎเกณฑอื่นๆ ที่กําหนดในเรื่องตางๆ เชน อาคารสถานที่ เครื่องจักร เครื่องมือ บุคลากร ระบบเอกสาร

การควบคุมคณุภาพ และการประกันคุณภาพ กอนการทาํสัญญาจางการผลิตและการวิเคราะห และตองมี

การบันทึกการประเมินความสามารถเพื่อใชในการทบทวนการประเมินรอบตอไป หรือในการทบทวนเมื่อมีการ

เปล่ียนแปลงกระบวนการที่ตองมีการแจงผูวาจางทราบกอนการดําเนินการเปลี่ยนแปลง

หมายเหต ุ -

สัญญาจาง ขอ ๒๑๐ สัญญาจางตองทําขึ้นระหวางผูวาจางและผูรับจางซึ่งตองกาํหนดความรับผิดชอบของแต

ละฝายที่เกี่ยวของกับการผลิตและการควบคุมผลิตภัณฑ

เกณฑทางเทคนิคของสัญญาจางตองทําขึ้นโดยผูที่มีความรูความสามารถที่เหมาะสมในดาน

เทคโนโลยีเภสัชกรรม การวิเคราะห และหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต

ขอตกลงทุกอยางสําหรับการผลิตและการวิเคราะหตองถูกตองตามทะเบียนตํารับยาและเห็นพองกัน

ทั้งสองฝาย

ขอ ๒๑๑ สัญญาจางตองกําหนดวิธีการปลอยผานผลิตภัณฑแตละรุนเพื่อจาํหนายของผูที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใหมั่นใจวาแตละรุนไดทําการผลิตและตรวจสอบวาถูกตองตามขอกําหนดที่ระบุในทะเบียน

ตํารับยา

Page 83: ร่าง GMP 07

๗๙

ขอ ๒๑๒ สัญญาจางตองอธิบายอยางชัดเจนวาผูใดรับผิดชอบสําหรบัการจัดซือ้ การทดสอบ และ

ปลอยผานวัตถดุิบ/วัสดุการบรรจุ ผูใดรับผิดชอบในการดําเนินการผลิตและการควบคุมคณุภาพ รวมถงึการ

ควบคุมระหวางการผลิต ผูใดรับผิดชอบในการสุมตัวอยางและวิเคราะห

กรณีของสัญญาจางการวิเคราะห ตองกําหนดวาผูรับจางจะทําการสุมตวัอยางที่สถานที่ของผูผลิต

หรือไม ขอ ๒๑๓ บันทึกการผลิต บันทึกการวิเคราะห บันทึกการจําหนาย และตัวอยางอางองิ ตองเก็บโดย

ผูวาจางหรือจัดใหมีแกผูวาจางเมื่อรองขอ

ตองมีบันทึกที่เกี่ยวของกับการประเมินคุณภาพผลิตภัณฑในกรณีของการรองเรียนหรือสงสัยวา

บกพรองใหตรวจสอบได อีกทัง้ตองกําหนดวิธีการปฏิบัตใินการดําเนินการกับขอบกพรองหรือการเรียกเก็บคืน

ของผูวาจาง ขอ ๒๑๔ สัญญาจางตองระบุใหผูวาจางสามารถเขาตรวจเยี่ยมสถานที่ปฏิบัติงานของผูรับจางได

ขอ ๒๑๕ สัญญาจางการวิเคราะห ตองระบุวาผูรับจางยินยอมใหสํานักงานคณะกรรมการอาหาร

และยาเขาไปตรวจสอบได

คําอธิบาย

สัญญาจางการผลิตและการวิเคราะหตองมีรายละเอียดที่เพียงพอ เพื่อใหการจางผลิตและวิเคราะห

เปนไปตามขอกําหนดของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต ขอกําหนดตามกฎหมาย และขอกําหนดอื่นๆ

ที่เกี่ยวของ อยางนอยควรมีรายละเอียดดังนี้

(๑) อารัมภบท

รายละเอียดของสัญญาที่จัดทําขึ้นระหวางผูวาจางและผูรับจางที่มีอํานาจตามกฎหมายตามขอตกลง

ของสัญญาที่จดัทําเปนลายลักษณอักษร เงื่อนไขที่กลาวในเอกสารแนบทาย และขอตกลงเพิ่มเติมที่อาจมีขึ้นตอไป

(๒) ผลิตภัณฑและวัตถุดิบ/วัสดุการบรรจุ ตองมรีายละเอียดระบุ

(๒.๑) การผลิตผลิตภัณฑตองดําเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต (GMP

PIC/S) ของกระทรวงสาธารณสุข และขอกําหนดอื่นๆ ตามกฎหมายของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

(๒.๒) ผูรับจางแตงตั้งผูรับผิดชอบในการผลิต การวิเคราะห และการประสานงานดานเภสัช

กรรมและเทคนิคทั้งหมด

(๒.๓) ผูวาจางแตงตั้งผูรับผิดชอบในการสนับสนุนในสาขาตางๆ เชน การผลิต การประกัน

คุณภาพ เทคนิคดานเภสัชกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวของกับวตัถุดิบ/วัสดุการบรรจุ คุณลักษณะเฉพาะของ

ผลิตภัณฑ และสูตรหลักในการผลิตและกระบวนการผลิต

(๒.๔) กําหนดความรับผิดชอบของแตละฝายในการจัดซื้อ จัดหาวตัถุดิบ/วัสดุการบรรจุ การ

ตรวจสอบทางกายภาพและคณุภาพ การรับและการปฏิเสธการรับ การสงคืนหรือการทําลาย พรอมการจัดทํา

เอกสารและรายงานตามระยะเวลาที่กําหนดของวัถุดิบ/วัสดุการบรรจุที่จดัซื้อ จัดเก็บ จาํนวนที่ใช และจํานวน

ที่ปฏิเสธการรับ

Page 84: ร่าง GMP 07

๘๐

(๒.๕) รายละเอียดแตละรุนของผลิตภัณฑ และรหัสแตละรุนที่มีเอกลักษณเฉพาะของ

ผลิตภัณฑที่กําหนดโดยผูวาจางหรือผูรับจาง

(๓) สูตรหลักการผลิตและบันทึกการผลิต

(๓.๑) กําหนดการผลิตผลิตภัณฑตามสูตรหลัก (master formula) ที่สอดคลองกบัทะเบียน

ตํารับยา หากมกีารเปลี่ยนแปลงจากที่มีผลบงัคับใชตองมีการแจงเปนลายลักษณอักษรใหผูวาจางทราบ และ

ตองไดรับการยินยอมจากผูวาจางกอนที่ผูรับจางจะทําการเปลี่ยนแปลงนั้นได

(๓.๒) บันทึกการผลิตผลิตภัณฑสําหรับใชในการทําเอกสารใหเปนไปตามกฎหมาย ซึ่งตอง

ประกอบดวยขอมูลตางๆ ตามหมวด ๔

(๔) การประกันคุณภาพและการควบคุมคุณภาพ

(๔.๑) ผูรับจางตองดําเนินการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑตามที่กําหนด

ในหมวด ๑ ขอ ๕-๙ และหมวด ๖

(๔.๒) การควบคุณคุณภาพในกระบวนการและการควบคุมขั้นตอนสุดทาย ใหดําเนินการ

ตามเกณฑทางเทคนิคของสัญญาจาง และสอดคลองตามทะเบียนตํารับยา

(๔.๓) สัญญาจางการผลิตและการวิเคราะหตองกําหนดผูรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ และ

วิธีการปลอยผานผลิตภัณฑแตละรุน

(๔.๔) ผูรับจางตองจดัทําบันทึกการผลิต บันทึกการวิเคราะห บันทึกการจําหนาย และ

ตัวอยางอางอิง และผูวาจางอาจรองขอสาํเนาของเอกสารที่เกี่ยวของกับการผลิตผลิตภัณฑในแตละรุนเพื่อ

การยอมรับ หรือปฎิเสธรุนของผลิตภัณฑหากรุนผลิตภัณฑไมสอดคลองกับคุณลักษณะเฉพาะตามทีก่ําหนด

หรือมีการเปลี่ยนแปลงไปจากสูตรหลักการผลิต หรือการเปลี่ยนแปลงไมเปนไปตามที่ตกลงกันโดยทําเปนลาย

ลักษณอักษร

(๔.๕) ผูวาจางมีสิทธิต์รวจสอบการดําเนินการของผูรับจางตามระยะเวลาที่ตกลงกัน หรือ

กรณีมีขอรองเรียน หรือมีปญหาเกี่ยวกับการผลิต สถานที่การผลิต การควบคุมคุณภาพ การประกันคุณภาพ

และคลังสินคา โดยมีการแจงเปนลายลักษณอักษรลวงหนาตามที่ตกลงกัน

(๔.๖) กรณีผูรับจางจาํเปนตองวาจางหนวยงานภายนอกเพื่อทําการวิเคราะหผลิตภัณฑ

นอกเหนือจากที่ผูรับจางรับผิดชอบ ตองมีการแจงผูวาจางและไดรับการยินยอมจากผูวาจางกอนทําสัญญา

จางการวิเคราะหกับหนวยงานภายนอก และตองระบุการยินยอมใหสํานกังานคณะกรรมการอาหารและยา

เขาไปตรวจสอบได

(๕) การขึ้นทะเบียน

สัญญาจางการผลิตและการวิเคราะหตองกําหนดผูรับผิดชอบในการจัดหาขอมูล เอกสาร ตัวอยาง

และการติดตอเจาหนาที่ทางราชการสําหรับการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ และการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น และ

การเก็บรักษาทะเบียนตํารับยาและเอกสารอื่นๆ

(๖) ขอรองเรียนและการเรียกคืนผลิตภัณฑ

Page 85: ร่าง GMP 07

๘๑

สัญญาจางการผลิตและการวิเคราะหตองระบุในกรณีที่มีขอรองเรียนจากลูกคา โดยกําหนดถึงความ

รับผิดชอบและการดําเนินการแกไขเบื้องตนตอลูกคา และกรณีที่มีขอบกพรองจากผลิตภัณฑที่จําเปนตอง

เรียกคืนผลิตภัณฑจะตองกําหนดผูรับผิดชอบและวิธีการเรียกคืนผลิตภัณฑรวมกัน ซึ่งอยางนอยตองปฏิบัติ

ตามหมวด ๘

(๗) การควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบตอคุณภาพผลิตภัณฑ

การเปลี่ยนแปลงตางๆ ตองปฏิบัติตามการควบคุมการเปลีย่นแปลงในหมวด ๑๒ ขอ ๓๐๐-๓๐๑

ตองมีการระบใุนสัญญาจางถึงการควบคุมการเปลี่ยนแปลงทั้งจากผูวาจางและผูรับจาง โดยกําหนด

ผูรับผิดชอบในการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงวาตองทําการแกไขสิ่งตางๆ เชน ดานเทคนิค

ทะเบียนตํารับ เอกสารแนบใบอนุญาตประกอบกจิการ และเอกสารที่เกี่ยวของ เปนตน โดยผูวาจางอาจทํา

การประเมินซ้ําหลังจากมีการเปลี่ยนแปลง หมายเหต ุ

ในกรณีมีการจางผลิตและวิเคราะหแตไมมีการทําสัญญาจางการผลิตและการวิเคราะห ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการระบุผูที่ไดรับมอบหมายปลอยผานผลิตภัณฑในสัญญาจางการผลิตและการวิเคราะห ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการระบุความรับผิดชอบและวิธีการดําเนินการของผูไดรับมอบหมายปลอยผานผลิตภัณฑใน

สัญญาจางการผลิตและการวิเคราะห ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 86: ร่าง GMP 07

๘๒

หมวด ๘ ขอรองเรียนและการเรียกคืนผลิตภัณฑ

หลักการ

ขอรองเรียนทุกอยางและขอมลูอื่นที่เกี่ยวของกับความบกพรองของผลิตภัณฑที่อาจเกิดขึ้นตองมีการ

ทบทวนอยางเอาใจใสตามวิธกีารปฏิบัติที่เขียนไว เพื่อใหมคีวามพรอมสําหรับทุกอยางที่อาจเกิดขึ้นได จึงตอง

กําหนดใหมีระบบการเรียกคืนผลิตภัณฑที่มีขอบกพรองหรือสงสัยวามีขอบกพรองจากทองตลาดอยางรวดเร็ว

และมีประสิทธภิาพ

ขอรองเรียน ขอ ๒๑๖ ตองกําหนดผูที่รับผิดชอบในการจัดการกับขอรองเรียน การหามาตรการแกไข รวมท้ัง

ทีมงานสนับสนุนอยางเพียงพอ ถาผูที่รับผิดชอบไมใชผูมีอํานาจในการตัดสินใจ ตองมีการแจงใหผูที่ไดรับ

มอบหมายทราบถึงขอรองเรียนที่เกิดขึ้น รวมถึงการสืบสวนหรือการเรียกเก็บคืน ขอ ๒๑๗ ตองเขียนวิธีการปฏิบัติที่ระบุถงึการดําเนินการที่เกี่ยวของกับขอรองเรียน รวมถึงความ

จําเปนที่ตองมกีารเรียกเก็บคืนในกรณีที่มีขอรองเรียนเกี่ยวของกับผลิตภัณฑที่บกพรอง

ขอ ๒๑๘ ตองบันทึกรายละเอียดขอรองเรียนที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑบกพรอง และการสืบสวนที่

ดําเนินการทั้งหมด โดยปกติผูที่รับผิดชอบในการควบคุมคุณภาพตองมีสวนรวมในการศึกษาถึงปญหา

ดังกลาวดวย ขอ ๒๑๙ ถาพบวาผลิตภัณฑรุนใดบกพรองหรือสงสัยวาบกพรอง ตองพิจารณาตรวจสอบ

ผลิตภัณฑรุนอื่นดวย เพื่อตรวจสอบวามีผลดวยหรือไม โดยเฉพาะตองทําการสืบสวนผลิตภัณฑรุนที่นําเอา

ผลิตภัณฑรุนที่มีขอบกพรองมาทําซ้ําและผสมรวมเขาไป

ขอ ๒๒๐ ตองบันทึกการตัดสินและมาตรการทุกอยางที่ทําเนื่องจากผลของขอรองเรียน โดยมีการ

อางอิงถึงบันทกึการผลิตของรุนดังกลาวดวย

ขอ ๒๒๑ บันทึกขอรองเรียนตองมีการทบทวนเปนประจํา สําหรับปญหาเฉพาะหรือปญหาที่เกิดขึ้น

ซ้ํากันหลายครั้ง ตองใหความสนใจเปนพิเศษและอาจตองเรียกเก็บผลิตภัณฑคืนจากทองตลาด

ขอ ๒๒๒ ตองใหความใสใจเปนพิเศษตอขอรองเรียนที่มีสาเหตุมาจากยาปลอม

ขอ ๒๒๓ ผูผลิตตองแจงใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทราบถึงแนวทางที่จะดําเนินการในกรณีที่พบขอผิดพลาดรายแรงในการผลิต ผลิตภัณฑยาเสื่อมคุณภาพ ตรวจพบยาปลอม หรือปญหารุนแรง

อื่นที่เกิดกับคุณภาพของผลิตภัณฑ

คําอธิบาย จัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการรับขอรองเรียน ซึ่งประกอบดวย

(๑) แผนผังการดําเนินงานเกี่ยวกับขอรองเรียน

Page 87: ร่าง GMP 07

๘๓

(๒) ผูรับผิดชอบในการรับขอรองเรียน การสอบสวน การสรุปผลการสอบสวน การแจงกลับ และการ

แกไขปองกัน

(๓) การบันทึกการดําเนินการเกี่ยวกับขอรองเรียนไวเปนลายลักษณอักษร

ในกรณีขอรองเรียนจากยาปลอมหรือขอรองเรียนที่อาจนําไปสูการเรียกคืนผลิตภัณฑตองมีการ

จัดการพิเศษ เชน ความเรงดวนในการดําเนินการ และการจัดตั้งคณะทํางานพิเศษเพื่อรับผิดชอบโดยเฉพาะ

เปนตน

การทบทวนขอรองเรียนตองทําตามชวงเวลาที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงปญหาที่เกิดเฉพาะและ/หรือ

เกิดซ้ําหลายครั้ง (การทบทวนขอรองเรียน หมายถึง การสืบสวนหาสาเหตุ การแกไขปองกัน และการตอบกลับ

ผูรองเรียน)

ในกรณีขอรองเรียนที่พบเปนเรื่องยาปลอม หรือเปนขอบกพรองรายแรงในกระบวนการผลิต เชน

ผลิตภัณฑยาเสื่อมคุณภาพ ผูผลิตตองแจงใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทราบโดยเรงดวน หมายเหต ุ มีขอรองเรียนเกี่ยวกับยาปลอมท่ีเกิดจากกระบวนการผลิต หรือขอรองเรียนที่นําไปสูการเรียกคืน

ผลิตภัณฑแลวไมแจงสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการรับขอรองเรียน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการทบทวนขอรองเรียนเลย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การเรียกคืนผลิตภัณฑ ขอ ๒๒๔ ตองกําหนดผูที่รับผิดชอบในการดําเนินการและประสานงานในการเรียกคืนผลิตภัณฑ

โดยตองจัดใหมีทีมงานอยางเพียงพอในการเรียกคืนผลิตภัณฑตามระดับความเรงดวนอยางเหมาะสม

โดยทั่วไปผูที่รับผิดชอบตองเปนอิสระจากฝายขายหรือฝายการตลาด ถาผูที่รับผิดชอบไมใชผูที่ไดรับ

มอบหมาย ตองมีการแจงใหผูมีอํานาจตัดสินใจทราบถึงการดําเนินการเรียกคืนผลิตภัณฑ

ขอ ๒๒๕ กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการเรียกคืนผลิตภัณฑตองมีการกําหนดวิธีการปฏิบตัิ รวมถึงมี

การตรวจสอบและปรับปรุงใหเปนปจจบุันเปนประจาํตามความจาํเปน

ขอ ๒๒๖ การดําเนินการเรียกคืนผลิตภัณฑตองสามารถทําไดทันทีและตลอดเวลา

ขอ ๒๒๗ ถามีการเรียกเก็บคืนผลิตภัณฑเนื่องจากมีขอบกพรองหรือสงสัยวาบกพรอง ตองแจงใหหนวยงานควบคุมยาของทุกประเทศที่ผลิตภัณฑนั้นสงไปทราบโดยทันที

ขอ ๒๒๘ ผูที่รับผิดชอบในการเรียกคืนผลิตภัณฑตองไดรับบันทึกการจัดจําหนายที่มีขอมูลอยางเพียงพอของผูขายสงและลูกคาที่ไดรับผลิตภัณฑโดยตรง ซึ่งประกอบดวยที่อยู หมายเลขโทรศัพทและ/หรือ

โทรสารทั้งในเวลาและนอกเวลาทําการ รุนและปริมาณที่สงมอบ ทั้งนี้ รวมถึงผลิตภัณฑที่มีการสงออกและ

ตัวอยางสําหรับแพทยดวย ขอ ๒๒๙ ผลิตภัณฑที่เรียกคืนตองมีการบงชี้และเก็บแยกตางหากในพื้นที่ที่ปลอดภัยแนนหนา

Page 88: ร่าง GMP 07

๘๔

เหมาะสมระหวางการรอการตัดสินใจในการจัดการตอไป ขอ ๒๓๐ ตองมีการบันทึกความคืบหนาในการเรียกคืนผลิตภัณฑและจัดทํารายงานสรุป รวมถึงมี

การตรวจสอบความสอดคลองระหวางปริมาณที่สงออกไปจําหนายกับปริมาณที่เรียกคืนมาได ขอ ๒๓๑ ตองประเมินประสิทธิภาพของการจัดการในการเรียกคืนอยางสม่ําเสมอ

คําอธิบาย จัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการเรียกคืนผลิตภัณฑ ซึ่งตองมีการทบทวนและปรับปรุงให

เปนปจจบุัน ประกอบดวย

(๑) แผนผังการดําเนินงานเกี่ยวกับการเรียกคืนผลิตภัณฑ

(๒) ผูรับผิดชอบในการประสานงานการเรียกคืนผลิตภัณฑซึ่งตองไมใชบุคลากรฝายขายและการ

ตลาด และพรอมติดตอไดตลอด ๒๔ ชั่วโมง

(๓) ขั้นตอนการแจงใหผูมีอํานาจตัดสินใจทราบเพื่อเรียกคืนผลิตภัณฑ

(๔) ขั้นตอนและความถี่ของการซอมดําเนินการการเรียกคืนผลิตภัณฑ

(๕) การประเมินประสิทธิภาพของการเรียกคืนผลิตภัณฑในดานความครอบคลมุของสถานที่รับซื้อ

ผลิตภัณฑเมื่อเกิดปญหาทางคุณภาพของผลิตภัณฑ

การเรียกคืนผลิตภัณฑและการจัดสงรายงานตองปฏิบัติภายในระยะเวลาที่กฎหมายและคูมือการ

ดําเนินการสําหรับผลิตภัณฑยาที่มีปญหาดานคุณภาพฉบับปจจบุันที่ออกโดยสํานักงานคณะกรรมการอาหาร

และยากําหนด และในกรณีผลิตภัณฑสงออกตางประเทศตองทําการแจงใหหนวยงานควบคุมยาของประเทศ

ที่เกี่ยวของรับทราบโดยทันที หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการเรียกคืนผลิตภัณฑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีบันทึกการจัดจําหนายที่มขีอมูลตามที่กําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการเรียกคืนผลิตภัณฑเมื่อผลของการสอบสวนขอรองเรียนตองมีการเรียกคืนผลิตภัณฑ ถือเปน

ขอบกพรองรายแรง

ไมมีการประเมนิประสิทธิภาพการเรียกคืนผลิตภัณฑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการบงชี้และเก็บผลิตภัณฑที่เรียกคืนแยกตางหากในพื้นที่ปลอดภัยแนนหนา ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ไมมีการแจงการเรียกเก็บคืนผลิตภัณฑใหหนวยงานควบคุมยาของทุกประเทศที่ผลิตภัณฑถูกสงไป

ทราบโดยทันที ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 89: ร่าง GMP 07

๘๕

หมวด ๙ การตรวจสอบตนเอง

หลักการ ตองทําการตรวจสอบตนเองเพื่อใหมีการตรวจติดตามการปฏบิัติวา มีการดําเนินการอยางถูกตอง

เปนไปตามหลักการของตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต รวมถึงเพื่อเปนการเสนอแนะมาตรการการ

แกไขที่จําเปน

ขอ ๒๓๒ ตองมีการตรวจสอบบุคลากร อาคารสถานที่ เครื่องมือ การดําเนินการดานเอกสาร การ

ดําเนินการผลิต การควบคุมคุณภาพ การจําหนายผลิตภัณฑยา การจดัการที่เกี่ยวของกับการรองเรียนและ

การเรียกเก็บคืน และการตรวจสอบตนเอง ในชวงเวลาตามที่มีการกําหนดไวลวงหนา เพื่อทวนสอบวามคีวาม

สอดคลองกับหลักการของการประกันคุณภาพ

ขอ ๒๓๓ การตรวจสอบตนเองตองทําอยางเปนอิสระและดําเนินการตามรายละเอียดที่กําหนด โดย

ผูที่มีความรูความสามารถที่ไดรับมอบหมายจากองคกร หรืออาจตรวจสอบโดยผูตรวจประเมินอิสระที่เปนผู

เชี่ยวชาญจากภายนอก

ขอ ๒๓๔ การตรวจสอบตนเองตองมีการบันทึก รายงานการตรวจสอบตองประกอบดวยขอสังเกต

ระหวางการตรวจสอบ และขอเสนอแนะสําหรับมาตรการการแกไข (ถามี) รวมถึงตองมีการบันทึกรายการของ

ปฏบิัติการแกไขที่ตองทําตอไปดวย

คําอธิบาย จัดใหมีมาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการตรวจสอบตนเอง ซึ่งประกอบดวย

(๑) แผนการตรวจสอบตนเอง

(๒) ผูรับผิดชอบการตรวจสอบตนเอง

(๓) การอบรมเกี่ยวกับการตรวจสอบตนเอง

(๔) การแตงตั้งคณะตรวจสอบตนเอง โดยที่คณะตรวจสอบตองเปนอิสระจากฝายที่รับการตรวจสอบ

หรืออาจเปนผูเชี่ยวชาญจากภายนอก

(๕) การกําหนดหมวด/ขอและความถี่ของการตรวจสอบตนเอง โดยตองทําการตรวจสอบให

ครอบคลุมทุกหมวด/ขอที่เกี่ยวของอยางนอยปละ ๑ คร้ัง

(๖) การจัดทํารายงานการตรวจสอบตนเองและแผนการแกไขปองกัน (ถามี) โดยตองนําเสนอใหผู

บริหารระดับสูงรับทราบ

(๗) การตรวจติดตามแผนการแกไขปองกันหลังการตรวจสอบตนเอง

ในกรณีการเรียกคืนผลิตภัณฑหรือขอบกพรอง/ขอรองเรียนที่มีสาเหตุจากผลิตภัณฑไมเขามาตรฐาน

ซ้ําๆ หรือปญหาซ้ําเดิม ตองพจิารณาปรบัปรุงแผนการตรวจสอบตนเอง

Page 90: ร่าง GMP 07

๘๖

หมายเหต ุไมมีการตรวจสอบตนเองอยางนอยปละ ๑ คร้ัง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 91: ร่าง GMP 07

๘๗

หมวด ๑๐ การสุมตัวอยางวัตถุดิบและวัสดุการบรรจุ

หลักการ

การสุมตัวอยางเปนการดําเนินการที่สําคัญ เนื่องจากเปนการนําวัตถุดิบหรือวัสดุการบรรจุมาแต

เพียงสวนนอยของแตละรุนเทานั้นมาใชเปนตัวแทนในการทดสอบ การสรุปผลที่ถูกตองไมสามารถพจิารณาได

จากการทดสอบตัวอยางที่ไมเปนตัวแทนของทั้งรุน การสุมตัวอยางที่ถูกตองจึงเปนสวนที่สําคัญอยางหนึ่งของ

ระบบประกันคุณภาพ

การสุมตัวอยาง ตองปฏิบัติตามที่ระบุไวในหมวด ๖ ขอ ๑๗๘ ถึงขอ ๑๘๑ โดยขอกําหนดเพิ่มเติมที่

กลาวถึงตอไปนี้ใหใชกบัการสุมตัวอยางของวัตถุดิบและวัสดุการบรรจุเทานั้น

บุคลากร ขอ ๒๓๕ ผูที่ทําหนาที่ในการสุมตัวอยางตองผานการฝกอบรมในเรื่องการเก็บตัวอยางที่ถูกตอง

และมีการอบรมอยางตอเนื่อง การอบรมอยางนอยตองครอบคลุมในประเด็นตอไปน้ี

(๑) แผนการสุมตัวอยาง (๒) วิธีการปฏบิัติในการสุมตัวอยาง (๓) เทคนิคและเครื่องมือท่ีใชในการสุมตัวอยาง (๔) ความเสี่ยงในการปนเปอนขาม ขอควรระวังเกี่ยวกับสารที่ไมคงตัว และ/หรือสารที่

ปราศจากเชือ้

(๕) ความสําคัญที่ตองพิจารณาตรวจสอบลักษณะของวัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจุ

ภาชนะบรรจ ุและฉลาก ดวยสายตา

(๖) ความสําคัญของการบันทึกสภาวะที่ไมคาดคดิหรือผิดปกติที่เกิดขึ้น

คําอธิบาย ผูทําหนาที่ในการสุมตัวอยางตองผานการฝกอบรมในเรื่องการสุมตัวอยาง (อยางนอยปละ ๑ ครั้ง)

โดยมีหลักฐานการฝกอบรม

(๖) สภาวะที่ไมคาดคิด เชน สภาพแวดลอมของการเก็บ หรือการสุม สภาพภาชนะบรรจุ เปนตน หมายเหต ุ ไมมีการฝกอบรม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

วัตถุดิบ ขอ ๒๓๖ เอกลักษณของวัตถุดิบ จะแนใจไดตอเมื่อมีการเก็บตัวอยางมาจากทุกภาชนะบรรจุของทั้ง

รุน และนําแตละตัวอยางนั้นมาทําการทดสอบเอกลักษณ

Page 92: ร่าง GMP 07

๘๘

ทั้งนี้ อาจยอมใหมีการเก็บตัวอยางมาจากบางภาชนะบรรจุได หากวิธกีารปฏิบัติดังกลาวผานการ

ตรวจสอบความถูกตองแลววาไมมวีัตถุดิบในภาชนะใดที่แสดงขอความบนฉลากไมถูกตอง

คําอธิบาย การตรวจเอกลักษณของวัตถดุิบทุกชนิด ตองเก็บตัวอยางจากทุกภาชนะบรรจุ หรือมีวิธีการอื่นที่

เหมาะสม เชน การใช Near-infrared spectrophotometer ตรวจทุกภาชนะบรรจุ

วรรค ๒ ใหดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่หมวด ๑๐ ขอ ๒๓๗

หมายเหต ุ ไมมีการตรวจเอกลักษณของวัตถุดิบรุนใดรุนหนึ่ง ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีการตรวจเอกลักษณของวัตถุดิบจากทุกภาชนะ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๓๗ การตรวจสอบความถูกตอง อยางนอยตองพิจารณาในประเด็นตอไปน้ี

(๑) ประเภท และสถานะของผูผลิตและผูสงมอบวัตถุดิบ และความเขาใจตอขอกําหนด

ของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตของสถานที่ผลิตยา

(๒) ระบบการประกันคุณภาพของผูผลิตวัตถุดิบ

(๓) สภาวะและการควบคุมของผูผลิตที่ใชทําการผลิตวัตถุดิบ

(๔) ประเภทของวัตถุดิบและผลิตภัณฑยาที่ใชวัตถุดิบน้ัน

ภายใตการจัดการตามที่กลาวมาขางตน อาจยอมรับวิธกีารปฏิบัติที่ไมตองกําหนดใหมีการทดสอบ

เอกลักษณของวัตถุดิบแตละภาชนะบรรจุที่รับเขามาได ในกรณีที่

(๑) วัตถุดิบนั้นมาจากผูผลิตหรือโรงงานที่ผลิตวัตถุดิบชนิดนั้นเพียงชนิดเดียว และ

(๒) วัตถุดิบนั้นมาจากผูผลิตโดยตรง หรืออยูในภาชนะของผูผลิตที่ผนึกเรียบรอย โดย

ตองเปนผูผลิตที่มีประวัตนิาเชือ่ถือและไดรับการตรวจประเมินระบบการประกันคุณภาพจากผูซือ้ (ผูผลิต

ผลิตภัณฑยา หรือโดยหนวยงานรับรองระบบที่เปนทางการ)

วิธีการปฏบิัติที่ผานการตรวจสอบความถูกตองแลวดังกลาว ไมสามารถใชไดในกรณี

(๑) วัตถุดิบที่สงมอบโดยพอคาคนกลาง ตัวอยางเชน นายหนาซึ่งไมทราบแหลงผลิต

หรือแหลงผลิตนั้นยังไมไดรับการตรวจรับรอง

(๒) วัตถุดิบที่ใชสําหรับการผลติยาฉีด

คําอธิบาย (๒) ผูซื้อตองตรวจประเมินระบบการประกันคุณภาพของผูผลิตเปนประจํา หรือผูผลิตผานการรับรอง

ระบบประกันคุณภาพจากหนวยงานที่เชื่อถือได เชน ทีมตรวจประเมินที่ผานการรับรองจากประเทศสมาชิก

PIC/S, US FDA, TGA, ISO 9001 เปนตน โดยมีหลักฐานที่แสดงวาผูผลิตผานการรับรองจากหนวยงานที่

เชื่อถือได เชน หนังสือรับรองการตรวจประเมิน และเอกสารยืนยันจากผูผลิตวาเปนผูผลิตวัตถุดิบเพียงชนิด

เดียว เปนตน

Page 93: ร่าง GMP 07

๘๙

กรณีที่ไมตองตรวจเอกลักษณวัตถุดิบทุกภาชนะบรรจ ุอาจปฏิบัติตามแผนการสุมตัวอยางใน Annex

4 WHO guidelines for sampling of pharmaceutical products and related materials (TRS No 929,

2005)

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๓๘ การประเมินคุณภาพของวตัถุดิบแตละรุน ตองไดมาจากการทดสอบตัวอยางที่เปน

ตัวแทนของทั้งรุน ซึ่งอาจใชจากตัวอยางเดียวกันกับที่ไดใชในการทดสอบเอกลักษณ

จํานวนตัวอยางที่จะใชเปนตัวแทนของรุน ตองกําหนดดวยวิธีการทางสถิติที่ระบุไวในแผนการสุม

ตัวอยาง ทั้งนี้ ตองมีการกําหนดจํานวนของตัวอยางที่นํามารวมกันเปนตัวอยางผสม โดยตองพิจารณาถึง

ประเภทของวัตถุดิบนั้น รวมถงึความรูของผูสงมอบ และการรวมตัวอยางตองผสมเปนเนื้อเดียวกัน

คําอธิบาย การประเมินคุณภาพหมายถงึการตรวจวิเคราะหหาปริมาณ และขอกําหนดอื่นๆ

การสุมตัวอยางวัตถุดิบอาจปฏิบัติตามแผนการสุมตัวอยางใน Annex 4 WHO guidelines for

sampling of pharmaceutical products and related materials (TRS No 929, 2005) หมายเหต ุ การสุมตัวอยางวัตถุดิบไมเปนไปตามวิธีการทางสถิติที่ระบุไวในแผนการสุมตัวอยาง ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

วัสดุการบรรจุ ขอ ๒๓๙ แผนการสุมตัวอยางวัสดุการบรรจุ อยางนอยตองพิจารณาจาก

(๑) ปริมาณที่รับมา

(๒) คุณภาพที่ตองการของวัสดุการบรรจุ (๓) ประเภทของวัสดุการบรรจุ ตัวอยางเชน วัสดุการบรรจุปฐมภูมิ และ/หรือ วัสดุการบรรจุ

ที่พิมพขอความแลว

(๔) วิธีการผลิต

(๕) ความรูในเรื่องระบบการประกนัคุณภาพของผูผลิตวัสดุการบรรจุ ซึ่งทราบมาจากการ

ตรวจประเมินระบบการประกนัคุณภาพ

ทั้งนี้ จํานวนตัวอยางที่จะใชเปนตัวแทนของรุน ตองกําหนดดวยวิธีการทางสถิติที่ระบุไวในแผนการ

สุมตัวอยาง

คําอธิบาย การกําหนดจํานวนตัวอยางในแผนการสุมตัวอยางตองกําหนดโดยวิธีการทางสถิติ เชน ISO 2859-1,

BS 6001-1, ANSI/ASQCZ 1.4-1993 เปนตน โดยพิจารณาจากปจจัยทั้ง ๕ ตามระดับความเสี่ยง

หมายเหต ุ ไมมีการสุมตัวอยาง ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 94: ร่าง GMP 07

๙๐

ไมมีแผนการสุมตัวอยางวัสดกุารบรรจุ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 95: ร่าง GMP 07

๙๑

หมวด ๑๑ ตัวอยางอางอิงและตัวอยางจัดเก็บ

ขอบเขต ขอ ๒๔๐ ขอกําหนดในหมวดนี้ใชเปนแนวทางในการเก็บและการจัดเก็บตัวอยางอางอิงของวัตถุดิบ

วัสดุการบรรจุ หรือยาสําเร็จรูป และตัวอยางจัดเก็บของยาสาํเร็จรูป

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

หลักการทั่วไป ขอ ๒๔๑ การเก็บตัวอยาง มีวัตถุประสงคสองประการ ประการแรก เพื่อเปนการจัดเตรียมตัวอยาง

สําหรับการวิเคราะห และประการที่สอง เพื่อเปนการจัดเตรียมตัวอยางของยาสําเร็จรูปอยางเต็มรูปแบบ

ฉะนั้นอาจแบงตัวอยางยาไดเปนสองประเภท คือ

(๑) ตัวอยางอางอิง หมายถึง ตัวอยางของรุนวัตถุดิบ วัสดุการบรรจุ หรือผลิตภัณฑสําเร็จรูป ซึ่ง

จัดเก็บไวเพื่อวตัถุประสงคในการวิเคราะหตามความตองการตลอดชวงอายุการใชของรุน กรณีที่มีความคง

สภาพดี ควรมกีารจัดเก็บตัวอยางอางอิงจากขั้นตอนระหวางการผลิตที่สําคัญดวย ตัวอยางเชน กรณีที่ตองมี

การวิเคราะหทดสอบและปลอยผาน หรือผลิตภัณฑระหวางผลิตที่มีการขนสงออกไปนอกเหนือการควบคุม

ของผูผลิต

(๒) ตัวอยางจัดเก็บ หมายถึง ตัวอยางของผลิตภัณฑสําเร็จรูปแตละรุนที่บรรจุหีบหอสมบูรณแลว ซึ่ง

จัดเก็บไวเพื่อวตัถุประสงคในการบงชี ้ ตัวอยางเชน รูปแบบการจําหนาย การบรรจุหบีหอ การติดฉลาก

เอกสารกํากับยา หมายเลขรุน วันสิ้นอาย ุ ตลอดชวงอายุการใชของรุน อาจมีขอยกเวนที่ไมตองเก็บตัวอยาง

เปนสองเทาของปริมาณที่ใชในการตรวจสอบอยางสมบูรณ ตัวอยางเชน รุนการผลิตที่มีการบรรจุหีบหอเปน

จํานวนนอยสําหรับความตองการของตลาดที่แตกตางกัน หรอื ในการผลิตผลิตภัณฑยาที่มีราคาแพง

ตัวอยางอางอิงและตัวอยางจดัเก็บสําหรับผลิตภัณฑสําเร็จรูป อาจใชแทนกันได ตัวอยางเชน

ผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่บรรจุหีบหอสมบูรณ

คําอธิบาย (๑) ตัวอยางอางอิงจากขั้นตอนระหวางการผลิตที่สําคัญ ใหเก็บตัวอยางในกรณีที่มีการสงผลิตภัณฑ

ระหวางการผลิตไปผลิตตอยังสถานที่ผลิตอื่น หรือสงไปจําหนาย

วัสดุการบรรจุ หมายถึง วัสดุการบรรจุปฐมภมูิ และวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลว

(๒) ตัวอยางจัดเก็บ ใหเก็บทุกชนิดของภาชนะบรรจุที่เปนหีบหอสมบูรณ (มฉีลาก และเอกสารกํากับ

ยาครบถวนตามกฎหมาย) อยางนอยจํานวน ๒ หีบหอ ถาวัสดุการบรรจเุปนชนิดเดียวกัน แตตางขนาดบรรจุ

ใหเก็บขนาดใดขนาดหนึ่งเปนตัวแทนได

Page 96: ร่าง GMP 07

๙๒

ในกรณีที่จัดเก็บผลิตภัณฑสําเร็จรูปเพื่อเปนทั้งตัวอยางอางอิง และเปนตัวอยางจัดเก็บ ตองเก็บ

ผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่บรรจุหีบหอสมบูรณแลว ไมนอยกวา 2 เทาของจํานวนที่ใชในการวเิคราะห และไมนอย

กวา ๒ หีบหอของทุกขนาดบรรจุ

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๔๒ ตามที่ระบุในขอ ๒๕๔ ขอ ๒๕๕ และขอ ๒๕๖ ของหมวดนี้ ผูผลิต ผูนําเขา หรือผูปลอย

ผานรุนการผลิต ตองจัดเก็บตัวอยางอางอิง และ/หรือตัวอยางจัดเก็บแตละรุนผลิตของผลิตภัณฑสําเร็จรูป

สําหรับผูผลิตตองเก็บตัวอยางอางอิงจากรุนของวัตถุดิบ และ/หรือผลิตภัณฑระหวางผลิต

สถานที่บรรจุหีบหอแตละแหงตองเก็บตัวอยางอางอิงของวัสดุการบรรจุปฐมภูมิและวัสดุการบรรจุที่

พิมพขอความแลวของทุกรุน ทั้งนี้ ไมตองจัดเก็บหากวัสดุการบรรจุที่พิมพขอความแลวเปนสวนหนึ่งของ

ตัวอยางอางอิง และ/หรือตัวอยางจัดเก็บของผลิตภัณฑสําเร็จรูป

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๔๓ ตัวอยางอางอิง และ/หรือตัวอยางจัดเก็บ เสมือนเปนบันทึกของรุนการผลิตของผลิตภัณฑ

สําเร็จรูป หรือวัตถุดิบ ซึ่งสามารถใชประเมนิเหตุการณตางๆ ได ตัวอยางเชน ขอรองเรียนดานคุณภาพยา ขอ

สงสัยเกี่ยวกับความถูกตองตรงตามทะเบียนตํารับยา การตดิฉลากและ/หรือการบรรจุหีบหอ หรือรายงานการ

เฝาระวังทางเภสัชกรรม (Pharmacovigilance report)

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๔๔ บันทึกที่ใชในการสอบกลับของตัวอยาง ตองเก็บรักษาและนาํมาแสดงเพื่อใหเจาหนาที่

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทบทวนได

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีบันทึก หรือมีบันทึก แตไมสามารถสอบกลับได ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ระยะเวลาการจัดเก็บ ขอ ๒๔๕ ตัวอยางอางอิงและตัวอยางจัดเกบ็แตละรุนของผลิตภัณฑสําเร็จรูป ตองจัดเก็บไวอยาง

นอย ๑ ปหลังวันสิ้นอายุ ตัวอยางอางอิงที่เปนผลิตภัณฑสําเร็จรูปตองบรรจุในวัสดุการบรรจุปฐมภูม ิ หรือ

บรรจุในวัสดุชนิดเดียวกับวัสดุการบรรจุปฐมภูมิที่จาํหนาย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมเก็บตัวอยางอางอิง และตวัอยางจัดเก็บ และ/หรือเก็บไวนอยกวาวันสิ้นอายุ ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

Page 97: ร่าง GMP 07

๙๓

ไมเก็บผลิตภัณฑสําเร็จรูปในวสัดุการบรรจุปฐมภูมชินิดเดียวกับวัสดุการบรรจุปฐมภมูิที่จาํหนาย ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๒๔๖ ตัวอยางของวัตถดุิบ (ยกเวน ตวัทําละลาย กาซ และน้ํา) ถามีความคงสภาพดี ตองเก็บ

รักษาไวอยางนอย ๒ ปหลังจากปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป ถาผลความคงสภาพตามที่ระบุในขอกําหนด

ส้ันกวา ระยะเวลาการเก็บอาจจะสั้นกวาสองป วัสดุการบรรจุตองจัดเก็บตลอดอายกุารใชของผลิตภัณฑ

สําเร็จรูป

คําอธิบาย ถาวัตถุดิบมอีายุเหลือนอยกวา ๒ ปหลังจากปลอยผานผลิตภัณฑสําเร็จรูป ใหเก็บไวถึงวันหมดอายุ

ของวัตถุดิบ ตัวอยางเชน วัตถดุิบมีวันผลิต Jan 2000 วันหมดอาย ุJan 2003

- ถานําวัตถุดิบนี้มาผลิตผลิตภัณฑสําเร็จรูปรุนสุดทาย แลวปลอยผานเมื่อ Feb 2000 ใหเก็บวัตถุดิบ

ไวถึง Feb 2002

- ถานําวัตถุดิบนี้มาผลิตผลิตภัณฑสําเร็จรูปรุนสุดทาย แลวปลอยผานเมื่อ Feb 2001 ใหเก็บวัตถุดิบ

ไวถึง Jan 2003

- ถานําวัตถุดิบนี้มาผลิตผลิตภัณฑสําเร็จรูปรุนสุดทาย แลวปลอยผานเมื่อ Feb 2002 ใหเก็บวัตถุดิบ

ไวถึง Jan 2003 หมายเหต ุ ไมไดเก็บวัตถุดิบ/วัสดุการบรรจุ หรือเก็บไวในระยะเวลานอยกวาที่กําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

จํานวนตัวอยางอางอิงและตัวอยางจัดเก็บ ขอ ๒๔๗ ตวัอยางอางอิง ตองมีจํานวนเพียงพอที่จะทําการตรวจสอบครบถวนตามทะเบียนตํารับ

ยาไดอยางนอยสองครั้ง

หากจําเปนตองตรวจวิเคราะห ตองใชตัวอยางจากภาชนะบรรจุที่ยังไมไดเปด

หากไมเปนไปตามกรณีดังกลาวขางตน ตองมีเหตุอันควรและไดรับความเห็นชอบจากเจาหนาที่ของ

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

คําอธิบาย ตัวอยางอางอิงที่เปนวัสดุการบรรจุ

- การตรวจทางกายภาพ เก็บอยางนอย ๒ ชิ้น ตัวอยางเชน ถาวัสดุการบรรจุเปนฟอยล ใหเก็บ

เทากับความยาวแผงที่บรรจุผลิตภัณฑสําเร็จรูปตอ ๑ ชิ้น

- การตรวจทางเคมีและจุลชีววทิยา ใหเก็บตัวอยางอยางนอย ๒ เทาของจาํนวนที่ใชในการวิเคราะห

ตามขอกําหนด หมายเหต ุ ไมเก็บตัวอยางอางอิง หรือเก็บนอยกวาจํานวน ๑ เทาของจํานวนที่ใชในการวิเคราะห ตามขอกําหนด

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 98: ร่าง GMP 07

๙๔

ขอ ๒๔๘ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา อาจประกาศกําหนดจํานวนตัวอยางอางอิงและ

ตัวอยางจัดเก็บตามจํานวนที่เห็นสมควร นอกเหนือจากที่กําหนดไวในประกาศฉบับน้ีได

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๔๙ ตัวอยางอางอิง ตองเปนตัวแทนของรุนของวัตถุดิบ ผลิตภัณฑระหวางผลิต หรือ

ผลิตภัณฑสําเร็จรูป อาจมีการเก็บตัวอยางอืน่ๆ เพิ่มเติม เพื่อตรวจติดตามขั้นตอนสําคัญของกระบวนการ

ตัวอยางเชน ตอนเริ่มตนหรือตอนสุดทายของกระบวนการผลิต

หากรุนการผลิตมีการดําเนินการบรรจุดวยวธิีที่แตกตางกันอยางชัดเจน ตัวอยางเชน มีการบรรจุใน

แผงบลิสเตอรและบรรจุในขวด หรือบรรจใุนขวดแกวและขวดพลาสติก หรือบรรจใุนตางสายการบรรจุกัน

ตัวอยางจัดเก็บตองเก็บอยางนอยที่สุดหนึ่งตัวอยางจากแตละวิธีของการบรรจุ

หากไมเปนไปตามวรรคที่สองดังกลาวขางตน ตองมีเหตุอนัควรและไดรับการเห็นชอบจากเจาหนาที่

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๕๐ ตองมีสารเคมีและเครื่องมือท่ีจําเปนในการวิเคราะห เพื่อทดสอบทุกหัวขอตามที่กําหนดไว

ในทะเบียนตํารับยา ไดจนถึง ๑ ปหลังวันสิ้นอายุของการผลติรุนสุดทาย

คําอธิบาย หากไมมีสารเคมีและเครื่องมือที่จําเปนในการวิเคราะห สามารถจางวิเคราะหไดโดยใหปฏิบัติตาม

หลักการในหมวด ๗

หมายเหต ุ -

สภาวะการจัดเก็บ ขอ ๒๕๑ สภาวะการจัดเก็บตองเปนไปตามที่กําหนดไวในทะเบียนตํารับยา และหากมีการ

เปล่ียนแปลงสภาวะการจัดเกบ็ ตองไดรับอนมุัติจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

คําอธิบาย อุณหภูมิในการจัดเก็บตามที่กาํหนดไวในทะเบียนตํารับยา เชน

- เก็บอุณหภูมิไมเกิน ๒๕OC ใหเก็บท่ีสภาวะควบคุมอุณหภมูิ ๒๕±๒OC ความชื้นสัมพัทธ

รอยละ ๖๐±๕ หรือใหเก็บที่สภาวะหองปรับอากาศ

- เก็บอุณหภูมิไมเกิน ๓๐OC ใหเก็บท่ีสภาวะควบคุมอุณหภมูิ ๓๐±๒OC ความชื้นสัมพัทธรอย

ละ ๗๕±๕ หรืออุณหภูมิหอง (ambient temperature)

Page 99: ร่าง GMP 07

๙๕

หมายเหต ุ สภาวะการจัดเก็บของตัวอยางอางอิง และตัวอยางจัดเกบ็ ไมเปนไปตามที่กําหนดไวในทะเบียน

ตํารับยา หรอืเปล่ียนแปลงสภาวะการจัดเก็บโดยไมไดรับการอนุมัติจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ

ยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอตกลงที่เปนลายลักษณอักษร ขอ ๒๕๒ ความรับผิดชอบสําหรับการสุมและจัดเก็บตัวอยางอางอิงและตัวอยางจัดเกบ็ ตองระบุ

เปนลายลักษณอักษรไวในขอตกลงระหวางผูวาจางและผูรับจาง ตามที่ระบุไวในหมวด ๗

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๕๓ ตัวอยางอางอิง และตัวอยางจัดเก็บตองสามารถคนหาไดงายในเวลาที่สมเหตุสมผล โดย

ใหระบุเปนลายลักษณอักษรไวในขอตกลง

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมสามารถคนหาตัวอยางอางอิง และตัวอยางจัดเก็บไดในเวลาที่สมเหตุสมผล ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ตัวอยางอางอิง ขอ ๒๕๔ ตัวอยางอางอิง ใชเพือ่วัตถุประสงคในการวิเคราะหและตองจัดใหมีใชไดอยางสะดวก

สําหรับหองปฏบิัติการที่มีวิธีการวิเคราะหที่ผานการตรวจสอบความถูกตองแลว

คําอธิบาย ดูขอ ๒๔๗ และ ๒๔๙ ประกอบ

หมายเหต ุ -

ตัวอยางจัดเก็บ ขอ ๒๕๕ ตัวอยางจัดเก็บตองเปนตัวแทนของรุนการผลิตของผลิตภัณฑสําเร็จรูปท่ีจําหนายและอาจ

ตองใชในการตรวจสอบเพือ่ยนืยันคุณสมบัติที่ไมใชดานเทคนิค ตัวอยางเชน คุณสมบัตทิางกายภาพ ฉลาก

และเอกสารกํากับยา วามีความถูกตองตามทะเบียนตํารับยา หรือพระราชบญัญัติยา พ.ศ.๒๕๑๐ ฯลฯ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๒๕๖ ตัวอยางจัดเก็บตองเก็บไวในสถานที่ผลิต หรือสถานที่ที่ไดรับอนุญาตจากสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา เพื่อพรอมใหเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตรวจสอบ

Page 100: ร่าง GMP 07

๙๖

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมเก็บตัวอยางจัดเก็บไวในสถานที่ผลิต หรือเก็บในสถานที่อื่น ที่ไมไดรับอนุญาตจากสํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ตัวอยางอางอิงและตัวอยางจัดเก็บในกรณีที่ผูผลิตปดกิจการ ขอ ๒๕๗ ในกรณีที่ผูรับอนุญาตผลิตยาปดกิจการ หรือถูกส่ังเพิกถอนใบอนุญาตผลิตยา หากยังมี

ผลิตภัณฑยาที่ยังไมส้ินอายุอยูในตลาด ผูผลิตตองจัดเตรียมรายละเอียดเกี่ยวกับการยายตัวอยางอางอิง

ตัวอยางจัดเก็บ และเอกสารที่เกี่ยวของไปยังสถานที่จัดเก็บที่ไดรับการอนุมัติจากสํานกังานคณะกรรมการ

อาหารและยา โดยที่ผูผลิตตองแสดงใหเจาพนักงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามั่นใจวาการ

จัดเก็บดังกลาวเปนที่นาพอใจ คนหาไดงาย และพรอมสําหรบัการวิเคราะห

คําอธิบาย ในกรณีที่ผูรับอนุญาตผลิตยาปดกิจการ หรือถูกส่ังเพิกถอนใบอนุญาตผลิตยา หากยังมีผลิตภัณฑยา

ที่ยังไมส้ินอายุ ผูผลิตยังคงตองจัดเก็บตัวอยางอางอิง ตัวอยางจัดเก็บตามที่กําหนด

หมายเหต ุ -

Page 101: ร่าง GMP 07

๙๗

หมวด ๑๒ การตรวจรับรองและการตรวจสอบความถูกตอง

หลักการ ขอ ๒๕๘ หมวดนี้อธบิายหลักการของการตรวจรับรองและการตรวจสอบความถูกตองสําหรับการ

ผลิตผลิตภัณฑยา ตามขอกําหนดของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต ผูผลิตตองระบุวาการตรวจสอบ

ความถูกตองใดที่จําเปนตอการพิสูจนการควบคุมประเด็นสําคัญของการดําเนินการนั้น

ตองทําการตรวจสอบความถูกตองเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญ ตอส่ิงอํานวยความสะดวกใน

การผลิต เครื่องมือ และกระบวนการ ซึ่งอาจมผีลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑ

ควรใชแนวทางการประเมินความเสี่ยงมาพิจารณาขอบเขตของการตรวจสอบความถูกตอง

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการระบุกิจกรรมที่ตองตรวจสอบความถูกตองสําหรับการผลิตผลิตภัณฑยา ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

การวางแผนสําหรับการตรวจสอบความถูกตอง ขอ ๒๕๙ ตองมีการวางแผนสําหรับการตรวจสอบความถูกตองทุกกิจกรรม โดยองคประกอบสําคัญ

ของแผนการตรวจสอบความถกูตองใหมีการระบุไวอยางชัดเจน และจัดทําเปนเอกสารไวในแผนแมบทการ

ตรวจสอบความถูกตองหรือเอกสารเทียบเทา

ขอ ๒๖๐ แผนแมบทการตรวจสอบความถูกตอง ควรเปนเอกสารสรุป กระชับ และชัดเจน

ขอ ๒๖๑ แผนแมบทการตรวจสอบความถูกตอง อยางนอยตองประกอบดวยขอมูลตอไปน้ี

(๑) นโยบายของการตรวจสอบความถูกตอง (๒) โครงสรางองคกรของกิจกรรมการตรวจสอบความถูกตอง (๓) ขอสรุปของสิ่งอํานวยความสะดวกในการผลิต ระบบ เครื่องมือ และกระบวนการที่ตอง

ทําการตรวจสอบความถูกตอง

(๔) รูปแบบของเอกสารที่ใชสําหรับโปรโตคอล และรายงาน

(๕) การวางแผนและกําหนดการ (๖) การควบคุมการเปลี่ยนแปลง (๗) การอางอิงถึงเอกสารที่มีอยูแลว

ขอ ๒๖๒ ในกรณีที่เปนโครงการหรือกิจการที่มีขนาดใหญอาจจําเปนตองสรางแผนแมบทการ

ตรวจสอบความถูกตองแยกแตละโครงการหรือกิจการ

คําอธิบาย -

Page 102: ร่าง GMP 07

๙๘

หมายเหต ุ ไมมีการวางแผนการตรวจสอบความถูกตองทุกกิจกรรม และจัดทําเปนเอกสารไวในแผนแมบทการ

ตรวจสอบความถูกตอง ถอืเปนขอบกพรองสาํคัญ

แผนแมบทมีขอมูลไมครบถวนตามที่กําหนดในขอ ๒๖๑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การดําเนินการดานเอกสาร ขอ ๒๖๓ การจัดทําโปรโตคอลซึ่งระบุวธิีการตรวจรับรองและการตรวจสอบความถูกตอง ตองมีการ

ทบทวนและรับรองโปรโตคอลนั้น และตองระบุขั้นตอนวิกฤตและเกณฑการยอมรับ

ขอ ๒๖๔ ตองมีการเตรียมรายงานซึ่งมีการอางอิงไปถึงโปรโตคอลของการตรวจรับรองและ/หรือการ

ตรวจสอบความถูกตองที่เกี่ยวของ โดยตองทําการสรุปผลที่ได ใหความเห็นตอการเบี่ยงเบนที่พบ และให

ขอสรุปที่จําเปน รวมถึงขอเสนอแนะการเปลี่ยนแปลงที่จําเปนเพื่อแกไขขอบกพรอง

การเปลี่ยนแปลงของแผนซึ่งระบุไวในโปรโตคอล ตองมีการบันทึกพรอมใหเหตุผลที่เหมาะสม

ขอ ๒๖๕ ภายหลังการตรวจรับรองในแตละขั้นตอนเสร็จส้ิน ตองมีการอนุมัติเปนลายลักษณอักษร

กอนที่จะดําเนินการตรวจรับรองและตรวจสอบความถูกตองในขั้นตอนตอไป

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการจัดทําโปรโตคอลซึ่งระบุวิธีการตรวจรบัรองและการตรวจสอบความถูกตองและมีการทบทวน

และรับรองโปรโตคอลนั้น รวมทั้งระบุขั้นตอนวิกฤตและเกณฑการยอมรับ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการเตรียมรายงานและทําการสรุปผลที่ได รวมถึงขอเสนอแนะการเปลี่ยนแปลงที่จําเปนเพื่อ

แกไขขอบกพรอง และไมมีการอนุมัติเปนลายลักษณอักษรภายหลังการตรวจรับรองในแตละขั้นตอน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

การตรวจรับรอง การตรวจรับรองการออกแบบ ขอ ๒๖๖ การตรวจรับรองการออกแบบ เปนขั้นตอนแรกของการตรวจสอบความถูกตองของสิ่ง

อํานวยความสะดวกใหม ระบบใหม หรือเครื่องมือใหม

ขอ ๒๖๗ ควรมีการแสดงและบันทึกใหเห็นถึงการออกแบบที่เปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดี

ในการผลิต

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจรบัรองการออกแบบ และการบนัทึกใหเห็นถึงการออกแบบทีเ่ปนไปตามหลักเกณฑและ

วิธีการที่ดีในการผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 103: ร่าง GMP 07

๙๙

การตรวจรับรองการติดตั้ง ขอ ๒๖๘ ตองทําการตรวจรับรองการติดตั้งส่ิงอํานวยความสะดวกใหม ระบบใหม และเครื่องมือใหม

หรือที่ถูกดัดแปลง

ขอ ๒๖๙ การตรวจรับรองการติดตั้ง อยางนอยตองประกอบดวยรายการตอไปน้ี

(๑) ตรวจสอบการติดตั้งเครื่องมือ ทอนําสง การบริการ และอปุกรณ ใหเปนไปตามแบบ

และขอกําหนดทางวิศวกรรมที่เปนปจจบุัน

(๒) การรวบรวมและการสอบทานคูมือการปฏบิัตงิาน และขอกําหนดในการบํารุงรักษาของ

ผูสงมอบ

(๓) ขอกําหนดในการสอบเทียบ

(๔) การพิสูจนยืนยันวัสดุที่ใช

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจรบัรองการติดตั้งสิ่งอํานวยความสะดวกใหม ระบบใหม และเครื่องมือใหม หรือที่ถูก

ดัดแปลง ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

การตรวจรับรองการติดตั้งมีขอมูลไมครบถวนตามที่กําหนดในขอ ๒๖๙ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจรับรองการทํางาน ขอ ๒๗๐ การตรวจรับรองการทํางาน ตองทําตอจากการตรวจรับรองการตดิตั้ง

ขอ ๒๗๑ การตรวจรับรองการทํางาน อยางนอยตองประกอบดวยรายการตอไปน้ี

(๑) การทดสอบที่พัฒนามาจากความรูของกระบวนการ ระบบ และเครื่องมือ

(๒) การทดสอบที่รวมถึงสภาวะหรือกลุมของสภาวะที่ครอบคลมุขีดจํากัดการทํางานสูงสุดและต่ําสุด ซึ่งบางครั้งหมายถึงสภาวะ “กรณีแยที่สุด”

ขอ ๒๗๒ เมือ่การตรวจรับรองการทํางานเสร็จเรียบรอยแลว สามารถใชเปนขอกําหนดของการสอบ

เทียบ วธิีการปฏิบัติงานและวิธีการทําความสะอาด การฝกอบรมผูปฏิบัตงิาน และการบํารุงรักษาแบบ

ปองกัน ซึ่งใชเปนการอนุมัติใหใชส่ิงอํานวยความสะดวก ระบบ และเครื่องมืออยางเปนทางการ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจรบัรองการทํางาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจรับรองการทาํงานมีขอมูลไมครบถวนตามที่กําหนดในขอ ๒๗๑ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจรับรองสมรรถนะ ขอ ๒๗๓ การตรวจรับรองสมรรถนะ ตองทําตอจากการตรวจรับรองการตดิตั้งและการตรวจรับรอง

การทํางาน

Page 104: ร่าง GMP 07

๑๐๐

ขอ ๒๗๔ การตรวจรับรองสมรรถนะ อยางนอยตองประกอบดวยรายการตอไปน้ี

(๑) การทดสอบ ซึง่ใชวัสดุที่ใชในการผลิตจริง หรือสารทดแทนที่เทียบเทาหรือ ผลิตภัณฑ

จําลอง ซึ่งพัฒนามาจากความรูของกระบวนการ และสิ่งอํานวยความสะดวก ระบบ หรอืเครื่องมือ

(๒) การทดสอบที่รวมถึงสภาวะ หรือกลุมของสภาวะที่ครอบคลุมขีดจํากัดการทํางานสูงสุด

และต่ําสุด

ขอ ๒๗๕ แมวาการตรวจรับรองสมรรถนะจดัเปนกิจกรรมแยกตางหาก ในบางกรณีอาจสามารถ

ปฏิบัติพรอมกบัการตรวจรับรองการทํางานได

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีตรวจรับรองสมรรถนะ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจรับรองสมรรถนะมีขอมูลไมครบถวนตามที่กําหนดในขอ ๒๗๔ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจรับรองสิ่งอํานวยความสะดวก ระบบ และเครื่องมอืที่ใชงานอยู ขอ ๒๗๖ ตองมีหลักฐานเพื่อสนับสนุนและทวนสอบพารามิเตอรการทํางานและขีดจํากดัสําหรับตัว

แปรวิกฤตของเครื่องมือที่ใชในการดําเนินงาน

ควรมีเอกสารและบันทึกผลเกี่ยวกับการสอบเทียบ การทําความสะอาด การบํารุงรักษาแบบปองกัน

วิธีการปฏบิัติงาน และการฝกอบรมผูปฏบิัติงาน

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีหลักฐานเพื่อสนับสนุนและทวนสอบพารามิเตอรการทํางานและขีดจํากัดสําหรับตัวแปรวิกฤต

ของเครื่องมือที่ใชในการดําเนินงาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีเอกสารและบันทึกผลเกี่ยวกับการสอบเทียบ การทําความสะอาด การบาํรุงรักษาแบบปองกัน

วิธีการปฏบิัติงาน และการฝกอบรมผูปฏบิัติงาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการ หลักการ

ขอ ๒๗๗ ขอกําหนดและหลักการที่ระบุไวในภาคผนวกนี้สามารถนําไปประยุกตใชกบัการผลิตยา

รูปแบบตางๆ โดยครอบคลุมถึงการตรวจสอบความถูกตองเริ่มตนของกระบวนการใหมๆ การตรวจสอบความ

ถูกตองของกระบวนการที่มีการดัดแปลงภายหลัง และการตรวจสอบความถูกตองซ้ํา

ขอ ๒๗๘ การตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการ โดยปกติควรทําการตรวจสอบความถูกตอง

กอนการผลิตเพื่อจาํหนาย ใหสมบูรณกอนการกระจายและจําหนายผลิตภัณฑยา

ยกเวนในกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติเชนนี้ได อาจจําเปนตองทําการตรวจสอบความถูกตองพรอมการ

ผลิตเพื่อจําหนาย ซึ่งเปนการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการระหวางการผลิตตามปกติ

Page 105: ร่าง GMP 07

๑๐๑

กระบวนการที่ใชงานอยูแลวในชวงเวลาหนึ่ง ควรทําการตรวจสอบความถกูตองยอนหลัง

ขอ ๒๗๙ ส่ิงอํานวยความสะดวก ระบบ และเครื่องมือ ตองผานการตรวจรับรอง และมีการ

ตรวจสอบความถูกตองของวธิีวิเคราะห

บุคลากรที่เกี่ยวของในการตรวจสอบความถูกตอง ตองไดรับการฝกอบรมอยางเหมาะสม

ขอ ๒๘๐ ตองประเมินสิ่งอาํนวยความสะดวก ระบบ เครื่องมือ และกระบวนการเปนระยะ เพื่อ

ยืนยันวายังคงสามารถทํางานไดอยางถูกตอง

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการซึ่งตองทํากอนการผลิตเพื่อจําหนาย ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจรบัรองสิ่งอํานวยความสะดวก ระบบ และเครื่องมือ และไมมีการตรวจสอบความ

ถูกตองของวิธีวเิคราะห ถือเปนขอบกพรองสาํคัญ

บุคลากรที่เกี่ยวของในการตรวจสอบความถูกตองไมไดรับการฝกอบรมอยางเหมาะสม ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตองกอนการผลิตเพื่อจาํหนาย ขอ ๒๘๑ การตรวจสอบความถูกตองกอนการผลิตเพื่อจําหนาย อยางนอยตองประกอบดวยรายการ

ตอไปน้ี

(๑) คําอธิบายอยางยอของกระบวนการ (๒) สรุปขั้นตอนกระบวนการวิกฤตที่ตองทําการสืบสวน

(๓) รายการเครื่องมือ/ส่ิงอํานวยความสะดวกที่ใช (รวมถึงเครื่องมือในการวัด/ตรวจติดตาม/

บันทึก) รวมทั้งสถานการณของการสอบเทียบ

(๔) ขอกําหนดผลิตภัณฑสําเร็จรูปสําหรับการปลอยผาน

(๕) รายการของวิธวีิเคราะห (๖) การควบคุมคณุภาพระหวางกระบวนการพรอมเกณฑการยอมรับ

(๗) การทดสอบเพิ่มเติมพรอมเกณฑการยอมรบั และการตรวจสอบความถูกตองของวธิี

วิเคราะห

(๘) แผนการสุมตัวอยาง (๙) วิธีการบันทึกและประเมินผล

(๑๐) หนาที่และความรับผิดชอบของผูที่เกี่ยวของ (๑๑) ตารางเวลาที่กําหนด

ขอ ๒๘๒ การใชกระบวนการที่กําหนด (รวมถึงองคประกอบที่ระบ)ุ ตองทําการผลิตผลิตภัณฑ

สุดทายจํานวนหลายรุนภายใตสภาวะประจาํ โดยทางทฤษฎี จํานวนครั้งของกระบวนการที่ทําและผลที่ได

Page 106: ร่าง GMP 07

๑๐๒

ตองเพียงพอในการกําหนดขอบเขตของการแปรผันและแนวโนม รวมทั้งใหขอมูลเพียงพอสําหรับการประเมิน

โดยทั่วไปเปนที่ยอมรับวาการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการตองประกอบดวยรุนที่ผลิต

ตอเนื่อง ๓ รุน ซึ่งผลการผลิตตองอยูภายในพารามิเตอรที่กําหนด หรือใหปฏิบัติตามขอกําหนดอื่นที่สํานักงาน

คณะกรรมการอาหารและยากําหนด

ขอ ๒๘๓ รุนผลิตสําหรับการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการ ควรมีขนาดการผลิตเทากับรุน

ผลิตในระดับอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจําหนาย (industrial scale batches)

ขอ ๒๘๔ หากตองการนํารุนผลิตที่ใชในการตรวจสอบความถูกตองไปจําหนายหรอืจัดสง ตอง

ควบคุมสภาวะการผลิตใหเปนไปตามขอกําหนดของหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต รวมทั้งมีผลของการ

ตรวจสอบความถูกตองเปนที่พอใจ และตองเปนไปตามทะเบียนตํารับยา

คําอธิบาย - หมายเหต ุ การตรวจสอบความถูกตองกอนการผลิตเพื่อจําหนายมีขอมูลไมครบถวนตามที่กําหนดในขอ ๒๘๑

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

จํานวนครั้งของกระบวนการตรวจสอบความถกูตองไมตอเนื่องเปนจํานวนรุนผลิต ๓ รุน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

รุนผลิตสําหรับการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการมีขนาดการผลิตไมเทากับรุนผลิตในระดับ

อุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจําหนาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

รุนผลิตที่ใชในการตรวจสอบความถูกตองไปจําหนายหรือจัดสง มีผลการตรวจสอบความถูกตองไม

เปนที่พอใจและไมถูกตองตามทะเบียนตํารับยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ การตรวจสอบความถูกตองพรอมการผลิตเพือ่จําหนาย ขอ ๒๘๕ ในกรณีที่ไดรับการยกเวน อาจยินยอมใหไมตองทําแผนการตรวจสอบความถูกตองให

ครบถวนกอนเริ่มการผลิตตามปกติ

ขอ ๒๘๖ การพิจารณาดําเนินการตรวจสอบความถูกตองพรอมการผลิตเพื่อจําหนายตองมีเหตุผล

สนับสนุน มีการจัดทําเอกสาร และมีการอนุมตัิโดยผูที่ไดรับมอบอํานาจ

ขอ ๒๘๗ ขอกาํหนดในการจัดทําเอกสารสําหรับการตรวจสอบความถูกตองพรอมการผลิตเพื่อ

จําหนาย มีลักษณะเชนเดียวกันกับการตรวจสอบความถูกตองกอนการผลิตเพื่อจําหนาย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ในการตรวจสอบความถูกตองพรอมการผลิตเพื่อจาํหนาย ถาไมมีเหตุผลสนับสนุน ไมมีการจัดทํา

เอกสาร และไมมีการอนุมัติโดยผูที่ไดรับมอบอํานาจ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ การตรวจสอบความถูกตองยอนหลัง

Page 107: ร่าง GMP 07

๑๐๓

ขอ ๒๘๘ การตรวจสอบความถูกตองยอนหลังเปนที่ยอมรับเฉพาะสาํหรับกระบวนการที่คงที่แลว

แตวิธีการนี้ไมเหมาะสมถาเพิง่มีการเปลี่ยนแปลงสวนประกอบของผลิตภณัฑ ขั้นตอนการดําเนินงาน หรือ

เครื่องมือ

ขอ ๒๘๙ การตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการนี้ตองใชขอมูลที่ผานมา ขั้นตอนที่เกี่ยวของ

ตองมีการเตรียมโปรโตคอลและการรายงานผลการทบทวนขอมูล ซึ่งนําไปสูการสรุปและขอเสนอแนะ

ขอ ๒๙๐ แหลงของขอมูลสําหรับการตรวจสอบความถูกตองนี้ อยางนอยตองประกอบดวยบันทึก

กระบวนการผลิตและการบรรจุ แผนภูมิการควบคุมกระบวนการ สมุดบันทึกการบํารุงรักษา บันทกึการ

เปล่ียนแปลงบุคลากร การศึกษาสมรรถภาพของกระบวนการ ขอมูลผลิตภัณฑสําเร็จรูป รวมทั้งผลแนวโนม

และความคงสภาพระหวางการเก็บรักษา

ขอ ๒๙๑ รุนผลิตที่เลือกเพื่อทําการตรวจสอบความถูกตองยอนหลัง ควรเปนตัวแทนของรุนผลิต

ทั้งหมดที่ผลิตระหวางชวงเวลาที่ทําการทบทวนขอมูล รวมท้ังรุนผลิตที่ไมเปนไปตามขอกําหนด และควรมี

จํานวนรุนมากพอที่จะแสดงถงึความสม่ําเสมอของกระบวนการผลิต อาจจําเปนตองทดสอบเพิ่มเติมสําหรับ

ตัวอยางจัดเก็บเพื่อใหไดจํานวน หรือชนิดของขอมูลที่จําเปนสําหรับการการตรวจสอบความถูกตองยอนหลัง

ขอ ๒๙๒ โดยทั่วไปการตรวจสอบความถูกตองยอนหลังเพื่อประเมินความสม่าํเสมอของ

กระบวนการผลิตตองใชขอมลูตั้งแต ๑๐ ถงึ ๓๐ รุนที่ผลิตตอเนื่อง แตอาจใชจํานวนรุนผลิตนอยกวานี้หากมี

เหตุผลสนับสนุนเพียงพอ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ในการตรวจสอบความถูกตองยอนหลัง ถาไมมีการเตรียมโปรโตคอลและการรายงานผลการทบทวน

ขอมูล ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตองยอนหลังมีขอมูลไมครบถวนตามที่กําหนดในขอ ๒๙๐ ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ในการตรวจสอบความถูกตองยอนหลัง ถาจาํนวนรุนที่ผลิตไมเปนตัวแทนของรุนผลิต หรือมีจํานวน

นอยกวา ๑๐ รุน โดยไมมีเหตุผลสนับสนุนเพียงพอ ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตองของการทําความสะอาด ขอ ๒๙๓ การตรวจสอบความถูกตองของการทําความสะอาดตองดําเนินการเพื่อยืนยันประสิทธิภาพ

ของวิธีการทําความสะอาด เหตุผลในการเลือกขีดจํากัดของสารตกคางของผลิตภัณฑ สารทําความสะอาด

และการปนเปอนจากจุลินทรียขึ้นอยูกับวัสดทุี่เกี่ยวของ โดยขีดจํากัดนี้ตองสามารถทําไดและพิสูจนได

ขอ ๒๙๔ วิธวีิเคราะหที่ผานการตรวจสอบความถูกตองแลว ตองมีความไวในการตรวจหาสาร

ตกคางหรือสารปนเปอน ขีดจาํกัดการตรวจวดัสําหรับวิธีวิเคราะหแตละวิธีควรมีความไวเพียงพอที่จะตรวจหา

ระดับที่ยอมรับของสารตกคางหรือส่ิงปนเปอน

ขอ ๒๙๕ โดยปกติตองมีการตรวจสอบความถูกตองของวธิีการทําความสะอาดสําหรับเครื่องมือซึ่งมี

Page 108: ร่าง GMP 07

๑๐๔

พื้นผิวสัมผัสกับผลิตภัณฑเทานั้น แตในบางกรณีควรพิจารณาถึงสวนที่ไมมีการสัมผัสดวย

ตองมีการตรวจสอบความถูกตองของชวงเวลาหลังการใชงานกับการทําความสะอาด และชวงเวลา

หลังการทําความสะอาดกบัการใชงานครั้งตอไป โดยตองกําหนดชวงเวลาและวิธีการในการทําความสะอาดไว

ขอ ๒๙๖ วิธีการปฏบิัติในการทําความสะอาดสําหรับผลิตภัณฑและกระบวนการที่คลายกัน

สามารถเลือกตัวแทนของกลุมผลิตภัณฑและกระบวนการดังกลาวมาใชในการทําการตรวจสอบความถูกตอง

ได

การตรวจสอบความถูกตองเพียงหนึ่งผลิตภัณฑ สามารถทําไดโดยใชหลักการ “กรณีแยที่สุด” โดย

พิจารณาจากประเด็นวิกฤตที่เกี่ยวของ

ขอ ๒๙๗ โดยปกติตองทําการตรวจสอบความถูกตองของวิธีทําความสะอาด ๓ คร้ังตอเนื่องกัน และ

ตองแสดงผลเพื่อพิสูจนวาวิธดีังกลาวไดผานการตรวจสอบความถูกตองแลว

ขอ ๒๙๘ การทดสอบจนกระทั่งสะอาด ไมใชทางเลือกทีเ่หมาะสมของการตรวจสอบความถูกตอง

ของการทําความสะอาด

ขอ ๒๙๙ ผลิตภัณฑที่มีสารที่มีความเปนพิษหรือเปนอนัตราย อาจใชสารที่มีคุณสมบัติทางเคมี

กายภาพที่คลายกับสารที่ตองการกําจัดมาใชแทนได

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของการทําความสะอาด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตองของวิธีทําความสะอาด ถาไมใชวิธีการวิเคราะหที่ผานการตรวจสอบ

ความถูกตองแลว ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการกําหนดชวงเวลาและวิธีการในการทาํความสะอาดหลังการใชงานกับการทําความสะอาด

และชวงเวลาหลังการทําความสะอาดกับการใชงานครั้งตอไป ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

จํานวนครั้งของการตรวจสอบความถูกตองของวิธีทําความสะอาดนอยกวา ๓ คร้ังตอเนื่องกัน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

การควบคุมการเปลี่ยนแปลง ขอ ๓๐๐ ตองมีวิธปีฏิบัติการเพื่ออธบิายสิง่ที่ตองดําเนินการหากมีความประสงคที่จะเปลี่ยนแปลง

เกี่ยวกับวัตถุดิบ สวนประกอบของผลิตภัณฑ เครื่องมือในกระบวนการ สภาวะแวดลอมของการดําเนินงาน

วิธีการผลิตหรือการทดสอบหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นที่อาจมผีลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑ หรือ

ความสามารถในการทําซ้ําของกระบวนการ

วิธีปฏบิัติในการควบคุมการเปลี่ยนแปลงตองมั่นใจวามีขอมลูสนับสนุนเพียงพอเพื่อใชแสดงวา

กระบวนการที่แกไขใหมสามารถผลิตผลิตภัณฑที่มีคุณภาพสม่ําเสมอตามขอกําหนดที่ผานการรับรอง

ขอ ๓๐๑ การเปลี่ยนแปลงทุกอยางที่อาจเกิดผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑหรือ

ความสามารถทําซ้ําของกระบวนการตองมีการยื่นคําขอเปนลายลักษณอักษรและรับรองอยางเปนทางการ

Page 109: ร่าง GMP 07

๑๐๕

ตองมีการประเมินและวิเคราะหความเสี่ยงของผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งอํานวยความ

สะดวก ระบบ และเครื่องมือที่มีตอผลิตภัณฑ

ควรพิจารณาความจําเปนและขอบเขตของการตรวจรับรองซ้าํและการตรวจสอบความถูกตองซ้ํา

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีวธิีปฏบิัติในการควบคุมการเปลี่ยนแปลง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการยื่นคําขอเปนลายลักษณอักษรและรบัรองอยางเปนทางการสําหรับการเปลี่ยนแปลงทุกอยาง

ที่อาจเกิดผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการประเมนิและวิเคราะหความเสี่ยงของผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งอํานวยความสะดวก

ระบบ และเครื่องมือที่มีตอผลิตภัณฑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตองซ้ํา ขอ ๓๐๒ ส่ิงอาํนวยความสะดวก ระบบ เครื่องมือ และกระบวนการ รวมท้ังการทําความสะอาด ตอง

มีการประเมินเปนระยะเพื่อยนืยันวาส่ิงเหลานี้ยังคงใชงานได

กรณีมีการเปลี่ยนแปลงที่ไมมนีัยสําคัญของสถานะที่มีการตรวจสอบความถูกตองแลว ตองมีการ

ทบทวนพรอมทั้งหลักฐานที่แสดงวาส่ิงอํานวยความสะดวก ระบบ เครื่องมือ และกระบวนการเปนไปตาม

ขอกําหนดที่ระบุไว จึงจะถอืวาเปนการตรวจสอบความถูกตองซ้ํา

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีแผนการประเมินความถูกตองซ้ําเปนระยะๆ หรือในกรณีมีการเปล่ียนแปลงที่มีนัยสําคัญ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

Page 110: ร่าง GMP 07

๑๐๖

หมวด ๑๓ การผลิตยาน้ํา ครีม และข้ีผึ้ง

หลักการ ยาน้ํา ครีม และขี้ผ้ึง เปนผลิตภัณฑที่ไวตอการปนเปอนของจุลินทรียและสิ่งอื่นในระหวางการผลิต

ดังนั้น จึงตองมีมาตรการพิเศษในการปองกันการปนเปอน

การผลิตยาน้ํา ครีม และขี้ผ้ึง ตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิต และขอกาํหนดอื่น

เพิ่มเติมตามที่ปรากฏในประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับน้ี ขอกําหนดที่กลาวถึงตอไปนี้มุงเนนเฉพาะสวนที่

เกี่ยวของกับการผลิตเทานั้น

อาคารสถานที่และเครื่องมือ ขอ ๓๐๓ เพื่อปองกันการปนเปอนในผลิตภัณฑ แนะนําใหใชระบบปดในกระบวนการผลิตรวมถึง

กระบวนการขนถายยาดวย ทั้งนี้ ในบริเวณผลิตซึ่งผลิตภัณฑ หรือภาชนะที่สะอาดเปดทิ้งไวสัมผัสกับอากาศ

โดยตรง ตองมีการหมุนเวียนอากาศที่มปีระสิทธิภาพดวยอากาศที่ผานการกรอง

คําอธิบาย (๑) ระบบปดหมายถึง มีการผสมยาในถังที่ปดสนิท และการขนถายยาตองใชระบบทอหรือสายยาง

ไปยังถังเก็บ และตอไปยังเครื่องบรรจุ เพือ่ปองกันการปนเปอนในผลิตภัณฑ ทั้งนี้อากาศภายนอกตองไมมี

โอกาสสัมผัสกบัยาภายใน

(๒) ถาผลิตภัณฑหรือภาชนะที่สะอาดเปดทิ้งไวสัมผัสกับอากาศโดยตรง บริเวณผลิตตองมีหองที่

เปนสัดสวน มีระบบ HVAC ที่มีการกรองที่เหมาะสม เชน coarse filter, medium filter and final HEPA filter

ที่ AHU

(๓) ตองมีการทํา HVAC qualification

(๔) ตองมีการตรวจสอบสภาวะแวดลอม (Environmental Monitoring) เปนระยะ เชน Air sampler,

settling plate หมายเหต ุ

ไมมีระบบหมุนเวียนอากาศที่ไมมีประสิทธิภาพ (HVAC) ในบริเวณผลิตที่ผลิตภัณฑหรือภาชนะที่

สะอาดเปดทิ้งไวสัมผัสกับอากาศโดยตรง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๐๔ การออกแบบและติดตั้งถัง ภาชนะบรรจุ ทอ และปม ตองใหสามารถทําความสะอาดได

สะดวก และกําจัดเชื้อได (ถาจําเปน) โดยเฉพาะอยางยิ่งการออกแบบเครื่องมือ ควรใหมจีุดอับหรือมบีริเวณที่

ส่ิงตกคางสามารถสะสมซึ่งจะเปนแหลงเจริญเติบโตของจุลินทรียนอยจุดที่สุด

Page 111: ร่าง GMP 07

๑๐๗

คําอธิบาย (๑) ถังผสม ถงัเก็บ ทอ และปม ควรถอดลางทําความสะอาดไดงาย สําหรับถัง ถามใีบพัดผสมควร

ยกขึ้นหรือถอดออกได ทอควรใชการประกบตดิแบบ ferrules & clamps เพื่อท่ีจะถอดเปนทอนลางทําความ

สะอาดไดงาย pump ตองเปนแบบ sanitary pump เพื่อท่ีจะทําความสะอาดไดงาย หรือมีระบบทําความ

สะอาดแบบ clean in place

(๒) ถาใชสายยางในการขนถายยา ไมควรใชรวมกัน ควรแยกแตละผลิตภัณฑ ถามีการใชรวมกัน

ตองมีการทํา cleaning validation ของสายยาง

(๓) ถังผสม ถังเก็บ ทอ ไมควรมีซอกหรือจุดอับ (dead legs) ถาถังมี baffle ควรตองมั่นใจวา

สามารถลางทําความสะอาดได ไมควรใช ball valve ที่กนถัง ถามีการใชควรเปน sanitary ball valve หรือ

butterfly valve และ valve ควรถอดออกมาลางได

(๔) ถังผสม ถังเก็บ ทอ และปม ที่สัมผัสกับยา ตองมกีารทํา cleaning validation และตองมี

มาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการ cleaning

(๕) ควรมีหองเก็บอุปกรณ เชน ถังผสม ถงัเก็บ ทอ และปม ที่แหงและสะอาดแลว รวมถึงมีการ

ตรวจสอบความสะอาดกอนนําไปใช

(๖) ควรมีปายระบุสถานะ (status tag) วาถงัผสม ถังเก็บ ทอ และปม อยูในสถานะใด เชน รอการ

ทําความสะอาด ทําความสะอาดแลว และควรกําหนดระยะเวลาการเก็บหลังการทําความสะอาด (holding

time)

(๗) ม ีlog book การใช ถังผสม ถังเก็บ ทอ และปม เพือ่สะดวกตอการตรวจสอบยอนหลัง หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการทําความสะอาด หรือไมปฏบิัติตามมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

มีการออกแบบและติดตั้งอุปกรณที่ไมเหมาะสม และพบสิ่งตกคางหลังการทําความสะอาด ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๐๕ หลีกเลี่ยงการใชอปุกรณที่เปนแกวใหมากที่สุดเทาที่จะทําได อปุกรณในสวนที่มีการสัมผัส

กับผลิตภัณฑควรเลือกใชที่ทําจากสเตนเลสสตีลคุณภาพสูง

คําอธิบาย (๑) กรณีที่จาํเปนตองใชอุปกรณที่เปนแกว ตองมีการควบคุมและมบีันทึกการตรวจสอบกอนและ

หลังการใชงาน

(๒) อปุกรณในสวนที่มีการสัมผัสกับผลิตภัณฑ ควรใช stainless steel ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของ

ผลิตภัณฑที่ผลิต หากเปนไปไดควรใชประเภท 316 หรือ 316 L และมีการทํา passivation กอนนําไปใชในคร้ัง

แรก

(๓) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตแิละบนัทึกการทํา passivation

หมายเหต ุ -

Page 112: ร่าง GMP 07

๑๐๘

การดําเนินการผลิต ขอ ๓๐๖ ตองมีการกําหนดคุณลักษณะและตรวจติดตามคุณภาพของน้ําที่ใชในการผลิตทั้ง

คุณภาพทางดานเคมีและทางจุลชีววิทยา

ตองใสใจในการบํารุงรักษาระบบน้ําเพื่อหลีกเลี่ยง หรือลดความเสี่ยงในการเจริญเติบโตของจุลินทรีย

ภายหลังการกําจัดเชื้อในระบบน้ําดวยสารเคมี ตองทําการชะลางสารเคมีที่ใชตามวิธกีารปฏิบัติที่

ผานการตรวจสอบความถูกตองแลว เพื่อใหแนใจวามีการกําจัดสารเคมีเหลานั้นอยางมีประสิทธิภาพ

คําอธิบาย (๑) น้ําที่ใชในการผลิตตองเปน Purified Water ตามเภสัชตํารับ เชน USP หรือ EP

(๒) มี layout ของระบบน้ํา และแสดงตําแหนงของจุดเก็บตัวอยางน้ํา (sampling point)

(๓) ทอน้ําของ Purified Water ควรเปน stainless steel 316 L และควรเปนระบบ continuous

circulation closed loop

(๔) มมีาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการตรวจติดตามคุณภาพของน้ํา โดยมีการกําหนด alert limit

และ action limit และตองมกีารทํา trend analysis

(๕) มาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรบัการบํารุงรักษาระบบน้ํา

(๖) มาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการ sanitization ระบบน้ํา หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจสอบคุณภาพน้ําทั้งทางเคมีและจุลชีววิทยา ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการบํารุงรักษาระบบน้ํา หรือมีแลวไมปฏบิัติตาม ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการ sanitization ระบบน้ํา หรือมแีลวไมปฏบิัติตาม ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๐๗ วัตถุดิบที่รับเขามาในลักษณะของถังขนสงขนาดใหญ ตองมีการตรวจสอบคุณภาพ

กอนที่จะถายไปยังถังเก็บปริมาตรมาก

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจสอบคุณภาพกอนขนถาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๐๘ การขนถายสารผานทอ ตองระมดัระวังเพื่อใหแนใจวาการขนถายนั้นตรงไปยังปลายทาง

ที่ถูกตอง

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการขนถายสารผานทอ

(๒) มีปายบอกชนิดของสารที่ทอที่ใชขนถายอยางชัดเจน

Page 113: ร่าง GMP 07

๑๐๙

หมายเหต ุไมมีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อปองกันการผดิพลาดในการขนถาย เชนมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติหรือ

ปายบอกชนิดของสารที่ทอที่ใชขนถาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๐๙ ตองไมนําวัสดุที่ปลอยเสนใยหรือส่ิงปนเปอน ตัวอยางเชน กระดาษแข็ง หรือพาเลทที่ทํา

จากไม เขามาในบริเวณที่ผลิตภัณฑหรือภาชนะบรรจุสะอาดเปดสัมผัสกับอากาศ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

พบนําวัสดุที่ปลอยเสนใยและสิ่งปนเปอน เขาในบริเวณที่ผลิตภัณฑหรือภาชนะบรรจุสะอาดเปด

สัมผัสกับอากาศ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๑๐ ยาน้ําผสม ยาแขวนตะกอน และยาชนิดอื่น ตองควบคุมใหมีความเปนเนื้อเดียวกัน

ตลอดเวลาที่บรรจุ กระบวนการผสมและการบรรจุตองผานการตรวจสอบความถูกตอง ชวงเริ่มตนของ

กระบวนการบรรจุ ภายหลังการหยุดในระหวางกระบวนการ และชวงสุดทายของกระบวนการ ตองไดรับการ

ระมัดระวังเปนพิเศษ เพื่อใหแนใจวาผลิตภัณฑยังคงความเปนเนื้อเดียวกัน

คําอธิบาย (๑) ตองทํา process validation โดยเฉพาะในขั้นตอน mixing และ filling และเมื่อมีการหยุดใน

ระหวางกระบวนการผลิต (mixture, suspension, emulsion, cream, ointment, colloid, etc.) เพื่อใหแนใจ

วาผลิตภัณฑยังคงความเปนเนื้อเดียวกันตลอดกระบวนการ

(๒) ควรปนหรอืกวนยาตลอดเวลาที่ทําการบรรจุ สําหรับยาที่มีแนวโนมจะแยกชั้นหรือตกตะกอน หมายเหต ุ

ไมมีการทํา process validation ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการควบคุมระหวางการผลิตและการบรรจุใหมีความเปนเนื้อเดียวกัน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๑๑ ผลิตภัณฑยาที่รอการบรรจุ ตองระบุชวงเวลานานที่สุดที่ยอมรับในการเก็บและสภาวะ

การเก็บ รวมถึงผลิตภัณฑยาที่บรรจุแลว แตยงัไมไดมีการติดฉลากหรือบรรจุกลองทันที

คําอธิบาย (๑) มีการศึกษาและกําหนด maximum hold time ของผลิตภัณฑยาที่รอการบรรจ ุและสภาวะการ

เก็บรักษา เพื่อใหทราบระยะเวลาที่นานที่สุดและสภาวะการเก็บรักษายารอการบรรจุ ที่จะไมมีผลตอคุณภาพ

ของยาทั้งทางดานเคมีและทางจุลชีววิทยา

(๒) มีการกาํหนด maximum hold time ของผลิตภัณฑยาที่บรรจุแลว แตยงัไมไดมีการติดฉลากหรือ

บรรจุกลองทันที เพื่อใหมั่นใจวาจะไมมีผลตอคุณภาพของยา และลดโอกาสการ mix up ของผลิตภัณฑยา

เชน ติดฉลากผิดชนิดหรือผิดรุนการผลิต หรือ การลืมการติดฉลากหรือบรรจุกลอง

Page 114: ร่าง GMP 07

๑๑๐

หมายเหต ุไมระบุชวงเวลานานที่สุด (maximum hold time) ที่ยอมรับในการเก็บและสภาวะการเก็บของ

ผลิตภัณฑยารอบรรจุ ทีอ่าจจะมีผลตอคุณภาพของยาที่ผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 115: ร่าง GMP 07

๑๑๑

หมวด ๑๔ การผลิตยาปราศจากเชื้อ

หลักการ การผลิตยาปราศจากเชื้อตองมีขอกําหนดเพิ่มเติมเปนพิเศษเพื่อใหมีความเสี่ยงนอยที่สุดจากการ

ปนเปอนของจลิุนทรีย อนุภาคและไพโรเจน โดยตองเนนที่ทักษะ การฝกอบรม และทัศนคติที่ถูกตองของ

บุคลากรที่เกี่ยวของ

การประกันคุณภาพมีความสําคัญเปนพิเศษ และการผลิตผลิตภัณฑยาประเภทนี้ตองปฏิบัติอยาง

เครงครัดตามวิธีการเตรียมและวิธีการปฏบิัตทิี่กําหนดไวซึ่งผานการตรวจสอบความถูกตองแลว

ความนาเชื่อถอืในความปราศจากเชื้อหรือประเด็นอื่นเกี่ยวกับคุณภาพ ตองไมขึ้นกับกระบวนการ

สุดทายของการผลิตหรือการทดสอบผลิตภัณฑยาสําเร็จรูปแตเพียงอยางเดียว

ขอกําหนดในหมวดนี้ไมมีรายละเอียดวิธีการสําหรับตรวจหาจุลินทรียและระดับความสะอาดของ

อากาศ พื้นผวิ ฯลฯ โดยใหอางอิงจากเอกสารอื่น ตัวอยางเชน มาตรฐานของ EN/ISO (International

Organization for Standardization (ISO))

ขอกําหนดทั่วไป ขอ ๓๑๒ การผลิตยาปราศจากเชื้อตองทาํในบริเวณสะอาด ทางเขาสําหรับผูปฏิบัติงานและ/หรือ

ทางเขาสําหรับเครื่องมือและวตัถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจ ุตองผานแอรล็อค

บริเวณสะอาดตองดูแลรักษาใหมีมาตรฐานความสะอาดที่เหมาะสมและอากาศที่จายเขาตองผาน

แผนกรองที่มีประสิทธิภาพเหมาะสม

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมผลิตยาปราศจากเชื้อในบรเิวณสะอาด ที่มีระดับความสะอาดที่เหมาะสม ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ไมมีแอรล็อคของทางเขาสําหรับผูปฏิบัติงานและ/หรือทางเขาสําหรับเครื่องมือและวัตถุดบิและ/หรือ

วัสดุการบรรจุ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีระบบ HVAC ที่มีการกรองที่เหมาะสม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๑๓ การปฏิบัติงานในการเตรียมสวนประกอบ การเตรียมผลิตภัณฑ และการบรรจุตองทําใน

บริเวณที่แยกกันเปนสัดสวนภายในบริเวณสะอาด

การดําเนินการผลิตแบงเปนสองประเภท ประเภทแรกเปนการผลิตดวยกระบวนการทําใหผลิตภัณฑ

ปราศจากเชือ้ในขั้นตอนสุดทาย และประเภทที่สองเปนการผลิตโดยกระบวนการปราศจากเชื้อในบางขั้นตอน

หรือทุกขั้นตอนการผลิต

Page 116: ร่าง GMP 07

๑๑๒

คําอธิบาย (๑) บริเวณผลติยาปราศจากเชื้อตองแบงเปนสัดสวนตามระดับความสะอาด โดยดูขอกําหนดขอ ๓๑๕

(๒) การดําเนินการผลิตแบงเปนสองประเภท ประเภทแรกเปนการผลิตดวยกระบวนการทําให

ผลิตภัณฑปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดทาย และประเภทที่สองเปนการผลิตโดยกระบวนการปราศจากเชื้อใน

บางขั้นตอนหรือทุกขั้นตอนการผลิต โดยรายละเอียดใหดูขอกําหนดขอ ๓๒๘

(๓) มี layout แสดงบริเวณสะอาดแตละระดับท่ีชัดเจน

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๑๔ บริเวณสะอาดสาํหรับการผลิตยาปราศจากเชือ้แบงตามคุณลักษณะที่กําหนดของสภาวะ

แวดลอม กระบวนการผลิตแตละขั้นตอนตองการระดับความสะอาดของสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมในสถานะ

กําลังปฏิบัติงาน เพื่อใหมีความเสี่ยงนอยที่สุดในการปนเปอนของอนุภาคหรือจุลินทรียในผลิตภัณฑ หรือ

วัตถุดิบและ/หรือวัสดุการบรรจ ุ

เพื่อใหไดสถานะ “กําลังปฏบิัติงาน (in operation)” บริเวณเหลานี้ตองออกแบบและผานการ

ตรวจสอบวาไดระดับความสะอาดของอากาศตามที่กําหนดในสถานะ “ไมมีการปฏบิัติงาน (at rest)”

สถานะ “ไมมกีารปฏิบัติงาน” เปนสภาวะที่มีการติดตั้งระบบและเปดใชงาน พรอมทัง้มีการทํางาน

ของเครื่องมือผลิต แตไมมีผูปฏิบัติงานอยูในบริเวณนั้น

สถานะ “กําลังปฏิบัติงาน” เปนสภาวะที่มีการเปดใชงานระบบที่ติดตั้งไวตามวิธีการใชที่กําหนด

พรอมทั้งมีผูปฏบิัติงานกําลังปฏิบัติงานตามจาํนวนที่ระบุ

ตองมีการระบสุถานะ “กําลังปฏิบัติงาน” และสถานะ “ไมมีการปฏบิัติงาน” สําหรับหองสะอาดแตละ

หองหรือกลุมของหองสะอาด

บริเวณผลิตยาปราศจากเชือ้ แบงเปน ๔ ระดับ

ระดับ A เปนบริเวณเฉพาะสําหรับการปฏิบัติงานที่มคีวามเสี่ยงสูง ตัวอยางเชน บริเวณบรรจุ

บริเวณภาชนะใสจุกยาง บริเวณที่แอมพลูและไวแอลเปดอยู บริเวณการประกอบอุปกรณปราศจากเชื้อ

ตามปกติสภาวะเชนนี้ทําไดโดยใชลามินารแอรโฟลว ระบบลามินารแอรโฟลวตองมีความเร็วลมอยาง

สม่ําเสมอในชวง ๐.๓๖ – ๐.๕๔ เมตร/วินาที (คาแนะนํา) ที่ตําแหนงของการทํางาน โดยตองแสดงใหเห็นถึง

การรักษาสภาพการไหลของอากาศเปนแนวขนานกันและมีการตรวจสอบความถูกตอง

ไอโซเลเตอรและตูทํางานที่มีถุงมือ อาจใชการไหลของอากาศไปในทิศทางเดียวกัน (uni-directional

air flow) และใชความเร็วที่ต่ํากวา

ระดับ B เปนบริเวณสภาวะแวดลอมสําหรับบริเวณระดับ A ที่ใชสําหรับการเตรียมและการบรรจุโดย

กระบวนการปราศจากเชื้อ

ระดับ C และ D เปนบริเวณสะอาดสําหรับการผลิตยาปราศจากเชือ้ในขั้นตอนที่มีความวิกฤตนอยกวา

Page 117: ร่าง GMP 07

๑๑๓

คําอธิบาย (๑) ระดับ A: การวัดความเร็วลมของลามินารแอรโฟลวทั้งแบบ vertical และ horizontal ตองทําการ

วัดที่ตําแหนงของการทํางาน และตองมีภาพแสดง air flow pattern ซึ่งตองเปนแนวขนานกัน (uni-directional

air flow หรือ laminarity)

(๒) ไอโซเลเตอรและตูทํางานที่มีถุงมือ อาจใชการไหลของอากาศไปในทิศทางเดียวกัน (uni-

directional air flow) และใชความเร็วที่ต่ํากวาคาแนะนํา (๐.๓๖ – ๐.๕๔ เมตร/วินาท)ี

หมายเหต ุ - การแบงประเภทของหองสะอาดและอุปกรณอากาศสะอาด

ขอ ๓๑๕ การแบงประเภทของหองสะอาดและอปุกรณอากาศสะอาด จําแนกตามมาตรฐาน

EN/ISO 14644-1 โดยการจัดระดับความสะอาดตองแยกชดัเจนจากการตรวจติดตามสภาวะแวดลอมในขณะ

กําลังปฏิบัติงาน จํานวนอนุภาคในอากาศทีย่อมใหมีไดสูงสุดในแตละระดับแสดงตามตารางนี้

จํานวนอนภุาคสูงสุดที่ยอมใหมีไดในปรมิาตรอากาศ ๑ ลูกบาศกเมตร ที่มีขนาดเทากับหรือใหญกวาที่ระบ ุ

ไมมีการปฏิบตัิงาน (at rest) กําลังปฏิบัติงาน (in operation) ระดับ

๐.๕ ไมโครเมตร ๕.๐ ไมโครเมตร ๐.๕ ไมโครเมตร ๕.๐ ไมโครเมตร

A ๓,๕๒๐ ๒๐ ๓,๕๒๐ ๒๐

B ๓,๕๒๐ ๒๙ ๓๕๒,๐๐๐ ๒,๙๐๐

C ๓๕๒,๐๐๐ ๒,๙๐๐ ๓,๕๒๐,๐๐๐ ๒๙,๐๐๐

D ๓,๕๒๐,๐๐๐ ๒๙,๐๐๐ ไมระบ ุ ไมระบ ุ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ -

ขอ ๓๑๖ สําหรับการแบงประเภทในระดับ A ตัวอยางปรมิาตรอากาศตองไมนอยกวา

๑ ลูกบาศกเมตรตอตําแหนงการสุมตัวอยาง

ระดับ A ปริมาณอนุภาคในอากาศใหเปนไปตามมาตรฐาน ISO ๔.๘ กําหนดโดยขีดจํากัดอนุภาค

ขนาดเทากับหรือใหญกวา ๕.๐ ไมโครเมตร

ระดับ B (ไมมกีารปฏิบัติงาน) จํานวนอนุภาคในอากาศทั้งสองขนาด (๐.๕ และ ๕.๐ ไมโครเมตร) ให

เปนไปตามมาตรฐาน ISO ๕

ระดับ C (ไมมกีารปฏิบัติงานและกําลังปฏิบตัิงาน) จํานวนอนุภาคในอากาศใหเปนไปตามมาตรฐาน

ISO ๗ และ ISO ๘ ตามลําดบั

ระดับ D (ไมมกีารปฏิบัติงาน) จาํนวนอนุภาคในอากาศใหเปนไปตาม ISO ๘

Page 118: ร่าง GMP 07

๑๑๔

สําหรับวัตถุประสงคในการแบงประเภทตามวิธีการในมาตรฐาน EN/ISO ๑๔๖๔๔-๑ ที่ระบุทั้ง

จํานวนนอยที่สุดของตําแหนงการสุมตัวอยางและขนาดตัวอยาง ซึ่งขึ้นกับขีดจํากัดของขนาดอนุภาคที่ใหญ

ที่สุดในแตละระดับและวิธปีระเมินขอมูลที่ได

คําอธิบาย (๑) สําหรับระดับ D ไมระบุจํานวนอนุภาคในขณะกําลังปฏิบัติงาน ทั้งนี้โรงงานควรกําหนดโดย

พิจารณาจากการวิเคราะหความเสี่ยงและประวัติขอมูลที่ได

(๒) จาํนวนนอยที่สุดของของจุดสุมตัวอยางและปริมาณตัวอยาง รวมถึงการแปลผลของผลที่ได

กําหนดอยูใน EN ISO 14644-1 (ระดับความเชื่อมั่น (confidence interval)) และดูใน appendix B 6.2 ของ

EN ISO 14644-1 หมายเหต ุ

การตรวจรับรองระดับความสะอาดหองไมเปนไปตามมาตรฐาน EN ISO 14644 ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

. ขอ ๓๑๗ การแบงประเภทควรใชเครื่องตรวจนับอนุภาคชนิดเคลื่อนยายไดที่มีความยาวทอสุม

ตัวอยางสั้น เนื่องจากระบบการสุมระยะไกลที่มีทอยาว จะมอีัตราการตกคางสูงของอนุภาคที่มีขนาดเทากับ

หรือใหญกวา ๕.๐ ไมโครเมตร ระบบที่มีการไหลของอากาศในทิศทางเดียวกัน ควรใชหัวสุมตัวอยางแบบไอโซ

ไคเนติก (Isokinetic sample heads)

คําอธิบาย (๑) ความยาวของทอสุมตัวอยางไมควรเกิน ๑.๕ เมตร

(๒) ขอกําหนดนี้หมายความวาเครื่องตรวจนับอนุภาคแบบ central ที่มีทอยาวไมเปนที่ยอมรับอีก

ตอไปสําหรับการแบงประเภทหองสะอาด เพราะจะดูดซับอนุภาคมาก (โดยเฉพาะอนุภาคขนาด ๕

ไมโครเมตร) ดังนั้นเคร่ืองตรวจนับอนุภาคสมัยใหมชนิดเคลื่อนยายไดที่มีทอส้ันหรือถาเปนไปไดใหใชชนิดไมมี

ทอสําหรับวัตถุประสงคการแบงประเภทหองสะอาด การสอบเทียบเครื่องตรวจนับอนุภาคตองบอกถึงความ

ยาวของทอและประเภทของวสัดุ (inox or polymer) เมื่อทําการสอบเทยีบโดยหองปฏบิัติการภายนอกตอง

ตรวจรับรองระบบการวัด on site พรอมทั้งเปรียบเทียบการวัดกับ isokinetic probe สําหรับผลกระทบตอการ

ตรวจติดตามใหดูขอ ๓๒๒ ดวย

(๓) isokinetic head รูปรางทรงกรวย

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๑๘ การแบงประเภทในสถานะ “กําลังปฏิบัติงาน” อาจแสดงใหเห็นระหวางการปฏบิัติงานปกติ

การจําลองการปฏิบัติงาน หรือระหวางการทํามีเดียฟลลโดยการจําลองกรณีแยที่สุด ทั้งนี้ ขอกําหนดใน

มาตรฐาน EN/ISO ๑๔๖๔๔-๒ มีขอมูลในการทดสอบเพื่อแสดงความสอดคลองอยางตอเนื่องกับระดับความ

สะอาดที่กําหนด

Page 119: ร่าง GMP 07

๑๑๕

คําอธิบาย (๑) ขอกําหนดนี้เกี่ยวกับ re-qualification ของหองสะอาด โรงงานอาจเลือกทํา re-qualification

ของหองสะอาดตามขอกําหนดใน EN ISO 14644-2 (รวมถึงความถี่ที่เสนอ) สําหรับ re-qualification ของ

บริเวณระดับ A โดยปกติจะทําส่ิงตอไปน้ีระหวาง initial classification ดวย : ความเร็วลม ความสมบูรณของ

แผนกรอง ความแตกตางของความดัน ทําทกุ ๖ เดือน

ตัวอยางความถี่

• ระดับ B ทําในสถานะไมมีการปฏิบัติงานทุก ๖ เดือน ทําในสถานะกําลังปฏิบัติงานปละครั้ง

• ระดับอื่นทําปละครั้ง พรอมท้ังระบุเวลาสูงสุดที่เล่ือนออกไป

ถาโรงงานใชวิธอีื่น จะตองใหเหตุผล ตัวอยางเชน จากขอมูลการตรวจติดตาม

หมายเหต ุ -

การตรวจติดตามหองสะอาดและอปุกรณอากาศสะอาด

ขอ ๓๑๙ ตองมีการตรวจติดตามหองสะอาดและอปุกรณอากาศสะอาดเปนประจําในขณะกําลัง

ปฏิบัติงาน และตําแหนงของการตรวจติดตามขึ้นกับการศกึษาวิเคราะหความเสี่ยง และผลที่ไดระหวางการ

แบงประเภทของหองและ/หรืออุปกรณอากาศสะอาด

คําอธิบาย (๑) อปุกรณอากาศสะอาด (clean air device) เชน laminar air flow, isolator และ restricted

access barrier system (RABS)

(๒) ความถี ่ ตําแหนงและจํานวนตําแหนงของการตรวจติดตามขึ้นกับการประเมินความเสี่ยง โดย

พิจารณาจากขอมูลที่ไดระหวางการแบงประเภทของหองและ/หรืออปุกรณอากาศสะอาด และขอมูลที่ไดจาก

การตรวจติดตาม รวมทั้งตําแหนงวิกฤตดวย

(๓) มีการทํา environmental monitoring และ particle count เปนประจําในขณะกําลังปฏิบัติงาน

(๔) มีการประเมินความเสี่ยงเพื่อกําหนดตําแหนงของการตรวจติดตาม อาจใช method & tool ได

หลายวิธีเชน hazard analysis and critical control points (HACCP), failure mode effect analysis

(FMEA), risk ranking and filtering, process mapping, flow chart, cause and effect diagrams (fish

bone diagrams) (ดู Annex ๒๐ ประกอบ) หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการตรวจติดตามหองสะอาดและอปุกรณอากาศสะอาด ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๒๐ สําหรับบริเวณระดับ A ตองตรวจติดตามอนุภาคตลอดระยะเวลาของกระบวนการที่วิกฤต

รวมถึงการประกอบเครื่องมือ ยกเวนมีเหตุผลสนับสนุนวากรณีที่การปนเปอนในกระบวนการอาจทําใหเครื่อง

นับอนุภาคเสียหายหรือเกิดอันตราย ตัวอยางเชน อันตรายจากจุลินทรียที่มีชีวิต และอันตรายจากรังสี ในกรณี

เชนนี้ควรตรวจติดตามระหวางการประกอบเครื่องมือกอนเดินเครื่องกอนที่จะสัมผัสกับความเสี่ยง

Page 120: ร่าง GMP 07

๑๑๖

ควรทําการตรวจติดตามระหวางการจําลองการปฏิบัติงานดวยเชนกัน โดยตองกําหนดความถี่และ

ขนาดตัวอยางที่เหมาะสมในการตรวจติดตามบริเวณระดับ A

สําหรับเหตุการณที่มีการขัดจังหวะการทํางาน เหตุการณที่มีการติดขัดชั่วคราว ตัวอยางเชน ไฟฟา

ขัดของ และกรณีที่ระบบเกิดความเสียหาย ตองมีการตรวจจบัและสงสัญญาณแจงเตือนในกรณีที่อนุภาคเกิน

ขีดจํากัดเตือน

เปนที่ยอมรับวาในระหวางการบรรจุอาจไมสามารถควบคมุอนุภาคขนาดเทากับหรือใหญกวา ๕.๐

ไมโครเมตร ใหมีปริมาณต่ําที่ตําแหนงบรรจุได เนื่องจากการเกิดอนุภาคหรือหยดขนาดเล็กจากผลิตภัณฑเอง

คําอธิบาย (๑) ในบริเวณวิกฤตที่ผลิตภัณฑมีการเปดสัมผัสใหตรวจติดตามอยางตอเนื่องครอบคลุมชวงเวลา

ปฏิบัติงาน การตรวจติดตามอยางตอเนื่องหมายความวาระบบตองสามารถตรวจจับจํานวนอนุภาคที่ไมปกติที่

อาจเกิดขึ้นไดรวมถึงกรณีที่เกิดขึ้นเพียงเวลาสั้นๆ

(๒) manifold system ไมเหมาะสมสําหรับการตรวจติดตามบริเวณระดับ A เนื่องจากขาดความไว

ในการตอบสนอง

(๓) ส่ิงสําคัญในการตรวจติดตามระดับ A ที่ตองทําตอนประกอบเครื่องมอืดวยเพราะวามผีลกระทบ

อยางมากจากผูปฏิบัติงาน

(๔) มาตรฐานวิธีการปฏบิัติตองระบุระดับการเตือน (alert level) และมาตรการการแกไข

(corrective measures) ในกรณีของการเตือนและการขัดของ หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจตดิตามอนุภาคตลอดเวลาการผลิต (in operation) ในบริเวณระดับ A/B ของ

กระบวนการผลิต aseptic preparation ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๒๑ แนะนําใหใชระบบที่คลายกันนี้ในการตรวจติดตามขนาดอนุภาคในบริเวณระดับ B แมวา

ความถี่ของการสุมตรวจอาจลดลง

ความสําคัญของระบบการตรวจติดตามอนุภาค ขึ้นอยูกับประสิทธิผลของการแยกบริเวณระหวาง

ระดับ A และ B ที่อยูติดกัน

บริเวณระดับ B ตองตรวจติดตามดวยความถี่และขนาดตัวอยางที่เหมาะสมที่สามารถตรวจจับการ

เปล่ียนแปลงของระดับการปนเปอนและความเสียหายของระบบ และการสงสัญญาณแจงเตือนในกรณีที่

อนุภาคเกินขีดจํากัดเตือน

คําอธิบาย (๑) ควรมีการตรวจติดตามอยางตอเนื่องขณะที่ภาชนะบรรจุยังปดไมสมบูรณและยังอยูในบริเวณ

ระดับ B เชน ไวแอลที่ปดจกุยางไมสนิทและอยูภายใต laminar air flow แบบเคลื่อนยายไดกอนจะไปทํา

lyophilization

Page 121: ร่าง GMP 07

๑๑๗

(๒) manifold system อาจไมเหมาะสมสําหรับการตรวจติดตามบริเวณระดับ B ในกรณีไวแอลที่ปด

จุกยางไมสนิท เนื่องจากขาดความไวในการตอบสนอง หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจตดิตามบริเวณระดับ B (in operation) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๒๒ ระบบการตรวจตดิตามอนุภาคในอากาศอาจประกอบดวยอุปกรณตรวจนับอนุภาคชนิดที่

แยกเปนอิสระ หรือชนิดจุดสุมตัวอยางเปนเครือขายหลายชุดตอเนื่องกันซึ่งเชื่อมตอกับอุปกรณตรวจนับ

อนุภาคเครื่องเดียว หรือใชรวมกันทั้งสองชนิด

การเลือกระบบตองใหเหมาะสมกับขนาดอนภุาคที่ตองการตรวจวัด ในกรณีที่ใชระบบสุมตัวอยาง

ระยะไกลตองพิจารณาถึงความยาว และรัศมีความโคงของทอ ซึ่งทําใหเกิดการตกคางของอนุภาคในทอ การ

เลือกระบบตรวจติดตามควรคํานึงถึงความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากวัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิต ตัวอยางเชน

วัตถุดิบที่เกี่ยวกับจุลินทรียที่มีชีวิต หรือเภสัชภัณฑกัมมันตรังสี

คําอธิบาย (๑) ขอกาํหนดนี้ใหพิจารณาถึง sedimentation ของอนุภาคในระบบสุมตัวอยางระยะไกล

โดยเฉพาะอนุภาคขนาด ๕ ไมโครเมตร (ตัวอยางเชน การโคงงอเปนรูปตัว S ของทอท่ียาว ๑.๕ เมตร จะดูด

ซับอนุภาคขนาด ๕ ไมโครเมตรประมาณ ๓๐%) โรงงานตองตรวจรับรองเคร่ืองสุมตัวอยางและระบบการสุม

ตัวอยางสําหรับอนุภาคทั้งขนาด ๐.๕ ไมโครเมตรและ ๕ ไมโครเมตร

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๒๓ ขนาดตัวอยางสําหรับการตรวจติดตามที่ใชระบบอัตโนมัติ ขึ้นอยูกับอัตราการสุมตัวอยาง

ของระบบทีใ่ชอยู ปริมาตรของตัวอยางที่สุมไมจําเปนตองเทากับปริมาตรที่ใชในการแบงประเภทของหอง

สะอาดและอปุกรณอากาศสะอาด

คําอธิบาย (๑) ไมจําเปนตองวัด ๑ ลูกบาศกเมตรตอคร้ัง โดยสิ่งสําคัญสําหรับการสุมตัวอยางระหวางการตรวจ

ติดตามคือ

• สามารถสุมตัวอยางไดรวดเร็ว (โดยเฉพาะในบริเวณวิกฤต)

• สามารถระบุถึงสภาวะที่เกิดขึ้นจริงได และทําใหเกิดสัญญาณที่ผูปฏิบัติงานจะไดทราบทันที

ดังนั้นการสุมตัวอยาง ๑ ลูกบาศกเมตร (ซึง่สวนมากใชเวลา ๓๐ นาที) อาจไมเพียงพอระหวางการ

ตรวจติดตามบริเวณระดับ A ระหวางกําลังปฏิบัติงาน

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๒๔ ในบริเวณระดับ A และ B การตรวจติดตามจาํนวนอนุภาคขนาดเทากับหรือใหญกวา ๕.๐

ไมโครเมตร เปนตัวชี้บงที่สําคัญที่บอกถึงความลมเหลวของระดับความสะอาดแตเนิ่นๆ บางครั้งผลการตรวจ

จํานวนอนุภาคขนาดเทากับหรือใหญกวา ๕.๐ ไมโครเมตร อาจผิดพลาดเนื่องมาจากสัญญาณรบกวนทาง

ไฟฟา ความผิดปกติของลําแสง หรือการรวมตัวของอนุภาคขนาดเล็ก เปนตน

Page 122: ร่าง GMP 07

๑๑๘

อยางไรก็ตาม การตรวจพบอนุภาคปริมาณนอยอยางตอเนื่องหรือเปนประจําเปนตวับงบอกความ

เปนไปไดในการปนเปอนและตองสืบสวนหาสาเหตุ กรณีดังกลาวอาจชีบ้งถึงความลมเหลวของระบบอากาศ

ความลมเหลวของเครื่องบรรจุ หรือการปฏิบตัิที่ไมเหมาะสมระหวางการตั้งเครื่องและการปฏิบัติงานประจํา

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๒๕ หลังจากปฏิบัติงานเสร็จและในบริเวณนั้นไมมผูีปฏิบัติงาน จาํนวนอนุภาคตองกลับคืนสู

สถานะ “ไมมีการปฏิบัติงาน” ตามที่กําหนดในตาราง ภายในชวงเวลาสั้นๆ (“clean up” period) โดยมีคา

แนะนําคือ ๑๕ – ๒๐ นาที

คําอธิบาย (๑) มีการทําการทดสอบระบบและมีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร

หมายเหต ุไมมีการกําหนด “clean up” period ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๒๖ การตรวจติดตามในบริเวณระดับ C และ D ขณะกําลังปฏิบัติงาน ควรที่จะดําเนินการโดย

คํานึงถึงหลักการของการบริหารความเสี่ยงดานคุณภาพ ขอกําหนดและขีดจํากัดเตือน/ขีดจํากัดปฏิบัติการ

ขึ้นกับลักษณะการปฏิบัติงาน แตตองสามารถกลับคืนสูสถานะ “ไมมีการปฏิบัติงาน” ภายในเวลาที่แนะนํา

(“clean up” period)

คําอธิบาย (๑) จํานวนของจุดสุมตัวอยางและความถี่ของการสุมตัวอยางจะหาไดโดยการประเมนิความเสี่ยง

รวมถึงการบงชีค้วามเสี่ยง การวิเคราะหความเสี่ยง และการประเมินผลความเสี่ยง (ดูใน GMP Annex 20) ไม

จําเปนสําหรับการตรวจติดตามอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตามความถี่ตองมากกวาการตรวจรับรองซ้าํ (re-

qualification) ในบริเวณเดียวกัน

(๒) มีการทําการทดสอบระบบและมีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๒๗ การกําหนดคุณลักษณะอื่น ตัวอยางเชน อุณหภมูิและความชื้นสัมพัทธ ขึ้นอยูกับ

ผลิตภัณฑและลักษณะการปฏิบัติงาน โดยพารามิเตอรเหลานี้ตองไมสงผลกระทบตอมาตรฐานความสะอาดที่

กําหนด

คําอธิบาย (๑) อุณหภมูิแนะนํา ๒๐-๒๕oC, ความชื้นแนะนํา ๔๐-๖๐%RH ทั้งนี้ขึ้นกับความจําเปนของ

ผลิตภัณฑและลักษณะงาน หมายเหต ุ

ไมมีการกําหนดคุณลักษณะอื่น เชน อุณหภูมิและความชืน้สัมพัทธ ใหเขากับผลิตภัณฑ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

Page 123: ร่าง GMP 07

๑๑๙

ขอ ๓๒๘ ตัวอยางการปฏิบัติงานในแตละระดับความสะอาด แสดงตามตารางขางลาง (ดูขอที่

๓๓๙ ถึง ๓๔๖ ดวย)

ระดับ ตัวอยางของการปฏิบัติงานสําหรับผลิตภณัฑที่ทําใหปราศจากเชือ้ในขั้นตอนสดุทาย (ดูขอ ๓๓๙-๓๔๑)

A บรรจุผลิตภัณฑเมื่อมีความเสี่ยงกวาปกติ

C เตรียมสารละลายเมื่อมีความเสี่ยงกวาปกติ และการบรรจุผลิตภัณฑ

D เตรียมสารละลายและสวนประกอบสําหรับการบรรจุ

ระดับ ตัวอยางของการปฏิบัติงานสําหรับผลิตภณัฑที่เตรียมโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ (ดูขอ ๓๔๒-๓๔๖)

A เตรียมและบรรจุโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ

C เตรียมสารละลายกอนทําการกรอง

D การดําเนินการกับสวนประกอบหลังการลาง

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๒๙ การปฏิบัติงานโดยกิจกรรมปราศจากเชื้อตองทาํการตรวจติดตามเปนประจํา ซึ่งสามารถ

ทําไดหลายวิธี ตัวอยางเชน การวางจานอาหารเพาะเชื้อ การสุมตัวอยางอากาศ และการสุมตัวอยางพื้นผิว

ตัวอยางเชน วธิีสวอป และการใชจานสัมผัส

วิธีการสุมตัวอยางที่ใชตองไมสงผลกระทบตอระดับความสะอาดของบริเวณที่สุม ผลที่ไดจากการ

ตรวจติดตามตองนํามาพจิารณาเมื่อทําการทบทวนบันทึกการผลิตสําหรับปลอยผานผลติภัณฑยาสําเร็จรูป

ตองตรวจติดตามบริเวณพื้นผวิและผูปฏิบัติงานภายหลังจากปฏิบัติงานในสวนที่วิกฤต และตองมกีารตรวจ

ติดตามจุลินทรียเพิ่มเติมนอกเหนือจากการปฏิบัติงานการผลิต ตัวอยางเชน หลังจากการตรวจสอบความ

ถูกตองของระบบ การทําความสะอาด และการกําจัดเชื้อ

คําอธิบาย (๑) ส่ิงสําคัญสําหรับตําแหนงสุมตัวอยางที่วิกฤตในระดับ A ที่ใชกับกิจกรรมปราศจากเชือ้ ทุกครั้งที่

พบจุลินทรียตองทําการสืบสวน ตองหาชนดิของจุลินทรียและตองพิจารณาตอผลกระทบของการปลอยผาน

ผลิตภัณฑรุนนั้น และสังเกตเพิ่มเติมถึงขีดจาํกัดของการวางจานเพาะเชื้อ ขีดจํากัดนี้แปลผลเปนขีดจํากัดตอ

จานเพาะเชื้อ รวมถึงขีดจํากัดเดียวกันสําหรับการวางจานเพาะเชื้อท่ีนอยกวา ๔ ชั่วโมง ตัวอยางเชน กจิกรรม

ที่นอยกวา ๔ ชั่วโมง

(๒) ขีดจาํกดัของการวางจานเพาะเชื้อ เชน ตองไมใหอาหารเลี้ยงเชื้อแหง ซึ่งจะทาํใหเกิด false

negative ได และไมควรวางหางจากจุดปฏิบตัิงานเกิน ๑ ฟุต

Page 124: ร่าง GMP 07

๑๒๐

หมายเหต ุไมมีการตรวจตดิตามจุลินทรียของบริเวณสะอาดระหวางการปฏิบัติงานเปนประจําตามความ

เหมาะสม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการนําผลที่ไดจากการตรวจติดตาม เพื่อนํามาพจิารณาในการทบทวนบันทึกการผลิตสําหรับ

ปลอยผานผลิตภัณฑยาสําเร็จรูป ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจตดิตามบริเวณพืน้ผิวและผูปฏิบตัิงานภายหลังจากปฏบิัติงานในสวนที่วิกฤต ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๓๐ ขีดจํากัดแนะนําสําหรับการตรวจติดตามจุลินทรียของบริเวณสะอาดระหวางปฏิบัติงาน

ขีดจํากัดแนะนําสําหรับการปนเปอนของจุลินทรีย(ก) ระดับ การสุมตัวอยาง

อากาศ โคโลนี/ลูกบาศกเมตร

การวางจานอาหารเพาะเชือ้

(เสนผานศนูยกลาง ๙๐ มิลลิเมตร)

โคโลนี/๔ ชั่วโมง(ข)

จานสัมผัส (เสนผานศนูยกลาง ๕๕ มิลลิเมตร) โคโลนี/จาน

พิมพถุงมือ จํานวน ๕ นิ้ว โคโลนี/ถุงมือ

A <๑ <๑ <๑ <๑

B ๑๐ ๕ ๕ ๕

C ๑๐๐ ๕๐ ๒๕ -

D ๒๐๐ ๑๐๐ ๕๐ -

หมายเหตุ (ก) เปนคาเฉลี่ย (ข) อาจวางจานอาหารเพาะเชื้อแตละจานใหสัมผัสอากาศนอยกวา ๔ ชั่วโมง

คําอธิบาย (๑) วิธทีั้งหมดที่ระบุในตารางตองใชในการตรวจติดตาม ถาไมใชวิธใีดตองใหเหตุผลหรือมี

เอกสารอางอิงที่เปนสากล

(๒) grid profile อาจดูตามหัวขอ ISO Biocontamination

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๓๑ ตองกําหนดขีดจํากัดเตือนและขีดจํากัดปฏิบัตกิารที่เหมาะสมสําหรับผลการตรวจติดตาม

อนุภาคและจุลินทรีย ถาขีดจํากัดเหลานี้มีคาเกินกวาที่กําหนด ตองระบุวิธปีฏิบัติการแกไข

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับผลการตรวจติดตามอนุภาคและจุลินทรีย ที่ระบุขีดจํากัดเตือน

และขีดจํากัดปฏิบัติการและวธิีปฏิบัติการแกไข

Page 125: ร่าง GMP 07

๑๒๑

หมายเหต ุไมมีการกําหนดขีดจํากัดเตือนและขีดจํากัดปฏิบัติการ (alert and action limits) ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

เทคโนโลยีไอโซเลเตอร

ขอ ๓๓๒ การใชเทคโนโลยีไอโซเลเตอร เพื่อลดการที่ผูปฏิบัติงานตองเขาไปอยูในบริเวณของ

กระบวนการผลิต ซึ่งมีผลทําใหผลิตภัณฑที่ผลิตโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ สามารถลดความเสี่ยงจากการ

ปนเปอนจุลินทรียจากสิ่งแวดลอมอยางมีนัยสําคัญ ไอโซเลเตอรและอุปกรณสําหรับสงวัตถุเขาและออกจากไอ

โซเลเตอรเพื่อลดการปนเปอนมีหลายแบบ ไอโซเลเตอรและสภาวะแวดลอมโดยรอบตองออกแบบเพื่อให

คุณภาพของอากาศสอดคลองกับขอกําหนดของบริเวณดังกลาว ไอโซเลเตอรทําจากวัสดุหลายชนิดที่อาจปริ

แตกและรั่วไดมากนอยตางกัน อปุกรณสําหรับสงวัตถุเขาและออกจากไอโซเลเตอรมีไดหลายแบบ ตั้งแตประตู

เดียวจนถึงสองประตูที่ออกแบบใหเปนระบบปดสนิท พรอมทั้งมีกลไกการทําใหปราศจากเชื้อ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๓๓ การขนถายของเขาและออกไอโซเลเตอร เปนหนึ่งในสาเหตุของการปนเปอนไดมากที่สุด

โดยทั่วไปบริเวณภายในไอโซเลเตอรเปนบริเวณสําหรับการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากบริเวณ

ทํางานของอุปกรณทั้งหมดนี้อาจมีการไหลของอากาศที่ไมเปนลามินาร

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๓๔ ระดับความสะอาดของอากาศสําหรับสภาวะแวดลอมท่ีไอโซเลเตอรตั้งอยูขึ้นอยูกับการ

ออกแบบและการใชงานของไอโซเลเตอร ซึ่งตองมีการควบคุมโดยเฉพาะสําหรับกระบวนการปราศจากเชื้อ

ตองมีความสะอาดอยางนอยระดับ D

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๓๕ ไอโซเลเตอรจะเริ่มใชไดหลังจากผานการตรวจสอบความถูกตองอยางเหมาะสม การ

ตรวจสอบความถูกตองตองพจิารณาถึงปจจยัวิกฤตทั้งหมดของเทคโนโลยีไอโซเลเตอร ตัวอยางเชนคุณภาพ

อากาศภายในและภายนอกของไอโซเลเตอร การกําจัดเชือ้ของไอโซเลเตอร กระบวนการขนถาย และความ

สมบูรณของไอโซเลเตอร

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจสอบความถูกตอง (validation) ของไอโซเลเตอร ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 126: ร่าง GMP 07

๑๒๒

ขอ ๓๓๖ ตองทําการตรวจติดตามเปนประจํา และตองมีการทดสอบการรั่วของไอโซเลเตอรและ

ระบบถุงมอือยางสม่ําเสมอ

คําอธิบาย (๑) มีบันทึกการตรวจติดตามและการทดสอบการรั่วของไอโซเลเตอรและระบบถุงมอื

หมายเหต ุไมมีการตรวจตดิตามเปนประจํา และไมมีการทดสอบการรั่วของไอโซเลเตอรและระบบถุงมือ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ เทคโนโลยีการเปาข้ึนรูป/บรรจ/ุปดผนึก

ขอ ๓๓๗ เครื่องเปาขึ้นรูป/บรรจ/ุปดผนึก เปนเครื่องจักรที่สรางขึ้นเพื่อวัตถุประสงคใหมีการ

ปฏิบัติงานตอเนื่องกันภายในเครื่องเดียว ตั้งแตการนําเม็ดของเทอรโมพลาสติกมาเปาขึ้นรูปเปนภาชนะบรรจุ

แลวทําการบรรจุและปดผนึก ทั้งหมดทํางานโดยเครื่องจักรอัตโนมัติเครื่องเดียว

เครื่องเปาขึ้นรูป/บรรจุ/ปดผนึกที่ใชสําหรับการผลิตโดยกระบวนการปราศจากเชื้อซึ่งมีฝกบัวพน

อากาศซึ่งมีประสิทธิภาพในระดับ A อาจตดิตั้งในหองที่มีความสะอาดอยางนอยระดับ C โดยผูปฏิบตัิงานให

ใชเครื่องแตงกายที่ใชสําหรับระดับ A/B

จํานวนเชื้อและอนุภาคในสภาวะแวดลอมขณะ “ไมมีการปฏิบัติงาน” ตองอยูในขีดจํากดัที่กําหนด

สําหรับสภาวะแวดลอมขณะ “กําลังปฏิบัติงาน” เฉพาะจาํนวนเชื้อเทานั้นตองอยูในขีดจาํกัดที่กําหนด

เครื่องเปาขึ้นรูป/บรรจุ/ปดผนึกที่ใชสําหรับการผลิตโดยการทําใหปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดทายตอง

ติดตั้งในหองที่มีความสะอาดอยางนอยระดบั D

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๓๘ เนื่องจากเปนเทคโนโลยีเฉพาะจึงตองใหความเอาใจใสเปนพิเศษ อยางนอยในเรื่อง

ดังตอไปน้ี

(๑) การออกแบบและการตรวจรับรองของเครื่องมือ

(๒) การตรวจสอบความถูกตองและความสามารถในการทําซ้ําไดของการทําความสะอาดที่จดุใช

งาน (clean-in-place) และการทําใหปราศจากเชื้อท่ีจุดใชงาน (sterile-in-place)

(๓) สภาวะแวดลอมของหองสะอาดที่เครื่องมือตั้งอยู

(๔) การฝกอบรมและเครื่องแตงกายของผูปฏิบัตงิาน

(๕) การขัดจังหวะการทํางานในบริเวณวิกฤตของเครื่องมือ รวมถึงการประกอบชิ้นสวนโดยวิธี

ปราศจากเชือ้กอนเริ่มการบรรจุ

คําอธิบาย -

Page 127: ร่าง GMP 07

๑๒๓

หมายเหต ุไมปฏิบัติตาม ขอ (๑) – (๕) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ผลิตภัณฑที่ทาํใหปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดทาย

ขอ ๓๓๙ การเตรียมสวนประกอบและผลิตภัณฑโดยสวนใหญตองทําในสภาวะแวดลอมอยางนอย

ระดับ D เพื่อใหมีความเสี่ยงนอยในการปนเปอนจุลินทรียและอนุภาค รวมถึงมีความเหมาะสมสําหรับการ

กรองและการทําใหปราศจากเชื้อตอไป

ถาผลิตภัณฑมีความเสี่ยงตอการปนเปอนจุลินทรียมากกวาปกติ ตัวอยางเชน ผลิตภัณฑที่ทําใหจุลิ

นทรียเติบโตไดงาย หรือตองเก็บไวเปนเวลานานกอนนําไปทําใหปราศจากเชื้อ หรือกระบวนการผลิตที่ไมไดทํา

ในภาชนะที่ปด ตองทําในสภาวะแวดลอมระดับ C

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๓๙ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๓๔๐ การบรรจุผลิตภัณฑที่ทําใหปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดทายตองทําในสภาวะแวดลอมอยาง

นอยระดับ C

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๔๐ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๓๔๑ ผลิตภัณฑที่มีความเสี่ยงตอการปนเปอนจากสิ่งแวดลอมมากกวาปกติ ตัวอยางเชน การ

ดําเนินการบรรจุที่ตองทําอยางชา หรือภาชนะบรรจุมปีากกวาง หรือจาํเปนตองสัมผัสกับสภาวะแวดลอมนาน

กวา ๒ – ๓ วนิาทีกอนที่จะปดผนึก ตองทําการบรรจุในบริเวณระดับ A ที่อยูในสภาวะแวดลอมระดับ C เปน

อยางนอย

การเตรียมและการบรรจุขี้ผ้ึง ครีม ยาแขวนตะกอนและอิมลัชัน โดยทั่วไปใหทําในสภาวะแวดลอม

ระดับ C กอนทําใหปราศจากเชื้อในขั้นตอนสดุทาย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๔๑ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ผลิตภัณฑที่เตรียมโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ

ขอ ๓๔๒ สวนประกอบที่ผานการลางแลวตองเก็บในสภาวะแวดลอมอยางนอยระดับ D วัตถุดิบและ

สวนประกอบทีป่ราศจากเชือ้ถาไมมีการทําใหปราศจากเชือ้หรือกรองใหปราศจากเชื้อในกระบวนการตอไป

ตองทําในความสะอาดระดับ A ที่อยูในสภาวะแวดลอมระดบั B

Page 128: ร่าง GMP 07

๑๒๔

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๔๒ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๔๓ การเตรียมสารละลายที่มีการทําใหปราศจากเชื้อโดยการกรองระหวางกระบวนการผลิต

ตองทําในสภาวะแวดลอมระดับ C แตถาไมผานการกรองตองเตรียมวัตถุดิบและผลิตภัณฑในความสะอาด

ระดับ A ที่อยูในสภาวะแวดลอมระดับ B

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๔๓ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๓๔๔ การดําเนินการและการบรรจุผลิตภัณฑที่เตรียมโดยกระบวนการปราศจากเชื้อตองทําใน

ความสะอาดระดับ A ที่อยูในสภาวะแวดลอมระดับ B

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๔๔ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๓๔๕ กอนปดจุกยางใหสนิท การเคลื่อนยายผลิตภัณฑที่บรรจุในภาชนะที่ยังปดไมสนิท

ตัวอยางเชน กรณีการทําใหแหงแบบเยือกแข็ง ตองทําในความสะอาดระดับ A ที่อยูในสภาวะแวดลอมระดับ

B หรือหากใสในถาดสําหรับการเคลื่อนยายที่ปดสนิทตองทําในสภาวะแวดลอมระดับ B

คําอธิบาย (ดูตามขอ ๔๒๗-๔๓๑)

(๑) ขอกําหนดนี้ไมไดใชเฉพาะการทําใหแหงแบบเยือกแข็งเทานั้น แตใชกบัการบรรจุแบบปราศจาก

เชื้อในไวแอลทุกชนิด ถาการปดผนึกดวยฝาอะลูมิเนียมทําภายใต “กระบวนการสะอาด” (ดูขอ ๔๓๑) ซึ่ง

ขอกําหนดนี้ใชกับสภาวะแวดลอมสําหรับไวแอลจากจุดที่ออกจากบริเวณที่ปราศจากเชื้อจนถึงบริเวณที่ปด

ผนึกฝาอะลูมิเนียม ตองมี grade A air supply สําหรับอุโมงคสายพานลําเลียงซึ่งเชื่อมตอระหวางบริเวณ

ปราศจากเชือ้กบัเครื่องปดผนึกฝาอะลูมิเนียมสําหรับผลิตภัณฑที่เปนของเหลวและผง รวมถึงตองใช grade A

air supply สําหรับการขนสงไวแอลที่ทําแหงแบบเยือกแข็งจากตูทําใหแหงแบบเยือกแข็งไปยังเครื่องปดผนึก

ฝาอะลูมิเนียมและตัวเครื่องปดผนึกฝาอะลูมิเนียมดวย

(๒) บริเวณสะอาดระดับ D ถือเปนขอกําหนดขั้นต่ําสุดสําหรับหองสะอาดที่มีเครื่องปดผนึกฝา

อะลูมิเนียมตั้งอยู โดยบริษัทตองพิจารณาในการเลือกระดับความสะอาดของหองที่เหมาะสม

(๓) ในการหลกีเลี่ยงการปนเปอนของผลิตภัณฑในขั้นตอนนี้เปนสิ่งสําคัญ โดยมปีจจัยหลายอยางที่

ตองพิจารณา ไดแก การออกแบบสวนประกอบของระบบปดจุกยางของไวแอล (vial stopper combination),

การตรวจสอบความถูกตองของระบบตรวจจบัการปดที่ไมตรงตําแหนงหรือไมมีจุกยาง, ความเขมงวดของการ

Page 129: ร่าง GMP 07

๑๒๕

เขาไปทํางาน, การฝกอบรมทีด่ีของผูทํางาน, วิธีการปฏบิัติเมื่อมีการขัดจังหวะการทํางานและมีการดําเนินการ

ตอไปอยางไร รวมถึงสภาวะแวดลอมที่ดีพอ หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๔๕ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๓๔๖ การเตรียมและบรรจุยาปราศจากเชื้อท่ีเปนขี้ผ้ึง ครีม สารแขวนตะกอน และอมิัลชัน เมื่อ

ผลิตภัณฑมีการสัมผัสกับอากาศและไมมีการกรองภายหลัง ตองทําในความสะอาดระดับ A ที่อยูในสภาวะ

แวดลอมระดับ B

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๔๖ ถือเปนขอบกพรองรายแรง บุคลากร

ขอ ๓๔๗ จํานวนผูปฏิบัตงิานในบริเวณสะอาดตองกําหนดใหนอยที่สุดเทาที่จําเปน โดยเฉพาะ

อยางยิ่งระหวางการผลิตโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ การตรวจสอบและควบคุมใหทาํอยูภายนอกบริเวณ

เทาที่จะทําได

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๔๘ ผูปฏิบัติงานทุกคน รวมถึงพนักงานทําความสะอาดและพนักงานซอมบํารุง ที่เขาทํางาน

ในบริเวณสะอาดตองไดรับการฝกอบรมเปนประจําในเรื่องระเบียบวินัยที่เกี่ยวของกับวธิีการผลิตที่ถูกตอง

สําหรับผลิตภัณฑยาปราศจากเชื้อ การฝกอบรมควรรวมถึงความรูในดานสุขอนามัยและความรูพื้นฐานทาง

จุลชีววิทยา ถามีบุคคลภายนอกที่ไมไดรับการฝกอบรมดังกลาว ตัวอยางเชน ผูที่รับจางมาบาํรุงรักษาอาคาร

จําเปนตองเขาไปในบริเวณสะอาด ตองระมัดระวังเปนพิเศษในการใหคําแนะนําและควบคมุดูแล

คําอธิบาย (๑) มมีาตรฐานวิธีการปฏบิตัิและ training ในเรื่องระเบียบวินัยที่เกี่ยวของกับวิธีการผลิตที่ถูกตอง

สําหรับผลิตภัณฑยาปราศจากเชื้อ

(๒) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับบุคคลภายนอกที่ไมไดรับการฝกอบรมท่ีจะเขาไปในบริเวณ

สะอาด ไดแก มาตรการการประเมินสุขภาพ คําแนะนําในการแตงกายและปฏิบัติตัวในบริเวณสะอาด

(๓) ในการผลิตยาโดยกระบวนการปราศจากเชื้อควรมีการทํา aseptic personnel qualification

program ไดแก มมีาตรฐานวธิกีารปฏิบัต,ิ มคีวามรูพื้นฐานทางดาน basic microbiology, aseptic practice

proficiency, demonstrate gowning proficiency โดยทํา ๓ คร้ังติดตอกัน, participation in a process

simulation test annually (สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ Points to Consider for Aseptic Processing,

PDA Journal of Pharmaceutical Science and Technology 2003 supplement volume 57 Number 2)

Page 130: ร่าง GMP 07

๑๒๖

หมายเหต ุไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติและ training สําหรับผูปฏิบัติงาน รวมถึงบุคคลภายนอก ในเรื่องระเบียบ

วินัยที่เกี่ยวของกับวิธีการผลิตที่ถูกตองสําหรับผลิตภัณฑยาปราศจากเชือ้ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๔๙ หามผูปฏิบัติงานที่มีการทํางานเกี่ยวของกับกระบวนการเตรียมเนื้อเยื่อสัตวทดลองหรือ

การเพาะเลี้ยงจุลินทรียที่ไมไดใชในกระบวนการผลิตที่ดําเนินการอยูเขาไปในบริเวณผลิตยาปราศจากเชื้อ

นอกจากมีการปฏิบัติตามวิธีการปฏิบัติที่กําหนดไวอยางเขมงวดและชัดเจน

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการควบคุมผูปฏิบัติงานที่มีการทํางานเกี่ยวของกับกระบวนการ

เตรียมเนื้อเยื่อสัตวทดลองหรือการเพาะเลี้ยงจุลินทรียที่ไมไดใชในกระบวนการผลิตที่ดําเนินการอยูเขาไปใน

บริเวณผลิตยาปราศจากเชือ้ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๕๐ ตองมีมาตรฐานขัน้สูงเกี่ยวกับสุขอนามัยและความสะอาดของผูปฏิบัติงาน ผูปฏิบัติงานที่

เกี่ยวของกับการผลิตยาปราศจากเชื้อตองไดรับการแนะนําใหรายงานถึงทุกสภาวะที่อาจเปนสาเหตุใหมีการ

ปลอยส่ิงปนเปอนที่มีจํานวนหรือชนิดผิดไปจากปกติ รวมถงึตองมีการตรวจสุขภาพในกรณีดังกลาวเปนระยะ

ตองมีการดําเนินการกับผูปฏิบตัิงานที่อาจแพรจุลินทรียที่มากเกินควรจนกอใหเกิดอันตราย โดยการตัดสินใจ

ของผูเชี่ยวชาญที่ไดรับมอบหมาย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับสุขอนามยัและความสะอาดของผูปฏบิตัิงานในบริเวณปราศจาก

เชื้อ เชน ขอแนะนํากรณีมีการเจ็บปวยหรือมีบาดแผล รวมถึงการตรวจสุขภาพประจําป เปนตน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๕๑ หามใสนาฬิกาขอมือ เครื่องประดับ และหามใชเครื่องสําอางในบริเวณสะอาด

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ถาไมปฏบิัติตามขอ ๓๕๑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๕๒ การเปลี่ยนเครื่องแตงกายและการลางมือตองปฏิบัติตามวธิีการปฏิบัติที่เขียนไวเพื่อลด

การปนเปอนของชุดปฏิบัติงานที่ใชในบริเวณสะอาดหรือการนําเอาสิ่งปนเปอนเขาไปในบริเวณสะอาด

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการเปลี่ยนเครื่องแตงกายและการลางมือ

(๒) มีการทดสอบความถกูตองของการแตงกายของผูปฏิบัติงานทุกคน ที่เขาทํางานในบริเวณ

สะอาด

(๓) ตองใสถุงมือที่ปราศจากเชื้อเมื่อจบัชุดทาํงานที่ปราศจากเชื้อ

Page 131: ร่าง GMP 07

๑๒๗

(๔) หรือปฏิบตัิตามขอแนะนาํของ ISO 14644-5:2004(E) Annex C (informative) Personnel หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการเปลี่ยนเครื่องแตงกายและการลางมือ ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๓๕๓ ชุดปฏิบัติงานและคุณภาพของชดุปฏิบัติงานตองเหมาะสมสําหรับกระบวนการและระดับ

ความสะอาดของบริเวณทํางาน ตองสวมใสชุดปฏบิัติงานในลักษณะที่สามารถปองกันผลิตภัณฑจากการ

ปนเปอนได

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับชุดปฏิบตัิงานและคุณภาพของชุดปฏบิัติงานที่เหมาะสมของแต

ละกระบวนการและระดับความสะอาดของบริเวณทํางาน

(๒) มีการกําหนดคุณภาพของชุดปฏิบัติงานเชน ตองไมมีการปลอยเสนใยหรืออนุภาคออกมา และ

เก็บกักอนุภาคที่ปลอยออกมาจากรางกายได ตองสามารถนึง่ฆาเชื้อดวย autoclave ได เปนตน

(๓) มีการตรวจสอบสภาพของชุดปฏิบัติงานหลังซักทําความสะอาดทุกครั้ง วามีรอยปริ รอยขาด

หรือไม หมายเหต ุ

ชุดปฏิบัติงานไมเปนไปตามขอ ๓๕๔ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๕๔ รายละเอียดชุดปฏบิัติงานที่กําหนดสําหรับแตละระดับความสะอาด มีดังตอไปน้ี

ระดับ D สวมที่คลุมผมและเครา สวมชดุคลุมและรองเทาที่เหมาะสมหรือใชที่หุมรองเทา ตองมี

มาตรการที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งปนเปอนจากภายนอกเขาไปในบริเวณสะอาด

ระดับ C สวมที่คลุมผม หนวดและเครา สวมชุดที่เปนเสื้อ-กางเกงติดกัน หรือเส้ือและกางเกงแยกกัน

เปน ๒ ชิ้น เส้ือตองรัดขอมือและคลุมสูงถึงคอ สวมรองเทาที่เหมาะสมหรือท่ีหุมรองเทา ชุดแตงกายตองไมมี

การปลอยเสนใยหรืออนุภาคออกมา

ระดับ A/B สวมที่คลุมศีรษะ เก็บผม หนวดและเคราใหมิดชิด สวนปลายของที่คลุมศีรษะตองสอดเขา

ไปในสวนคอของเสื้อ สวมที่ปดปากและจมูก สวมถุงมอืปราศจากเชื้อท่ีเปนพลาสติกหรือยางที่ไมมีแปง สวมที่

หุมเทาที่ผานการฆาเชื้อหรือทาํใหปราศจากเชื้อ สวนปลายของขากางเกงตองสอดเก็บเขาไปในที่หุมเทา และ

สวนปลายของแขนเสื้อสอดเขาในถุงมือ ชดุแตงกายตองไมมีการปลอยเสนใยหรืออนุภาคออกมาและเก็บกัก

อนุภาคที่ปลอยออกมาจากรางกายได

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๕๕ ตองไมนําเสื้อผาที่ใชนอกบริเวณปฏิบัติงาน เขาไปในหองเปลี่ยนเครื่องแตงกายที่เขาไปสู

หองระดับ B และ C

Page 132: ร่าง GMP 07

๑๒๘

ผูที่ปฏิบัติงานทุกคนในบริเวณของระดับ A/B ตองเปลี่ยนเครื่องแตงกายที่สะอาดปราศจากเชื้อ โดย

ผานการทําใหปราศจากเชือ้หรือฆาเชื้ออยางเพียงพอทุกครั้งที่เขาไปปฏิบตัิงาน ถุงมือตองใชน้ํายาฆาเชื้อเปน

ระยะระหวางการปฏิบัติงาน ที่ปดปาก-จมูก และถุงมือตองเปลี่ยนอยางนอยทุกครั้งที่เขาไปปฏิบัติงาน

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๕๖ เครื่องแตงกายที่ใชในบริเวณสะอาด ตองทําความสะอาดและดําเนินการไมใหมีการ

ปนเปอนซึ่งจะถูกปลอยออกมาในภายหลัง การดําเนินการดังกลาวตองทําตามวิธีการปฏิบัติ

ตองมีอุปกรณในการซักทําความสะอาดแยกตางหาก วิธกีารซักที่ไมเหมาะสมทําใหเสนใยเสียหาย

และเพิ่มความเสี่ยงตอการปลดปลอยอนุภาค

คําอธิบาย (๑) มมีาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการทําความสะอาดและการทําใหปราศจากเชือ้ของเครื่องแตง

กาย รวมทั้งมีขอกําหนดระยะเวลาการใชหลังจากการทําใหปราศจากเชือ้

(๒) การใชเครื่องซักและปนอบแหง ควรคํานึงถึงรอบการปนไมใหสูงเกินไป เพื่อไมใหทําลายเสนใย

(๓) น้ําทีใ่ชในการซัก ตองเปนน้ําที่มีมาตรฐานอยางนอยเทียบเทากับ drinking water ที่มีการ

ตรวจสอบ หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการทําความสะอาดและการทําใหปราศจากเขื้อของเครื่องแตง

กาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมแยกเครื่องซักอบผาจากแผนก non-sterile ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

อาคารสถานที่

ขอ ๓๕๗ พื้นผิวภายในบริเวณสะอาดตองเรียบ ไมดูดซมึน้ํา และไมแตกราว เพื่อลดการปลอยหรือ

สะสมอนุภาคหรือจุลินทรีย และตองทนทานตอนํ้ายาทําความสะอาดและน้าํยาฆาเชือ้ท่ีใช

คําอธิบาย (๑) พื้นควรเปน epoxy, poly-urethane หรือ PVC sheet

(๒) ผนังอาจทําดวยปูนฉาบเรียบทา epoxy ทับ หรือผนัง insulated sandwich panel หรืออื่นๆ ที่

เหมาะสม

(๓) เพดานควรเปนยิปซั่มบอรดทา epoxy ทับ, กระเบือ้งแผนเรียบทา epoxy ทับ, แผนโลหะ,

fiberglass reinforced plastic (FRT) หรือวัสดุพื้นเรียบที่ปราศจากรูพรุน หรืออื่นๆ ที่เหมาะสม

หมายเหต ุ -

Page 133: ร่าง GMP 07

๑๒๙

ขอ ๓๕๘ เพื่อลดการสะสมของฝุนละอองและใหทําความสะอาดไดงายตองไมมีซอกมมุที่ทําความ

สะอาดไมได และขอบที่ยื่นจากผนัง ชั้นวางของ ตูและเครื่องมือ ควรมีนอยที่สุด ควรออกแบบประตูไมใหมี

ซอกมมุที่เขาไปทําความสะอาดไมได ดังนั้นจึงไมควรใชประตูชนิดบานเลื่อน

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๕๙ ฝาเพดานตองเชื่อมปดใหสนิท เพื่อปองกันสิ่งปนเปอนจากชองวางเหนือฝาเพดาน

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๖๐ ตองติดตั้งทอนําสง ทอลม ทอปลายเปดอื่นๆโดยไมทําใหเกิดซอกมุม ชองเปดทีป่ดไมสนิท

และไมใชวัสดุที่มีพื้นผิวที่ทําความสะอาดไดยาก

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๕๗-๓๖๐ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๖๑ ในบริเวณระดับ A/B ที่ใชสําหรับการผลิตโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ ตองไมมีอางลาง

มือและทอน้ําทิง้ สวนในบรเิวณระดับอื่นตองติดตั้งอุปกรณดักอากาศระหวางเครื่องจักรหรืออางลางมอืและ

ทอน้ําทิ้ง ในบริเวณสะอาดระดับต่ํากวา A/B ทอนํ้าทิ้งที่พื้นตองติดตั้งอุปกรณ เพื่อปองกันการไหลยอนกลับ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมเปนไปตามขอ ๓๖๑ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๖๒ หองเปลี่ยนเครื่องแตงกายตองออกแบบใหเปนแอรล็อคที่มีการแยกในแตละขั้นตอนของ

การเปลี่ยนเครื่องแตงกาย เพื่อใหเครื่องแตงกายเกิดการปนเปอนจากจุลินทรียและอนุภาคนอยที่สุด ตองมี

ระบบการไลอากาศในหองออกไปอยางมีประสิทธิภาพดวยอากาศที่ผานการกรอง

หองเปลี่ยนเครื่องแตงกายในขั้นตอนทายสุดตองมีความสะอาดในสภาวะ “ไมมีการปฏิบัติงาน”

เทากับบริเวณที่จะเขาไปปฏบิัติงาน

ในบางกรณีอาจตองแยกทางเขาและทางออกของหองเปลี่ยนเครื่องแตงกายออกจากกัน และ

อุปกรณลางมอืควรจัดไวในหองเปลี่ยนเครื่องแตงกายขั้นตอนแรกเทานั้น

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๖๒ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๖๓ หามเปดประตแูอรล็อคสองดานพรอมกัน ควรใชระบบอนิเตอรล็อคหรือระบบเตือนที่

มองเห็น และ/หรือระบบเตือนดวยเสียง เพื่อปองกันการเปดประตูมากกวาหนึ่งดานพรอมกัน

Page 134: ร่าง GMP 07

๑๓๐

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๖๔ อากาศที่ผานการกรองและจายเขาไปในหองเพือ่รักษาระดับความดันหองใหสูงกวา ตองมี

ทิศทางการไหลของอากาศไปสูบริเวณโดยรอบที่มีระดับความสะอาดต่ํากวาในทุกสภาวะที่มีการปฏิบัติงาน

และตองไลอากาศในหองออกไปไดอยางมปีระสิทธิภาพ

หองติดกันที่มีระดับความสะอาดตางกันตองมีความดันอากาศแตกตางกันคาแนะนํา คือ ๑๐ – ๑๕

ปาสคาล ตองใหความสนใจเปนพิเศษเพื่อปองกันบริเวณที่มีความเสี่ยงสูงที่สุด นั่นคือ สภาวะแวดลอม

โดยรอบที่สัมผัสกับผลิตภัณฑและสวนประกอบที่ทําความสะอาดแลวที่ตองสัมผัสกับผลิตภัณฑ

ขอแนะนําเกี่ยวกับอากาศที่จายเขาไป และความแตกตางของความดันอากาศอาจตองมกีาร

ปรับเปล่ียนตามความจําเปนในกรณีของวัตถุบางชนิด ตัวอยางเชน สารกอโรค สารที่มีความเปนพิษสูง สาร

กัมมันตรังสี หรือ วัตถุดิบหรอืผลิตภัณฑที่เปนไวรัสหรือแบคทีเรียที่มีชีวิต อาจจาํเปนตองมีการดําเนินการเพื่อ

กําจัดสิ่งปนเปอนของสิ่งอํานวยความสะดวกและบําบัดอากาศซึ่งปลอยจากบริเวณสะอาด

คําอธิบาย (๑) ๑๐–๑๕ ปาสคาล เทากับ ๐.๐๔-๐.๐๖ นิ้วน้ํา

หมายเหต ุความดันอากาศของหองติดกันที่มีความสะอาดตางกันไมเปนไปตามขอกาํหนด ๑๐–๑๕ ปาสคาล

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๖๕ ตองแสดงใหเห็นวารูปแบบการไหลของอากาศไมทําใหเกิดความเสี่ยงของการปนเปอน

ตัวอยางเชน ตองระวังเพื่อใหมั่นใจวาการไหลของอากาศไมทําใหเกิดการกระจายอนุภาคจากแหลงกอใหเกิด

อนุภาคจากบุคลากร การปฏิบตัิงานหรือเครื่องจักรไปยังบริเวณที่มีความเสีย่งตอผลิตภัณฑสูงกวา

คําอธิบาย (๑) มีการทาํ airflow pattern test เพื่อใหมั่นใจวาการไหลของอากาศไมทําใหเกิดการกระจาย

อนุภาคจากแหลงกอใหเกิดอนุภาคจากบุคลากร การปฏิบตัิงานหรือเครื่องจักรไปยังบริเวณที่มีความเสีย่งตอ

ผลิตภัณฑสูงกวา หมายเหต ุ

ไมมีการทํา airflow pattern ในบริเวณระดับ A (ตาม ISO 14644) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๖๖ ตองมีระบบแจงเตือนการทํางานผิดปกติของอากาศที่จายเขามา ตองติดตั้งเครื่องวัด

ความแตกตางของความดันอากาศระหวางบริเวณที่ความแตกตางของความดันมีความสําคัญ รวมถงึตอง

บันทึกความแตกตางของความดันอยางสม่ําเสมอ

คําอธิบาย (๑) ตองมีระบบแจงเตือนการทํางานผิดปกติของอากาศที่จายเขามา ในบริเวณที่มีความสําคัญ เชน

หองบรรจุ

Page 135: ร่าง GMP 07

๑๓๑

(๒) ความแตกตางความดันอากาศตองมีการบันทึกอยางนอยวันละ ๒ คร้ัง หมายเหต ุ

ไมมีระบบแจงเตือนการทํางานผิดปกติของอากาศที่จายเขามา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการบันทึกความแตกตางความดันอากาศ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

เครื่องมือ

ขอ ๓๖๗ สายพานลําเลียงตองไมผานผนังกั้นระหวางบริเวณความสะอาดของอากาศระดับ A หรือ

B และบริเวณผลิตที่มีระดับความสะอาดที่ต่ํากวา นอกจากสายพานนั้นผานการทําใหปราศจากเชือ้อยาง

ตอเนื่อง ตัวอยางเชน ในอุโมงคของการทําใหปราศจากเชือ้

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

มีสายพานลําเลียงผานผนังกั้นระหวางบริเวณความสะอาดของอากาศระดบั A หรือ B และบริเวณ

ผลิตที่มีระดับความสะอาดที่ต่ํากวา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๖๘ ควรออกแบบและติดตั้งเคร่ืองมือ อุปกรณตอเชื่อม และระบบบริการใหสามารถทํางาน

บํารุงรักษาและซอมแซมไดจากภายนอกบริเวณสะอาดเทาที่จะทําได

ถาตองการทําใหปราศจากเชื้อ หากเปนไปไดตองประกอบเขาดวยกันใหสมบูรณกอนนําไปทําให

ปราศจากเชือ้

ขอ ๓๖๙ การบํารุงรักษาเครื่องมือภายในบริเวณสะอาด หากไมสามารถรักษามาตรฐานความ

สะอาดที่กําหนดไดระหวางทําการบํารุงรักษา ตองทําความสะอาดบริเวณนั้น ฆาเชื้อและ/หรือทําใหปราศจาก

เชื้อกอนเริ่มปฏบิัติงานตอไป

คําอธิบาย (๑) เครื่องมือควรติดตั้งหรือออกแบบใหสามารถบํารุงรักษาหรือซอมแซมภายนอกบริเวณสะอาดได

แตถาจําเปนตองทําการบํารุงรักษาหรือซอมแซมภายในบริเวณสะอาด จะตองมีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติ

สําหรับการดําเนินการทําความสะอาด ฆาเชือ้และ/หรือทําใหปราศจากเชื้อของสถานที่ หลังการซอมบํารุง หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๖๙ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๗๐ ระบบการผลิตน้ําและจายน้ําตองออกแบบ ติดตั้ง และบํารุงรักษาเพื่อใหมั่นใจวาผลิตน้ํา

ไดคุณภาพที่เหมาะสม รวมถึงตองไมใชงานเกินกวากําลังผลิตของระบบทีอ่อกแบบไว

น้ําสําหรับการผลิตยาฉีดตองผลิต จัดเก็บและจายไปยังจดุที่ใชโดยตองปองกันการเจริญเติบโตของจุ

ลินทรีย ตัวอยางเชน ใหมีการไหลเวียนสม่ําเสมอที่อุณหภมูิสูงกวา ๗๐ องศาเซลเซียส

Page 136: ร่าง GMP 07

๑๓๒

คําอธิบาย (๑) การออกแบบและดูแลระบบน้ําใหอางอิงจาก WHO TRS (Technical Report Series) ฉบับ

ลาสุด number 929 (Geneva 2005) หรือ WHO Quality Assurance of Pharmaceuticals Volume 2

(หมวด Water for Pharmaceutical Uses) หรือ ISPE Baseline Guide volume 4: Water and Steam

(December 2000) หรือเอกสารอางอิงทั้งหมดดังกลาวที่เปนฉบับปจจุบัน

(๒) การเก็บและรักษาน้ําสําหรับการผลิตยาฉีด (water for injection) ตองใหมกีารไหลเวียน

สม่ําเสมอที่อุณหภูมิสูงกวา ๗๐ องศาเซลเซียส เพื่อปองกันการเจริญเติบโตของจุลินทรียและการเกิด

endotoxin หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติหรือแผนการบํารุงรักษา พรอมทั้งบันทึกของระบบน้ําที่ใชในยาฉีด ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

การเก็บรักษาน้ําที่ใชในยาฉีดอุณหภูมิต่ํากวา ๗๐ องศาเซลเซียส และไมเปนระบบไหลเวยีน ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๗๑ เครื่องมือทุกชนดิไดแก เครื่องทําใหปราศจากเชื้อ ระบบอากาศและการกรองอากาศ รู

ระบายอากาศและแผนกรองกาซ ระบบการเตรียมและผลิตน้ํา การจัดเก็บและจายน้ํา ตองทําการตรวจสอบ

ความถูกตองและมีแผนบํารุงรักษา รวมถึงตองผานการรับรองกอนนํากลับไปใช

คําอธิบาย (๑) การตรวจสอบความถูกตองใหปฏิบัติตามหมวด ๑๒ การตรวจรับรองและการตรวจสอบความ

ถูกตอง หมายเหต ุ

กรณีผลิตยาแบบ aseptic process ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของระบบและเครื่องมือท่ี

เกี่ยวของกับกระบวนการผลิตดังกลาว ถือเปนขอบกพรองรายแรง

กรณีผลิตยาแบบ terminal sterilization ไมมีการตรวจสอบความถูกตอง/ แผนการบํารุงรักษาของ

ระบบและเครื่องมือที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิตดังกลาว ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

กรณีผลิตยาแบบ aseptic process ไมมแีผนการบํารุงรักษาของระบบและเครื่องมอืท่ีเกี่ยวของกับ

กระบวนการผลิตดังกลาว ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

สุขลักษณะ

ขอ ๓๗๒ สุขลักษณะของบริเวณสะอาดเปนสิ่งที่สําคัญ ตองทําความสะอาดตามกําหนดการที่

เขียนไว เมื่อมกีารใชน้ํายาฆาเชื้อตองมีมากกวาหนึ่งชนิดหมุนเวียนกันใช และมีการตรวจติดตามเปนประจํา

เพื่อใหมั่นใจวาเชื้อไมมีการพฒันาเปนสายพนัธุที่มีความตานทานตอนํ้ายา

คําอธิบาย (๑) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการทําความสะอาดและความถี่ของการทําความสะอาด

Page 137: ร่าง GMP 07

๑๓๓

(๒) กรณีที่มีการใชน้ํายาฆาเชื้อ ตองมมีากกวาหนึ่งชนิดซึ่งมีสูตรโครงสรางทางเคมีตางกลุมกัน และ

มีมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติสําหรับการเตรียมน้ํายาฆาเชือ้

(๓) มีการตรวจติดตามประสิทธิภาพของน้ํายาฆาเชือ้เปนประจํา เพื่อใหมั่นใจวาเชื้อไมมีการ

ตานทานตอน้ํายา หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการทําความสะอาดและความถี่ของการทําความสะอาด ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการหมุนเวยีนการใชน้ํายาฆาเชื้อ และไมตรวจติดตามประสิทธิของน้ํายาฆาเชื้อ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๗๓ น้ํายาฆาเชื้อและสารทําความสะอาดตองตรวจติดตามวาไมมกีารปนเปอน

จุลินทรีย น้ํายาที่เจือจางแลวตองเก็บในภาชนะบรรจุทีผ่านการทําความสะอาดและเก็บในเวลาที่กําหนด

เทานั้น นอกจากจะผานการทําใหปราศจากเชื้อ สําหรับนํ้ายาฆาเชื้อและสารทําความสะอาดที่ใชในบริเวณ

ระดับ A และ B ตองทําใหปราศจากเชื้อกอนใช

คําอธิบาย (๑) การเจือจางน้ํายาฆาเชือ้ตองกําหนดระยะเวลาในการใช และตองมัน่ใจวาไมมีการปนเปอนจุลิ

นทรียกอนนําไปใช

(๒) น้ํายาฆาเชื้อและสารทําความสะอาดที่ใชในบริเวณระดับ A และ B ตองทําใหปราศจากเชื้อกอน

ใชดวยวธิีกรองหรือ autoclave และบรรจุในภาชนะปราศจากเชื้อ หมายเหต ุ

น้ํายาฆาเชื้อและสารทําความสะอาดที่ใชในบริเวณระดับ A และ B ไมทําใหปราศจากเชื้อกอนใช ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๗๔ การรมควันบริเวณสะอาด อาจมีประโยชนในการลดการปนเปอนของจุลินทรียในบริเวณ

ซอกมมุที่เขาไปทําความสะอาดไดยาก

คําอธิบาย (๑) การรมควันบริเวณสะอาดควรกระทําเฉพาะเมื่อมีขอบงชี้วาตองทํา เชน ปริมาณเชื้อในอากาศ

เกินมาตรฐาน

(๒) มีมาตรฐานวิธีการปฏิบัตสํิาหรับการรมควันบริเวณสะอาด

(๓) หากมีการรมควันบริเวณสะอาด ตองคํานึงถึงการตกคางของสารเคมีที่อาจทําลายเครื่องมือผลิต

ได และตองมีระบบระบายอากาศออก เพื่อไมใหเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน

(๔) ตัวอยางการรมควันบริเวณสะอาด เชน การใช vaporized hydrogen peroxide, formalin หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการรมควนับริเวณสะอาด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 138: ร่าง GMP 07

๑๓๔

กรณีที่มีการรมควันดวย Formalin แตไมมีระบบระบายอากาศออก เปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ กระบวนการ

ขอ ๓๗๕ ตองระมัดระวังเพื่อใหมีการปนเปอนนอยที่สุดระหวางทุกขั้นตอนของกระบวนการรวมถึง

ขั้นตอนกอนที่ทําใหปราศจากเชื้อ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๗๖ หามผลิตหรือบรรจุผลิตภัณฑที่มาจากจุลินทรียในบริเวณเดียวกับที่ใชสําหรับ

กระบวนการผลิตผลิตภัณฑยาชนิดอื่น แตถาเปนวัคซีนของจุลินทรียที่ตายแลวหรือสารสกัดจากแบคทีเรีย

หลังจากการทําใหหมดฤทธิ์แลวอาจทําการบรรจุในบริเวณเดียวกับผลิตภัณฑยาปราศจากเชื้อชนิดอื่นได

คําอธิบาย (๑) กรณีการผลิตวัคซีนของจุลินทรียที่ตายแลวหรือสารสกัดจากแบคทีเรียหลังจากทําใหหมดฤทธิ์

แลวจะทําการบรรจุในบริเวณเดียวกับผลิตภัณฑยาปราศจากเชื้อชนิดอื่นจะตองไดรับอนุมัติจาก

คณะกรรมการอาหารและยา หมายเหต ุ

มีการผลิตหรือบรรจุผลิตภัณฑที่มาจากจุลินทรียในบริเวณเดียวกับท่ีใชสําหรับกระบวนการผลิต

ผลิตภัณฑยาชนิดอื่น ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ผลิตวัคซีนของจุลินทรียที่ตายแลวหรือสารสกัดจากแบคทีเรียหลังจากทําใหหมดฤทธิ์แลวทําการ

บรรจุในบริเวณเดียวกับผลิตภัณฑยาปราศจากเชื้อชนิดอื่นโดยไมไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการอาหารและยา

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๗๗ การตรวจสอบความถูกตองของการผลิตโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ ตองรวมถึงการ

ทดสอบจําลองกระบวนการโดยใชอาหารเพาะเชื้อหรือมีเดียฟลล การเลือกอาหารเพาะเชื้อตองเลือกตาม

รูปแบบของผลิตภัณฑ และความเฉพาะเจาะจง ความใส ความเขมขน และความเหมาะสมในการทําให

ปราศจากเชือ้

ขอ ๓๗๘ การทดสอบจําลองกระบวนการตองทําเลียนแบบใหใกลเคียงที่สุดกับการผลิตโดย

กระบวนการปราศจากเชื้อที่ทําเปนประจํา และรวมถึงขั้นตอนการผลิตวิกฤติทุกขั้นตอน ตองรวมถึงส่ิงที่ทําให

เกิดการหยุดชะงักระหวางการผลิตตามปกติ และกรณีแยที่สุด

ขอ ๓๗๙ การตรวจสอบความถูกตองครั้งแรกตองทําการทดสอบจําลองกระบวนการติดตอกันสาม

ครั้งตอผลัดการทํางานจนไดผลเปนที่พอใจ และทําซ้ําในชวงเวลาที่กําหนด รวมถึงหลังจากมีการปรบัปรุงที่

สําคัญของระบบอากาศ เครื่องมือ กระบวนการ และจํานวนผลัดการทํางาน

โดยทั่วไปการทดสอบจําลองกระบวนการจะทําซ้ําสองครั้งตอปตอผลัดการทํางานและกระบวนการ

Page 139: ร่าง GMP 07

๑๓๕

คําอธิบาย (๑) รายละเอียดใหดูตาม PI 007 PIC/S Recommendation on the validation of aseptic

processes หมายเหต ุ

ไมมีการทําการทดสอบจําลองกระบวนการโดยใชอาหารเพาะเชื้อหรือมีเดียฟลล ถือเปนขอบกพรอง

รายแรง

ไมปฏิบัติตามรายละเอียดของ PI 007 PIC/S Recommendation on the validation of aseptic

processes เชน ไมทําการทดสอบจําลองกระบวนการติดตอกัน ๓ คร้ังตอผลัดการทํางาน และไมทาํซ้ําใน

ชวงเวลาที่กําหนดรวมถึงหลังจากมีการปรับปรุงที่สําคัญของระบบอากาศ เครื่องมือ กระบวนการ และจาํนวน

ผลัดการทํางาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๘๐ จํานวนภาชนะบรรจุที่ใชสําหรับมีเดียฟลลตองเพียงพอที่สามารถประเมินผลได สําหรับรุน

การผลิตปริมาณนอย จํานวนภาชนะบรรจุสําหรับมีเดียฟลลควรใชอยางนอยเทากับจํานวนของรุนผลิต

เปาหมายตองไมพบเชือ้ โดยใชเกณฑดังนี้

(๑) เมื่อบรรจุนอยกวา ๕,๐๐๐ หนวย ตองไมพบการปนเปอน

(๒) เมื่อบรรจุ ๕,๐๐๐ ถึง ๑๐,๐๐๐ หนวย

(ก) พบการปนเปอน ๑ หนวย ตองสืบสวนหาสาเหตุ รวมถึงพิจารณาทํามีเดียฟลลซ้ํา

(ข) พบการปนเปอน ๒ หนวย ตองพิจารณาสาเหตุเพื่อทําการตรวจสอบความถูกตองซ้ํา

หลังสืบสวนหาสาเหตุ

(๓) เมื่อบรรจุมากกวา ๑๐,๐๐๐ หนวย

(ก) พบการปนเปอน ๑ หนวย ตองสืบสวนหาสาเหตุ

(ข) พบการปนเปอน ๒ หนวย ตองพิจารณาสาเหตุเพื่อทําการตรวจสอบความถูกตองซ้ํา

หลังสืบสวนหาสาเหตุ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอ ๓๘๐ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๘๑ การเกิดการปนเปอนของเชือ้สําหรับขนาดการผลิตใดๆ ในบางชวงของการตรวจสอบมี

เดียฟลล อาจแสดงถึงการปนเปอนอยูในระดับต่ําซึ่งตองสืบสวนหาสาเหตุ

การสืบสวนหาสาเหตุของการทํามีเดียฟลลไมผาน ตองรวมถึงแนวโนมที่มีผลกระทบตอการประกัน

ความปราศจากเชื้อของรุนการผลิตตั้งแตการทํามีเดียฟลลผานครั้งลาสุด

คําอธิบาย (๑) ตองสบืสวนหาสาเหตุของการปนเปอนของการตรวจสอบมีเดียฟลลคร้ังนี้ เชน สาเหตุจาก

เครื่องมือ ระบบอากาศ บุคลากร หรือการหยุดชะงักระหวางการผลิต

Page 140: ร่าง GMP 07

๑๓๖

(๒) ตองตรวจสอบปจจัยที่มผีลกระทบตอความปราศจากเชื้อของรุนการผลิตตั้งแตการทํามีเดียฟลล

ผานครั้งลาสุด

(๓) ตองทบทวนเอกสารทุกอยางที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต ไดแก สถานที่ อุปกรณ บุคลากร

และกระบวนการ หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคําอธบิาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๘๒ ควรระวังไววา การตรวจสอบความถูกตอง ตองไมทําใหเกิดความเสียหายตอกระบวนการ

คําอธิบาย (๑) การตรวจสอบความถูกตองทกุอยาง ตองไมทําใหเกิดความเสียหายตอกระบวนการ

ตัวอยางเชน การทํามีเดียฟลลตองระวังการปนเปอนของอาหารเลี้ยงเชื้อ, การตรวจสอบความถูกตองของการ

ทําใหปราศจากเชื้อตองระวังการปนเปอนของ bioindicator หมายเหต ุ

การตรวจสอบความถูกตองทาํใหเกิดความเสียหายตอกระบวนการ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๘๓ แหลงน้ํา เครื่องมือเตรียมน้ํา และน้ําที่ผานการเตรียมตองตรวจติดตามการปนเปอนทาง

เคมีและชีววิทยาเปนประจํา และตรวจตดิตามเอนโดทอกซินตามความเหมาะสม ตองมีการเก็บรักษาผล

บันทึกการตรวจติดตามและการดําเนินการแกไข

คําอธิบาย (๑) มมีาตรฐานวิธีการปฏบิตัิสําหรับการสุมตัวอยาง โดยกําหนด sampling plan, ตําแหนงการสุม

ตัวอยางจากแหลงน้ํา จากขัน้ตอนการเตรียมน้ํา เชน softener, resin, carbon, RO, DI, EDI และน้ําที่ผาน

การเตรียม ไดแก purified water และ water for injection

(๒) มีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการ sanitization ระบบน้ํา และตองมีการตรวจสอบความ

ถูกตองของ sanitizing method

(๓) มีการกําหนด alert limit, action limit และการวิเคราะหแนวโนม (trend analysis)

(๔) ตองมมีาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการดําเนินการ ในกรณีที่เกิน alert limit และ/หรือ action

limit

(๕) สําหรับ water for injection ตองมีการตรวจเอนโดทอกซินทุกครั้งกอนใชในการผลิต

(๖) ความถีข่องการตรวจติดตามการปนเปอนทางเคมีและชีววิทยา ขึน้กับผลการตรวจสอบความ

ถูกตอง หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอใดขอหนึ่ง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๘๔ กิจกรรมในบริเวณสะอาดตองมใีหนอยที่สุด โดยเฉพาะขณะกําลังผลิตโดยกระบวนการ

ปราศจากเชือ้ และการเคลื่อนไหวของผูปฏิบตัิงานตองมีการควบคุมและเปนระเบียบ เพือ่หลีกเลี่ยงการปลอย

Page 141: ร่าง GMP 07

๑๓๗

อนุภาคและจุลินทรียเนื่องจากกิจกรรมที่กระทําอยางเรงรีบ อุณหภมูิและความชื้นในหองตองไมทําใหรูสึกอึด

อัดเนื่องจากคุณลักษณะของเสื้อผาที่ผูปฏิบัติงานสวมใส

คําอธิบาย (๑) ตองมีการฝกอบรมการปฏิบัติงานภายในบริเวณสะอาด

(๒) กําหนดอณุหภูมิภายในบริเวณปฏิบัติงานไมเกิน ๒๕ องศาเซลเซียส สําหรับความชืน้ใหกําหนด

ตามความเหมาะสมกับผลิตภณัฑ

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๘๕ วัตถุดิบตองมีการปนเปอนของจลิุนทรียนอยที่สุด ขอกําหนดของวัตถุดิบตองมีการกําหนด

คุณภาพดานจลิุนทรียและชี้บงโดยการตรวจติดตาม

คําอธิบาย (๑) วัตถุดิบที่มีความเสี่ยงตอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย ตองมีการกําหนดปริมาณการ

ปนเปอนของจลิุนทรีย และมีการตรวจสอบเมื่อรับเขา พรอมทั้งมีการตรวจติดตามใหเหมาะสมตามความเสี่ยง หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจตดิตามวัตถุดิบที่มีความเสี่ยงตอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๓๘๖ ภาชนะบรรจุและวสัดุในบริเวณสะอาดตองปลดปลอยเสนใยออกมาใหนอยทีสุ่ด

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๘๗ ตองมีมาตรการตามความเหมาะสม เพื่อลดการปนเปอนอนุภาคในผลิตภัณฑสุดทายให

นอยที่สุด

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๘๘ สวนประกอบ ภาชนะบรรจุ และเครื่องมือหลังจากผานกระบวนการทําความสะอาดเสร็จ

แลวตองดําเนินการไมใหมีการปนเปอนซ้ํา

คําอธิบาย (๑) สวนประกอบ ภาชนะบรรจุ และเครื่องมือหลังจากผานกระบวนการทําความสะอาดเสร็จแลว

ตองเก็บในหองเฉพาะที่สามารถปองกันการปนเปอนได หมายเหต ุ

ไมมีมาตรการในการปองกันการปนเปอนหลังจากผานกระบวนการทําความสะอาดเสร็จแลว ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

Page 142: ร่าง GMP 07

๑๓๘

ขอ ๓๘๙ ชวงเวลาระหวางการลางกับการทําใหแหงและการทําใหปราศจากเชื้อของสวนประกอบ

ภาชนะบรรจ ุและเครื่องมือ รวมทั้งชวงเวลาระหวางการทําใหปราศจากเชือ้กับการนําไปใชตองใหส้ันที่สุดและ

ตองกําหนดขีดจํากัดของเวลาที่เหมาะสมกับสภาวะการจัดเก็บ

คําอธิบาย (๑) ตองมีขอกําหนดเรื่อง holding time แตละขั้นตอน และมีขอมูลสนับสนุน

หมายเหต ุไมปฏิบัติตามคาํอธบิาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๐ ระยะเวลาระหวางเริ่มเตรียมสารละลายกับการทําใหปราศจากเชื้อหรือการกรองผานแผน

กรองเพื่อกําจัดเชื้อตองสั้นที่สุด ตองกําหนดเวลาที่นานที่สุดที่ยอมรับไดสําหรับผลิตภัณฑแตละชนิดโดย

พิจารณาจากสวนประกอบในผลิตภัณฑและคําแนะนําสําหรับวิธีการเก็บรักษา

คําอธิบาย (๑) ตองมขีอกําหนดเรื่อง holding time แตละขั้นตอน ไดแก ชวงระหวางเริ่มเตรียมสารละลายกับ

การทําใหปราศจากเชื้อหรือการกรองผานแผนกรองเพื่อกําจดัเชื้อ และชวงระหวางหลังการทําใหปราศจากเชื้อ

กอนการบรรจุ และมีขอมูลสนับสนุน หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๑ ตองตรวจติดตามเชื้อที่มอียูกอนทําใหปราศจากเชื้อ และกําหนดขีดจํากัดสําหรับเชื้อท่ีมี

อยูกอนเริ่มการทําใหปราศจากเชื้อ ซึ่งขึ้นกบัประสิทธิภาพของวิธีการทําใหปราศจากเชื้อท่ีใช ตองวิเคราะห

ปริมาณเชือ้ที่มอียูในแตละรุนผลิต ทั้งผลิตภัณฑที่บรรจุแบบปราศจากเชื้อ และผลิตภัณฑที่ทําใหปราศจาก

เชื้อในขั้นตอนสุดทาย

สําหรับผลิตภัณฑที่ทําใหปราศจากเชื้อในขัน้ตอนสุดทายที่ทําใหปราศจากเชื้อแบบเกินจําเปน

(Overkill sterilization) อาจตรวจเชื้อที่มอียูตามชวงเวลาทีเ่หมาะสมเทานั้น

สําหรับระบบการปลอยผานโดยพาราเมตริก การวิเคราะหปริมาณเชื้อท่ีมีอยูตองทําทุกรุนการผลิต

และถือวาเปนการทดสอบระหวางกระบวนการ ตองตรวจติดตามระดับของเอนโดทอกซนิตามความเหมาะสม

สารละลายทุกชนิดโดยเฉพาะยาฉีดปริมาตรมากตองกรองผานแผนกรองเชื้อ และหากเปนไปไดควร

กรองในตําแหนงที่ใกลกับการบรรจุมากที่สุด

คําอธิบาย (๑) ตองหา bioburden ในผลิตภัณฑอยางนอยกอนขัน้ตอนสุดทายของการทําใหปราศจากเชื้อ

เกณฑการยอมรับสําหรับ bioburden ตองขึ้นกับขั้นตอนการทําใหปราศจากเชื้อ ตองไดระดับการประกัน

ความปราศจากเชื้อ (sterility assurance level, SAL = 10-6) ตองไดผลของการหาปริมาณ bioburden กอน

การปลอยผาน (ยกเวน terminal sterilization ที่ใช overkill cycle) โดยอาจเลือกใช rapid micro-methods

Page 143: ร่าง GMP 07

๑๓๙

(๒) ตองทําการประเมินความเสี่ยงเพื่อตรวจสอบเอนโดทอกซิน โดยตองหาเอนโดทอกซนิในภาชนะ

สุดทายที่ทําการบรรจุ

Aseptic operations: สําหรับการกรองใหปราศจากเชือ้ ตองนําการศกึษา filter efficacy มา

พิจารณาเมือ่หาเกณฑการยอมรับสําหรับ bioburden กอนการกรอง หมายความวาถามีการใชการกรอง ๒

ขั้นตอนตอกัน ถาเทคนิคเปนไปไดตองสุมตัวอยางกอนการกรองขั้นตอนสุดทาย ตัวอยางเชน การกรองขั้นตอน

แรกใสในถัง การกรองขั้นตอนที่สองกรองทันทีกอนบรรจุ อยางไรก็ตามถาเปนระบบที่ใชเครื่องกรอง ๒ อัน

(เครื่องกรองอันที่ ๒ ใชเพื่อความปลอดภัย ถาอันหนึ่งบกพรอง คา SAL ยังไดตามที่กําหนด) ตองทําการสุม

ตัวอยางตรงทางเขาของเครื่องกรองทั้งสองเพื่อไมใหเกิดความเสียหายตอขั้นตอนการกรอง โรงงานตองให

เหตุผลถาทําการสุมตัวอยางกอนการกรองขั้นตอนแรก รวมถึงการมีความรูและแนวโนมของ bioburden กอน

ขั้นตอนการลด bioburden จะมีประโยชนในการควบคุมกระบวนการ

Terminal sterilization: สําหรับการทําใหปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดทาย ตองนําคา F0 มาพิจารณา

การสุมตัวอยางตองสุมภาชนะที่บรรจุแลวกอนการทําใหปราศจากเชื้อ สําหรับผลิตภัณฑที่ใชกระบวนการ

overkill sterilization ในการทําใหปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดทาย โรงงานตองใหเหตุผลในการเลือกชวงเวลา

สําหรับทดสอบ bioburden หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอใดขอหนึ่ง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๒ สวนประกอบ ภาชนะบรรจุ เครื่องมือและสิ่งอื่นที่ตองใชในบริเวณสะอาดสําหรับ

กระบวนการปราศจากเชื้อตองทําใหปราศจากเชื้อและสงเขาไปในบริเวณนั้นโดยผานเครื่องทําใหปราศจาก

เชื้อแบบมีประตูสองดาน ซึ่งฝงอยูที่ผนัง หรือโดยวิธีการอืน่ที่บรรลุวัตถุประสงคในการที่ไมนําเอาสิ่งปนเปอน

เขาไป พวกกาซที่ไมติดไฟที่ผานเขาไปใชตองกรองดวยแผนกรองเชื้อ

คําอธิบาย (๑) สวนประกอบ ภาชนะบรรจุ เครื่องมือและสิ่งอื่นทีต่องใชในบริเวณสะอาดสําหรับ aseptic

process ตองทําใหปราศจากเชื้อและสงเขาไปในบริเวณนั้นโดยผานเครื่องทําใหปราศจากเชื้อแบบมปีระตู

สองดาน ซึ่งฝงอยูที่ผนังหรือโดยวิธีการอื่น เชน การสงผานภายใต laminar

(๒) กาซที่ไมติดไฟ เชน ไนโตรเจน คารบอนไดออกไซด ทีผ่านเขาไปใชตองกรองดวยแผนกรองเชื้อ

ขนาด ๐.๒ μm หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอใดขอหนึ่ง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๓ ตองตรวจสอบความถูกตองของประสิทธิผลของวิธีการใหมที่จะนํามาใช และมีการทวน

สอบการตรวจสอบความถูกตองตามระยะเวลาที่กําหนด โดยพิจารณาจากประวัติของสมรรถนะหรือเมื่อมีการ

เปล่ียนแปลงที่สําคัญของกระบวนการหรือเครื่องมือ

คําอธิบาย -

Page 144: ร่าง GMP 07

๑๔๐

หมายเหต ุไมมีการตรวจสอบความถูกตองของประสิทธิผลของวิธีการใหมที่จะนํามาใช ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ไมมีการทวนสอบการตรวจสอบความถูกตองตามระยะเวลาที่กําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจสอบความถูกตองเมื่อมีการเปล่ียนแปลงที่สําคัญของกระบวนการหรือเครื่องมือ ถอืเปน

ขอบกพรองสําคัญ การทําใหปราศจากเชื้อ

ขอ ๓๙๔ การทําใหปราศจากเชื้อทุกกระบวนตองตรวจสอบความถูกตอง รวมถึงตองใหความสนใจ

เปนพิเศษเมื่อวิธีการทําใหปราศจากเชื้อที่นํามาใชไมไดระบใุนเภสัชตํารับฉบับปจจบุันตามที่รัฐมนตรีประกาศ

กําหนด หรือเมื่อเปนวิธีทีใ่ชสําหรับผลิตภัณฑที่ไมไดเปนสารละลายในน้ําหรือในน้ํามนัเพียงชนิดเดียว

(simple aqueous or oily solution) และถาเปนไปไดตองเลือกใชวิธีการทําใหปราศจากเชือ้ดวยความรอน

ในทุกกรณีของกระบวนการทําใหปราศจากเชือ้ตองเปนไปตามทะเบียนตาํรับยาและใบอนญุาตผลิตยา

คําอธิบาย (๑) กระบวนการทําใหปราศจากเชื้อตองเปนไปตามทะเบียนตํารับยา

(๒) กระบวนการทําใหปราศจากเชื้อตองมีการตรวจสอบความถูกตอง (รายละเอียดใหศึกษาตาม

หมวด ๑๒)

(๓) กรณีที่ไมใชวิธ ีoverkill ตองมีขอมูลสนับสนุน เชน การทํา cycle development (cycle design)

(๔) ในการทําใหปราศจากเชื้อ ถาเปนไปไดใหทําใหปราศจากเชื้อดวยความรอน

(๕) ผลิตภัณฑที่ไมใชสารละลายในน้ําหรือในน้ํามันเพียงชนิดเดียว (simple aqueous or oily

solution) หมายถึง ผลิตภัณฑที่ใชตัวทําละลายหลายชนิด หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอใดขอหนึ่งในขอ ๑, ๒ และ ๓ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๕ กอนนํากระบวนการทําใหปราศจากเชื้อวธิีใดมาใช ตองพิสูจนใหเห็นวากระบวนนั้นมี

ความเหมาะสมสําหรับผลิตภัณฑและมีประสิทธิผลในการทําใหปราศจากเชื้ออยางทั่วถงึสําหรับส่ิงของแตละ

ประเภทตามเงื่อนไขที่ตองการดวยการวัดคาทางกายภาพและการใชอินดิเคเตอรชีวภาพตามความเหมาะสม

ความถูกตองของกระบวนการตองมีการทวนสอบตามระยะเวลาที่กําหนดอยางนอยปละครั้งและเมื่อ

มีการปรับเปล่ียนที่สําคัญของเครื่องมือ รวมถึงตองมีการบนัทึกผลของการตรวจสอบเก็บไว

คําอธิบาย (๑) มีขอมูลสนับสนุนการเลือกใชวิธีการทําใหปราศจากเชือ้กับผลิตภัณฑและวัสดุการบรรจุ

(๒) ตองพิสูจนวาวิธีการทําใหปราศจากเชื้อน้ีมีประสิทธิผลจริง ดวยการตรวจสอบความถูกตอง และ

ตองระบุพารามิเตอรที่ใช เชน อุณหภูมิ เวลา ปริมาณรังสี ความเขมขนของแกส ความชื้น ความดัน ขนาดรู

ของแผนกรอง และอินดิเคเตอรชีวภาพที่เหมาะสมกับวิธีการทําใหปราศจากเชื้อน้ัน

Page 145: ร่าง GMP 07

๑๔๑

(๓) ความถูกตองของกระบวนการตองมีการทวนสอบตามระยะเวลาที่กําหนดอยางนอยปละ ๑ ครั้ง

และเมื่อมีการปรับเปล่ียนที่สําคัญของเครื่องมือ รวมถึงตองมีการบันทึกผลของการตรวจสอบเก็บไว หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอใดขอหนึ่ง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๖ การทําใหปราศจากเชื้อท่ีมีประสิทธิภาพ วัสดุทัง้หมดตองผานการทําใหปราศจากเชื้อตาม

กระบวนการที่กําหนด และตองออกแบบกระบวนการที่แนใจวาสามารถทาํใหปราศจากเชื้อไดตามที่ตองการ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๓๙๗ ตองกําหนดรูปแบบการจัดเรียงสิ่งของตามที่ผานการตรวจสอบความถูกตองสําหรับทุก

กระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ

คําอธิบาย (๑) ตองมีมาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการจัดเรียงสิ่งของในวิธีการทําใหปราศจากเชื้อตามวิธีที่ได

ผานการตรวจสอบความถูกตองแลว หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการจัดเรียงสิ่งของและไมมีการจัดเรียงสิ่งของในวิธีการทําให

ปราศจากเชือ้ตามวิธีที่ไดผานการตรวจสอบความถูกตองแลว ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๘ ควรใชอินดิเคเตอรชีวภาพเปนวิธีเสริมสําหรับตรวจติดตามการทําใหปราศจากเชื้อ โดย

ตองเก็บรักษาและใชตามคําแนะนําของผูผลิต และมีการตรวจสอบคุณภาพดวยการทําการทดสอบควบคุม

ทางบวก ถามีการใชอินดิเคเตอรชีวภาพ ตองระมัดระวังอยางเขมงวดไมใหมกีารปนเปอนจาก

จุลินทรียของอินดิเคเตอรชีวภาพ

คําอธิบาย (๑) การใชอนิดิเคเตอรชีวภาพอยางเดียวไมใชวิธีการตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการทําให

ปราศจากเชือ้ เปนเกณฑสําหรับใชในการตรวจติดตามเทานั้น

(๒) ระวังไมใหหลอดบรรจุอินดิเคเตอรชีวภาพแตกหรือสตริปตฉีกขาด หมายเหต ุ

มีการใชอินดิเคเตอรชีวภาพแลวเกิดการปนเปอน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๓๙๙ ตองมีวิธีที่ชัดเจนในการแยกผลิตภัณฑที่ยังไมผานและผานการทําใหปราศจากเชื้อแลว

ตะกรา ถาด หรือภาชนะอื่นที่ใชใสผลิตภัณฑหรือสวนประกอบตองติดปายใหชัดเจน ระบุถึงชื่อของผลิตภัณฑ

หรือวัตถุ หมายเลขรุน และมีการชี้บอกวาผานหรือยังไมผานการทําใหปราศจากเชื้อ

การใชอินดิเคเตอร ตัวอยางเชน แถบสําหรับออโตเคลฟ บอกไดเพียงวารุนหรือรุนยอยนั้น ไดผาน

กระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ แตไมไดเปนสิ่งชี้บอกอยางนาเชื่อถือวารุนนั้นปราศจากเชื้อ

คําอธิบาย -

Page 146: ร่าง GMP 07

๑๔๒

หมายเหต ุไมมีวธิีการแยกผลิตภัณฑที่ยังไมผานและผานการทําใหปราศจากเชื้อแลว และไมมีการชีบ้อกวาผาน

หรือยังไมผานการทําใหปราศจากเชื้อ ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๔๐๐ ตองมีบันทึกการทําใหปราศจากเชื้อแตละครั้ง และผานการรับรองซึ่งเปนสวนหนึ่งของ

วิธีการปฏบิัติในการปลอยผานรุนผลิตนั้น

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีบันทึกการทําใหปราศจากเชื้อแตละครั้ง และผานการรบัรองซึ่งเปนสวนหนึ่งของมาตรฐานวิธีการ

ปฏิบัติสําหรับการปลอยผานรุนผลิต ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การทําใหปราศจากเชื้อดวยความรอน

ขอ ๔๐๑ การทําใหปราศจากเชื้อดวยความรอนแตละรอบ ตองบันทึกบนแผนภาพเวลา/อณุหภูมิที่มี

มาตราสวนซึ่งมีขนาดใหญเพียงพอ หรือโดยการใชอุปกรณอื่นที่มีความเทีย่งตรงและแมนยําเหมาะสม

ระหวางการตรวจสอบความถกูตอง ตองมีการหาตําแหนงการวางอุปกรณวัดอุณหภูมิที่ใชสําหรับการ

ควบคุมและ/หรือบันทึก และถาทําไดควรมกีารตรวจสอบกับอปุกรณวัดอุณหภูมิอีกอันที่เปนอิสระตอกันที่อยู

ในตําแหนงเดียวกัน

คําอธิบาย (๑) การทําใหปราศจากเชื้อดวยความรอนแตละรอบ ตองมีบันทึกบนแผนภาพเวลาและ

อุณหภูมิ หรือใชอุปกรณบันทึกอื่นที่มีความเที่ยงตรงและแมนยําเหมาะสม เชน data logger, multirecorder

(๒) การตรวจสอบความถูกตอง ตองมีการหา cold spot เพื่อกําหนดตําแหนงการวางอุปกรณ

วัดอุณหภูมิที่ใชสําหรับการควบคุม หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอใดขอหนึ่ง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๐๒ อาจมีการใชอินดิเคเตอรเคมีหรือชีวภาพ แตตองไมเปนการใชแทนการวัดทางกายภาพ

คําอธิบาย (๑) การวัดทางกายภาพ ไดแก การวัดอุณหภูมิ เวลา และความดัน

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๐๓ ตองมีเวลาที่เพียงพอที่ส่ิงของทั้งหมดมีอุณหภูมถิึงที่กําหนด กอนเริ่มตนนับเวลาของชวง

การทําใหปราศจากเชื้อ โดยตองหาเวลานี้สําหรับส่ิงของแตละประเภทที่นําไปผานกระบวนการ

Page 147: ร่าง GMP 07

๑๔๓

คําอธิบาย (๑) ในขั้นตอนการตรวจสอบความถูกตอง ตองหาเวลาที่ทําใหส่ิงของทั้งหมดถึงอุณหภูมิที่

กําหนด (heat up time) ของแตละ load pattern ถาเปนไปไดควรใชแผนภาพอุณหภูมิและเวลาประกอบใน

การพิจารณาปลอยผานรุนผลิต (review batch release)

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๐๔ การทําใหเย็นลงหลังจากผานระยะเวลาอุณหภูมิสูงในรอบของการทําใหปราศจากเชื้อ ตอง

ระวังไมใหส่ิงของที่ปราศจากเชื้อแลวมกีารปนเปอน

ของเหลวหรือกาซที่ใชสําหรับทําใหเย็นซึ่งสัมผัสกับผลิตภัณฑตองปราศจากเชื้อ นอกจากสามารถ

แสดงใหเห็นวาภาชนะบรรจใุดที่ร่ัวจะไมผานการรับรองสําหรับนําไปใช

คําอธิบาย (๑) ส่ิงของที่ทําใหปราศจากเชือ้แลว ตองระวังไมใหมีการปนเปอน เชน เก็บไวในตู laminar

(๒) ของเหลวหรือกาซที่ใชสําหรับทําใหเย็นซึ่งสัมผัสกับผลิตภัณฑตองทําใหปราศจากเชื้อ เชน

การกรองผาน ๐.๒ micron filter สําหรับกาซ นอกจากทํา leak test ทุกภาชนะบรรจ ุหมายเหต ุ

ส่ิงของที่ทําใหปราศจากเชือ้แลว ในขั้นตอนการทําใหเย็นลงแลวไมมีการปองกันการปนเปอน (กรณี

ส่ิงของนั้นตองใชในกระบวนการ aseptic) ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ของเหลวหรือกาซที่ใชสําหรับทําใหเย็นซึ่งสัมผัสกับผลิตภัณฑไมผานกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ

(กรณีส่ิงของนั้นตองใชในกระบวนการ aseptic) ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ส่ิงของที่ทําใหปราศจากเชือ้แลว ในขั้นตอนการทําใหเย็นลงแลวไมมีการปองกันการปนเปอน (กรณี

ส่ิงของนั้นตองใชในกระบวนการ terminal sterilization) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ของเหลวหรือกาซที่ใชสําหรับทําใหเย็นซึ่งสัมผัสกับผลิตภัณฑไมผานกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ

(กรณีส่ิงของนั้นตองใชในกระบวนการ terminal sterilization) ถือเปนขอบกพรองสําคัญ ความรอนชื้น

ขอ ๔๐๕ การตรวจติดตามกระบวนการตองวัดทั้งอุณหภูมิและความดัน โดยอปุกรณควบคุมตอง

เปนอิสระจากอปุกรณตรวจติดตามและแผนภาพบันทึก ถาใชระบบควบคุมและตรวจติดตามอัตโนมัตติองมี

การตรวจสอบความถูกตองเพื่อใหแนใจวาไดตามขอกําหนดกระบวนการวกิฤต

ความผิดพลาดของระบบและรอบของการทําใหปราศจากเชื้อ ตองมบีันทึกแสดงไวในระบบและ

ผูปฏิบัติงานสามารถสังเกตเห็นได

ตลอดชวงเวลาการทําใหปราศจากเชื้อ ตองมีการตรวจสอบคาที่อานไดจากตัวชี้บอกอณุหภูมิที่เปน

อิสระเปนระยะเทียบกับคาที่บนัทึกในแผนภาพ

สําหรับเครื่องทําใหปราศจากเชื้อที่มีทอระบายน้ําอยูที่สวนลางของตู จําเปนตองมีการบันทึกอุณหภูมิ

ที่ตําแหนงนี้ดวยตลอดชวงเวลาการทําใหปราศจากเชื้อ

Page 148: ร่าง GMP 07

๑๔๔

ถาในรอบของการทําใหปราศจากเชื้อมชีวงเวลาของการทําใหเปนสุญญากาศ ตองมีการทดสอบการ

ร่ัวของตูเปนประจํา

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๐๖ ถาส่ิงของที่ทําใหปราศจากเชือ้ไมใชผลิตภัณฑที่บรรจุในภาชนะที่ปดสนิท ตองหอหุมดวย

วัสดุที่ยอมใหอากาศผานออกมาไดและยอมใหไอน้ําซมึผานเขาไปได และสามารถปองกันไมใหมีการปนเปอน

หลังจากการทําใหปราศจากเชื้อแลว ทุกสวนของสิ่งของตองสัมผัสกับน้ําหรือไอนํ้าที่อุณหภูมิที่กําหนดในเวลา

ที่กําหนด

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๐๗ ตองระวังเพื่อใหแนใจวาไอน้ําที่ใชในการทําใหปราศจากเชื้อมีคุณภาพที่เหมาะสมและไม

มีสารเจือปนในระดับที่ทําใหเกิดการปนเปอนผลิตภัณฑหรือเครื่องมือ

คําอธิบาย (๑) อยางนอยควรใช purified water เปนตัวทําไอน้ํา

(๒) ควรมีการตรวจคุณภาพของไอน้ํา หมายเหต ุ

ในกรณีที่ไอน้ํานั้นตองสัมผัสโดยตรงกับอุปกรณที่จะนําไปใชในการบรรจุยา เชน สายยาง หัวเข็ม

สําหรับบรรจุ แลวไมใช purified water เปนตัวทําไอน้ํา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ ความรอนแหง

ขอ ๔๐๘ กระบวนการที่ใชตองรวมถึงการหมุนเวียนของอากาศภายในตูและมีการรกัษาความดันให

สูงกวาภายนอกเพื่อปองกันอากาศที่ไมปราศจากเชื้อเขาไปภายใน อากาศที่เขาไปภายในตูตองผานแผนกรอง

อากาศที่มปีระสิทธิภาพสูง (HEPA filter)

ถาใชกระบวนการนี้เพื่อกําจัดไพโรเจน ตองทําการทดสอบโดยใชเอนโดทอกซินเปนสวนหนึ่งของการ

ตรวจสอบความถูกตองดวย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 149: ร่าง GMP 07

๑๔๕

การทําใหปราศจากเชื้อดวยรังสี

ขอ ๔๐๙ การทําใหปราศจากเชื้อดวยรังสีสวนมากใชกบัวัสดุและผลิตภัณฑที่ไมทนตอความรอน

ผลิตภัณฑยาหลายชนิดและวัสดุการบรรจุบางชนิดไวตอรังสี ดังนั้นวิธีนี้ใชไดเมื่อมีการทดลองยืนยันวารังสีไม

มีผลตอการสลายตัวของผลิตภัณฑ การฉายรังสีอัลตราไวโอเลตเปนวิธีที่ไมยอมรับในการทําใหปราศจากเชื้อ

คําอธิบาย ดูรายละเอียดหมวด ๑๘

หมายเหต ุไมมีผลการทดลองยืนยันวารังสีมีผลตอการสลายตัวของผลิตภัณฑหรือไม ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๑๐ ตองวัดปริมาณรังสีระหวางขั้นตอนการทําใหปราศจากเชื้อ โดยใชอินดิเคเตอรวัดปริมาณ

รังสีซึ่งไมขึ้นกับอัตราปริมาณรงัสีที่ใช แตเปนการวัดปริมาณรังสีที่ผลิตภัณฑไดรับ

ตองใชอปุกรณวัดปริมาณรังสีติดที่ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑในจํานวนที่เพียงพอและมีระยะใกลกัน

เพียงพอ เพื่อใหแนใจวามีอปุกรณวัดปริมาณรังสีอยูในเครื่องฉายรังสี

อุปกรณวัดปรมิาณรังสีที่เปนพลาสติกตองใชภายในขีดจํากดัเวลาของการสอบเทียบ

คาการดูดกลืนรังสีจากอปุกรณวัดปรมิาณรังสีตองอานภายในระยะเวลาสั้นหลังจากมีการสมัผัสกับรังสี

คําอธิบาย ดูรายละเอียดหมวด ๑๘

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๑๑ อาจใชอินดิเคเตอรชีวภาพเปนวธิกีารควบคุมเพิม่เติม

คําอธิบาย ดูรายละเอียดหมวด ๑๘

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๑๒ ตองมั่นใจวาวิธกีารตรวจสอบความถูกตองไดพิจารณาถึงผลของความแปรผันในความ

แนนของภาชนะหีบหอ

คําอธิบาย ดูรายละเอียดหมวด ๑๘

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๑๓ ตองมีวิธีการปฏบิัติเพื่อปองกันการปะปนระหวางวัตถุที่ผานการฉายรังสีแลวกับวัตถุที่ยัง

ไมผานการฉายรังสี โดยอาจใชแผนสีที่ไวตอรังสี (radiation-sensitive colour disk) ติดบนแตละภาชนะหีบ

หอเพื่อแยกระหวางภาชนะหบีหอที่ผานการฉายรังสีและที่ยังไมผานการฉายรังสี

คําอธิบาย ดูรายละเอียดหมวด ๑๘

Page 150: ร่าง GMP 07

๑๔๖

หมายเหต ุไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๑๔ ปริมาณของรังสีทั้งหมดตองฉายภายในระยะเวลาที่กําหนดไว

คําอธิบาย ดูรายละเอียดหมวด ๑๘

หมายเหต ุ -

การทําใหปราศจากเชื้อดวยเอทธิลีนออกไซด

ขอ ๔๑๕ วิธีนี้ใชเฉพาะเมื่อไมสามารถใชวธิีอื่นได ระหวางการตรวจสอบความถูกตองของ

กระบวนการตองแสดงใหเห็นวาวิธีนี้ไมมีผลทําใหผลิตภัณฑเสียหาย และแสดงสภาวะกับเวลาที่ใชในการ

กําจัดกาซ เพื่อลดกาซตกคางและผลผลิตไมพึงประสงคจากปฏิกิริยาจนเหลือถึงขีดจํากัดที่ยอมรับไดสําหรับ

ผลิตภัณฑและวัสดุแตละประเภท

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจสอบกาซตกคางและผลผลิตไมพึงประสงคจากปฏิกิริยา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๑๖ การสัมผัสโดยตรงระหวางกาซกบัเซลลของจุลินทรียเปนสิ่งจําเปน จึงตองระวังโดยการ

หลีกเลี่ยงไมใหจุลินทรียถูกหอหุมอยูในวัตถบุางชนิด ตัวอยางเชน โปรตีนที่เปนผลึกหรือแหง ชนิดและปริมาณ

ของวัสดุการบรรจุมีผลตอกระบวนการอยางมีนัยสําคัญ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๑๗ กอนวัตถุมีการสัมผัสกับกาซ ตองปรับใหมคีวามชื้นและอณุหภูมิอยูในสมดุลกับคาที่

กําหนดในกระบวนการ ตองพิจารณาผลดีผลเสียของชวงเวลาที่ใชในการปรับสมดุลกับขอกําหนดที่ตองใหมี

ชวงเวลาสั้นที่สุดกอนการทําใหปราศจากเชื้อ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๑๘ แตละรอบของการทําใหปราศจากเชื้อตองตรวจติดตามดวยอินดิเคเตอรชีวภาพที่

เหมาะสม โดยใชจาํนวนชิ้นทดสอบที่พอเหมาะวางกระจายใหทั่วในสิ่งของที่จะทําใหปราศจากเชื้อ ขอมลูที่ได

เปนสวนหนึ่งของบันทึกการผลิต

คําอธิบาย -

Page 151: ร่าง GMP 07

๑๔๗

หมายเหต ุไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๑๙ ระหวางกระบวนการทําใหปราศจากเชือ้แตละรอบ ตองบันทึกเวลาที่ใช ความดัน

อุณหภูมิ ความชื้นภายในตู ความเขมขนและปริมาณของกาซทั้งหมดที่ใช ตองบันทึกความดันและอณุหภูมิ

ตลอดรอบบนแผนภาพ บันทึกนี้เปนสวนหนึ่งของบันทึกการผลิต

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๒๐ ภายหลังการทําใหปราศจากเชื้อ ส่ิงของนั้นตองเก็บในสภาวะควบคุมที่มีการระบาย

อากาศเพื่อใหกาซที่หลงเหลือและผลผลิตไมพึงประสงคจากปฏิกิริยาลดลงสูระดับที่กําหนด กระบวนการนี้

ตองตรวจสอบความถูกตอง

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การกรองผลิตภัณฑยาที่ไมสามารถทําใหปราศจากเชื้อในภาชนะบรรจุสุดทาย

ขอ ๔๒๑ การใชวธิีการกรองเพียงอยางเดียวไมเพียงพอถาหากผลิตภัณฑสามารถทําใหปราศจาก

เชื้อในภาชนะสุดทายได การทําใหปราศจากเชื้อดวยไอน้ําเปนวิธีที่นิยมใชมากที่สุดในปจจุบัน ถาผลิตภัณฑ

ไมสามารถทําใหปราศจากเชื้อในภาชนะสุดทายได สารละลายหรือของเหลวสามารถใชวธิีกรองผานแผน

กรองปราศจากเชื้อที่มีขนาดของรู ๐.๒๒ ไมครอนหรือเล็กกวา หรืออยางนอยที่สุดขนาดของรูเทากับจุลินทรีย

ที่คางอยูบนแผนกรองได โดยกรองใสในภาชนะบรรจุที่ผานการทําใหปราศจากเชื้อแลว แผนกรองดังกลาว

สามารถกําจัดแบคทีเรียและราสวนมากได แตไมสามารถกําจัดไวรัสหรือมัยโคพลาสมา จึงควรพิจารณาใช

กระบวนการกรองรวมกับการใชความรอน

คําอธิบาย (๑) การกรองเพื่อทําใหปราศจากเชื้อตองใชแผนกรองขนาดรู ๐.๒๒ ไมครอนหรือเล็กกวา

(๒) ในกรณีที่ใชแผนกรองที่มีขนาดรูใหญมากกวา ๐.๒๒ ไมครอน ตองมีการตรวจสอบชนิดของ

เชื้อจุลินทรียในยากอนทําการกรองทุกครั้ง

(๓) ตองกรองใสในภาชนะบรรจุที่ผานการทําใหปราศจากเชื้อแลว หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามคาํอธบิายขอใดขอหนึ่ง ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 152: ร่าง GMP 07

๑๔๘

ขอ ๔๒๒ วิธกีารกรองมีความเสี่ยงมากกวากระบวนการทําใหปราศจากเชื้อวธิีอื่น จึงควรมีการกรอง

ครั้งที่สองดวยแผนกรองกักเชื้อที่ปราศจากเชือ้อีกครั้งหนึ่งทันทีกอนบรรจุ การกรองครั้งสุดทายนี้ตองใหอยูใกล

จุดที่ทําการบรรจุมากที่สุด

คําอธิบาย (๑) กรณีที่ใชแผนกรองขนาดรูใหญกวา ๐.๒๒ ไมครอน ตองมีการกรองครั้งที่สอง

หมายเหต ุไมปฏิบัติตามคาํอธบิาย ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๒๓ แผนกรองควรมีคุณลักษณะที่ปลอยเสนใยออกมานอยที่สุด

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๒๔ ตองทําการตรวจสอบความสมบรูณของแผนกรองปราศจากเชือ้กอนใชและทนัทีหลังจาก

การกรองเสร็จโดยวิธีที่เหมาะสม ตัวอยางเชน การทดสอบจุดเกิดฟอง (bubble point test) การทดสอบการ

แพรของอากาศ (diffusion flow test) หรือ การทดสอบการรักษาความดนั (pressure hold test)

ระหวางการตรวจสอบความถกูตอง ตองหาเวลาที่ใชในการกรองของสารละลายที่ทราบปริมาตรและ

หาความแตกตางของความดนัระหวางแผนกรองที่ใชในการกรอง โดยในการผลิตที่ทําเปนประจําถาพบวา

ระหวางการกรองคาเหลานี้แตกตางจากที่กําหนดอยางมีนัยสําคัญ ตองบันทึกและสืบสวนหาสาเหตุ ผลของ

การตรวจสอบตองรวมไวในบนัทึกการผลิต

ความสมบูรณของแผนกรองกาซและรูระบายอากาศที่จุดวกิฤตตองตรวจสอบยืนยันหลังจากการใช

สําหรับแผนกรองอื่นควรตรวจสอบยืนยันในระยะเวลาที่เหมาะสม

คําอธิบาย (๑) ความสมบูรณของแผนกรองกาซและรูระบายอากาศที่จุดวิกฤตตองตรวจสอบยืนยันหลังจาก

การใช เชน แกสไนโตรเจนที่ใชในการบรรจุยา หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจสอบความสมบูรณของแผนกรองปราศจากเชื้อกอนใชและทันทีหลังจากการกรองเสร็จ

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจสอบความสมบูรณของแผนกรองกาซและรูระบายอากาศที่จุดวิกฤตหลังการใช ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๒๕ ไมใชแผนกรองเดียวกันทําการกรองนานกวาหนึ่งวันทํางานนอกจากมีการตรวจสอบความ

ถูกตอง

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 153: ร่าง GMP 07

๑๔๙

ขอ ๔๒๖ แผนกรองตองไมมผีลตอผลิตภัณฑ โดยการกรองสวนประกอบของผลิตภัณฑออกไปหรือ

ปลอยสารบางอยางเขามาในผลิตภัณฑ

คําอธิบาย (๑) ควรมีการทํา compatibility test ระหวางแผนกรองกับผลิตภัณฑ

หมายเหต ุ -

ข้ันตอนสดุทายของผลิตภัณฑยาปราศจากเชื้อ

ขอ ๔๒๗ ผลิตภัณฑบรรจุในไวแอลที่จะทาํใหแหงแบบเยอืกแข็งที่ปดจุกยางยังไมสมบูรณตองเก็บ

อยูภายใตสภาวะระดับ A ตลอดเวลา จนกระทั่งจุกยางถูกปดสนิท

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองรายแรง

ขอ ๔๒๘ ตองปดภาชนะบรรจุโดยวิธีที่ตรวจสอบความถกูตองแลวอยางเหมาะสม ภาชนะบรรจุที่

ปดโดยการหลอม ตัวอยางเชน แอมพูลแกวหรือพลาสติก ตองตรวจสอบความสมบูรณทุกภาชนะบรรจุ

ภาชนะบรรจชุนิดอื่นตองตรวจสอบความสมบูรณตามวิธีการที่เหมาะสมจากตัวอยางที่เก็บมา

คําอธิบาย (๑) แอมพูลแกวหรอืพลาสติกตองทํา leak test ทุกภาชนะบรรจ ุ

หมายเหต ุไมปฏิบัติตามคาํอธบิาย ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๒๙ ระบบภาชนะบรรจุและการปดผนึกสําหรับไวแอลที่บรรจุโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ

ยังไมสมบูรณจนกวาทําการปดผนึกฝาอะลูมิเนียม และตองทําทันทีหลังปดจุกยาง

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๓๐ เครื่องมือที่ใชปดผนึกฝาอะลูมิเนียมของไวแอลสามารถกอใหเกิดอนุภาคเปนจํานวนมาก

จึงควรตั้งแยกตางหากพรอมตดิตั้งเคร่ืองดูดอากาศอยางเพียงพอ

คําอธิบาย -

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๓๑ การปดผนึกฝาอะลูมิเนียมของไวแอลสามารถดําเนินการโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ

โดยใชฝาอะลูมเินียมที่ผานการทําใหปราศจากเชื้อ หรือดําเนินการนอกบริเวณปดจุกยาง โดยมีกระบวนการ

ตองปองกันไวแอลภายใตความสะอาดระดับ A จนถึงจุดที่ออกจากบริเวณปดจุกยาง หลังจากนั้นไวแอลที่ปด

จุกยางแลวตองปองกันดวยลมจายที่มีความสะอาดระดับ A จนกระทั่งปดผนึกดวยฝาอะลูมิเนียม

Page 154: ร่าง GMP 07

๑๕๐

คําอธิบาย (๑) ไวแอลตองอยูภายใตตู laminar (grade A) ตั้งแตปดจุกยางจนกระทั่งปดผนึกดวยฝาอะลูมิเนียม

สําหรับผลิตภัณฑทําใหแหงแบบเยือกแข็ง (lyophilized products): การเคลื่อนยายผลิตภัณฑจาก

เครื่องบรรจุไปยังเครื่องทําใหแหงแบบเยือกแข็งตองทําภายใตสภาวะระดบั A (ตัวอยางเชน laminar air flow

แบบเคลื่อนยายได) ที่อยูในหองระดับ B การเคลื่อนยายไปยังเครื่องปดผนึกฝาอะลูมิเนียมตองทําภายใตลม

จายที่มีความสะอาดระดับ A

สําหรับผลิตภัณฑของเหลวและผงแหง: การเคลื่อนยายจากบริเวณ aseptic processing ไปยัง

เครื่องปดผนึกฝาอะลูมิเนียมตองทําภายใตลมจายที่มีความสะอาดระดับ A

สําหรับผลิตภัณฑทุกชนิด: การปดผนึกฝาอะลูมิเนียมตองทําภายใตลมจายที่มีความสะอาดระดับ A

ฝาอะลูมิเนียมกําหนดใหทําใหปราศจากเชื้อเฉพาะเมื่อการปดผนีกทําใน aseptic core

ลมจายที่มีความสะอาดระดับ A (grade A air supply)

Qualification requirements:

• การตรวจรับรองจะทําเฉพาะสภาวะไมมีการปฏิบัติงาน สําหรับเครื่องปดผนึกฝาอะลูมิเนียม

ในสภาวะไมมกีารปฏิบัติงานจะไดตามขอกาํหนดเมื่อเปดสวิทช air supply และเปดเครื่องปดผนีกใหทํางาน

(แตไมจําเปนตองมีการปอนไวแอลและฝาอะลูมิเนียม) และไมมีผูปฏบิัติงานอยูบริเวณนั้น สําหรับ conveyor

tunnel สําหรับผลิตภัณฑของเหลว สภาวะไมมีการปฏิบัติงานจะไดตามขอกําหนดเมื่อเปดสวิทช air supply

และเปดสวิทช conveyor belt และไมมีผูปฏบิัติงานอยูบริเวณนั้น

• ตองตรวจวัดอนุภาคและไดตามขอกาํหนดระดับ A ตองติดตั้ง probe อยูใตเครื่องกรอง

• ตองทํา smoke studies ไมกําหนดตองมี unidirectional air flow อยางไรก็ตามตองแสดง

ใหเห็นวามีการปกปองไวแอลอยางมปีระสิทธิภาพ

• ตองมีขีดจํากัดของ air velocity และเหตุผล

Monitoring requirements: ขอกําหนดการตรวจติดตามอนุภาคและการปนเปอนจุลินทรีย ทาง

โรงงานตองระบุโดยทําการประเมินความเสี่ยง หมายเหต ุ

ไมมีมาตรการปองกันไวแอลที่ปดจุกยางแลวภายใตความสะอาดระดับ A กอนที่จะปดผนึกฝา

อะลูมิเนียม ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๓๒ ไวแอลที่ไมมจีุกยางหรือปดจุกไมสมบูรณตองถูกคัดออกกอนปดผนึกดวยฝาอะลูมิเนียม

หากมีกิจกรรมที่จําเปนตองมผูีปฏิบัติงานเขาไปในบริเวณปดผนึกฝาอะลูมิเนียม ควรใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม

เพื่อปองกันการสัมผัสโดยตรงกับไวแอล และลดการปนเปอนจุลินทรียใหนอยที่สุด

คําอธิบาย รายละเอียดดูขอ ๔๓๓

(๑) เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อปองกันการสัมผัสโดยตรงกับไวแอล อาจใช restricted access

barriers system (RABS) และไอโซเลเตอร

Page 155: ร่าง GMP 07

๑๕๑

(๒) ตองมีระบบที่สามารถตรวจพบไวแอลทีไ่มมีจุกยางหรือปดจุกไมสมบูรณกอนที่จะปดผนึกดวยฝา

อะลูมิเนียมและตองคัดออก สําหรับระบบท่ีมีการตรวจสอบความถูกตองแลววาสามารถคัดออกไวแอลที่ไมมี

จุกยางหรือปดจุกไมสมบูรณหลังการปดผนึกดวยฝาอะลูมเินียมจะยอมรับไดแตวิธีคัดออกกอนปดผนกึดวยฝา

อะลูมิเนียมจะดีกวา

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๓๓ ระบบเรสทริกเทดแอกเซสแบริเออร (Restricted access barriers system) ซึ่งเปน

เทคโนโลยีการผลิตสมัยใหมและไอโซเลเตอร อาจมีประโยชนในการใหความมั่นใจตอสภาวะที่ตองการ และ

ลดการที่จะตองมีผูปฏิบัติงานเขาไปในบริเวณปดผนึกดวยฝาอะลูมิเนียม

คําอธิบาย (๑) restricted access barriers system (RABS) และไอโซเลเตอร เปนเพียงวิธีที่แนะนํา อาจใชวิธี

อื่นที่เหมาะสม

หมายเหต ุ -

ขอ ๔๓๔ การปดผนึกเพื่อใหภายในภาชนะบรรจุเปนสุญญากาศ ตองทดสอบการรักษาสภาพ

สุญญากาศตามระยะเวลาที่เหมาะสมที่กําหนดไว

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๓๕ ภาชนะที่บรรจยุาฉีดทุกภาชนะตองตรวจสอบดูส่ิงปนเปอนหรือขอบกพรองอื่น ถาการ

ตรวจสอบทําโดยการดูดวยสายตาตองทําภายใตแสงสวางและฉากหลังที่ควบคุมสภาวะอยางเหมาะสม

ระหวางการตรวจสอบตองหยุดพักสายตาเปนระยะ

ผูปฏิบัติงานนี้ตองผานการตรวจสายตาเปนประจํา ถาผูปฏิบัติงานสวมแวนตาตองตรวจสายตา

พรอมแวนตา ถาใชวิธอีื่นในการตรวจสอบตองตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการนั้น และตองตรวจ

สมรรถนะของเครื่องมือเปนระยะ และบันทึกผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจสอบหาสิ่งปนเปอนหรือขอบกพรองอื่นทุกภาชนะบรรจ ุถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ผูปฏิบัติงานไมมีรายงานผลการตรวจสอบสายตา ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การควบคุมคณุภาพ

ขอ ๔๓๖ การทดสอบความปราศจากเชื้อในผลิตภัณฑสําเร็จรูปเปนมาตรการลําดับสุดทายของการ

ควบคุมเพื่อการประกันความปราศจากเชือ้ การทดสอบสําหรับผลิตภัณฑแตละชนิดตองผานการตรวจสอบ

ความถูกตอง

Page 156: ร่าง GMP 07

๑๕๒

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของวิธีการทดสอบความปราศจากเชื้อของผลิตภัณฑ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๓๗ ในกรณีที่อนุมัติใหใชการปลอยผานโดยพาราเมตริก ตองเนนเปนพิเศษในการตรวจสอบ

ความถูกตองและการตรวจติดตามกระบวนการผลิตทั้งหมด

คําอธิบาย (๑) การปลอยผานโดยพาราเมตริกตองขออนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

(๒) ศึกษาตาม PIC/S Recommendation on Guidance on Parametric Release PI 005-3

25 September 2007 หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๔๓๘ ตัวอยางที่ใชในการทดสอบความปราศจากเชือ้ตองเปนตัวแทนของทั้งรุน โดยเฉพาะตอง

รวมถึงตัวอยางจากสวนของรุนผลิตที่พิจารณาแลววามีความเสี่ยงในการปนเปอนมากทีสุ่ด ตัวอยางเชน

(๑) ผลิตภัณฑที่ทําการบรรจุโดยกระบวนการปราศจากเชื้อ ตองเก็บตัวอยางของภาชนะที่บรรจุ

ในตอนเริ่มตนและตอนสุดทายของรุนและภายหลังจากมีเหตุการณที่มีการขัดจังหวะการทํางานที่มีนัยสําคัญ

ผลิตภัณฑที่ทําใหปราศจากเชือ้ดวยความรอนในภาชนะสุดทาย ตองเก็บตัวอยางผลิตภัณฑจากสวนที่วางไว

บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ําที่สุดในตู

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมปฏิบัติตามขอกําหนด ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

Page 157: ร่าง GMP 07

๑๕๓

หมวด ๑๙ ระบบที่ใชคอมพิวเตอร

หลักการ การนําระบบที่ใชคอมพวิเตอรมาใชในระบบการผลิต การจัดเก็บ การกระจาย และการควบคุม

คุณภาพ ตองไมสงผลกระทบตอหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตซึ่งกําหนดไวในประกาศกระทรวง

สาธารณสุขฉบับนี้ ในกรณีมีการนําระบบที่ใชคอมพิวเตอรมาใชแทนการดําเนินการดวยบุคลากร ตองไม

เกิดผลกระทบตอคุณภาพและการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ รวมถึงควรพิจารณาถึงความเสี่ยงของ

ประเด็นที่สูญเสียไปของระบบเดิมอันเนื่องจากการลดการมีสวนรวมของผูปฏิบัติงาน

บุคลากร ขอ ๕๑๔ บุคลากรหลักและผูที่เกี่ยวของกับระบบท่ีใชคอมพิวเตอรตองมีความรวมมือกันอยาง

ใกลชิด บุคลากรตองไดรับการฝกอบรมที่เหมาะสมเกี่ยวกบัการจัดการ และการใชระบบคอมพิวเตอรที่อยูใน

ขอบเขตความรบัผิดชอบของตน รวมถึงตองมั่นใจวามีผูเชี่ยวชาญที่เหมาะสมในการใหคําแนะนําแกบุคลากร

เกี่ยวกับการออกแบบ การตรวจสอบความถูกตอง การติดตั้ง และการดําเนินงานของระบบที่ใชคอมพวิเตอร

คําอธิบาย - หมายเหต ุ (๑) ถาบุคลากรไมไดรับการฝกอบรมท่ีเหมาะสมเกี่ยวกบัการจัดการและการใชระบบคอมพิวเตอร

หรือไมมีผูเชี่ยวชาญในการใหคําแนะนําแกบคุลากร ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

การตรวจสอบความถูกตอง ขอ ๕๑๕ ขอบเขตในการตรวจสอบความถูกตองขึน้อยูกับปจจัยหลายประการ ซึ่งจะตองให

ครอบคลุมถึงการใชงานของระบบที่นํามาใช ที่ตองตรวจสอบความถูกตองกอนการใชงานหรือหลังการใชงาน

และกรณีมีการเพิ่มเติมสวนประกอบใหมเขาไปในระบบ

การตรวจสอบความถูกตองควรพิจารณาวาเปนสวนหนึ่งของวงจรชีวิตของระบบที่ใชคอมพิวเตอร ซึ่ง

ประกอบดวยขัน้ตอนการวางแผน การจัดทําขอกําหนด การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การทดสอบ

ระบบภายหลังการติดตั้ง ระบบเอกสาร การใชงาน การติดตามผล และการเปลี่ยนแปลงระบบ

คําอธิบาย การตรวจสอบความถูกตองกอนการใชงาน หมายถึง การตรวจสอบความถูกตองกอนการใชระบบ

คอมพิวเตอร (prospective validation)

Page 158: ร่าง GMP 07

๑๕๔

การตรวจสอบความถูกตองหลังการใชงาน หมายถึง การตรวจสอบความถูกตองยอนหลังของการใช

ระบบคอมพิวเตอร (retrospective validation) หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบความถูกตองของระบบที่ใชคอมพิวเตอร ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ระบบ ขอ ๕๑๖ ตองจัดวางเครื่องมือใหเหมาะสมเพื่อไมใหปจจัยจากภายนอกมารบกวนระบบ

ขอ ๕๑๗ ตองจัดทํารายละเอียดคําอธิบายของระบบรวมถึงแผนภาพไวเปนลายลักษณอักษร และ

มีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ โดยระบรุายละเอียดของหลักการ วัตถุประสงค มาตรการรักษาความ

ปลอดภัย ขอบเขตของระบบ และจุดมุงหมายหลักในการใชคอมพิวเตอร รวมถึงแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธ

ของระบบทีใ่ชคอมพิวเตอรกบัระบบอื่นและวิธีการปฏบิัติอืน่

คําอธิบาย ปจจัยภายนอกที่อาจรบกวนระบบได เชน อุณหภูมิ ความชื้น สนามแมเหล็ก ฯลฯ (ผูใชงาน

จําเปนตองศึกษาคูมือการใชงานของเครื่องมือน้ันๆ) หมายเหต ุ ไมมีการจัดทําเอกสารรายละเอียดคําอธบิายของระบบ รวมถึงแผนภาพไวเปนลายลักษณอักษร และ

ไมมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๑๘ ซอฟตแวรเปนสวนประกอบสําคัญของระบบทีใ่ชคอมพิวเตอร ผูใชซอฟตแวรตองปฏิบัติ

ตามทุกขั้นตอนอยางสมเหตุสมผล เพื่อใหมั่นใจวามีความสอดคลองกับระบบประกันคุณภาพ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการใชซอฟตแวร ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๑๙ ควรมีระบบตรวจสอบที่ติดตั้งอยูภายในระบบที่ใชคอมพิวเตอร เพื่อสําหรับใชตรวจสอบ

การปอนและการประมวลผลขอมูลที่ถูกตอง

คําอธิบาย ระบบตรวจสอบ เชน หากมกีารปอนขอมูลผิดเงื่อนไขจะมีขอความเตือนเกิดขึ้น หรือใหมีการยืนยัน

กอนการลบขอมูลที่สําคัญทิ้ง หมายเหต ุ ไมมีระบบตรวจสอบที่ติดตั้งอยูภายในระบบที่ใชคอมพิวเตอร สําหรับใชตรวจสอบการปอนและการ

ประมวลผลขอมูลที่ถูกตอง ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๐ กอนนําระบบทีใ่ชคอมพวิเตอรมาใชงาน ตองทําการทดสอบและยืนยันประสิทธิภาพวา

สามารถทํางานไดผลตามตองการ และหากมีการนําระบบที่ใชคอมพิวเตอรเขามาแทนที่การทํางานดวยมือ

ตองมีการใชงานคูขนานกันไประยะหนึ่งกอน โดยถือวาเปนสวนหนึ่งของการทดสอบและการตรวจสอบความ

Page 159: ร่าง GMP 07

๑๕๕

ถูกตองของระบบดวย

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการทดสอบและยืนยันประสิทธิภาพของการทํางานของระบบคอมพิวเตอร ถือเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๕๒๑ การปอนและการแกไขขอมูล ตองทําโดยผูที่ไดรับมอบอํานาจเทานั้น ตองมีวิธีการที่

เหมาะสมสําหรับปองกันมิใหผูที่ไมไดรับมอบอํานาจเขาถึงขอมูล ตัวอยางเชน การใชกุญแจ บัตรผาน รหัส

สวนบุคคล หรอืการหามมิใหเขาถึงจุดใชคอมพิวเตอร

ควรมีวิธีการปฏิบัติสําหรับการมอบอํานาจ การยกเลิก การเปล่ียนแปลงอํานาจในการปอนและการ

แกไขขอมูล รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรหัสสวนบุคคล รวมถึงควรมีระบบการบันทึกความพยายามที่จะเขาสู

ระบบของผูที่ไมไดรับมอบอาํนาจ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการมอบอํานาจ การยกเลิก การเปล่ียนแปลงอํานาจในการปอน

และการแกไขขอมูล หรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานวิธีการปฏบิัติ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๒ เมื่อมีการปอนขอมูลสําคญัดวยมือ ตัวอยางเชน น้ําหนักและหมายเลขรุนของ

สวนประกอบระหวางการชั่ง ตองมีการตรวจสอบขอมูลทีบ่นัทึกวาถูกตอง ตัวอยางเชน การตรวจสอบโดย

ผูปฏิบัติงานคนที่สอง หรือโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสที่ผานการตรวจสอบความถูกตองแลว

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ไมมีการตรวจสอบซ้าํ (double check) ขอมูลสําคญัที่บันทึกเมื่อมีการปอนดวยมือ ถอืเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๓ ตองมีระบบการบันทึกผูปฏิบตัิงานที่ปอนหรือยืนยันขอมูลสําคัญ การแกไขขอมูลตอง

จํากัดเฉพาะผูที่ไดรับมอบอํานาจเทานั้น การเปล่ียนแปลงขอมูลสําคัญตองไดรับการมอบอํานาจและมีการ

บันทกึเหตุผลในการเปลี่ยนแปลง รวมถึงควรมีระบบบันทึกการปอน/การเขาถึง และการแกไขขอมูล

คําอธิบาย - หมายเหต ุ ระบบไมมีการบันทึกเพื่อบงบอกผูปฏิบัติงานที่ปอนหรือยืนยัน หรือเปล่ียนแปลงขอมูลสําคญั ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๔ การเปลี่ยนแปลงระบบหรือโปรแกรมคอมพวิเตอร ควรทําตามวิธกีารปฏิบัติที่กําหนดไว ซึ่งจะตองมี

การตรวจสอบความถูกตอง การตรวจสอบ การรับรอง และการนําไปปฏบิตัิ

การเปลี่ยนแปลงนี้ตองทําภายใตความเห็นชอบจากผูรับผิดชอบในสวนของระบบที่เกี่ยวของ และมี

Page 160: ร่าง GMP 07

๑๕๖

การบันทึกไว

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีมาตรฐานวิธีการปฏบิัติสําหรับการควบคุมการเปลี่ยนแปลงระบบหรอืโปรแกรมคอมพิวเตอร ถือ

เปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๕ ตองสามารถพมิพขอมูลท่ีจัดเก็บโดยอิเล็กทรอนิกส เพื่อสําหรับใชในการตรวจประเมิน

คุณภาพ

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมสามารถพมิพขอมูลหรือเรียกขอมูลที่จัดเก็บไวโดยอิเล็กทรอนิกส เพื่อการตรวจประเมนิคุณภาพได

ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๖ ควรจัดเก็บขอมลูใหปลอดภัยดวยการใชวิธีทางกายภาพหรืออิเล็กทรอนิกส เพื่อปองกัน

ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นโดยจงใจหรือโดยอุบัติเหตุ และตองเปนไปตามที่ระบุไวในหมวด ๔ ขอ ๘๒ ของ

ประกาศกระทรวงสาธารณสขุฉบับนี้

ขอมูลที่จัดเก็บไวควรมีการตรวจสอบการเขาถึง ความคงทน และความถูกตองแมนยาํ ถามีการ

เปล่ียนแปลงอุปกรณหรือโปรแกรมคอมพวิเตอร ควรทําการตรวจสอบขอมูลที่จัดเก็บตามที่กลาวมาขางตน

ดวยความถี่ที่เหมาะสมกบัอปุกรณ (ส่ือ) ที่ใชในการจัดเก็บนั้น

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมจัดเก็บขอมลูใหปลอดภัยดวยการใชวิธีทางกายภาพหรืออิเล็กทรอนิกส เพื่อปองกันความเสียหาย

ที่อาจเกิดขึ้นโดยจงใจหรือโดยอุบัติเหตุ ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอมูลที่จัดเก็บไวไมไดรับการตรวจสอบการเขาถึง ความคงทน และความถูกตองแมนยาํ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ไมมีการตรวจสอบในกรณมีีการเปล่ียนแปลงอุปกรณหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร ถอืเปนขอบกพรอง

สําคัญ

ขอ ๕๒๗ ตองปองกันการสูญหายของขอมูลดวยวิธกีารสํารองขอมลูเปนประจําอยางสม่ําเสมอ

และควรจัดเก็บขอมูลสํารองไวนานเทาที่จําเปนในสถานที่ปลอดภัยและแยกบริเวณออกมาตางหาก

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการปองกนัการสูญหายของขอมูลดวยวธิีการสํารองขอมูลเปนประจําอยางสม่ําเสมอ ถือเปน

ขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๘ กรณีที่มีเหตุการณระบบขัดของหรือหยุดทํางาน ตองจัดใหมีวธิีการจัดการที่เปนทางเลือก

Page 161: ร่าง GMP 07

๑๕๗

อื่นใหเพียงพอที่จําเปนตอการดําเนินงานแทน โดยเวลาที่ใชในการนําทางเลือกอื่นมาใชแทนตองสัมพนัธกับ

ความเรงดวนและความจาํเปนที่ตองการใชระบบดังกลาว ตัวอยางเชน ขอมูลที่ใชในการเรียกคืนผลิตภัณฑ

ตองจัดใหมีไดในชวงเวลาอันสั้น

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีวธิีการจัดการที่เปนทางเลือกอื่นใหเพียงพอที่จําเปนตอการดําเนินงานแทนในกรณีที่มีเหตุการณ

ระบบขัดของหรือหยุดทํางาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๒๙ ตองกําหนดวิธีการปฏิบัติและมีการตรวจสอบความถูกตอง หากระบบขัดของหรือหยุด

ทํางาน ทั้งนี้ควรมีการบันทึกเกี่ยวกับขอขัดของและการดําเนินการแกไข

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการกําหนดมาตรฐานวิธกีารปฏิบัติและไมมีการตรวจสอบความถูกตอง หากระบบขัดของหรือ

หยุดทํางาน ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๓๐ ตองจัดทําวิธีการปฏิบัติในการบันทึกและวิเคราะหความผิดพลาด เพื่อใหสามารถทําการ

ปฏิบัติการแกไข

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีการจัดทํามาตรฐานวิธีการปฏิบัติสําหรับการบันทึกและวิเคราะหความผิดพลาด เพื่อใหสามารถ

ทําการปฏิบัติการแกไขได ถือเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๓๑ กรณีที่ใชหนวยงานภายนอกมาใหบริการดานคอมพิวเตอร ตองมีขอตกลงอยางเปนทางการที่มี

รายละเอียดชัดเจนถึงความรับผิดชอบของหนวยงานดังกลาวตามที่ระบุไวในหมวด ๗ ของประกาศกระทรวง

สาธารณสุขฉบับนี้

คําอธิบาย - หมายเหต ุ

ไมมีขอตกลงทีม่ีรายละเอียดชดัเจนถึงความรับผิดชอบของหนวยงานภายนอกที่มาใหบริการดาน

คอมพิวเตอร ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ

ขอ ๕๓๒ กรณทีี่มีการนําระบบที่ใชคอมพวิเตอรมาใชในการปลอยผานผลิตภัณฑเพื่อจําหนาย

ระบบนั้นตองยอมใหเฉพาะผูที่ไดรับมอบหมายเทานั้นสามารถปลอยผานได และตองสามารถบันทึกและบง

บอกไดอยางชดัเจนวาบุคคลใดเปนผูปลอยผาน

คําอธิบาย -

Page 162: ร่าง GMP 07

๑๕๘

หมายเหต ุไมมีการกําหนดผูที่ไดรับมอบหมายที่สามารถปลอยผานผลิตภัณฑ และไมมีการบันทึกเพื่อบงบอกได

อยางชัดเจนวาบุคคลใดเปนผูปลอยผาน ถอืเปนขอบกพรองสําคัญ