งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก...

31

Transcript of งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก...

เจ ้าพระยาพระคลัง (หน)

ท่านเป็นกวีเอกคนหนึ่งในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น มีนามเดิมว่าหน เกิด

เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด และถึงแก่ อสญักรรม ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ประมาณปี

พ.ศ. ๒๓๔๘

ผู้แต ่ง

มาจากร ่ายยาวมหาเวสสนัดร ชาดก ซึง่เปน็ชาดกเร ื่องท ี่ย ิง่ใหญ่

ที่ส ุด โดยกล่าวถ ึงเร ือ่งราวของพระโพธสิตัว ์ซ ึ่งเสวยพระชาติเปน็พระ

เวสสนัดร เด ิมแต ่งเปน็ภาษาบาล ี ต ่อ มามีการแปลเป ็นภาษาไทย ในสมัย

กรุงส ุโขไทย

ที่มาของเร ื่อง

๑ . ลักษณะคำาประพันธ ์

แต่งเป ็นร ่ายยาว มีพระคาถาภาษา บาล ีน ำา และพรรณนาเน ื้อความโดยมี

พระคาถาสล ับเป ็นตอนๆ ไปจนจบ กัณฑ์

๒ . โครงเร ื่อง/ เร ื่องย ่อ๒ . ๑ เร ื่องยอ่

ร ุ่งเช ้าพระนางม ัทร ี เข ้าปา่หาผล ไม้ "เก ิดเหต ุแปลกประหลาด

มหัศจรรย ์ ผลไม ้เผ ือกม ันช่างหายาก ที่ส ุด ไม ่ว ่าจะเป ็นมะม ่วงม ัน ล ูกจ ันทน์ ลิ้นจ ี่ น ้อยหน่า สาล ี่ ละม ุด พุทรา ไมม่ ี

ให้เก ็บเหม ือนดงัก ับว ันก ่อน นางร ีบ ย้อนกลับเคหา ก็เก ิดพายใุหญ่ จนมืด

ครึ้มไปทั่วท ั้งปา่ ท ้องฟ้าส ีแดงปาน เล ือดละเลง ทั้งแปดทศิปรากฎมืดมน

ไปหมดอยา่งไม ่เคยมี พระนางทรง ห่วงหน้าพะวงหลัง เกรงจะม ีภ ัยแต ่

พระเวสสนัดร กัณหาและชาล ี

พระนางมทัร ีร ีบยกหาบใสบ่า่ร ีบเด ิน ทาง พอถึงชอ่งแคบระหว ่างเขาครี ี เปน็

ตรอกนอ้ยรอยว ิถ ีทางท ี่เฉพาะจะต ้องเสด ็จ ผา่น ก็พบกับสองเสอืสามสตัว ์มานอนสกัด หน้า เทวดาสามองคแ์ปลงร ่างเปน็ราชสหี ์

เสอืเหล ือง เสอืโคร ่งสก ัดทางนางไว ้เพ ื่อม ิ ให้พระนางมทัร ีต ิดตามกัณหา ชาลีได ้ท ัน

แต่ถ ึงกระน ั้น เม ือ่ยามทุกข ์เขา้บบีค ัน้ ความร ักลกู ความห่วงพระภัสดา พระนาง

จ ึงก ้มกราบว ิงวอน ขอหนทางต ่อพญาสตัว ์ ทั้งสาม เม ือ่ได ้หนทางแล ้ว พระนางก็ร ีบ

เสด ็จกล ับอาศรมมือ่มาถ ึงอาศรม ไมพ่บ กัณหา ชาลี พระนางก็ร ้องเร ียกหาคร ั้น

เข ้าไปถามพระเวสสนัดรก็ถ ูกต ัดพ้อตอ่ว ่า ต่าง ๆ จนพระนางมทัร ีถ ึงว ิสญัญีภาพสลบ

ลง พระเวสสนัดรทรงปฐมพยาบาลจนพระ นางมทัร ีฟ ื้น แล ้วจ ึงแจ ้งความจร ิงว ่า

พระองคไ์ด ้ทรงยกลูกร ักชายหญิงท ั้งสอง มอบให้แก ่ชชูกไปแลว้ต ั้งแต ่เม ื่อวาน

พระนางก็อนโุมทนาซึง่ทานนั้นด ้วย

๒ .๒ แก่นเร ื่อง

กล ่าวถ ึงพระนางม ัทร ีเข ้าป ่าหาผล ไม้ แล ้วเจอเหตุการณ์มหัศจรรยต์ ่าง

ๆ จ ึงเด ินทางกล ับอาศรม ก็เก ิดพาย ุ ใหญ่ ม ืดคร ึ้มไปทั่วบร ิเวณ อีกท ั้งยงัม ี

สงิห ์สาราสตัว ์ร ้าย มาขวางทางไว ้ เม ื่อมาถ ึงอาศรมได้ทราบความ ทำาให้

พระองคเ์ส ียพระทัยมาก จนสลบไป หลังจากฟื้นค ืนสต ิกล ับมา พระนางก็

อน ุโมทนากับพระเวสส ันดรด้วย

๒ . ๓ ตัวละคร

๑ . พระเวสสนัดรเปน็ต ัวละครทีม่ ีบทบาทสำาคญัอย ู่

ในวรรณคดเีร ื่องร ่ายยาวมหา เวสส ันดรชาดก มีช ื่อเร ียกต ่างๆก ัน

เชน่ หน่อพระชินศร ีโมล ีโลก สมเดจ็ พระบรมนราพิส ุทธ ิ์พทุธางก ูร เป ็นต ้น

เปน็พระโอรสของพระเจ ้ากร ุงสญชัย และพระนางผุสด ีแห ่งเม ืองสพี ี ม ี

อุปน ิสยัและพฤติกรรมที่ส ำาคญัค ือ การบร ิจาคทาน

๒ . พระนางม ัทร ี พระนางม ัทร ี

เปน็ต ัวละคร ประกอบอยู่ในวรรณคดเีร ื่องร ่าย

ยาวมหาเวสส ันดรชาดกมีช ือ่ เร ียกต ่างๆ ก ัน เช ่น พระ

ส ุณิสา ศร ีสะใภ้ นาง แก้วก ัลยาณี เป ็น ต้น

และเป ็นพระมารดาของ กัน หา ชาลี มอี ุปน ิสยัท ี่ส ำาคญัค ือ

ร ัก ลูกร ักสาม ี คอยดูแลพระเวสส ันดรและล ูก

๓ .พระชาล ี พระชาล ี เป ็นต ัวละครประกอบอยู่

ในวรรณคดเีร ื่องร ่ายยาวมหา เวสส ันดรชาดกมีช ือ่ เร ียกต ่างๆ เช ่น

พ่อสายใจ พ่อหน่อน ้อยภาคไีนยนาถ เปน็ต ้น เป ็นพระเชษฐาของพระกัณห

า เม ื่อเวลาประส ูต ิพระประยรูญาติได ้ ทรงนำาตาข่ายทองมารองร ับ จ ึงได ้ร ับ

พระราชทานนามว ่า ชาล ี แปลว ่าผ ูม้ ี ตาขา่ย

๔ . พระกัณหา พระกัณหา หรือ ก ัณหาชินา เปน็

ต ัวละครประกอบอยูใ่นวรรณคดีเร ื่องร ่ายยาวมหาเวสส ันดรชาดกเปน็พระธ ิดาของพระเวสสนัดรและพระนา

งมทัร ี เปน็พระนัดดาของพระเจ ้ากร ุง สญชัยและพระนางผุสด ี และเป ็นพระ

กนิษฐาของพระชาล ี พระก ัณหาเปน็ผ ู้หน ึ่งท ี่ท ำาให ้พระเวสสนัดรได้บาเพญ็บ ุตรทานบารมีซ ึ่งเป ็นทานอันย ิง่ใหญ่ท ี่มน ุษยท์ ั้งหลายไม่สามารถทาได้นอกจากมหาบรุ ุษผ ู้ทรงหว ังพระ

โพธญิาณเท่าน ั้น

๕ . ชชูก ชูชก เป ็นต ัวละคร

ประกอบอยู่ในวรรณคดีเร ื่องร ่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป ็นผ ูเ้ก ิดในตระก ูล

พราหมณ์โภวาทิกชาต ิซ ึ่งเป ็นพราหมณ์ พวกที่ถ ือตนว ่าม ีก ำาเน ิดส ูงกว ่าผ ูอ้ ื่นม ัก

“ ” “ ” ใช้ค ำาว ่า โภ แปลว ่า ผ ู้เจร ิญ เป ็นค ำา ร ้องเร ียก

แม้ช ูชกจะเก ิดในตระก ูล พราหมณ์ท ีถ่ ือตนว ่าม ีก ำาเน ิดส ูงกว ่า ผ ู้

อื่นแตช่ ูชกก ็ยากจนเข็ญใจยิ่ง ตอ้ง เท ี่ยวขอทานเขาเล ี้ยงช ีพ ม ีร ูปร ่าง

หน้าตาน่าเกล ียดประกอบด้วยบุร ุษ โทษทั้ง

๑๘ ประการ

ลักษณะนิสยัของชูชกคอื ม ีความ ตระหนี่เหน ียวแน่น ขอทานได้มาก

เท ่าไรก ็เก ็บไว ้ไม ่ยอมนำาไปใช้จ ่าย ม ี ความโลภ ร ักและหลงเม ีย ยอมให้

นางทุกอย ่าง เปน็คนฉลาดแกมโกง มี เล ่ห ์เหล ี่ยมมาก ฉลาดทัง้ในด้านการ พดูและกลอุบาย มีความละเอ ียด

รอบคอบในการใช้กลอ ุบายและม ีความยดึม ั่นในพิธทีางไสยศาสตร ์

๓ . ว ิเคราะห ์ฉาก

ในเร ื่องมหาเวสสนัดรชาดก กัณฑ์ มัทร ี ม ีการกล ่าวถ ึงฉากต่าง ๆ เช ่น

ฉากในป่า ฉากในเขาวงกต ซึ่งม ีการ ใช้ภาพพจน์ต ่าง ๆ มาประกอบเพื่อให ้

ผู้อ ่านเห ็นภาพได้งา่ยย ิง่ข ึ้น

๔ . กลวิธ ีการด ำาเน ินเร ื่อง

เปน็การแต่งท ี่น ักเขยีนเปน็ผ ู้เล ่า สลับก ับต ัวละครเล ่าเป ็นบางสว่น

๑ .คุณค่าทางด ้านวรรณศิลป ์

๑ . ๑ ใช้ถ ้อยค ำาไพเราะ ม ีการ เล ่นค ำา เล ่นส ัมผสัอ ักษร มกีารใช้

โวหารภาพพจน์ และการพรรณนาให้ เก ิดความร ู้สกึท ี่ละเอ ียดอ ่อน รวมทั้ง

เก ิดจ ินตภาพชัดเจน๑ . ๒ เนื้อหาของกัณฑ์ม ัทร ีแสดงให้

เห ็นถ ึงความสมัพนัธร์ะหว ่างธรรมชาติก ับอารมณ์ความร ู้ส ึกของ

ตัวละครได้อยา่งช ัดเจน จะเห ็นได ้จากตอนที่เก ิดเร ื่องร ้ายแก่พระนา

งม ัทร ีขณะที่หาพลาหารอยูใ่นปา่

การใช้ภาษา

- การเล ือกเส ียงของคำา ม ีการเล ียนเสยีงธรรมชาติ

- มกีารใช้ล ีลาจ ังหวะ เส ียงหนักเบา เชน่ ในบทโกรธ

- มกีารเล ือกความหมายของคำาให้เหมาะสมกับเน ื้อเร ื่องและล ักษณะ

ของร ้อยกรอง- มกีารเล ่นค ำา เช ่น การซำ้าค ำา การเล ่น

อักษร การเล ่นเสยีง

โวหารภาพพจน์

อุปมา คือ การเปร ียบเท ียบส ิ่งหนึ่ง เหม ือนอ ีกส ิง่หน ึ่ง เช ่น

“… ทา้วเธอก็ข ังข ึงต ึงพระองค ์ ด ู เหม ือนทรงพระขัดเคอืงเต ็มเด ือด

ด้วยอ ันใด นางก็เศร ้าสร ้อยสลด พระทัย ด ั่งเอาเหล ็กแดงมาแทงใจให้ เจ ็บจ ิต น ี่เหล ือทน

อุปมาเหมือน คนไข้หนักแล ้วม ิหน ำายงัแพทยเ์อายาพิษมาวางซำ้าให ้

เวทนา เห ็นชีวาน ี้คงจะไม ่รอดไปสักก ี่ว ัน…”

อติพจน์ คือ การกล ่าวเก ินจร ิง เช ่น“…ฝ่ายฝูงเทพยทุกสถานพิมานไม้

ไศลเกร ิ่นเน ินแนวพนาวาส ได้สด ับ คำาประกาศสองกุมาร ทรงส ัง่สาสน์จน

สุดเสยีง ด ังท ิพยาพิมานจะเอนเอ ียงอ ่อนลงช้อยชด…”

สทัพจน์ คือ การใช้ค ำาเล ียนเสยีง ธรรมชาติ เช ่น

“แต่ยา่งเหยยีบเกร ียบกรอบก็เหล ียว”หลัง

รสวรรณคดี เสาวรจนี (การชมความงาม ) เชน่

ใครได้เห็นเปน็ขวัญตาเต็มหลงละลายทุกข์ ปลุกเปลื้องอารมณ์ชายให้เชยชื่น จะต้องนั่ง

นอนเดินยืนก็ต้องอย่าง พร้อมด้วยเบญจางคจริตรูปจำาเริญโฉมประโลมโลกล่อแหลมวิไลลักษณ์

พ ิโรธวาทัง/ ร ุทรรส (รสแห่งความโกรธ) เชน่

ทำาเปน็บบีนำ้าตาตีอกว่าลูกหาย ใครจะไม่รู้แยบคายความคิดหญิงถ้าแม้นเจ้าอาลัยอยู่ด้วย

ลูกจริงๆเหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเข้ามาแต่วี่วัน ไม่ทันรอน เออนี่เจ้าเที่ยวพเนจรนอนตามสนุก

ใจ

สลัลาปงัคพิสยั (รสแห่งความโศกเศร ้า ) เชน่ นางเสวยพระอาดูรพูนเทวษในพระอุรา นำ้า พระอัสสชุลนาเธอไหลนองคลองพระเนตร ทรง

พระกันแสงแสนเทวษพิไรรำ่า ตั้งแต่ประถามยาม คำ่าไม่หย่อนหยุดแต่สักโมงยาม

หาสยรส (รสแห่งความขบขนั ) เชน่ อนิจจามัทรีเอ่ย มาตายอเนจอนาถไร้ญาติที่

กลางดง ครั้นท้าวเธอคลายลงที่โศกศัลย์ จึ่งผนัพระพักตร์มาพิจารณก็รู้ยังไม่อาสัญ

กร ุณารส (รสแห่งความเมตตากร ุณาที่เก ิดภายหลังความโศกเศร ้า ) เชน่

เมื่อท้าวเธอมิได้เห็นพระเจ้าลูกก็จะทูลถาม ครั้นแจ้งว่าพราหมณ์มันพาไป นางก็จะอาลัย โลดแล่นไปตามติดไม่คดิตาย คิดไปแล้วใจหาย

เห็นน่านนำ้าตาตก โอ้อกมัทรีเอ่ย จะเสวยพระทุกข์แทบชีวิตจะปลิดปลงด้วยพระลูกรักทั้งสองพระองค์นีแ้ล้วแล

ศานตริส (รสแห่งความสงบ ) เชน่ พระนางจึ่งตรัสว่า พระพุทธเจ้าข้าอันสอง

กุมารนี้ เกล้ากระหมอ่นฉานได้อุตสาหะถนอม ย่อมพยาบาลบำารุงมา ขออนุโมทนาด้วยปยิบตุร

ทานบารมี ขอให้นำ้าพระหฤทัยพระองค์จง ผ่องแผ้วอย่ามีมัจฉริยธรรมอกุศล อย่ามาปะปน

ในนำ้าพระทัยของพระองค์เลย

๒ .คุณค่าทางด ้านส ังคมและความเช ื่อ

ด้านสงัคม๓ . ๑ ให้แงค่ดิเก ี่ยวก ับบทบาทหนา้ท ี่

ของผ ูห้ญิงในฐานะที่เปน็แม ่และเปน็ ภรรยาที่ด ี ซ ึง่ เปน็ส ิง่ส ำาคญัเหนอืส ิง่อ ื่นใด

๓ . ๒ มหาเวสสนัดรชาดก กัณฑ์มทัร ีสะท ้อนแนวคดิส ำาคญัเก ี่ยวก ับความร ัก

ของแม่ท ี่มตี ่อล ูกอยา่งสดุชวี ิต๓ . ๓ ข้อคดิ คตธิรรม ที่สามารถนำาไป

ใชใ้นชวี ิตประจ ำาว ันของทุกคนได้ เก ี่ยว กับการเปน็ค ูส่ามภีรรยาที่ด ี การเสยีสละ

เปน็คณุธรรมที่นา่ยกย ่อง และการบร ิจาค ทาน เปน็การกระทำาท ี่สมควรได้ร ับการ

อนโุมทนา

ด้านความเช ื่อ ความเช ื่อเร ื่องความฝัน : เห ็นได ้

จากตอนที่พระนางม ัทร ีตามหาสอง กุมารไม ่พบ พระนางเส ียใจมากเกรง

ว ่าล ูกจะเป ็นอ ันตรายเหมือนในความ ฝัน ด ังค ำาประพนัธ ์ว ่า“…จึงตร ัสว ่าเจ ้าดวงมณฑาทองทั้ง

คู่ของแม่เอ ๋ย หร ือว ่าเจ ้าท ิ้งขว ้างวาง จิตไปเก ิดอ ืน่ เหม ือนแม่ฝ ันเม ื่อค ืนน ี้

แล ้วแล…”

ความเช ื่อเร ื่องเทวดา : ปรากฏอยู่ หลายตอน แต่ท ี่ช ัดเจนสุดคอื ตอนที่

เทพอันด ับท ั้ง ๓ องค ์ น ิม ิตกายเป ็นราชสหี ์และเสอืไปนอนขวางทางเพ ื่อให ้พระนางม ัทร ีเสดจ็กล ับอาศรมไม่

ได้ก ่อนพระอาทิตยต์ก ดังค ำาประพันธ ์ว ่า

“…สว่นเทพยเจ ้าจอมสากลจึงมเีทว ยุบลบงัคบั แก ่เทพยอันด ับท ั้งสามองค ์ อ ัน

ทรงมหิทธฤิทธศิ ักดาว ่า ท ่านจงพากัน นฤมติบดิเบอืนกายกลายอินทร ีย ์ เปน็

พระยาราชสหี ์สองเสอืสามสตัว ์สก ัดหนา้นางพระยาม ัทร ีไว ้ต ่อท ิพากรคลาไคล

คล้อยเย ็น เห ็นดวงพระจ ันทร ์ข ึ้นมาอย ู่ รางๆ ท่านจ ึงล ุกหล ีกหนทางให้แก ่นางงาม

ส ่วนเทพยเจ ้าท ั้งสามก็อ ำาลาล ีลาศผาดแผลงจ ำาแลงเปน็พญาไกรสรราชผาดแผด

เสยีงสนั่น ด ังสายอสันลี ั่นตลอดปา่ องค ์ หนึง่เปน็พยัคฆ ์พระยาเสอืโคร ่งค ำารนร ้อง

อ ีกองคห์น ึง่ เปน็เสอืเหล ืองเน ือ่งคะนอง ย่องหยัดสะบดับาท ต่างองคก์ระท ำา สีหนาทนา่แสยงขน พากันจรดลไปนอน

คลายที่ชอ่งแคบขวางมรรคา ที่พระนางเธอจะเสด ็จส ูพ่ระบรรณศาลานัน้แล…”

สังเคราะห ์ข ้อค ิดa. ทุกคนต้องประสบกับการส ูญเสยีส ิง่อ ัน

เปน็ท ี่ร ัก จ ึงต ้องเตร ียมใจและยอมร ับb. ความร ักของแมน่ ัน้ย ิ่งใหญ่ ยอมล ำาบาก

ได้ท ุกอย ่างเพ ื่อล ูก ล ูกจ ึงตอ้งทดแทนพระคณุแม ่และร ักแมใ่ห ้มากเชน่เด ียวก ัน

c. สาม ีภรรยาที่ด ีควรร ่วมทุกข ์ร ่วมสขุและ สง่เสร ิมซ ึ่งก ันและก ัน ด ังเชน่พระนางมทั

ร ีท ี่ตามเสด ็จมาดูแลปรนนบิตั ิพระเวสสนัดรโดยไม่ค ำานงึถ ึงความยาก

ลำาบาก และสง่เสร ิมพระเวสสนัดรในการทำาปยิบตุรทาน

d. เราควรเปน็ผ ูใ้ห ้มากกว ่าผ ูร้ ับe. เราควรหมัน่ท ำาความดีเพราะความดีจะ

ท ำาให ้มคีวามสขุ