การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่...

5

description

ครั้งสุดท้ายของการเป็น นักเรียนปริญญาโท

Transcript of การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่...

Page 1: การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓
Page 2: การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓

139

ซีโรทยัป์และการดือ้ยาต้านจุลชีพของเชือ้ซัลโมเนลลาที่เพาะแยกได้จากสุกรพนัธ์ุในพืน้ที่เชียงใหม่-ล าพนู

Serotypes and Antimicrobial Resistance of Salmonella spp. from Swine Breeder in Chiang Mai-Lamphun

กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์1/ดนัย สินธุยะ1/ภาคภมิู ตาดื1/พชรพร บุญโคตร1/

และ ประภาส พัชนี1/* Kittipong Kumpapong1/, Danai Sinthuya1/, Pakpoom Tadee1/, Phacharaporn Boonkot1/

and Prapas Patchanee1/*

Abstract: The objective of this study was investigated the serotypes and antimicrobial resistance of Salmonella spp. from swine breeder in Chiang Mai-Lamphun, Thailand. 160 fecal samples were collected from swine breeder and cultured by conventional microbiological methods following ISO 6579:2002. Salmonella Rissen (36%) and Salmonella Panama (42%) were highest frequencies serotypes found from sow and boar, respectively. In addition, Salmonella spp. showed the highest resistance to Ampicillin and Streptomycin in swine breeder and founded susceptibility to Amoxicillin-clavulanic acid, Ciprofloxacin and Norfloxacin. Keywords: Antimicrobial resistance, Salmonella spp., swine breeder

1/ คลินิกสกุร ภาควิชาคลินิกสตัว์บริโภค คณะสตัวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยัเชียงใหม ่50100 1/Swine Clinic, Department of Food Animal Clinic, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, 50100 *Corresponding Author, E-mail: [email protected]

Page 3: การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓

140

ค าน า

ประเทศไทยใช้ยาปฏิชีวนะมากกว่าปีละ 10,000 ล้านบาท ในช่วง 10 ปีที่ผา่นมา (ระหว่าง พ.ศ. 2543-2554) โดยมีรายงานการพบเชือ้ดือ้ยาปฏิชีวนะและดือ้ตอ่ยาหลายขนานเพิ่มมากขึน้ ซึ่งคนไทยติดเชือ้ดือ้ยากว่าปีละ 100,000 คน ต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลนานขึน้มากกว่า 1 ล้านวนั และเสียชีวิตกว่าปีละ 30,000 ราย โดยปัจจยัส าคญัที่สง่ผลให้เกิดปัญหาเชือ้ดือ้ยาคือ การใช้ยาปฏิชีวนะมากเกินความจ าเป็นและไม่เหมาะสม อีกทัง้ยงัขาดมาตรการในการควบคุม (สถาบนัวิจัยระบบสาธารณสขุ, 2555) ในปัจจุบัน ปัญหาเชือ้ดือ้ยาต้านจุลชีพในสตัว์เลีย้งของประเทศไทยยังไม่มีการส ารวจในระดับประเทศ ซึ่งปัญหาการใช้ยาต้านจลุชีพในสตัว์เลีย้งที่พบได้บ่อยคือ การได้รับยาไม่ต่อเนื่องและไม่ครบตามระยะเวลาที่ก าหนด ซึ่งท าให้เกิดเชือ้ดือ้ยาและเกิดการตกค้างในเนือ้สตัว์และผลิตภณัฑ์ ที่จะสง่ผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและปัจจบุนัพบวา่เชือ้ซลัโมเนลลา (Salmonella spp.) มีส่วนท าให้เกิดการดือ้ต่อยาปฏิชีวนะภายในฟาร์ม ซึ่งเชือ้ดงักล่าวสามารถเหนี่ยวน าและถ่ายทอดยีนดือ้ยา และสง่ผลให้เชือ้จุลินทรีย์ชนิดอื่นเกิดการดือ้ต่อยาปฏิชีวนะเพิ่มมากขึน้ ทัง้ยังมีรายงานการดือ้ต่อยาปฏิชีวนะหลายชนิด (Multidrug resistant) ของเชือ้ซลัโมเนลลาจึงน าไปสู่ปัญหาวงกว้างในการเลือกใช้ปฏิชีวนะส าหรับใช้รักษาโรคทัง้คนและสตัว์

อุปกรณ์และวิธีการ

งานวิจยัครัง้นีท้ าการหาความชกุซีโรทยัป์และการดือ้ต่อสารต้านจุลชีพของเชือ้ซัลโมเนลลาในสุกรพนัธุ์ในพืน้ท่ีเชียงใหม่-ล าพนู โดยเก็บตวัอย่างอจุจาระสกุรพนัธุ์ทัง้สิน้ 6 ฟาร์มจ านวน 160 ตวัอย่าง แบ่งเป็นอจุจาระสกุรแม่พนัธุ์ 96 ตวัอย่างและอจุจาระสกุรพ่อพนัธุ์ 64 ตัวอย่าง มาตรวจหาเชือ้ซัลโมเนลลาด้วยวิธีการทางจลุชีววิทยาในห้องปฏิบตัิการ

ก า ร ต ร ว จ ห า เ ชื ้อ ซั ล โ ม เ น ล ล า ใ ช้ วิ ธี Conventional methods ซึ่งได้อ้างอิงวิธีการตามมาตรฐาน ISO 6579:2002 กลา่วโดยย่อดงันีค้ือ ชั่งตวัอย่างอุจจาระสกุร 25 กรัม ใสล่งในอาหารเลีย้งเชือ้ Buffered Peptone Water (Merck, Germany) ปริมาณ 255 กรัม (อตัราสว่น 1:10) ตีให้เข้ากนัด้วยเคร่ือง Stomacher (IUL, Spain) เป็นเวลา 2 นาที บ่มที่อณุหภมูิ 37˚C เป็นเวลา 18-24 ชัว่โมง จากนัน้ดดูสารละลายปริมาตร 100 µl ใส่ลงในอาหารเลีย้งเชือ้ Modified Semi-solid Rappaport Vassiliadis (Oxoid, USA) บ่มที่อุณหภูมิ 42˚C เป็นเวลา 24 ชัว่โมง จากนัน้เลอืกโคโลนีท่ีให้ผลบวกมาเพาะเลีย้งต่อบนอาหาร Xylose Lysine Deoxycholate (Oxoid, England) และ Brilliant-green Phenol-red Lactose Sucrose (Merck, Germany) บ่มที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 24 ชัว่โมง จากนัน้เลอืกโคโลนีที่ให้ผลบวกมาทดสอบคณุสมบตัิทางชีวเคมีต่อบน Triple Sugar Iron agar (Oxoid, USA), Urea agar (Merck, Germany) และ Motile Indole Lysine (Difco, USA) น าเชือ้ที ่

บทคัดย่อ: การศกึษานีม้ีวตัถปุระสงค์เพื่อหาซีโรทยัป์และการดือ้ตอ่ยาต้านจุลชีพของเชือ้ซลัโมเนลลาของสกุรพนัธุ์ในพืน้ที่เชียงใหม่-ล าพนู โดยเก็บตวัอย่างอุจจาระสกุรพนัธุ์จ านวน 160 ตวัอย่างมาตรวจเพาะเชือ้ด้วยวิธีทางจุลชีววิทยาตามมาตรฐาน ISO 6579:2002 Salmonella Rissen (36%) และ Salmonella Panama (42%) เป็น ซีโรทัยป์ที่พบสูงสุด ในสุกรแม่พันธุ์และสุกรพ่อพันธุ์ตามล าดับ นอกจากนีพ้บซัลโมเนลลาดือ้ต่อ Ampicillin, Tetracycline สงูสดุในสกุรพนัธุ์ และเชือ้ทกุตวัมีความไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid,Ciprofloxacin และ Norfloxacin ค าน า: การดือ้สารต้านจลุชีพ ซลัโมเนลลา สกุรพนัธุ์

วารสารสัตวศาสตร์แห่งประเทศไทย 1(พิเศษ): 1-4 (2557)

Page 4: การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓

141

agar (Oxoid, USA), Urea agar (Merck, Germany) และ Motile Indole Lysine (Difco, USA) น าเชือ้ที่เพาะแยกได้มาทดสอบการตกตะกอนที่จ าเพาะต่อ O และ H แอนติเจน ด้วยวิธี Slide agglutination ด้วย Antiserum (S&A Laboratory ltd., Thailand) เพื่อจ าแนกกลุม่ของเชือ้ จากนัน้จะท าการตวัอย่างจากสุกรแม่พันธุ์จ านวน 25 ตัวอย่าง และตัวอย่างจาก สกุรพ่อพนัธุ์จ านวน 19 ตวัอย่าง เพื่อตรวจยืนยนัชนิดของซีโรทัยป์และทดสอบการดือ้ต่อยาต้านจุลชีพ ที่ ห้องปฏิบัติ การของศูน ย์ WHO: National Salmonella and Shigella Center (NSSC) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถติ ิ

ค านวณค่าความชุกแบบช่ ว งของ เ ชื อ้ ซัลโมเนลลาในสุกรพันธุ์ที่ระดับความเช่ือมั่นที่ 95% (95% Confidence Interval) การรายงานผลซีโรทยัป์และการดือ้ตอ่สารต้านจลุชีพคิดเป็นร้อยละของจ านวนทดสอบทัง้หมดด้วยโปรแกรม PHStat 2.7 (Add-in for Microsoft office excel®)

ผลการทดลอง

กา รศึ กษาค รั ้ง นี พ้ บความชุ ก ของ เ ชื ้อ ซลัโมเนลลาในสกุรแมพ่นัธุ์จ านวน 24 ตวัอย่างจาก 96 ตวัอย่างร้อยละ 25 (95%, CI: 16.34-33.66) ในสกุรพ่อพนัธุ์พบ 25 ตวัอย่างจาก 64 ตวัอย่างร้อยละ 39 (95% CI: 27.11-51.02) ซีโรทยัป์ที่พบในสกุรแม่พนัธุ์พบซีโรทยัป์ Rissen สูงสุดร้อยละ 36 (9/25) ใน สกุรพ่อพันธุ์พบซีโรทยัป์ Panama สูงสุดร้อยละ 42 (8/19) ในสกุรแม่พนัธุ์พบดือ้ต่อยากลุ่ม Ampicillin, Streptomycin และ Tetracycline สงูสดุร้อยละ 36 ในสุกรพ่อพันธุ์พบดือ้ต่อยากลุ่ม Ampicillin และ Tetracycline ร้อยละ 53 ความไวยาในสุกรแม่ พันธุ์ ไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid, Ciprofloxacin, Norfloxacin และSulfamethoxazole-trimethoprim ร้อยละ 100 เช่นเดียวกับความไว ยาที่พบในสุกรพ่อพันธุ์ โดยพบว่าไวต่อยากลุ่ม Amoxicillin-clavulanic acid, Chloramphenicol, Ciprofloxacin, Cefotaxime, Nalidixic acid และ Norfloxacin ร้อยละ 100 (Table 1)

Table 1 Serodiversity and Antimicrobial resistance of Salmonella isolated from swine breeder, Chiang Mai-Lamphun

Source Serotypes Antimicrobial resistance

n (%) AMP AUG C CIP CTX NA NOR S TE SXT Sow S. Rissen 9(36) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

(Faces) S. Anatum 8(32) 8 0 0 0 0 8 0 8 8 0 S. Lexington 5(20) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 S. Typhimurium 1(4) 1 0 1 0 1 0 0 1 1 0 S. Weltevreden 1(4) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 S. Weltevreden

var 15+ 1(4) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

Sub total 25(100) 9(36) 0 1(4) 0 1(4) 8(32) 0 9(36) 9(36) 0 Boar S. Panama 8(42) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

(Faces) S. Anatum 7(37) 7 0 0 0 0 0 0 6 7 6 S. Typhimurium 2(11) 2 0 0 0 0 0 0 2 2 0 S. Rissen 1(5) 1 0 0 0 0 0 0 0 1 1 S. Senftenberg 1(5) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 Sub total 19(100) 10(53) 0 0 0 0 0 0 8(42) 10(53) 7(37)

ซีโรทยัป์และการดือ้ยาต้านจุลชีพของเชือ้ซัลโมเนลลาที่เพาะแยกได้จากสุกรพันธ์ุในพืน้ที่เชียงใหม่-ล าพูน

Page 5: การประชุมวิชาการทางสัตวศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๓

142

วิจารณ์

ซีโรทยัป์ที่พบการดือ้ยาในสกุรแม่พนัธุ์ได้แก่ Anatum และ Typhimurium โดยซีโรทยัป์ Anatum ดือ้ต่อ Ampicillin, Streptomycin, Nalidixic acid และ Tetracycline ส่วนซีโรทัยป์ Typhimurium ดือ้ต่อ Ampicillin, Streptomycin และ Tetracycline สอดคล้องกบัซีโรทยัป์ Typhimurium ที่พบในสกุรพ่อพนัธุ์ที่ดือ้ต่อ Ampicillin, Streptomycin, Nalidixic acid และ Tetracycline สว่นซีโรทยัป์ Anatum และ Rissen ที่พบดือ้ต่อ Ampicillin, Streptomycin, Tetracycline และ Sulfamethoxazole-trimethoprim ซีโรทยัป์ที่พบในการศึกษานีส้อดคล้องที่มีรายงานว่าพบซีโรทยัป์ Rissen สงูสดุร้อยละ 23.16 และ Anatum ร้อยละ 22.60 และพบดือ้ต่อยา Streptomycin ร้อยละ 40.67 Sulfamethoxazole-trimethoprim ร้อยละ 26.55 (Umai et al., 2009) ซีโรทยัป์ในการศึกษานีพ้บไวต่อยา Amoxicillin-clavulanic acid, Ciprofloxacin และ Norfloxacin ส าหรับซีโรทยัป์ในสกุรแม่พนัธุ์พบไวต่อยา Sulfamethoxazole-trimethoprim เพิ่มอีกหนึ่งชนิดเช่นเดียวกับการรายงานก่อนหน้าที่พบว่าไวต่อCiprofloxacin และ Norfloxacin (Umai et al., 2009)

สรุป

การดือ้ต่อยาต้านจุลชีพมากกว่าสองชนิดยา (Multi-drug resistance) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึน้ในปัจจบุนั ซึง่ท าให้การเลอืกใช้ยาต้านจลุชีพในการรักษาโรคมีแนวโน้มเกิดเชือ้ดือ้ยาสูงมากขึน้ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการรักษาโรคต่างๆ ท าให้ผู้ ป่วยต้องใช้ระยะเวลาในการรักษานานขึน้และต้องรับยาในการรักษาที่เพิ่มปริมาณมากขึน้ด้วย

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ ฝ่ายสนับสนุนการวิจัยพัฒนาและวิศวกรรม ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช .) รหัสโครงการ P-10-10409 ที่ให้ทนุสนบัสนนุการวิจยัในครัง้นี ้

เอกสารอ้างอิง

สถาบนัวิจยัระบบสาธารณสขุ (2555). HSRI Forum:

เชือ้ดือ้ยาปฏิชีวนะวิกฤตและทางออกของสงัคมไทย 1(1): 3-6.

Bilnmad, U., Yoidam, S., Bhumibhamon, T., Thongnoon, P. and Anan, P. (2009) Serovars and Antimicrobial Drug Resistance of Salmonella Isolated from Pork and Chicken meat in Southern Thailand. Thai-NIAH Journal: 2(1): 27-37.

วารสารสัตวศาสตร์ประเทศไทย 1(พิเศษ): 1-4 (2557)