คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป -...

Post on 08-Mar-2020

10 views 0 download

Transcript of คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป -...

1

คํานํา

ขอมูลความปลอดภัยเคมภีณัฑ (Material safety data sheet) หรือ MSDS เปนเอกสารรายละเอียดของสารเคมี ที่บริษัทผูผลิตสารเคมี ใหมาพรอมกับสารเคมี เพื่อที่ผูซ้ือสามารถศึกษารายละเอียดของสารเคมีที่ใชปฏิบัติงาน สามารถขอไดจากบรษิัทผูขายเคมีภัณฑ หรือจากบรษิัทผูผลิตโดยตรง รวมทั้งสามารถสืบคนไดจากฐานขอมูลตางๆ เชน ฐานขอมูลของศูนยขอมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ กรมควบคุมมลพิษ ที่ 0http://msds.pcd.go.th ฐานขอมูลอาชีวอนามัยและความปลอดภยัเกี่ยวกับการใชสารเคมีของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดที่ www.anamai.moph.go.th ฐานขอมูลการจัดการความรูเร่ืองความปลอดภัยดานสารเคมี ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดที ่http://www.chemtrack.org หรือ สืบคนจาก website ตางประเทศที่ใหบริการขอมูล MSDS เชน ที่ 1Hhttp://www.SIRI.org เปนตน โดยทัว่ไปขอมูลความปลอดภยัเคมีภณัฑ จะประกอบไปดวย

1.ขอมูลของบริษัทผูผลิตสารเคมี 2. หมายเลขสารเคมี CAS registry number (Chemical Abstract Services)

3.ลักษณะทางกายภาพ และเคมีของสารเคมี 4.อันตรายที่อาจเกิดจากการไดรับสารเคมี รวมทั้งโอกาสและชองทางทีอ่าจจะไดรับ 5.วิธีที่เหมาะสมในการเก็บรักษา 6.แนวทางการปฐมพยาบาลเบื้องตน 7.การจัดการของเสีย 8.การเคลื่อนยายและขนสง เจาหนาที่ ที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการทุกคน ควรที่จะศึกษาขอมูลความปลอดภยัเคมีภณัฑ ของ

สารเคมีทุกตัวท่ีตองใชในหองปฏิบัติการ กอนเริ่มการปฏิบัติงานจริง เพื่อสามารถเตรียมความพรอมเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เชน สวมใสอุปกรณปองกันตนเองไดอยางเหมาะสม เอกสารขอมูลความปลอดภยัเคมีภณัฑฉบบันี้อาศัยขอมลูจากฐานขอมลูของศูนยขอมูลวัตถุอันตรายและเคมีภณัฑ กรมควบคุมมลพิษ (2Hhttp://msds.pcd.go.th) ซ่ึงคัดมาเฉพาะขอมูลสารเคมีที่มีใชในหองปฏิบัติการของสํานักวิจยัและพฒันาประมงชายฝง ในสวนที่จดัเปนสารเคมีอันตรายตามประกาศกระทรวงมหาดไทย วาดวยเรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกีย่วกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2534 เทานั้น

2

1. Acetic acid ( aqeous) ; Methanecarboxylic acid

ชื่อเคมี IUPAC: Ethanoic acid ชื่อเคมีท่ัวไป Acetic acid ( aqeous) ; Methanecarboxylic acid ชื่อพองอื่นๆ Glacial acetic acid ; Ethylic acid; Vinegar acid; Vinegar; Methanecarboxylic acid; TCLP extraction fluid 2; Shotgun; Glacial acetic acid; Acetic acid, solution, more than 10% but not more than 80% acid; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 64-19-7 รหัส EC NO. 607-002-00-6 UN/ID No. 2789, 2790 รหัส RTECS AF 1225000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-580-7 ชื่อวงศ กรดอนินทรีย ชื่อผูผลิต/นําเขา TEXACO CHEMICAL INC. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 1.1 การใชประโยชน (Uses) ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ, ใชในการสังเคราะหสาร 1.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 3310 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 13825.2 / 1 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 50 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 10 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 10 TLV-STEL(ppm) : 15 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 6 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนดิที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

3

1.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส กล่ิน : กรด นน.โมเลกุล : 60 จุดเดือด(0ซ.) : 224 จุดหลอมเหลว/จดุเยือกแข็ง(0ซ.) : 62 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.05 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2 ความหนดื(mPa.sec) : 1.53 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 11 ที่ 68 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 2.5 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.46 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.41 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 1.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาไอ ละอองหรือฝุนเขาไปทําใหแสบไหมจมกู คอและตา ไอ แนนหนาอก และหายใจติดขัด การสัมผัสเปนเวลานานทําใหมีอาการ cyanosis (ผิวหนังและริมฝปากเปนสีเขียวคล้ํา) โรคปอดอักเสบ ทําลายปอด หรือ เสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนังจะกอใหเกดิการระคายเคือง เจ็บปวด เปนผ่ืนแดง และบวม มีอาการแสบไหม เกิดเปนตุมตามผิวหนัง และเนื้อเยื่อถูกทําลาย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปทาํใหแสบไหมปาก คอ และปวดทอง เจ็บหนาอก คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง กระหายน้ํา ออนเพลีย และเปนแผลในทอง ทาํใหอาเจยีน และทําลายปอด สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะทําใหเกดิการระคายเคือง เจ็บปวด น้ําตาไหล ทําใหตาบวม เปนผ่ืนแดง และแสบไหมตา ถารุนแรงอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การหายใจเอาสารเขาไปนานๆ จะทําลายปอด ถาถูกผิวหนังเปนเวลาติดตอกัน ทําใหเปนโรคผิวหนัง เปนโรคหลอดลมอักเสบ โรคปอด ทําลายฟน ไต 1.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : น้ํา ความรอน สารออกชิไดซรุนแรง สารทําปฏิกิริยารุนแรงกบัเบส - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น - สารเคมีอันตรายจาการสลายตัว : เกิดควันของคารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด อัลดีไฮด และค-ีโตน - อันตรายจากปฏิกิริยาการเกดิพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น

4

1.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 42.77 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 426.66 คา LEL % : 4 UEL % : 16

LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้เปนของเหลวไวไฟ - สารทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้าํ อาจเปนอันตรายตอบุคคล - สารดับเพลิง : ผงเคมีแหง โฟม คารบอนไดออกไซด - ใชน้ําฉีดหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมภัสเพลิงไหม - ในกรณีเกิดเพลิงไหม ใหผูดับเพลิงสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายทีม่ีเครื่องชวยหายใจในตวั - ควรอยูเหนือลมหลีกเลี่ยงไอของสาร - ทําความสะอาด หรือกําจดัเสื้อผาทิ้งไป 1.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บสารไวทีอุ่ณหภูมิต่ําและแหง - เก็บใหหางจากความรอน เปลวไฟ อุณหภูมิสูง หลีกเลีย่งน้ํา - จัดใหมีฝกบวัอาบน้ํา และอางลางหนาในบริเวณที่มีการใช และเคลือ่นยายสาร - ชื่อในการขนสง - ประเภทอันตราย 8 - รหัส UN 2789 - กลุมการบรรจุ : II 1.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิกรณีเกดิการหกรั่วไหล : ถาสารหกเล็กนอยใชน้ําฉีดลางทันที แลวทําใหเปนกลางดวยโซดาแอซ ถาหาน้ําไมได ใหดูดซบัสารที่หกร่ัวไหลดวยทราย หรือดิน - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลใสภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดสําหรบันําไปกําจดั - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - หลีกเลี่ยงการหายใจเอาฝุนเขาไป

5

- หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกตา ผิวหนัง เสื้อผา - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 1.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณ ทีม่ีคา APF. = 25 หรือ ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากาก แบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉกุเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบ ความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางาน แบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม หนากากแบบเต็มหนา อุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มี คา APF.= 50 1.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป : - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจน สงไปพบแพทยทันท ี

6

กินหรือกลืนเขาไป : - ถากลืน หรือกินเขาไป ถาผูปวยยังมีสติใหดืม่น้ํา (1602) อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน แตถาเกิดการอาเจยีนขึ้นใหดื่มน้ําอกี นําสงไปพบแพทยทนัที หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ สัมผัสถูกผิวหนัง : - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทีโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผา และรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนาํกลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที กระพริบตาถี่ๆ อยาใหน้ําลางตาไหลผานหนา ถายงัมีอาการระคายเคืองอยูใหลางซ้ําอีก 15 นาที อ่ืน ๆ : 1.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้สามารถเกิดการยอยสลายทางชีวภาพไดสูง สามารถกําจัดไดอยางงายดาย - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา สงผลเปนอันตรายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพีเอชแมในสภาพเจือจาง - ไมสงผลตอส่ิงแวดลอมหากมีการใชและจัดการผลิตภณัฑอยางเหมาะสม 1.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1603 OSHA NO. : 186SG วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช coconut shell charcoal 100 mg/50 mg - อัตราไหลสําหรับเก็บตวัอยาง 0.01 ถึง 1 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 20 ลิตร , สูงสุด 300 ลิตร

7

1.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 3 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 2 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.76 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 12 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 16 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0363 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 3 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 13 " 10. Source of Ignition หนา 70 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 1.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 19 DOT Guide : 132 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

8

2. Acetone ; Dimethyl ketone ชื่อเคมี IUPAC: 2-Propanone ชื่อเคมีท่ัวไป Acetone ; Dimethyl ketone ชื่อพองอื่นๆ Methyl ketone; Ketone propane; Dimethyl formaldehyde; Beta-ketopropane; Pyroacetic ether; Propanone; Dimethylketal; Pyroacetic acid; Chevron acetone สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 67-64-1 รหัส EC NO. 606-001-00-8 UN/ID No. 1090 รหัส RTECS AL 3150000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-662-2 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 2.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในการทําเครื่องสําอางค เปนตัวทําละลาย ใชในการชะลาง เปนสารไลน้ํา 2.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 5800 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 50,100 / 8 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 2500 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 1000 PEL-STEL(ppm) : 1000 PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 500 TLV-STEL(ppm) : 750 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

9

2.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : คลายมินท นน.โมเลกุล : 58.08 จุดเดือด(0ซ.) : 56.5 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -95 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.79 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : 0.32 ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 400 ที่ 39.5 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.38 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.42 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 2.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาไอระเหยของสารเขาไปจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําใหเกิดอาการไอ เวียนศีรษะ หดหู และปวดศีรษะ ถาไดรับปริมาณมาก ๆ มีผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลาง สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั : จะกอใหเกดิการทําลายชัน้ไขมันของผิวหนัง ซ่ึงเปนสาเหตุที่ทําใหเกดิผ่ืนแดง ผิวหนังแหงและแตก กอใหเกิดอาการปวดแสบปวดรอนได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปในปริมาณนอยจะไมกอใหเกิดอนัตราย แตหากกินหรือกลืนเขาไปในปริมาณมาก จะทําใหเกิดอาการปวดทอง คล่ืนไส และอาเจยีน สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา ทาํให ปวดตา น้าํตาไหล ตาแดง และปวดตาได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สัมผัสเรื้อรัง : การสัมผัสนาน ๆ หรือเปนประจําทางผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง หรืออาจทําใหเกิดการอกัเสบของผิวหนังได - สารนี้มีผลทําลายปอด ทรวงอก ไต ทอไต กระเพาะปสสาวะ 2.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี สารนี้เสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : สวนผสมระหวางกรดไนตริกเขมขนและกรดซัลฟูริก, สารออกซิไดซ, คลอโรฟอรม, แอลคาไล, สารประกอบคลอรีน, กรด, โพแทสเซียมทีบวิทอกไซด (potassium t-butoxide) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุติดไฟและสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว คารบอนไดออกไซด และคารบอนมอนนอกไซด จะเกิดขึน้เมื่อถูกความรอนทําใหสลายตัว - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

10

2.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - 20 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 465 คา LEL % : 2.5 UEL % : 12.8 LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- การระเบิด จะเกิดขึน้ไดเมือ่สัมผัสกับความรอนที่อุณหภูมิมากกวาจดุวาบไฟ - สวนผสมไอระเหยกับอากาศจะระเบดิไดภายในขีดจํากัดความไวไฟ - ไอระเหยสามารถแพรกระจายไปสูแหลงจุดติดไฟและเกิดไฟยอนกลับมาได - การสัมผัส กับสารออกซิไดซอาจเปนสาเหตุทําใหเกดิเพลิงไหม - ภาชนะบรรจทุี่ปดผนึกสนทิอาจเกิดระเบดิไดเมื่อไดรับความรอน - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวคารบอนไดออกไซด และคารบอนมอนนอกไซด จะเกิดขึน้เมื่อถูกความรอนทําใหสลายตัว - สารนี้วองไวตอประจุไฟฟาสถิตย - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหม ใหใชผงเคมีแหง แอลกอฮอลโฟม หรือคารบอนไดออกไซด - น้ําจะใชไมไดผลในการดับเพลิง - ใหใชการฉีดน้ําเปนฝอยเพือ่หลอเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม , เจือจางสวนที่หกรั่วไหลใหเปนสวนผสมที่ไมไวไฟ และเพื่อปองกนัการสัมผัสกับสารและพยายามปองกันบุคคลที่จะเขาไปหยุดการรัว่ไหลและการแพรกระจายของไอระเหย -ในเหตุการณเกิดเพลิงไหม ใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว(SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 2.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจาก : ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุติดไฟ และสารที่เขากันไมได - หามสูบบุหร่ีในบริเวณที่มกีารใชและเกบ็สาร - หลีกเลี่ยงการหายใจ การกลืนกิน การสัมผัสกับผิวหนัง และเสื้อผา - ทําการเคลื่อนยายในที่โลง - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย

11

2.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล : ใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ใหเคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟทั้งหมดออกไป - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - กั้นแยกบริเวณที่หกร่ัวไหลเปนพื้นที่อันตราย - ปองกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกไป - เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมเมือ่เปนไปได - ใชเครื่องมือและอุปกรณทีไ่มกอใหเกิดประกายไฟ - เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับดวยวตัถุเฉื่อย เชน แรหินทราย (vermiculite) ทรายแหง ดิน (earth) และเกบ็ใสในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคม ี- อยาใชวัสดุตดิไฟได เชน ขีเ้ล่ือย ในการดดูซับสารที่หกร่ัวไหล - อยาฉีดลางลงทอระบายน้ํา ถาสารที่หกร่ัวไหลยังไมลุกติดไฟ - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อสลายกลุมไอระเหย เพื่อปองกันบคุคลที่พยายามจะเขาไปหยดุการรั่วไหล และฉีดลางสวนที่หกร่ัวไหลออกจากการสัมผัส - แนะนําใหใชวัสดุดูดซับตวัทําละลายกับการหกรั่วไหลของสารนี้ - การกําจดั ไมควรนําสารกลับมาใชใหม ควรนําไปกําจัดเชนเดยีวกับของเสียอันตราย - กระบวนการใชหรือการปนเปอนของสารนี้จะตองเปลีย่นแนวทางในการจัดการของเสียใหม - การจัดการกบัภาชนะบรรจุและมิไดใชแลวจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับกฏหมาย ความตองการของสวนกลางและทองถ่ิน - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบตัิใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 2.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม Cartridge ซ่ึงสามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือหรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 25 ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใช

12

อุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณชวยหายใจหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 2.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายออกไปที่อากาศบริสุทธิ ถาผูปวยหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบาก ใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - การกลืนหรือกินเขาไป อาจจะทําใหเกดิการอาเจียนขึน้ แตอยากระตุนใหเกิดการอาเจียน หากมอีาการอาเจียนใหผูปวยเอียงศีรษะลงต่ํา เพือ่ปองกันการหายใจเอาสารที่เกิดจากการอาเจียนเขาสูปอด หามมิใหนําสิ่งใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทนัทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย ใหทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: -

13

2.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - ขอมูลทางนิเวศวิทยา : ส่ิงแวดลอมถูกทําลายเสียหายเมือ่ร่ัวไหลสูดิน - สารนี้คาดวาจะสลายตัวทางชีววิทยาไดงายเมื่อร่ัวไหลสูดิน - สารนี้คาดวาจะถูกชะลางลงสูน้ําใตดิน เมือ่ร่ัวไหลสูดิน - สารนี้คาดวาจะมีการระเหยอยางรวดเรว็ เมื่อร่ัวไหลสูน้าํ - สารนี้คาดวาจะสลายตัวทางชีววิทยาไดงาย เมื่อร่ัวไหลสูน้ํา - สารนี้คาดวาจะมีการระเหยอยางรวดเรว็ - สารนี้มีคาสัมประสิทธิ์คา Log ของออกทานอลกับน้ํานอยกวา 3.0 - สารนี้ไมสามารถคาดไดวาจะสะสมสิ่งมีชีวิตได เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ - สารนี้จะสลายตัวไดปานกลางโดยทําปฏิกริิยากับสารไฮดรอกวิล เรดวิลิ ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกับแสง เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ - สารนี้จะสลายตัวโดยการสงัเคราะหแสงไดปานกลาง เมือ่ร่ัวไหลสูอากาศ - สารนี้คาดวาสามารถเอาออกจากบรรยากาศไดงายโดยทําใหเกดิการตกตะกอนแบบเปยก - ความเปนพิษตอส่ิงแวดลอม: - สารนี้ไมสามารถคาดไดวาจะเปนพิษตอส่ิงมีชีวิตในน้าํ - คาความเขมขนที่ทําใหปลาตายกวารอยละ 50 LC50ภายใน 96 ชั่วโมงมีคามากกวา 1-100 มิลลิกรัมตอลิตร 2.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1300 , 3800 OSHA NO. : 69 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช coconut shell charcoal 100 mg/50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด 0.5 ลิตร , 3 ลิตร

14

2.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 6 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 2 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.77 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-10 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 18 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 16 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0087 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 17 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 13 " 10. Source of Ignition หนา 70 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtgrack.trf.or.th " 2.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 14 DOT Guide : 127 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

15

3. Acetonitrile ; Methylcyanide ชื่อเคมี IUPAC: Ethanenitrile ชื่อเคมีท่ัวไป Acetonitrile ; Methylcyanide ชื่อพองอื่นๆ Cyanomethane; Ethyl nitrile ; Ethane nitrile; Methanecarbonitrile; AN; Ethanonitrile; Acetonitrile ; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 75-05-8 รหัส EC NO. 608-001-00-3 UN/ID No. 1648 รหัส RTECS AL 7700000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-835-2 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T. Baker INC แหลงขอมูลอ่ืนๆ 222 Red School Lane Phillipburg New Jersey U.S.A. 08865 3.1 การใชประโยชน (Uses) สารนี้ใชเปนสารวิเคราะหและทดสอบ (reagent) ทางเคมใีนหองปฏิบัตกิาร 3.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 3800 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 4524.24 / 8 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 500 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 40 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 40 TLV-STEL(ppm) : 60 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที ่4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

16

3.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : กล่ินคลายอีเธอร นน.โมเลกุล : 41.05 จุดเดือด(0ซ.) : 82 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -46 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.79 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.41 ความหนดื(mPa.sec) : 0.39 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 72.8 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 % ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.68 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.595 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 3.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะทาํใหปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน เวียนศีรษะ หายใจไมสะดวก ความดันโลหติต่ํา ออนเพลีย อาการชักกระตุกอยางรุนแรง ลําตัวเขียวคลํ้าเนื่องจากขาดออกซิเจนหมดสติ ปอดบวมและอาจทําใหตายได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคือง สารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนงัอาจทําใหเกดิอันตรายได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไป จะทําใหลําตัวเขียวคล้ําเนื่องจากขาดออกซเิจน หมดสติ ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน มึนงง หายใจติดขัด ความดันโลหิตต่ํา ระคายเคืองกระเพาะอาหารและลําไส ชักกระตุก อาจเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกดิการระคายเคืองตอตา ตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกตอ่ืิน ๆ - สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็งตามรายชื่อของ IARA NTP และ OSHA ผลเร้ือรัง ระบบประสาทสวนกลางถูกทําลาย ตาพรามัว ตบัถูกทําลาย ไตถูกทําลาย โรคโลหิตจาง 3.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวของสาร ปกติสารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมไดกรดแก สารออกซิไดซอยางแรง เบสแก , สารรีดิวซ , โลหะอัลคาไลน - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง เปลวไฟ ความรอน และแหลงจดุติดไฟอืน่ๆแสงแดด - สารเคมีที่เกดิจากการสลายตัว ไฮโดรเจนไซยาไนด ออกไซดของไนโตรเจน คารบอนมอนออกไซดคารบอนไดออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร อาจจะเกิดขึ้น

17

3.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 5 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 523 คา LEL % : 4.4 UEL % : 16.0 LFL % : 4.4 UFL % : 16.0 NFPA Code :

-สารนี้เปนของเหลวไวไฟ -สารดับเพลิง ใหใชโฟมแอลกอฮอล ผงเคมีแหง หรือกาซคารบอนไดออกไซด น้ําจะใชไมไดผล -ใหฉีดน้ําหลอเย็นเพื่อควบคมุภาชนะบรรจุที่เกิดเพลิงไหม -ขั้นตอนการดบัเพลิงขั้นรุนแรง โดยการสวมใสอุปกรณปองกันการหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากาก แบบเต็มหนา -ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจุออกจากพืน้ที่ที่เกิดเพลิงไหมถาทําไดโดยปราศจากอันตราย -ไอระเหยจะไหลแพรกระจายตามพื้นไปแหลงที่จุดติดไฟและเกิดไฟยอนกลับมาได -ภาชนะปดสนิทเมื่อสัมผัสกับความรอนอาจทําใหเกิดการระเบิดได -สัมผัสกับสารออกซิไดซอยางแรงจะทําใหเกิดเพลิงไหม ทําใหเกดิกาซพิษของไฮโดรเจนไซยาไนดออกไซดของไนโตรเจน ,คารบอนมอนออกไซด,คารบอนไดออกไซด -ปองกันการเกดิประจุไฟฟาสถิตย 3.7. การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด -เก็บในที่ที่แหง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี -เก็บในบริเวณที่เก็บวัตถุไวไฟ -เก็บใหหางจากการสัมผัสกับแสงแดดโดยตรง,หางจากสารที่เขากันไมได -ตอสารดินและเชื่อมระหวางพังบรรจุในขณะที่มกีารถายเทสารนี้ -ชื่อทางการขนสง Acetonitrite -ประเภทอันตราย 3.2 -รหัส UN/NA UN 1648 -ประเภทการบรรจุหีบหอ กลุม II 3.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -หยดุการรั่วไหลของสารถาทําไดโดยปราศจากการเสี่ยงอันตราย -ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อลดไอระเหย

18

-วิธีแกไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีร่ัวไหล สวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) และชุดปองกันแบบคลุมตัว -ปดคลุมดวยทรายหรือวัสดดุดูซับที่ไมติดไฟและเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจัด -ฉีดลางบริเวณที่หกร่ัวไหลดวยน้ํา -อยาใหสารที่หกร่ัวไหลนี้ไหลทอระบายน้ําหรือแหลงน้ําธรรมชาติ -วิธีการกําจัด ใหกําจัดตามขอกําหนด กฎระเบียบของทางราชการ 3.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 200 ppm : ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัว ดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator)โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตรา การไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณ ที่มีคา APF. = 10 หรือ ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา(gas mask) ซ่ึงมี canister ประเภทที่ปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศ ที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบ ความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา อุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือใหใช

19

อุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCUBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 3.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: ถาหายใจเขาไปใหบดเอมิลไนไตรเพริลในหอผาแลวนาํไปใหดมใตจมูกนานประมาณ 5 นาทีทําซ้ําๆ 5 คร้ัง คร้ังละ 15 นาที ถาไมหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยดื่มน้ํามากๆ กระตุนทําใหเกิดการอาเจียน นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ํา ดวยปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผารองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ลางทําความสะอาดเสื้อผากอนนํากลับมาใชใหมอีกคร้ัง สัมผัสถูกตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที แจงตอแพทย ถาผูปวยยังมีสติใหออกซิเจนถาจําเปน ไดรับสารเขาไปอยางรุนแรง เฝาดูผูปวยไว 24-48 ช.ม. ถาพิษของไซยาไนดยงัไมทุเลา หรือเกิดขึน้อีก ใหฉีดไนไตรดและไฮโอซัลเฟตทุก 1 ช.ม. ถาจําเปน การกอมะเร็งความผดิปรกติ,อ่ืน ๆ: การดูแลทางการแพทย ควรมีการไปตรวจสุขภาพ เปนระยะๆ ที่อวัยวะสําคัญ เชน ตับ ไต ระบบหายใจ เช็คการเตนของหวัใจและระบบประสาท 3.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้สามารถยอยสลายไดงายในน้ํา - มีแนวโนมในการสะสมทางชีวภาพต่ํา - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยูในน้ํา - เปนพษิตอปลาและแพลงคตอน อาจผสมกับอากาศเหนอืผิวน้ํา ใหของที่ผสมเปนน้ําระเบิดได - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 3.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1606 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช coconut shell charcoal tube 400/200 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.1 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 1 ลิตร , สูงสุด 25 ลิตร

20

3.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 8 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 4 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.77 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-11 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 20 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 16 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0088 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 536 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 13 " 10. Source of Ignition หนา 70 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 3.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 17 DOT Guide : 131 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

21

4. Ammonia ; Anhydrous ชื่อเคมี IUPAC: Ammonia ชื่อเคมีท่ัวไป Ammonia ; Anhydrous ชื่อพองอื่นๆ N-H; Ammonia, aqueous~Ammonia, solution; Ammonia สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7664-41-7 รหัส EC NO. 007-001-00-5 UN/ID No. 1005 รหัส RTECS BO 0875000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-635-3 ชื่อวงศ Alkaline Gas ชื่อผูผลิต/นําเขา Praxair Product.Inc แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 4.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชประโยชนไดหลากหลาย 4.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : - ( -) LC50(มก./ม3) : 2000 / 4 ชั่วโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 300 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 35 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 25 TLV-STEL(ppm) : 35 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด 50 สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนดิที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

22

4.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : กาซ สี : ไมมีสี กล่ิน : ฉุน นน.โมเลกุล : 17.031 จุดเดือด(0ซ.) : -33.35 จุดหลอมเหลว/จดุเยือกแข็ง(0ซ.) : -77.7 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.6819 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 0.579 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 5900 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายได ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 11.6 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 0.7 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 1.428 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 4.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปในปริมาณมากกวา 25 ppm ทําใหระคายเคืองจมกูและคอ ถาไดรับปริมาณมากจะหายใจตดิขัด เจ็บหนาอก หลอดลมบีบเกร็ง มีเสมหะและปอดบวม สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะเปนฝนแดง บวม เปนแผล อาจทําใหผิวหนังแสบไหมถาไดรับสารปริมาณมากๆ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกนิเขาไปจะทําใหแสบไหมบริเวณปาก คอ หลอดอาหารและทอง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเจบ็ตา เปนผ่ืนแดง ตาบวม ทําใหน้ําตาไหล ทําลายตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - เปนสารกอมะเร็งและทําลายไต ตบั ปอด ระบบประสาทสวนกลาง เปนสารมีฤทธิ์กัดกรอน 4.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เกิดกาซไฮโดรเจนที่อุณหภูมมิากกวา 840องศาเซลเซียส - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น - สารที่เขากันไมได : ทอง เงิน ปรอท สารออกซิไดซ ฮาโลเจน สารประกอบฮาโลจีเนต กรด ทองแดง อลูมิเนียม คลอเรต สังกะสี 4.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 651 คา LEL % : 15 UEL % : 28 LFL % : 15 UFL % : 28 NFPA Code :

23

- สารดับไฟ CO2 ผงเคมีแหง สาปรยน้ํา - วิธีการดับเพลิงรุนแรง : อพยพคนออกจากบริเวณเพลงิไหม อยาเขาไปบริเวณเพลงิไหมโดยปราศจากอุปกรณปองกนัอันตราย หลอเย็นภาชนะบรรจุโดยใชน้ําฉีดเปนฝอย ใชน้ําหยดุการแพรของไอ ยายภาชนะบรรจุออกถาสามารถทําได - อันตรายจากการระเบิดและเพลิงไหมผิดปกติ : จะเกดิกาซพิษที่ไวไฟและมีฤทธิ์กัดกรอน สามารถระเบิดถาผสมกับอากาศและสารออกซิไดซ ไมควรเก็บภาชนะบรรจุไวเกินอณุหภูมิ 52 องศาเซลเซียส 4.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - การเก็บรักษา : เก็บใหหางจากความรอน เปลวไฟและประกายไฟ เกบ็ใหหางจากสารออกซิไดซ ปดวาลวเมื่อไมใชสารหรือภาชนะบรรจุวางเปลา - ตองมั่นใจวาตรึงถังแกศไวแนนอยางเหมาะสมขณะใช หรือเก็บ 4.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล : ใหอพยพผูคนออกจากบริเวณอันตรายทนัที สวมอุปกรณปองกันการหายใจและชุดปองกนัสารเคมี ลดการกระจายของไอดวยสเปรยน้าํ ยายแหลงจุดติดไฟออกใหหมด หยุดการรั่วไหลของสารถาทําได - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 4.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 250 ppm ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 300 ppm ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณชวยหายใจและหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ประเภททีเ่หมาะสม โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใช

24

อุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณชวยหายใจหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) 4.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณทีไ่ดรับสาร ถาไมหายใจใหใชเครื่องชวยหายใจ ใหออกซิเจนถาหายใจติดขัด รักษารางกายใหอบอุน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนกินเขาไป สารนี้เปนกาซที่อุณหภูมิและความดันปกติ ใหบวนปากดวยน้ําแลวใหดื่มน้ําหรือนมอยางนอย 2 แกว อยากระตุนใหอาเจยีน นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทนัทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาท ีลางโดยเปดเปลือกตาลางบน จนกวาไมมีสารเคมีหลงเหลืออยู นําสงไปพบแพทยทนัที อ่ืน ๆ: - 4.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 4.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 6015, 6016 OSHA NO. : ID 188 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ

25

ขอมูลอ่ืน ๆ : - อัตราการไหลสําหรับเกบ็ตัวอยาง : 0.1 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 0.1 ลิตร สูงสุด 76 ลิตร 4.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 42 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 14 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-13 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 203 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 17 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0414 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 35 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 15 " 10. Source of Ignition หนา 83 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 4.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 07 DOT Guide : 125 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

26

5. Ammonium hydrogen fluoride ชื่อเคมี IUPAC: Ammonium bifluoride ชื่อเคมีท่ัวไป Ammonium hydrogen fluoride ชื่อพองอื่นๆ Acid ammonium fluoride; Ammonium acid fluoride; Ammonium Fluoride, Acidic; Ammonium hydrogendifluoride; Ammonium fluoride; Ammonium bifluoride, solid; Ammonium bifluoride, solution สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1341-49-7 รหัส EC NO. 009-009-00-4 UN/ID No. 1727 รหัส RTECS BG 9200000 รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ AMMONIUM SALTS ชื่อผูผลิต/นําเขา Caledon Laboratories Ltd. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 5.1 การใชประโยชน (Uses) - สารเคมีใชหองปฏิบัติการ 5.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : - ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2.5 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 2.5 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :

27

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : 5.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : ขาว กล่ิน : คลายกรดออน นน.โมเลกุล : 57.06 จุดเดือด(0ซ.) : 239.5 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 126.2 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.503 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.0 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดในน้ําเยน็ ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 35 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.332 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.428 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้ดูดความชื้น 5.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะทาํใหเกดิการระคายเคืองหรือมีฤทธิ์กัดกรอนตอระบบทางเดินหายใจ อาจสงผลใหถึงแกความตายได เกิดการอักเสบและมีอาการบวมน้ําของกลองเสียงและหลอดลมใหญโรคปอดอักเสบเนื่องจากสารเคมีและปอดบวม สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังอยางรุนแรง แผลไหม ปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรงตอระบบทางเดินอาหาร ลําคอ ลําไส และกระเพาะอาหาร และอาจสงผลกระทบถึงแกความตาย สัมผัสถูกตา - การีสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคืองตอตาอยางรุนแรง และกระจกตา แกวตา อาจเปนแผลไหมได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสกับสารซ้ําเปนระยะเวลานาน จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา, การสัมผัสถูกผิวหนังจะทําใหเกิดการทําลายผิวหนังและผิวหนังอกัเสบได, การหายใจเอาฝุนของสารเขาไปเปนระยะเวลานานจะทําใหเกิดการระคยเคอืงตอระบบหายใจ และทําลายปอดได 5.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรสามารถดูดความชื้นได (Hygroscopic) - สารที่เขากันไมได : กรดแก เบสแก โลหะทั่วไปสวนมากแกว ภาชนะที่ทําจากแกวอาจเสียหายได - การเกดิปฏิกริิยา : หลีกเลี่ยงการสัมผัสความรอนที่มากเกินไป - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจนฟลูออไรด แอมโมเนีย

28

5.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : >100 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - - สารนี้ไมติดไฟ - อันตรายจากการเกิดอัคคีภยัและการระเบดิ: สารนี้ไมติดไฟ - สารดับเพลิง ในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใชน้ําฉีดใหเปนฝอย ผงเคมีแหง - อันตรายจากการเผาไหม : ทําใหเกดิควนั ฟูมพิษ - พนักงานดับเพลิงควรสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) - วองไวตอแรงกระแทก และการเกดิประจุไฟฟาสถิตย 5.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดแนนมิดชิด - เก็บในบริเวณในทีเ่ย็น แหง มีการระบายอากาศเปนอยางดี - หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับแสงแดดและสารที่เขากันไมได - บุคคลที่ทําการเคลื่อนยายสารนี้จะตองผานการฝกอบรมถึงอันตรายของสารนี้ - หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับตา ผิวหนัง และเสื้อผา - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - ลางใหทัว่ถึงหลังจากการเคลื่อนยาย - หลีกเลี่ยงการหายใจเขาไป - จัดการกับภาชนะที่วางเปลาดวยความระมัดระวังเนื่องจากภายในถังบรรจุอาจมีสารเคมีตกคางอยู - อยาเก็บในเครื่องกระเบื้อง แกว และภาชนะที่มีสารซิลิกาเจือปนอยู 5.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ขั้นตอนการปฏิบัติหกและรั่วไหล : ใหเคล่ือนยายออกและมีการระบายอากาศบริเวณหกรัว่ไหล - พนักงานที่จะเก็บทําความสะอาดจะตองสวมใสอุปกรณปองกันอนัตราย และชุดปองกันสารเคมีที่เพียงพอ ตอการปองกันอันตรายทั้งจากการหายใจ การสัมผัสถูกผิวหนัง ตาหรือเสื้อผา - ตักหรือกวาดสารที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรจุชนดิพลาสติก และเหล็กกลา - อยาปลอยใหไหลลงสูทอระบายน้ําหรือทางน้ํา - สะเทินดวยปนูขาวและฉีดลางทําความสะอาดพื้นทีน่ั้นดวยน้ํา - ใหเก็บกกัน้ําชะลางในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสําหรับนําไปบําบัด - การกําจดักากสารเคมี ใหสอดคลองกับกฎระเบียบของทางราชการ

29

5.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 5.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่อากาศที่มีบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย และนําสงพบแพทยโดยทันท ีกินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนทําใหเกิดการอาเจียน ถาผูปวยยังตื่นตวัและไมเกิดอาการชักกระตุกใหลางบวนปากดวยน้ํา และดื่มน้ํา 2-4 แกว เพื่อเจือจางสารเคมี นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหถอดเสื้อผาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ลางออกจากผิวหนังใหหมด ลางผิวหนังดวยสบู และน้ําโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 20 นาที จากนั้นจุมลงในสารละลายอยางใดอยางหนึ่ง เชน สารละลาย 0.13% cphiram chloride หรือ 70 % หรือสารละลายอิ่มตัวของแมกนเีซยีมซัลเฟต จนกระทั่งอาการทุเลาขึ้น สารละลายมีประสิทธิภาพมาขึ้นถาทําใหเย็น นําสงไปพบแพทยโดยทันท ีสัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางดวยน้ําโดยใหน้ําไหลผานจํานวนมาก ๆ อยางนอย 30 นาที และนําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 5.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน 5.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเกบ็ตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

30

5.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 210 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 39 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 5.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

31

6. Azium ชื่อเคมี IUPAC: Sodium azide ชื่อเคมีท่ัวไป Azium ชื่อพองอื่นๆ Smite; Hydrazoic acid, sodium salt; U-3886; Sodium azide ; สูตรโมเลกุล

รหัส IMO CAS No. 26628-22-8 รหัส EC NO. 011-004-00-7 UN/ID No. 1687 รหัส RTECS VY 8050000 รหัส EUEINECS/ELINCS 247-852-1 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T Baker.Inc แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 6.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในขบวนการผลิตดอกไมไฟ ถุงลมนิรภัย อุปกรณความปลอดภัยของรถยนต 6.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 27 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.11 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : 0.1 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที ่3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

32

6.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : ไมมีสี กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 65.02 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : 275 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.85 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.2 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 72 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.659 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.516 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - อุณหภูมิสลายตัว > 275 องซาเซลเซียส - สารนี้สามารถละลายไดในแอมโมเนียเหลว แตไมสามารถละลายในอีเธอร 6.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป : ทําใหเกดิการระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจ เยื่อบุทางเดนิหายใจ แผลที่ลําคอ ไอ จาม หายใจถี่ ออนเพลีย หมดสติ สัมผัสทางผิวหนัง - สัมผัสทางผิวหนัง : ทําใหเกดิการระคายเคือง รอยแดง และรูสึกเจ็บ และมีอาการคลายกับการกินเขาไปเพราะสารนี้สามารถซึมผานผิวหนังได กินหรือกลืนเขาไป - การกนิเขาไป : ทําใหหายใจตดิขัด ปอดบวม ชีพจรเตนถ่ีขึ้น คล่ืนเหียน อาเจยีน ปวดศรีษะ ออนเพลีย, และทองรวงภายใน 15 นาที อาการอื่นเชน ความดนัเลือดต่ํา หายใจผิดปกติ อุณหภูมิของรางกายลดลง คา pH ของรายกายลดลง มีอาการหดเกรงของกลามเนื้ออยางรุนแรง ลมฟุบ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - สัมผัสถูกตา : กอใหเกิดการระคายเคือง ผ่ืนแดง เจ็บปวด ทําใหการมองเห็นพลามวั ไมชัด การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ - การไดรับสารนี้จะมผีลตอระบบประสาทสวนกลาง ไต และระบบเลือดหัวใจและหลอดเลือด 6.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ สลายตัวเกิดการระเบิดได เมื่อไดรับความรอน การสั่น ถูกกระทบกระแทกหรือการเสยีดส ี- สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การระเบิดจะขึ้นกบัการสลายตัวของสารที่ปลอยกาซไนโตรเจน (N2) และโซเดียม (Na) - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น - สารที่เขากันไมได : เบนโซอิลคลอไรดผสมโพแทสเซียมไฮดรอกไซด โบรมีน คารบอนไดซัลไฟด โครมิสคลอไรด (Chromyl chloride) ทองแดง ไดโบรมาโลโนไนไตร (Dibromalononitrile) ไดเมทิลซัลเฟต ตะกัว่ แบเรียมคารบอเนต กรดกํามะถัน น้ํา และกรดไนตริก

33

- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอนเปลวไฟ แหลงจดุติดไฟ และสารที่เขากันไมได 6.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- เปนของแข็งที่ติดไฟ จะเกดิเพลิงไหมเมือ่ไดรับความรอน - สารดับเพลิง : ฉีดน้ําใหเปนฝอย สารเคมีแหง แอลกอฮอลโฟม หรือกาซคารบอนไดออกไซด - ในเหตุการณเกิดเพลิงไหม : ใหสวมใสอุปกรณหายใจชนิดมีถังอากาศ (SCBA) และชุดปองกนัสารเคมีสัมผัสผิวหนังและตา - ฉีดน้ําใหเปนฝอยสามารถใชควบคุมหลอเย็นภาชนะที่ถูกเพลิงไหม - เมื่อเกิดเพลิงไหมสารนี้จะทําใหเกดิกาซพิษออกมารวมทั้งไนโตรเจนออกไซด 6.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่ปดมิดชดิ - เก็บในที่ที่เยน็และแหง มีการระบายอากาศในพื้นที ่- เก็บใหหางจากแหลงความรอน หรือแหลงจุดติดไฟ และสารที่มีฤทธิ์เปนกรด - ปองกันภาชนะบรรจุเสียหายทางกายภาพ - แยกเก็บออกจากสารที่เขากนัไมได - ภาชนะบรรจขุองสารนี้จะเปนอันตรายเมือ่เปนถังเปลาเนื่องจากมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง - ใหสังเกตคําเตือนทั้งหมดและขอควรระมดัระวังที่ระบุไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : โซเดียมแอไซด - ประเภทอันตราย : 6.1 - รหัส UN : 1687 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II

34

6.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ใหเคลื่อนยายของการจุดตดิไฟทั้งหมดออกไป - ใหมกีารระบายอากาศพืน้ทีท่ี่หกร่ัวไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - ใหทําความสะอาดสวนทีห่กร่ัวไหลเพื่อไมใหเกดิฝุนแพรกระจายไปในอากาศ - ใชเครื่องมือและอุปกรณทีไ่มทําใหเกิดประกายไฟ - ลดความเขมขนของฝุนสารในอากาศและปองกันทําใหกระจายโดยการทําใหช้ืนดวยการพรมกับน้ํา - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุปดมิดชิดเพื่อนําไปแปรรูปใชใหม หรือนําไปกําจัด - ตองรายงานการหกรัว่ไหล การปนเปอนดิน น้ําและอากาศมากเกนิกวาที่กําหนด - การพิจารณาการกําจัด : สารนี้ไมสามารถทําไดอยางปลอดภัยในการนาํเอากลับคืนมาใชใหมจะตองนําไปกําจัดตามแบบของการกําจัดของเสียอันตราย 6.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 6.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาไมหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบาก ใหออกซิเจนชวย นําสงแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนกินเขาไป : กระตุนใหอาเจียนทนัทีโดยบุคลากรทางการแพทย หามใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ เรียกแพทยโดยทนัที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหนําสารเคมีออกจากผิวหนังใหเร็วที่สุด ลางผิวหนา ดวยสบูและน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที ถอดเสื้อผารองเทา ที่เปอนสารเคมีออก และทําความสะอาดกอนนํากลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกับเปดเปลือกตาดานบนและดานลางสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: -

35

6.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้เมื่อปนเปอนในจะไมสลายตัวแตจะซึมลงสูชั้นน้ําใตดิน สารนี้เมื่อปนเปอนสูอากาศ จะสลายตัวดวยแสงอาทิตยปานกลาง สารนี้จะเปนพิษกับปลาในความเขมขน นอยกวา 1 มิลลิกรัม/ลิตร 6.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : 211 , 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - อัตราไหลสําหรับเก็บตวัอยาง 2 ลิตรตอนาที 6.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 787 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 280-281 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2947 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 52 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0950 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 723 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 52 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" www.chemtrack.trf.or.th " 6.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :41 DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอบุัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

36

7. Barium Salt ชื่อเคมี IUPAC: Barium nitrate ชื่อเคมีท่ัวไป Barium Salt; ชื่อพองอื่นๆ Barium dinitrate; Nitric Acid สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 10022-31-8 รหัส EC NO. 056-002-00-7 UN/ID No. 1446 รหัส RTECS CQ 9625000 รหัส EUEINECS/ELINCS 233-020-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ NIOSH 7.1 การใชประโยชน (Uses) - 7.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 355 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 4.65 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.0465 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.0465 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

37

7.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : สีขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 261.4 จุดเดือด(0ซ.) : สลายตัว จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 592-595 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 3.24 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 9 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 5-8 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 10.69 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.093 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : สารนี้สลายตัวเมื่ออุณหภูมถึิงอุณหภูมจิุดเดือด 7.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปทําใหชีพจรเตนไมเปนจังหวะ หัวใจเตนชากวาปกติ ความดนัเลือดสูงขึ้น หมดสติ ระบบไหลเวียนโลหติลมเหลว กลามเนือ้เกร็ง สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง ทําใหแสบไหม กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองเยื่อเมือก คล่ืนไส น้ําลายฟูมปาก อาเจียน เวยีนศีรษะ ปวดทองและทองรวง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองตา ตาแดง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ทําลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ หวัใจ ระบบประสาทสวนกลาง 7.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : กรด สารออกซิไดส โลหะผสมอะลูมิเนียม-แมกนีเซียม แบเรยีมไดออกไซด สังกะสี - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซไนตรัส ออกซิเจน 7.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้ไมไวไฟ แตจะติดไฟเมื่อสัมผัสกับสารไวไฟ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม - เมื่อเกิดเพลิงไหมจะเกดิกาซหรือไอระเหยที่เปนอันตราย

38

- กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) 7.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากเปลวไฟ ประกายไฟ ความรอน สารไวไฟ - ชื่อในการขนสง : Barium Nitrate - ประเภทอันตราย : 5.1 - รหัส UN/NA : UN1446 - ประเภทบรรจุหีบหอ : กลุม II 7.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสีย่งอันตราย - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - กวาดขณะทีส่ารแหง และปองกันการทําใหเกดิฝุน - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 7.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 5 mg/m3 : ใหใชหนากากปองกันฝุนและละอองไอ ซ่ึงเปนแบบ quarter mask โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 12.5 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองฝุน และละอองไอ โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 mg/m3 : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนาพรอมอุปกรณกรองอนภุาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอม

39

tight - fitting facepiece ซ่ึงมีการทํางานของอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight - fitting facepiece พรอมอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกนิ 100 mg/m3 : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 2000 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพรอมหนากากแบบเต็มหนา หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 7.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหผูปวยดืม่น้ําปริมาณมากๆ กระตุนใหผูปวยอาเจียน นําสงไปพบแพทย ใหผูปวยดื่มโซเเดียมซัลเฟต ( 1 ชอนโตะในน้ํา 0.25 ลิตร ) สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิว้ถางแยกเปลือกตาออก อ่ืน ๆ:

40

7.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา พืชและสัตว หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสีย หรือดิน 7.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1056 OSHA NO. : ID 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช cellulose ester membrane 0.8 um - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 4 ลิตร - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 50 ลิตร -สูงสุด 2000 ลิตร 7.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 88 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 24 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 317 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 95 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 7.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 141 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมลูการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

41

8. Calcium chloride ชื่อเคมี IUPAC: Calcium chloride ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium chloride ชื่อพองอื่นๆ Calcium dickloride ; Calcium chloride anhydrous ; Caltac ? ; Dowflake ; Calcosan สูตรโมเลกุล

CAS No. 10043-52-4 รหัส EC NO. 017-013-00-2 UN/ID No. 1453 รหัส RTECS FV 9800000 รหัส EUEINECS/ELINCS -233-140-8 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Mallinckrodt Baker , Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 8.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ 8.2. คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1000 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

42

8.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : เม็ด,ของแข็ง สี : สีขาว หรือเทา-ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 110.98 จุดเดือด(0ซ.) : > 1600 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 772 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.15 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได,74.5 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 8 - 9 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.54 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.22 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 8.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไปสารนีลั้กษณะเปนเมด็ จะไมเปนอนัตรายเมื่อหายใจเขาไป แตถาหายใจเอาผุนเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองตอระบบทางเดนิหายใจทําใหมีอาการไอ และหายใจถี ่สัมผัสทางผิวหนัง -การสัมผัสถูกผิวหนัง การสัมผัสกับสารที่เปนของแข็งตอผิวหนงัที่แหงจะทําใหเกิดการะคายเคืองเลก็นอย แตถาหากสัมผัสกับสารละลายเขมขน หรือของแขง็สัมผัสกับผิวหนังที่ช้ืนจะทาํใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรง และอาจเกิดผิวหนังไหมได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป สารนี้เปนสารที่มีความเปนพิษต่ํา แตการกิจหรือกลืนเขาไปจะทําใหเกดิการระคายเคืองตอเยื่อเมือกในจมกูอยางรุนแรง เนื่องจากความรอนจากปฏิกริิยา ไฮโดรไลซีส ถารับในปริมาณมากจะทําใหกระเพาะและลําไสอักเสบ อาเจียน ปวดทอง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา ความรอนจากปฏิกิริยา ไฮโดรไลซิล จะทําใหเกิดการระคายเคืองตาจากสวนประกอบซึ่งเปนคลอไรดในสาร ทําใหตาแดง และปวดตาได การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ 8.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี สารนี้มีความเสถียร ภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ ถาเปดภาชนะทิง้ไวสารจะรับความชืน้จากอากาศ -สารที่เขากันไมได เมทริลไวนิลอีเธอร น้ํา สังกะสี โปรไมนไตรฟลูออไรด คนละตวักับโบรไนดไตรฟลูออไรด แบเรียมคลอไรดและกรดฟูรานเบอรคารบอกซีลิก โลหะจะถูกกัดกรอนอยางชาๆ ในสารละลายแคลเซียมคลอไรด แคลเซียมคลอไรดจะทําให อะลูมิเนียม (และอัลลอยด) และทองเหลืองเกิดความเสียหาย -สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง สารที่กันไมได -สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว เมือ่สารไดรับความรอนสารจะสลายตัวปลอยฟูมกาซพิษของคลอรีนแลอาจรวมตวักับกรดซัลฟูริกและกรดฟอสฟอริก หรือน้ํา ที่อุณหภูมสูิงเกิดเปนไฮโดรคลอไรดได -อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร จะไมเกดิขึ้น

43

8.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้เปนสารไวไฟ - การดับไฟรนุแรง สารดับเพลิงใหเลือกใชสารเคมีดับเพลิงและวิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมกับเพลงิโดยรอบ - ใหสวมใสชดุปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา - การเกดิเพลิงไหมจะเกดิขึ้นภายใตสภาวะที่มีอุณหภูมิสูง หรือเมื่อมีความชื้นจะทําใหเกิดฟูม / กาซพิษของแคลเซียมคลอไรดขึ้น ซ่ึงทําใหเกดิการระคายเคืองได 8.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด -เก็บในที่ที่แหงและเยน็และมีการระบายอากาศในพืน้ทีด่ี -ปองกันการเสียหายทางกายภาพ แคลเซียมคลอไรดที่ช้ืนหรือสารละลายที่เขมขนสามารถกัดกรอนเหล็กได -แคลเซียมคลอไรดจะถูกซบัน้ําจากบรรยากาศและเปลีย่นรูปเปนสารละลายได -ภาชนะบรรจขุองสารนี้ที่เปนถังเปลา แตมีการสารเคมีตกคาง เชน ฝุน ของแข็งอาจทําใหเกดิอันตรายได 8.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีร่ัวไหล ใหอพยพคนออกจากพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - ใหเก็บกวาดสวนที่หกร่ัวไหลและบรรจุใสในภาชนะบรรจุเพื่อเก็บคนืหรือนําไปกาํจัด - ใหใชวิธีการดูดหรือกวาดขณะชื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการแพรกระจายของฝุน - สารที่เหลือตกคางเล็กนอยใหฉีดลางลงสูทอระบายน้ําดวยน้ําปริมาณมากๆ - การพิจารณาการกําจัด การกําจัดใหปฏิบตัิตามกฎระบียบของกฏหมายที่เกีย่วของ

44

8.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล (PPD/PPE) : ในบริเวณที่มฝุีน ใหใชหนากากปองกนัฝุนแบบครึ่งหนา. สําหรับในกรณีที่ฉุกเฉินใหใชแบบเต็มหนาที่มีความดันภายในเปนบวกรวมกับอุปกรณชวยหายใจชนดิอัดอากาศเขาภายใน 8.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: -ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจ ใหชวยผายปอด และถามีอาการหายใจตดิขัดใหทาํการใหออกซเิจนชวยนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: -ถากลืนหรือกินเขาไป ใหนาํไปพบแพทยใหกระตุนทําใหอาเจียนทนัทีโดยบุคลากรทางการแทพย หามใหนําสิ่งใดขาปากผูปวยที่หมดสต ิสัมผัสถูกผิวหนัง: -ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําและสบูปริมาณมากๆ อยางนอง 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผา และรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออกทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทาอยางทั่วถึงกอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมทั้งกระพริบตาถี่ๆ ขณะลางดวยน้ําแลนําสงไปพบแพทยทันที อ่ืน ๆ: - แจงตอแพทย การรับสารทางการกลืนหรือกนิเขาไปทางปากอาจเปนสาเหตุของภาวะทีโ่ลหิตมีปริมาณไบคารโบเนทมากกวาปกต ิ 8.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - จากขอมูลนีส้ามารถหาไดของ แคลเซียม คลอไรด แอนไฮดริส พบวา สารนี้จะไมเกดิการสลายตัวโดยกระบวนการทางชีวภาพ หรือไมมีการรวมตัวกันทางชวีภาพ - สารนี้มีคา LC 50 สําหรับปลาในชวงการสัมผัส 96 ช.ม. มากกวา 100 mh/l 8.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

45

8.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 178 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 629 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 8.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 29 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

46

9. พบชื่อเคมี: Calcium hydroxide CAS No. 1305-62-0 UN/ID NO. - ชื่อเคมี IUPAC: Calcium hydroxide ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium hydroxide ชื่อพองอื่นๆ Bell mine ; Biocalc ; Calcium dihydroxide ; Calcium hydrate ; Cslcium hydroxide ; Calvit ; Carboxide ; Hydratedlime ; Kalkhydrote ; Kemikal ; Limbox ; Lime milk ; Limewater ; Milk of lime ; Slahed lime สูตรโมเลกุล

รหัส IMO CAS No. 1305-62-0 รหัส EC NO. - UN/ID No. - รหัส RTECS EW 2800000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-135-3 ชื่อวงศ – ชื่อผูผลิต/นําเขา Sihmea Chemical Co. แหลงขอมูลอ่ืนๆ P.O. Box 14508 St. Loois, Mo 63178 USA. Tel. 314-771-5765 9.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชในกระบวนการผลิตซีเมนต, การผลิตโซเดียมคลอไรด, การผลิตเครื่องสําอางค, การทําเครื่องหนัง 9.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 7340 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 4.94 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 5 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

47

9.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 74.1 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 580 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.24 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ไมละลายน้ํา ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 12.1-12.5 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.07 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.32 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 9.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไป สารนี้จะเขาไปทําลายเนื้อเยื่อของเยื่อบุทางระบบทางเดินหายใจถูกทําลาย ทําใหเกิดการอักเสบและการบวมของกลองเสียง และหลอดลมเกิดแผลไหมเกดิอาการ ไอ จาม กลองเสียงอักเสบ หายใจถี่ ปวดศีรษะ คล่ืนไส และอาเจียน สัมผัสทางผิวหนัง -การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกดิอันตรายจากการดูดซึมของสารผานทางผิวหนัง ทําใหเยื่อบุผิวหนังถูกทาํลาย กินหรือกลืนเขาไป -การกลืนหรือกินเขาไป สามารถทําใหเกิดอนัตรายไดทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ปวดศีรษะ กลองเสียงอักเสบ และหลอดลมอักเสบ สัมผัสถูกตา -การสัมผัสถูกตา ทําใหเกิดอนัตรายจากเยื่อบุตาถูกทําลาย การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ 9.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) -สารที่เขากันไมได กรดเขมขนสารนี้จะดดูซับคารบอนไดออกไซดจากอากาศ-การเกิดปฏิกิริยา สารนี้จะเกิดปฏิกิริยาอยางรุนแรง กบัฟอสฟอรัส เมลิอิคแอนไฮดราย (Maleic anhydride) ไนโตรพาราฟนส เชน ไนโตรมีเทน ไนโตรอีเทน การผสมกันของ แคลเซียม ไฮดรอกไซด โพแทสเซียมไนเตรทใน สภาวะทีม่ีความรอนรวมกับ คลอรเนเตท ฟนอล อาจจะทาํใหเกดิคลอรีเนเตทเบนโซไดออกซิน 9.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จดุวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - NFPA Code : LFL % : - UFL % : -

48

-สารดับเพลิงในกรณีเกิดเพลิงไหมใหใชผงเคมีแหง -ขั้นตอนการดบัเพลิงรุนแรง ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจ ชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) และชุดปองกันสารเคมีสัมผัส ถูกผิวหนังและตา -จะใหควันพษิออกมาภายใตสภาวะเพลิงไหม 9.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด -เก็บในที่ที่แหงและเยน็ -เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ -ลางทําความสะอาดใหทัว่ภายหลังจากการเคลื่อนยาย -ใชสารใหใชในตูดูดควันสารเคมีเทานั้น - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ 9.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -วิธีการปฏิบัตเิมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีร่ัวไหล ใหอพยพคนออกจากพืน้ที่ทีห่กร่ัวไหล -ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเทาบูทยางและถุงมือยาง -ดูดซับสารดวยทราย หรือหนิแรเวอรไมควิไลท (Vermiculite) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิดสําหรับการกําจัด -ระบายอากาศในพื้นทีแ่ละลางบริเวณหกรัว่ไหลหลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว -การพิจารณาการกําจัด โดยการนําไปเผาในเตาเผาสารเคมีที่มีอุปกรณเผาขึ้นที่สองและระบบกําจดัมลพิษ ใหดูและปฏิบัติตาม กฎขอบังคับดานสิ่งแวดลอมของทางราชการ 9.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : -หนากากปองกันระบบหายใจใหใชชนดิที่ผานการรับรองจาก MSHA/NIOSH 9.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: -ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจ ใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: -ถากลืนหรือกินเขาไป ผูปวยยังมมีสติอยูใหลางบวนปากดวยน้ํา นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: -ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําและสบูปริมาณมากๆ อยางนอง 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผา และรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก

49

สัมผัสถูกตา : -ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที ใหใชนิ้วเปดเปลือกตาใหกวางและลางอกีครั้งจนมั่นใจวาสารเคมีออก อ่ืน ๆ: -ใหซักทําความสะอาดเสื้อผาที่ปนเปอนสารกอนนํากลับมาใชใหม และทิ้งรองเทาที่เปรอะเปอนสาร 9.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เปนพษิอยางมากตอส่ิงมีชีวติที่อาศัยในน้ํา - สงผลเปนอันตรายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพีเอช ควรทําใหเปนกลางในระบบบําบัดน้ําเสีย 9.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7020 OSHAID121 OSHA NO. : ID 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : 0.8 um cellulose ester membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 1 ถึง 3 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 20 ลิตร สูงสุด 400 ลิตร 9.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 46 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 634 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 21 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0408 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 19 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th "

50

9.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : - DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

51

10. Calcium hypochlorite ชื่อเคมี IUPAC: Hypochlorous Acid, Calcium Salt ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium hypochlorite ชื่อพองอื่นๆ Losantin; Calcium hypochloride; BK Powder; Hy-Chlor; Lo-Bax; Chlorinated lime; Lime chloride; Chloride of lime; Calcium oxychloride; HTH; Mildew remover X-14; Perchloron; Pittchlor; Calcium hypochlorite, dry สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7778-54-3 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1748,2208,2880 รหัส RTECS NH 3485000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-908-7 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT.Baker Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 10.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารกาํจัดแมลงในทางการเกษตร , ใชในการแยกโดยการหมนุเหวีย่ง สารฟอกขาว ฟอกสี เปนสารเคมีที่ในหองปฏิบัติการ (Latolatary) 10.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 850 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :

52

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา 10.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง / ของแข็ง สี : ขาวหรือเทาออน กล่ิน : กล่ินคลายคลอรีน นน.โมเลกุล : 142.98 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 177 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.35 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 6.9 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดดีมาก ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 5.85 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.17 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - เมื่อสารนี้ละลายน้ําจะเกิดปฏิกิริยาและปลอยกาซคลอรีนออกมา 10.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาสารเคมีนี้เขาไปจะเกิดฤทธิ์กัดกรอนทาํลายเนื้อเยื่อบเุมือกและทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดแผลไหม ไอ หายใจตดิขัด กลองเสียงอักเสบ คอแหง เจ็บคอ หายใจถี่รัว ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน และอาจทําใหถึงตายได เนือ่งจากกลามเนื้อหดเกร็งและเกิดอาการบวมน้ําของกลองเสียง และหลอดลมใหญ ปอดอุดตันเนื่องจากสารเคมี ปอดบวม สัมผัสทางผิวหนัง - สัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเกิดอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดรอน และเกิดแผลไหมอยางรุนแรง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิแผลไหมบริเวณปาก ลําคอ และกระเพาะอาหาร ทําใหเกดิอาการเจ็บคอ อาเจียน และทองรวง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาสารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหมองไมชัด ตาแดง ปวดตาและเกดิแผลไหมของเนื้อเยื่อบุตา การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้จัดเปนสารกอมะเร็งประเภท 3 ตามบัญชีรายช่ือของ IARC - สัมผัสเรื้อรัง : เมื่อสัมผัสสารแคลเซียมไฮโปคลอไรดอยางตอเนื่อง กอใหเกดิอาการไอเรื้อรัง และหายใจถี่รัวขึ้น

53

10.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้สามารถสลายตัวไดงายเมื่อสัมผัสถูกอากาศ และจะสลายตัวอยางรุนแรงเมื่อสัมผัสกับความรอน และแสงแดดโดยตรงที่อุณหภูมิ 177 องศาเซลเซียส - สารที่เขากันไมได : สารอินทรีย สารประกอบไนโตรเจน และสารตดิไฟได - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ ความชื้น ฝุน แหลงจดุติดไฟและสารที่เขากันไมได - สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การสลายตัวจะทําใหเกดิออกซิเจน คลอรีน และคลอรีนมอนนอกไซดขึ้น - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น - การเกดิปฏิกริิยา : สารนี้จะทําปฏิกิริยากับน้ํา และกรด จะใหกาซคลอรีนออกมา เกดิสารประกอบที่ระเบิดไดกับแอมโมเนียและ เอมนี 10.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมติดไฟ แตเปนสารออกซิไดซอยางแรง และจะทําใหเกิดปฏิกิริยาความรอนกับสารรีคิว หรือสารที่ลุกติดไฟไดทาํใหเกดิการจดุติดไฟขึ้นที่อุณหภูมิสูงขึ้นจะเรงใหเกิดการสลายตัวปลอยความรอนและออกซิเจนออกมา - ภาชนะบรรจทุี่ปดสนิทอาจเกิดระเบดิไดเมื่อไดรับความรอน การระเบดิสามารถเกิดขึ้นไดถาสัมผัสกับคารบอนเตตระคลอไรดหรือสารประกอบแอมโมเนียแหงของสารดับเพลิง - สารดับเพลิง : ใหใชน้ําฉีดใหเปนฝอยปรมิาณมาก ๆ - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับน้ํา การทําปฏิกิริยากับน้ําจะทําใหเกดิกาซคลอรีนออกมา - หามใชสารดบัเพลิงประเภท ผงเคมีแหง ที่มีสวนประกอบของแอมโมเนียมอยู - หามใชสารดบัเพลิงประเภทเตตตระคลอไรด - ฉีดดับเพลิงจากจุดที่มกีารปองกันอันตรายหรือระยะไกลที่สุดที่จะทําได - อยาใหน้ําไหลลนเขาไปในทอระบายน้ําหรือทางน้ํา

54

- การดับเพลิงขั้นรุนแรง ใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 10.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บภายในภาชนะบรรจุทีป่ดมิดชิด - เก็บในภาชนะที่เยน็ แหงและ มีการระบายอากาศอยางด ี- ปองกันการถกูทําลายทางกายภาพ และจากความชื้น - เก็บแยกจากแหลงความรอน หรือจุดตดิไฟ สารที่เขากันไมได สารตดิไฟได สารอนิทรีย หรือสารออกซิไดซอ่ืน ๆ - หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม - ภาชนะบรรจสุารนี้ที่เปนถังวางเปลาอาจเปนอันตรายไดเนื่องจากมีการสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน, ของแข็ง - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสงที่เหมาะสม : Calcium Hypochlorite Dry Hazard Class - ลางทําความสะอาดใหทัว่ภาลหลังจากการเคลื่อนยาย - ประเภทอันตราย : 5.1 - UN/NA : 1748, 2208 - ประเภทการหีบหอ : กลุม II หรือกลุม III 10.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ใหเคลื่อนยายแหลงของการจุดติดไฟทั้งหมดออกไป - สวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคล (PPD/PPE) ที่เหมาะสม - ระบายอากาศในพื้นที่ทีห่กร่ัวไหล - ควบคุมใหน้าํออกหางจากสารเคมีที่หกร่ัวไหล - ทําความสะอาดสวนที่หกร่ัวไหลเพื่อไมใหฝุนแพรกระจายไปในอากาศ - ใชเครื่องมือและอุปกรณทีไ่มกอใหเกิดประกายไฟ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรจุที่มีฝาปดมิดชิด เพื่อนําไปแปรรูปใชใหมหรือนําไปกําจดั - การพิจารณาการกําจัด สารนี้ไมสามารถนําเอากลับคืนมาใชใหมไดอยางปลอดภยัจะตองจัดการเชนเดียวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจดั ดําเนินการและปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด

55

10.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 10.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอดถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหดื่มน้าํปรมิาณมาก ๆ หามไมใหนําสิ่งใดเขาปาก ผูปวยทีห่มดสต ินําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผา และรองเทาที่เปรอะเปอนออก นําสงไปพบแพทยทันที ทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนาํกลับมาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ๆ ขณะทํา การลาง เพื่อใหมัน่ใจวาลางออกหมด นําสงไปพบแพทยทนัท อ่ืน ๆ: 10.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 10.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

56

10.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 180 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1905 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 155 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" - " 10.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉนิโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสาย

ดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 165 - ตองการทราบรายละเอียดเพิม่เติมโปรดติดตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุ

มลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

57

11. Calcium oxide ชื่อเคมี IUPAC: - ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium oxide ชื่อพองอื่นๆ Lime; CALX; Quicklime; Calcium monoxide; Burnt lime; Pebble Lime; Unslaked lime; Fluxing lime; Calcia; Calcium Oxide, 99.9% สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1305-78-8 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1910 รหัส RTECS EW 3100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-138-9 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ JT.Baker 11.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในกระบวนการทําเซรามิกส ใชทําใหสารลอยตัว ใชในการทําซิลิกา-เจล 11.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : - ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 11 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2.18 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 2 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนดิที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

58

11.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : สีขาวถึงเหลือง กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 56.08 จุดเดือด(0ซ.) : 2850 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 2572 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 3.37 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.9 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดเล็กนอย ที ่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 12.5 ที่ 21 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.29 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.44 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้เมื่อละลายน้ําเกิดการคายความรอน และทําใหเกดิแคลเซียมไฮดรอกไซด 11.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาฝุนของสารนี้เขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรงและมีฤทธิ์กัดกรอนตอทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกดิอาการไอ จาม เจ็บคอหายใจติดขัด หายใจถี่รัว และมีอาการแผลไหมภายในโพรงจมูก สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคือง จะมีฤทธิ์กัดกรอนตอผิวหนังอยางรุนแรง ทําใหเกิดผ่ืนแดง และมีอาการปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะมีฤทธิ์กดักรอนตอหลอดอาหาร ทําใหเกิดอาการปวดทอง ทองรวง คล่ืนไส อาเจียน เนือ่งจากสารนี้มฤีทธิ์เปนเบส จึงอาจทําใหเกดิแผลไหมบริเวณปากและลําคอ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา : จะกอใหเกิดการระคายเคืองอยางรนุแรงและเกิดการทําลายเนื้อเยื่อตา ทําใหตาแดง น้ําตาไหล ตาพรามัว ปวดตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสเปนเวลานาน ๆ : การหายใจเอาฝุนเขาไปเปนเวลานาน ๆ จะทําใหเกดิการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ เกิดแผลเปอยของเยื่อเมือก และอาจทําใหโพรงจมูกเปนรูได 11.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร เมื่อเก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดภายใตอุณหภูมิหอง - สารที่เขากันไมได : น้ํา กรด อากาศชื้น ไฮโดรเจนฟลูออไรด ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด บอริคออกไซดบอริค ไอน้ํา สารอินทรียอ่ืน ๆ - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อากาศ ความชื้น และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไมมีสารอันตรายที่เกิดจาการสลายตัว - อันตรายจากการปฏิกิริยาพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น

59

11.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- การระเบิด : สารนี้อาจกอใหเกิดอนัตรายจากการระเบิดไดจากการผสมหินปูน และน้ําที่อุณหภูมสูิง ๆ จะทําใหเกดิการระเบิดได - การเกดิไฟไหม : จะทําใหเกิดอันตรายจากไฟ จากการที่ปูนขาวกับน้าํผสมกันทําใหเกิดปฏิกิริยาคายความรอน ผลของความรอนกับวตัถุที่ติดไฟไดเอง จะทําใหเกดิการติดไฟขึ้นทันท ี- สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหม : ใชวธีิที่เหมาะสมสําหรับการดับเพลิงโดยรอบ - ในเหตุการณเกิดเพลิงไหมใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 11.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดแนน - เก็บในที่ที่เยน็และแหง - มีการระบายอากาศในพืน้ที่ - เก็บหางจากความรอน ความชื้น และสารที่เขากันไมได - มีการปองกนัความเสียหายจากทางกายภาพ - สารนี้เปนดางเขมขนเมื่อถูกความชื้นจะทําใหภาชนะบรรจุบวม เกดิความรอนจนทําใหระเบิดได - ภาชนะบรรจขุองสารนี้ที่เปนถังเปลาแตมีกากสารเคมีตกคาง เชน ฝุนหรือของแข็ง อาจกอใหเกิดอันตรายได - ใหสังเกตคําเตือน และขอระวังทั้งหมดทีร่ะบุไวสําหรับสารนี้ 11.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล : ใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ควบคุมคนทีไ่มมีหนาที่จําเปนและไมมกีารปองกันอันตรายออกจากบริเวณที่ที่มกีารหกรั่วไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสําหรับการนํากลบัมาใชหรือการกําจัด

60

- ควรใชวิธีซ่ึงไมทําใหเกิดฝุนขึ้น - การกําจดั : ถาไมสามารถนําสารนี้กลับมาใชใหมได ก็ควรจัดการกําจดัอยางเหมาะสม 11.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 11.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป : ใหเคลือ่นยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป : อยากระตุนทําใหอาเจียน ใหดื่มน้ําหรอืนมปริมาณมาก ๆ ถาทําได หามไมใหนําสิ่งใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั : ใหฉีดลางผวิหนังทนัทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที ใหทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนํากลับมาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา : ใหลางโดยใหน้ําไหลผาน ถาเกิดการระคายเคืองขึ้น ใหนําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 11.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย และดิน - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม - สงผลกระทบที่เปนอันตรายเนื่องจาเปลี่ยนแปลงพเีอช - อาจกอใหเกดิอันตรายตอส่ิงมีชีวิตที่อยูในน้ํา 11.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7020 OSHA NO. : ID 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น

61

ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช 0.8 um cellulose ester membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 5 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด 20 ลิตร , 400 ลิตร 11.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 183 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 48 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 635 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 21 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0409 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 157 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 19 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 11.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 42 DOT Guide : 157 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

62

12. Chloroform ชื่อเคมี IUPAC: Trichloromethane ชื่อเคมีท่ัวไป Chloroform ชื่อพองอื่นๆ Methyl trichloride; Chloroform; Refrigerant R20; Formyl trichloride; Methane trichloride; Methenyl trichloride; Trichloroform; R 20; R 20 (refrigerant); Chloroform สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 67-66-3 รหัส EC N. 602-006-00-4 UN/ID No. 1888 รหัส RTECS FS 9100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-633-8 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 12.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชเปนตวัทําละลายสกัดสาร,เปนตัวทําละลายสารโพลีคารบอเนตและสารอื่นๆ 12.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 908 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 47702 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 500 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : 50 TLV-TWA(ppm) : 10 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด 50 สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

63

12.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ไมมสี กล่ิน : กล่ินอีเทอร นน.โมเลกุล : 119.38 จุดเดือด(0ซ.) : 62 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -63.5 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.48 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 4.1 ความหนดื(mPa.sec) : 0.56 ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 160 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 0.8 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.88 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.21 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 12.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไปทําใหรางกายหมดความรูสึกหรือสลบไดทําใหระคายเคืองตอระบบการหายใจ และมผีลกระทบตอระบบประสาทสวนกลางมอีาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ถาหายใจเอาสารที่ความเขมขนสูงเขาไปจะทําใหหมดสติ และถึงตายได ทําใหไตถูกทําลาย ความผิดปกติของระบบเลือด การสัมผัสเปนระยะเวลานาน จะทํานําไปสูความตายได ทําใหการเตนของหัวใจผิดปกติ ตับ และไตผดิปกต ิสัมผัสทางผิวหนัง -การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหระคายเคอืงตอผิวหนัง มีผ่ืนแดงและมีอาการเจ็บปวด ทําลายน้ํามันธรรมชาติในรางกาย สารนี้สามารถซึมผานผิวหนังได กินหรือกลืนเขาไป -การกลืนหรือกินเขาไปจะทําใหเกดิแผลไหมบริเวณปาก,ลําคอ ทําใหมีอาการเจ็บหนาอก และอาเจียนได การกลืนเขาไปในปริมาณมาก จะกอใหเกดิอาการคลายกับการหายใจเขาไป สัมผัสถูกตา -การสมัผัสถูกตา ไอระเหยของสารเคมีนี้จะทําใหเกิดการเจ็บปวดและระคายเคืองตอตา ถาสารเคมีกระเดน็เขาตา จะทําใหเกดิระคายเคืองอยางรุนแรง และอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ อาการ: ถาสัมผัสไอระเหยของสารนี้เปนระยะเวลานานหรือสัมผัสถูกสารเคมีบอยๆอาจจะทําใหระบบประสาทสวนกลาง หวัใจ ตับ และไต ถูกทําลายได -ผลกระทบจากการสัมผัสกับของเหลวจะทําใหไขมันถูกทําลายลง อาจจะทําใหผิวหนังมีการระคายเคืองเร้ือรัง ทําใหผิวหนังแหง และเกิดผิวหนังอกัเสบได สารคลอโรฟอรมนี้ถูกสงสัยวาจะเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย 12.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวของสารเคมี : สารนี้จะเสถียรภายใตการใชและการเก็บอยางปกต ิ- สารที่เขากันไมได : สารที่มีความกัดกรอนอยางรุนแรงและสารเคมีที่มีความวองไว เชน อลูมิเนียม ผงแมกนีเซยีม โซเดียม หรือ โพแทสเซียม อะซิโตน ฟูโอลีนเมทธานอล โซเดียมเมททอกไซด ไดไนโตรเจน เตตตอกไซด เทิรท-บิวตอกไซด ไตรไอโซพิลฟอสไฟด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: หลีกเลี่ยงแสง ความรอน อากาศ และสารที่เขากันไมได

64

- สารเคมีอันตรายจาการสลายตัวของสารเคมี: เมื่อมีการสลายตัวจากความรอน อาจกอใหเกดิคารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด และฟลอจีน - อันตรายจากปฏิกิริยาโพลิเมอรเซชั่น: ไมเกิดอันตราย -เมื่อเปดทิ้งไวในที่ที่มีแสง เปนระยะเวลานานทําให pH ลดลง เนื่องจากการเกดิสารไฮโดรคลอลิก(HCI) 12.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

-สารนี้ไมไวไฟ -อาจเกดิเพลิงไหมไดเมื่อสัมผัสกับความรอนสูง -สารดับเพลิง ใชวิธีการที่เหมาะสมสําหรับการดับเพลิงโดยรอบ -ในเหตุการณเกิดเพลิงไหมสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 12.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ตานทางแสงแดด - เก็บในที่เยน็ แหงและมีการระบายอากาศที่ดี - ปองกันความเสียหายทางกายภาพ - แยกออกจากสารที่เขากันไมได - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสําหรบังานบํารุงรักษาหรือในที่ซ่ึงตองสัมผัสกับสารเคมีนี้ในปริมาณมากเกิน - ภาชนะบรรจสุารนี้อาจเกิดอันตรายไดเมือ่เปนถังวางเปลาเนื่องจากสารเคมีที่ตกคางทั้งไอระเหยและของเหลวใหสังเกตปายเตอนและขอระมัดระวังสําหรับสารนี้ทั้งหมด - ชื่อทางการขนสง : คลอโรฟอรม (Cholroform) - ประเภทอันตราย : 6.1 - รหัสหมายเลข UN : 1888 - ประเภทการหีบหอ : III

65

12.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -วิธีการเมื่อเกดิอุบัติเหตุร่ัวไหล ใหระบายอากาศพื้นที่ทีห่กร่ัวไหล -สวมใสอุปกรณปองกันสวนตัวที่เหมาะสม -ใหกั้นแยกพืน้ที่ที่มีอันตรายออก -ไมจําเปนตองควบคุมและปกปองบุคคลที่จะเขาไป -ใหเก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมถาเปนไปได -เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับดวยวตัถุเฉี่อยในการดูดซับสาร เชน แรหินทราย (vermiculite) ทรายแหง ดิน(earth)และเก็บใสในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี อยาใชวัสดุติดไฟได เชนขี้เล่ือย -อยาฉีดลางลงทอระบายน้ํา ใหมีการรายงานการหกรัว่ไหลสูดิน น้ํา และอากาศมากเกินกวาปริมาณที่ตองรายงาน -การพิจารณาการจํากัดไมวาสารอะไรก็ตามจะไมสามรถทําไดอยางปลอดภัยในการนําเอากลับคืนมาใชใหมจะตองจดัการ เชนเดยีวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจัดซึ่งตองปฏิบัติตามกฏระเบียบขอบงัคับของทางราชการ 12.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกิดการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับดีมาก และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile,Unsupported Neoprene ,Polyvinyl Chloride , Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - ที่ชวงความเขมขนที่เกิดกวาคามาตรฐานที่ NIOSH แนะนําหรือที่ทุกชวงความเขมขนที่สามารถวัดได : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ใหใช

66

อุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มี คา APF. = 50 12.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: -ถาหายใจเขาไป ควรเคลื่อนยายออกไปอยูในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ควรใหออกซิเจน และนําผูปวยสงโรงพยาบาล กินหรือกลืนเขาไป: -ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดอาเจียน ควรใหน้ําปริมาณมากๆ ถาผูปวยหมดสติ หามไมใหส่ิงใดเขาปากและใหอยูในความดูแลของแพทยโดยทันที สัมผัสถูกผิวหนัง: -สัมผัสถูกผิวหนังใหฉีดลางผิวหนังโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที และถอดเสื้อผาและรองเทาทีเ่ปรอะเปอนสารเคมีออก ทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : -ถาสัมผัสถูกตาใหลางตาทันทีดวน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมกระพรบิตาถี่ๆ ขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: -นําผูปวยสงโรงพยาบาลและควรแจงอาการใหแพทย เนื่องจากผูปวยควรไดรับการรักษาภายใน 24-48 ชั่วโมง เพราะอาจจะทําใหมีผลกระทบตอไต และตับได -ของเหลวที่อยูภายในไตไมสามารถชวยปองกันสารเคมีได ซ่ึงสังเกตไดจากการนําน้าํปสสาวะของผูปวยมาวิเคราะหและทดสอบกลูโคสที่อยูในเลือด เอ็กซเรยหนาอก และตรวจสอบสถานะของไหล/อิเล็กโตรไลท ไดฟลฟรัม ซ่ึงอยูในเมตตาบยอลิซึม และอาหารของผูปวยทีม่ี คารบอไฮเดตรสูง จะสามารถปองกันและตอตานสารพิษจากคลอโฟอรมได โดยที่ไมจะเปนตองใหน้ําเกลอื ตรวจสอบไดจากการเพิ่มขึ้นของบิลิโรบิน 12.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) -ขอมูลทางนิเวศวิทยา ส่ิงแวดลอมถูกทําลายเสียหาย เมื่อร่ัวไหลสูดิน -สารนี้คาดวาจะถูกชะลางลงสูน้ําใตดิน -สารนี้คาดวาจะมีการระเหยอยางรวดเรว็ เมื่อร่ัวไหลสูน้าํ -สารนี้คาดวาจะมีการสลายตวัไปครึ่งหนึ่ง (half life) ภายในเวลานอยกวา 1-10 วัน -คลอโรฟอรมจะมีลอกออกทนนอลนอยกวา 3 ของสัมประสิทธิ์สวนของน้ํา -สารนี้ไมสามารถคาดไดวาจะสะสมสิ่งมีชีวิตไดเมื่อร่ัวไหลสูอากาศ -สารนี้จะสลายตัวไดปานกลางโดยทําปฏิกริิยากับสารไฮดรอกซิล เรดิคอล ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกบัแสง เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ -สารนี้จะสลายตัวโดยการสงัเคราะหแสงไดปานกลาง เมือ่ร่ัวไหลสูอากาศ -สิ่งของนี้ถูกขนยายจากบรรยากาศเมื่อร่ัวไหลสูอากาศ -สารนี้คาดวาจะมีการสลายตวัไปครึ่งหนึ่ง (half life) ภายในเวลามากกวา 30 วัน - ความเปนพิษตอส่ิงแวดลอม: สารนี้เปนพษิตอส่ิงมีชิวิตในน้ํา -คาความเขมขนที่ทําใหปลาตายกวารอยละ 50 LC 50ภายใน 96 ชั่วโมงมีคามากกวา 1-100 มิลลิกรัมตอลิตร

67

12.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1003 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : coconut shell charcoal 100mg/ 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.01-0.2 ลิตรตอนาที 12.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 210 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 64 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.144 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 774 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 24 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0027 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 186 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 22 " 10. Source of Ignition หนา 81 " 11. "อ่ืน ๆ" - " 12.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :36 DOT Guide : 151 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

68

13. Ethyl acetate ชื่อเคมี IUPAC: - ชื่อเคมีท่ัวไป Ethyl acetate ชื่อพองอื่นๆ Ethyl acetic ester; Acetoxyethane; Acetic ether; Vinegar naphtha; Acetidin; Acetic ester สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 141-78-6 รหัส EC NO. 607-022-00-5 UN/ID No. 1173 รหัส RTECS AH 5425000 รหัส EUEINECS/ELINCS 205-500-4 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 13.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชทําเครื่องสําอางค , ใชในการกลั่นแยก, ใชเปนสารละลาย 13.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 5620 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 200 / หนู ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 400 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2000 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 400 TLV-STEL(ppm) : 1400

69

TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม 13.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : เปนของเหลว สี : ใส กล่ิน : หอม นน.โมเลกุล : 88.11 จุดเดือด(0ซ.) : 77.2 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -83 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.9018 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.0 ความหนดื(mPa.sec) : 0.44 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 75 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 7.9 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 7.4 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.60 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.28 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้ละลายในแอลกอฮอล อีเทอร กลีเซอรีน ตัวทําละลายอินทรีย 13.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ: - จะเปนอันตรายถาหายใจเขาไป ไอระเหยที่ความเขมขนสูง ๆ จะทําใหปวดศีรษะ มึนงง หมดสต ิสัมผัสทางผิวหนัง: - การสัมผัสทางผิวหนังทําใหเกิดการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัส และเกิดการทําลายชั้นไขมนัของผิวหนังอยางรุนแรง กินหรือกลืนเขาไป: - การกลืนกินเขาไปจะทําใหคล่ืนไส อาเจียน ปวดศีรษะ งวงนอน หมดสติ สัมผัสถูกตา: - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกิดการระคายเคือง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ:- ไมเปนสารที่กอใหเกดิมะเร็ง ตามรายละเอียด IARC ,NTP, OSHA - สารนี้มีผลทําลายดวงตา ผิวหนัง และระบบหายใจ

70

13.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร - อันตรายจากการเกิดพอลิเมอรไรเซชั่น : จะไมเกดิขึ้น - สภาวะ : ควรหลีกเลี่ยงความรอน สัมผัสกับแหลงจดุตดิไฟ จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับโพแทสเซยีม เตริกบิวทอกไซด - ปฏิกิริยารุนแรงกับ กรดคลอโรซัลโฟนิค - สารที่ควรหลีกเลี่ยง : กรด สารออกซิไดซ สารอัลคาไลทที่มีปฏิกิริยารุนแรง ไนเตรท 13.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : -4.44 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 460 คา LEL % : 2.20% UEL % : 11.00% LFL % : - UFL % : - - วิธีการดับไฟ : สารดับเพลิงที่เหมาะสมเมือ่เกิดอัคคีภยั คือ แอลกอฮอล โฟม คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเมื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม - ขั้นตอนการปฏิบัติการดับเพลิง ควรสวมใสเครื่องชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวัและชุดปองกนัสารเคมี - ไอระหยสามารถแพรกระจายไปสูแหลงจดุติดไฟและเกดิไฟยอนกลับมาไดผสมกับอากาสส ประกายไฟอาจจะเกิดขึ้นไดที่มีอุณหภมูิต่ํากวา ประกายไฟทั่ว ๆไปที่เกิดขึ้นเอง หรืออุณหภูมิของประกายไฟ อุณหภูมิประกายไฟจะลดลงเมื่อปริมาณไอระเหยเพิ่มขึ้นและเวลาที่ไอระเหยสัมผัสกับอากาศและความดันที่เปล่ียนแปลง - ประกายไฟอาจจะเกิดที่อุณหภูมิสูงเฉพาะกับหองปฏิบัตงิานภายใตสูญญากาศ ถาอากาศเขาไปอยางทันทีทันใดหรอืการปฏิบัติงานภายใตความดันสูงถาไอระเหยออกมาทันใด หรือการเกดิขึ้นที่บริเวณแอทโมสเฟย 13.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บไวในภาชนะที่ปดสนทิ - เก็บไวในที่มอุีณหภูมิเยน็ แหง - เก็บไวในที่มกีารระบายอากาศ - เก็บใหหางจากแหลงที่เกิดประกายไฟ และสารออกซิไดซ - สารที่เหลืออยูในภาชนะอาจจะทําใหเกิดอันตรายได ควรใชอยางระมัดระวัง - ขอมูลการขนสง DOT ชื่อทางการขนสงเหมาะสม : Ethyl Acetate - หมายเลข DOT ID UN : 1173

71

13.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการเมื่อเกดิอุบัติเหตุร่ัวไหล การตอบโตกรณีหกร่ัวไหล - อพยพคนที่ไมเกี่ยวของทั้งหมดออกจากพื้นที ่- สวมใสอุปกรณปองกันใหเหมาะสมที่ระบุไวในบัญชีรายช่ือใตเปด / การปองกันอนัตรายสวนบคุคล - ขจัดแหลงการจุดติดไฟใดๆออกไฟจนกระทั่งพื้นทีด่ังกลาวไมกอใหเกิดอันตรายจากการระเบดิหรืออันตรายไฟ - บรรจุสวนทีห่กร่ัวไหลและแยกออกจากแหลงสารเคมีนั้น - ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสีย่งอันตราย เก็บและบรรจสุารสําหรับการนําไปกําจดัใหเหมาะสม - ปฏิบัติตามกฏ กฎหมาย และกฏระเบียบของทางราชการในการรายงานการรั่วไหลของสารเคมี - ตองปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับของทางราชการอยางเครงครัด 13.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับดีมาก และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทาํมาจากวัสดุประเภท Nitrile, Polyvinyl Chloride - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2000 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงมีCartridge พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว

72

และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ใหใชอุปกรณทีเ่หมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 13.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ผูปวยไมหายใจ ใหชวยผายปอด ผูปวยหายใจลําบาก ใหออกซิเจน กินหรือกลืนเขาไป: - การกินหรือกลืนเขาไป : ถาผูปวยยังมีสติใหดืม่น้ําและกระตุนทําใหอาเจียนทันทีโดยเจาหนาที่ทางการแพทย ถาผูปวยหมดสติหามไมใหส่ิงใดเขาปาก ถอดเสื้อผาที่เปรอะเปอนและทําความสะอาดกอนใชอีกครั้ง สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหลางออกดวยน้ําและสบูปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ: 13.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เมื่อร่ัวไหลลงสูน้ํา : สารนี้มีความเปนพษิตอปลาและแพลงคตอน อาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ํา ใหไอของสารที่ระเบิดได - สารน้ีสามารถเกิดการสลายตัวทางชวีภาพไดด ี- สารนี้จะไมสงผลตอระบบบําบัดน้ําทิ้ง หากมีการใชและจัดการสารอยางเหมาะสม 13.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1457 OSHA NO. : 7 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : coconut shell charcoal 100 mg/ 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.01-0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 0.1 ลิตร, สูงสุด 10 ลิตร

73

13.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 384 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 130 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.213 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-47 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1513 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 32 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0367 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 320 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 30 " 10. Source of Ignition หนา 95 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 13.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 18 DOT Guide : 129 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

74

14. Ethyl Alcohol ชื่อเคมี IUPAC: Ethanol ชื่อเคมีท่ัวไป Ethyl Alcohol ชื่อพองอื่นๆ Anhydrol; Alcohol; Methylcarbinol; Denatured alcohol; Ethyl hydrate; Ethyl hydroxide; Algrain; Cologne spirit; Fermentation alcohol; Grain alcohol; Jaysol; Jaysol s; Molasses alcohol; Potato alcohol; Spirit; Spirits of wine; Tecsol; Alcohol dehydrated; Ethanol 200 proof; Cologne spirits (alcohol); Sd alcohol 23-hydrogen; Synasol; Ethanol absolute สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 64-17-5 รหัส EC NO. 603-002-00-5 UN/ID No. 1170,1986,1987 รหัส RTECS KQ 6300000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-578-6 ชื่อวงศ ALCOHOL ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ CHEMINFO 14.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชในการผลิตเครื่องดื่ม , ใชเปนน้ํามันเชือ้เพลิง , กาซโซลีน , ใชในการผลิตยา , เปนตัวทําละลาย , ใชเปนตัวกลางในการถายเทความรอน , ใชในการผลิตเครื่องสําอางค 14.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 7076 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : > 10,000 / - ช่ัวโมง ( ปลา) IDLH(ppm) : 3300 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 1000 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 1000 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) :

75

เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 1000 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : 14.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : เฉพาะตวั นน.โมเลกุล : 46.07 จุดเดือด(0ซ.) : 78 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -114 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.789 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.6 ความหนดื(mPa.sec) : 1.41 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 43 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.88 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.531 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 14.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําใหเกดิอาการ ปวดศรีษะ เวียนศรษีะ ไอ เซื่องซมึ และเกดิโรคน้ําทวมปอด สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั ทําใหเกิดการระคายเคือง แสบไหม ผ่ืนแดง สารนี้ดูดซึมผานผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหเกิดการระคายเคือง ทําใหเกดิอาการปวดศีรษะ วงิเวียนศีรษะ และมีอาการเซื่องซึม สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาทําใหเกิดการระคายเคืองทําใหตาแดง และปวดตาได การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ 14.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว สารนี้ปกติจะเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง โพแทสเซียมไดออกไซด โบรมีน เพนตะฟลูออไรด เปอรออกไซด กรด กรดคลอไรด กรดแอนไฮไดรส โลหะอัลคาไลน แอมโมเนีย แพทตนิั่ม โซเดยีม อะเซทิลคลอไรด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง ประกายไฟ เปลวไฟ แหลงความรอน หรือแหลงอ่ืนๆ ที่สามารถทําใหเกิดการจุดติดไฟได - อันตรายตอการปฏิกิริยาพอลิเมอร ไมเกิดขึ้น

76

14.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 13 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 363 คา LEL % : 3.3 UEL % : 19

LFL % : 3.3 UFL % : 19 NFPA Code : - สารนี้เปนสารไวไฟ - สามารถเกิดเปนไอระเหย รวมตัวกับอากาศกลายเปนสวนผสมที่ระเบิดไดที่อุณหภมสูิงกวา 13 องศาเซียลเซียส - สารดับเพลิง น้ําใชดับเพลิงไมไดผล ใหใชโฟม แอลกอฮอล - สารที่เกิดจากการเผาไหม และการสลายตัว เนื่องจากความรอน กาซคารบอนมอนนอกไซด - ไอระเหยหนกักวาอากาศเลก็นอย จะไหลแพรกระจาย ไปสูจุดติดไฟและเกิดไฟยอนกลับมาสูจุดรั่วไหลหรือภาชนะทีป่ดอยู 14.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่บรรจุ ที่ปดฝามิดชิด - เก็บหางจากแหลงจุดตดิไฟ - ชื่อทางการขนสง Etharol หรือ สารละลาย Ethanol - ประเภทอันตราย 3 ( ของเหลวไวไฟ ) - ประเภทของการบรรจุหีบหอ กลุม II หรือ III - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุดดูซับของเหลว เชน เคมิซอบ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 14.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -

77

14.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 4500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกดิเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปใน

บริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเตม็หนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000

- ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

14.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป นําสงไปพบแพทยโดยทันที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออกและนําสงแพทยอยางรวดเร็ สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตาใหฉดีลางตาทันทีดวยน้าํปริมาณมากอยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ:

78

14.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - จะไมกอใหเกิดผลตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจดัการกับสารอยางเหมาะสม 11.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1400 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใชหลอดชนิด Coconut shell Charcoal 100 ml 150 mg 2-Butanol/CS2 - อัตราไหลสํารหับเก็บตวัอยาง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 0.1 ลิตร สูงสุด 1 ลิตร 14.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 378 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 132-133 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.211 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-48 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1515 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0044 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 324 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 30 " 10. Source of Ignition หนา 96 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 14.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :14 , 16 DOT Guide : 122 , 131 , 127 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

79

15. Hexyl hydride (Hexane) ชื่อเคมี IUPAC: Hexane ชื่อเคมีท่ัวไป Hexyl hydride ชื่อพองอื่นๆ Normal hexane;N-Hexane; Skellysolve B; Dipropyl; Gettysolve-b; Hex; N-Hexane ; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 110-54-3 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1208 รหัส RTECS MN 9275000 รหัส EUEINECS/ELINCS 203-777-6 ชื่อวงศ Aliphatic hydrocarbons ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T. BAKER INC. แหลงขอมูลอ่ืนๆ 222 RED SCHOOL LANE PHILLIPSBURG NEW JERSEY USA. 08865 15.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนสารที่ใชในการวิเคราะห และตรวจสอบในหองปฏิบัติการเคมี 15.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 28710 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 48000 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 1100 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 50 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 50 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

80

15.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ไมมีสี กล่ิน : เฉพาะตวั นน.โมเลกุล : 86.18 จุดเดือด(0ซ.) : 69 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : -95 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.66 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 130 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : <0.1 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.52 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.28 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 15.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะเกดิการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจสวนบน , เกิดอาการคลื่นไส, อาเจียน, ปวดศีรษะ, งวงนอน, หมดสติ และอาจจะทําใหเกดิอาการสับสน สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคือง ผิวหนังอกัเสบ หากดูดซมึเขาสูผิวหนังจะเปนอันตราย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิการระคายเคืองตอระบบยอยอาหาร ,ปวดศีรษะ, คล่ืนไส, อาเจียน, เวียนศีรษะ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคืองตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ผลเร้ือรังจะกดระบบประสาทสวนกลาง - อวัยวะเปาหมาย : ตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบประสาทสวนกลาง และระบบประสาทสวนปลาย 15.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง คลอรีน ฟูลออรีน แมกนเีซียมเปอรคลอเรท - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงของการจุดติดไฟ - สารอันตรายจากการสลายตัว : กาซคารบอนไดออกไซด, กาซคารบอนมอนนอกไซด - อันตรายจากการเกิดพอลิเมอรไรเซชั่น : จะไมเกดิขึ้น 15.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : -23 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 224 คา LEL % : 1.2 UEL % : 7.7 NFPA Code : LFL % : - UFL % : -

81

- สารดับเพลิง : แอลกอฮอลโฟม, ผงเคมีดับเพลิง หรือคารบอนไดออกไซด - ใชน้ําดับเพลงจะไมไดผล ใชน้ําฉีดหลอเยน็ภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม และอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงออกซิเจนในตวั (SCBA) - การสัมผัสกับสารออกซิไดซอยางรุนแรง จะทําใหเกดิเพลิงไหมและเกิดกาซพษิคารบอนมอนนอกไซด และคารบอนไดออกไซด 15.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่มีฝาปด - เก็บในพื้นทีห่รือตูสําหรับเก็บสารไวไฟ - เก็บหางจากแหลงความรอน ประกายไฟ เปลวไฟ - มีการระบายอากาศอยางเพยีงพอ - มีการตอสารเชื่อม (BOND) และตอสายดนิของถังบรรจุเมื่อทําการถายเทของสาร - ช่ือสําหรับการขนสง : HEXANE - ประเภทอันตราย : 3 - รหัส UN : 1208 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม III 15.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ปดกั้นแหลงจุดติดไฟ สูบบุหร่ี หรือทําใหเกิดเปลวไฟในบริเวณนี ้- ใหหยดุการรัว่ไหลถาสามารถกระทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ใชทรายหรือสารดูดซับอื่นที่ไมติดไฟ และเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจดั - ใชน้ําฉีดเปนละอองเพื่อลดไอของสาร - ใหฉีดลางบรเิวณทีห่กร่ัวไหลดวยน้ํา - ปองกันการปนเปอนสารไมใหไหลลงสูทอระบายน้ําหรือลําน้ํา - ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) และชดุปองกันแบบคลุมทั้งตัว - วิธีการกําจัด : กําจัดตามวิธีของหนวยงานราชการ และกฎระเบียบส่ิงแวดลอมประจําทองถ่ิน EPA 15.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile (Touch N tuff 4 mil) Laminated film และควร หลีกเลี่ยง Polyvinyl Chloride , Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend

82

- ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 500 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตวั และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 15.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหนําสงไปพบแพทยทันที เคลื่อนยายผูปวยออกจากบริเวณที่สัมผัสถูกสารสูที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาไมหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยมสีติอยากระตุนใหผูปวยอาเจยีน ใหผูปวยดืม่น้ําหรือนมปริมาณมาก ๆ ทันที นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันที ดวยสบูและน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาดวยน้ําปรมิาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ: -

83

15.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) -หามทิ้งลงสูระบบน้ํา, น้ําเสีย, หรือดิน 15.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1500, 3800 OSHA NO. : 7 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใชหลอดเก็บตัวอยางชนิด Coconut shell charcoal 100 mg/50 mg - การวิเคราะหใช GC โดยมี FID 15.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 464 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 162-163 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.235 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-58 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1800 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 36 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0279 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 411 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 34 " 10. Source of Ignition หนา 102 " 11. "อ่ืน ๆ" - " 15.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 14 DOT Guide : 128 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

84

16. Hydrochloride ชื่อเคมี IUPAC: Hydrochloric acid ชื่อเคมีท่ัวไป Hydrochloride ชื่อพองอื่นๆ Muriatic acid; Chlorohydric acid; Spirits of salts; Hydrogen chloride (acid); Hydrogen chloride; Hydrogen Chloride Gas only สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7647-01-0 รหัส EC NO. 017-002-00-2 UN/ID No. 1789 รหัส RTECS MW 4025000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-595-7 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Mallinckrodt Baker Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 16.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ 16.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 900 ( กระตาย) LC50(มก./ม3) : 4655 / - ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 50 ADI(ppm) : MAC(ppm) : PEL-TWA(ppm) : 5 PEL-STEL(ppm) : PEL-C(ppm) : 5 TLV-TWA(ppm) : 5 TLV-STEL(ppm) : TLV-C(ppm) : 5 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง ระยะส้ัน คาสงูสุด 5 สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

85

16.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว , กาซ สี : ไมมีสี กล่ิน : ฉุน นน.โมเลกุล : 36.46 จุดเดือด(0ซ.) : 53 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -74 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.18 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.3 ความหนดื(mPa.sec) : 0.0148 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 190 ที่ 25 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายได ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.49 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.67 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สามารถละลายไดในเอทานอล 16.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เขาไปจะกอใหเกดิอาการไอ หายใจตดิขัด เกิดการอักเสบของจมูก ลําคอ และทางเดินหายใจสวนบน และในกรณีที่รุนแรง จะกอใหเกิดอาการน้ําทวมปอด ระบบหายใจลมเหลว และอาจเสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคืองเกิดผ่ืนแดง ปวดและเกดิแผลไหม การสัมผัสกับสารที่ความเขมขนสูงจะกอใหเกดิแผลพุพองและผิวหนังเปลี่ยน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง จะกอใหเกดิอาการปวด และเกดิแผลไหมในปาก คอ หลอดอาหาร และทางเดินอาหาร อาจกอใหเกดิอาการ คล่ืนไส และทองรวง และอาจทําใหเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองและอาจกอใหเกดิการทําลายได อาจทําใหเกดิแผลไหมอยางรุนแรง และกอใหเกดิทําลายตาอยางถาวรได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสกับไอระเหยของสารเปนระยะนานจะกอใหเกดิการกดักรอนตอกัน และทําใหเกดิฤทธิ์กัดกรอน เชนเดียวกับฤทธิ์ของการสัมผัสกรด - ในบุคคลที่มอีาการผิดปกตทิางผิวหนัง หรือเปนโรคทางตา จะมีความไวตอการเกิดผลกระทบสารนี้ - ไมเปนสารกอมะเร็งตาม NTP จัดเปนสารกอมะเร็งประเภท 3 ตามบัญชีรายช่ือของ IARC 16.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการแตกออกและระเบิดไดเมื่อสัมผัสกับความรอน - สารที่เขากันไมได : โลหะ โลหะออกไซด ไฮดรอกไซด เอมีน คารบอเนต สารที่เปนเบส และสารอื่น ๆ เชน ไซยาไนด ซัลไฟด และฟอมัลดีไฮด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน และการสัมผัสโดยตรงกับแสง

86

- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อสารนี้สัมผัสกับความรอน จะเกิดการสลายตัวและปลอยฟูม/ควันของไฮโดรเจนคลอไรดที่เปนพิษและจะเกดิปฏิกิริยากับน้ําหรือไอน้ํา ทําใหเกิดความรอน และเกิดฟูมหรือควันของสารที่เปนพิษและมีฤทธิ์การสลายตัวของสารจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่น เนื่องจากความรอนจะทําใหเกดิฟูม/ควนัของกาซไฮโดรเจนซึ่งสามารถระเบิดได - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 16.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : -

LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - การสัมผัสกับความรอนสูงหรือการสัมผัสกับโลหะจะกอใหเกิดการปลอยกาซไฮโดรเจนซึ่งไวไฟออกมา - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช น้ําฉีดเปนฝอย และทําใหสารเปนกลางโดยใชโซดาไฟหรือปูนขาว - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม และใหอยูหางจากภาชนะบรรจุสาร 16.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด และปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บในบริเวณที่มีพื้นปองกันกรด และมรีะบบระบายออกที่ด ี- เก็บหางจาก การสัมผัสโดยตรงกับแสง ความรอน น้ํา และสารที่เขากันไมได - อยาทําการฉดีลางภายนอกภาชนะบรรจุหรือนําเอาภาชนะไปใชเพื่อวัตถุประสงคอ่ืน - เมื่อตองการเจือจางใหทําการคอย ๆ เติมกรดปริมาณนอย ๆ ลงในน้ํา อยาใชน้ํารอนหรืออยาทําการเติมน้ําลงในกรดเพราะจะทําใหไมสามารถควบคุมจุดเดือดของสารได - เมื่อทําการเปดภาชนะบรรจสุารที่ทําจากโลหะใหใชอุปกรณที่ปองกนัการเกิดประกายไฟ เพราะในการเปดอาจเกิดกาซไฮโดรเจนขึ้นได - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได

87

- ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : Hydrochloric acid - รหัส UN : 1789 - ประเภทอันตราย : 8 - ประเภทการบรรจุหีบหอ :กลุม III 16.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหจดัใหมกีารระบายอากาศในบริเวณที่มีการหกรั่วไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม ใหกั้นแยกเปนพื้นที่อันตราย และกนับุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของและไมสวมใสอุปกรณปองกนัออกจากบริเวณหกรั่วไหล - ใหเก็บของเหลวที่หกร่ัวไหลและนํากลับมาใชใหมถาสามารถทําได - ทําใหสารเปนกลางโดยใชสารที่เปนเบส เชน โซดาไฟ ปูนขาว และทาํการดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุที่เฉื่อย เชน แรหินทราย (Vermiculite) ทรายแหง ดิน และเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับกากของเสียเคมี 16.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm :ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี canaister ประเภทที่เหมาะสม โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 250 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ใหใช

88

อุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มี คา APF. = 50 16.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียนใหผูปวยดื่มน้ํา หรือนมปริมาณมาก ๆ ถาสามารถหาได หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทยทนัที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนํากลับมาใชใหม นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตาใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพริบตาถ่ี ๆ นําสงไปพบแพทยทนัที อ่ืน ๆ: 16.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - เมื่อร่ัวไหลลงสูดินคาดวาสารนี้จะไมเกิดการสลายตัวทางชีวภาพ และสารนี้อาจถูดดูดซึมเขาสูแหลงน้ําใตดินได - สารนี้จะกอใหเกิดอนัตรายตอส่ิงมีชีวิตที่อาศัยในน้ํา จะเกิดอันตรายจากการเปลี่ยนแปลงคาพีเอช - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 16.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7903 OSHA NO. : ID 174 SG วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช Washed silica gel, 400 mg/1200 mg with glass fiber filtger plug - อัตราไหลสําหรับเก็บตวัอยาง 0.2 ถึง 0.5 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 3 ลิตร , สูงสุด 100 ลิตร

89

16.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 477 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 166 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1835 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0163 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 415 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 16.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 42 DOT Guide : 157 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

90

17.พบชื่อเคมี: - CAS No. 7553-56-2 UN/ID NO. 1759 ชื่อเคมี IUPAC: Iodine ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Iodine sublimed สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7553-56-2 รหัส EC NO. 053-001-00-3 UN/ID No. 1759 รหัส RTECS NN 1575000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-442-4 ชื่อวงศ Halogen ชื่อผูผลิต/นําเขา EM SCIENCE แหลงขอมูลอ่ืนๆ A Division of EM Industries P.O Box 70 480 Democrat Road Gibbsto WN N.J 08027 17.1 การใชประโยชน (Uses) - เปนสารที่มีคุณคาทางอาหาร ทําในไขปลอดเชื้อโรค เปนสารฆาเชื้อโรค 17.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1,400 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 2 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.1 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.1 TLV-STEL(ppm) : 0.1 TLV-C(ppm) : 0.1 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที ่3 ชนดิที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

91

17.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : มวง น้ําตาลแดงหรอืเทาดํา กล่ิน : ฉุน นน.โมเลกุล : 253.81 จุดเดือด(0ซ.) : 184.4 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 113.5 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 4.98 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : ~9 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 0.31 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดเล็กนอย ที ่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 10.38 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.09 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - เปอรเซ็นตการระเหยโดยริมาตร (%) : 100 % 17.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การสัมผัสทางหายใจ มีความเปนพษิถามีการสัมผัสทางการหายใจเขาไป ซ่ึงทาํใหเกดิการระคายเคืองจมูก ลําคอ และอาจเกิดแผลไหมได มีอาการปวดศรีษะ แนนหนาอก คล่ืนไส มีอาการกระหายน้ํามาก และระบบไหลเวียนหยุดทํางานได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคืองที่ผิวหนัง และเกิดแผลไหมบริเวณผิวสวนที่สัมผัสกับสาร กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหเกดิการระคายเคืองของลําคอ มีอาการปวดทอง ทองรวง การรับสารโดยการกินหรือกลืนเขาไปในปริมาณมากอาจมีอันตรายถึงแกชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา : ทําใหเกิดการระคายเคืองตอตา และอาจเกิดแผลไหมได มีอาการน้ําตาไหล การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้มีผลทําลายอวัยวะรับความรูสึก ทางเดินอาหาร ตอมไรทอตาง ๆ ตอมไทรอยด - สารนี้เปนอนัตรายตอทารกในครรภ 17.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : ผงอลูมิเนียม แมกนเีซียม สังกะสี และแอมโมเนยี - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอนสูง และแสงสวาง - สารอันตรายจากการสลายตวัของสาร : ฟูม/กาซ ของสารประกอบไอโอดีน - อันตรายจากการเกิดพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

92

17.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกตดิไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมติดไฟ - สารดับเพลิง : ใหใชวิธีที่เหมาะสมกับประเภทของเพลิงที่อยูโดยรอบ - ขั้นตอนการดับเพลิง : ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศ (SCBA) และชุดปองกันสารเคมี - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ฟูม/กาซ ของสารประกอบไอโอดีน 17.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่ปดมิดชดิ และเก็บหางจากแหลงความรอน - เก็บในที่เยน็ แหง และมีการระบายอากาศในพื้นทีเ่ก็บเปนอยางด ี- เก็บหางจากโลหะประเภทอลูมินั่ม ไททาเนียม ฟอสฟอรัส - เก็บหางจากตัวทําละลายอนิทรีย สินคาประเภทยาง พลาสติก - ปองกันการสัมผัสแดดโดตรงตรง - อยาหายใจเอาฝุน ไอระเหยเขาไป อยาใหสัมผัสถูกตา ผิวหนัง และเสือ้ผา - ลางทําความสะอาดใหทัว่หลังจากการเคลื่อนยาย - ชื่อทางการขนสง : ของแขง็มีฤทธิ์กัดกรอน ( Corosive Solid) ไอโอดีน - ประเภทอันตราย : 8 - รหัส UN : 1759 - กลุมการบรรจุ : III 17.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล ใหอพยพคนทีไ่มเกี่ยวของออกจากพื้นที ่- ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายใหเหมาะสม - กําจัดแหลงจดุติดไฟออกจนกระทั่งไดพจิารณาแลววาจะไมมกีารระเบิดหรืออันตรายจากไฟขึ้นได - บรรจุสวนทีห่กร่ัวไหลออกมาและแยกออกจากแหลงสารเคมีนั้น ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยง - เก็บและบรรจุในภาชนะเพือ่นําไปกําจดัทีเ่หมาะสม ตามที่ในกฎการกําจัดสารเคมีและปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบทางราชการ ขอมูลกฎระเบียบอ่ืน ๆ

93

- การพิจารณาการกําจัด : กําจัดโดยใชเทคโนโลยีที่จําเพาะเจาะจง การกําจัดใหปฏิบตัิตามกฎระเบยีบของกฎหมายการกาํจัดสารเคมี - รหัสกากของเสียตาม EPA : D002 17.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPDPPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนดิที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันกาซของสารกรด และอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนอีอกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 17.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจตดิขัดใหออกซิเจนชวย และนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป จัดใหเขารบัการดูแลโดยแพทยทนัท ีสัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั : ใหฉีดลางอยางทั่วถึงทันทดีวยน้ําปริมาณมาก ๆ สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา : ถาสัมผัสถูกตา : ใหฉดีลางทันทีโดยไหลผานอยางนอย 15 นาที

94

17.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 17.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 6005 OSHA NO. : ID 212 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : alkali-treated charcoal 100mg/ 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.5-1 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 15 ลิตร, สูงสุด 225 ลิตร 17.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 688 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 172 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1926 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 37 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0167 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 36 " 10. Source of Ignition หนา - " 17.14 ขั้นตอนการปฎิบติังานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

95

18. Methyl alcohol ชื่อเคมี IUPAC: Methanol ชื่อเคมีท่ัวไป Methyl alcohol ชื่อพองอื่นๆ Wood alcohol; Carbinol; Methylol; Wood; Columbian spirits; Colonial spirit; Columbian spirit; Methyl hydroxide; Monohydroxymethane; Pyroxylic spirit; Wood naphtha; Wood spirit; Methyl Alcohol (Methanol); สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 67-56-1 รหัส EC NO. 603-001-01-X UN/ID No. 1230 รหัส RTECS - รหัส EUEINECS/ELINCS 200-659-6 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา -ENDURA MANUFACTURING CO.LTD. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 18.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนตัวทําละลาย (SOLVENT) 18.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 5600 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 83840 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 6000 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 200 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 200 TLV-STEL(ppm) : 250 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 200 ระยะสัน้ - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :

96

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที ่4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม 18.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใสไมมีสี กล่ิน : เฉพาะตวั นน.โมเลกุล : 32 จุดเดือด(0ซ.) : 64.6 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -97.8 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.79 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.1 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 96 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.31 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.76 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 18.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ การหายใจเขาไปจะกอใหเกิดการระคายเคือง ตา จมูก ลําคอ และทางเดินหายใจ กดระบบประสาทสวนกลาง ทําใหปวดศีรษะ เวียนศีรษะ งวงนอน ถาสัมผัสปริมาณมากจะทําใหอาการโคมาและตายได เนื่องจากระบบหายใจลมเหลว สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั ไอระเหย ของเหลวของสารนี้ จะทําใหเกิดการสูญเสียช้ันไขมันของผิวหนัง ทาํใหผิวหนังแหง แตก และเกิดผ่ืนแดง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง เยื่อเมือกของปากและลําคอ ทําใหเกิดอาการไอ ทองรวง ปวดทอง ปวดศีรษะ และงวงซึม สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคือง และทําใหเยื่อเมือกตาอักเสบ เกิดตาแดง และสายตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ถาสัมผัสสารนี้บอยๆ และเปนเวลานาน จะทําใหผิวหนังอกัเสบ และสารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนงัมีผลทําใหระบบประสาทสวนกลางถูกกดทําใหปวดศีรษะ งวงนอน เวียนศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน ปวดทอง และการสัมผัสบริมาณมาก อาจทําใหอาการโคมาและตายได มีผลกระทบตอการมองเห็น โดยปกติอาการจะรุนแรงขึ้นหลังจาการสัมผัส 12-18 ชั่วโมง 18.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง โลหะอัลคาไลท กรดซัลฟูริกและกรดไนตริกเขมขน แอลดีไฮด และแอซัลคลอไรด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน ประกายไฟ และแหลงจุดติดไฟอืน่ๆ

97

18.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 12.2 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 464 คา LEL % : 5.5 UEL % : 36.5 LFL % : 5.5 UFL % : 36.5 NFPA Code :

- สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช : ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด โฟม แอลกอฮอล หรือ น้ําฉีดเปนฝอย - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสกับเปลวไฟ และลดการฟุงกระจายของไอระเหย - อยาใชน้ําฉีดเปนลําเพราะจะทําใหเปลวไฟแพรกระจาย - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) - ไอระเหยของสารสามารถแพรกระจายออกไปถึงแหลงจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟยอนกลับมา - สารอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด 18.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด , เก็บในบริเวณที่เย็นและแหง - เก็บหางจากสารออกซิไดซ และแหลงจดุติดไฟ - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได - ช่ือทางการขนสง : Methanol - ประเภทอันตราย : 3.2 (6.2) - รหัส : UN 1230 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II 18.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ระบายอากาศในบริเวณทีส่ารหกรั่วไหล - ใหเคลื่อนยายแหลงทั้งหมดของการจุดตดิไฟออกไป - ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยปูนขาวแหง ทราย หรือโซดาแอซ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การกําจดั ใหพิจารณาการกาํจัดตามกฎระเบียบ ขอบังคับของทางราชการ

98

18.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 6000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) ซ่ึงมีการทํางานของอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนาโดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉนิพรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) 18.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ การปฐมพยาบาล ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยมีสติและรูสึกตัวอยูใหผูปวยดืม่น้ํา 1/2-1 แกว เพื่อเจือจางสาร ถาผูปวยอาเจียนใหกมศีรษะใหต่ําลงเพื่อหลีกเลีย่งการหายใจเอาอาเจียนเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้าํปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ซักทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํากลับมาใชไหม นําสงไปพบแพทย

99

สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที โดยเปดเปลือกตาใหกวางขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - เอทธานอลจะชวยเผาผลาญเมทธานอล ควรใหกิน 50% เอทธานอล 1/2-1 ML ตอน้ําหนักตัว 1 kg ทุกๆ 2-4 ชั่วโมง เปนเวลา 4 วัน 18.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้สามารถเกิดการยอยสลายทางชีวภาพไดงาย - สารนี้คาดวาจะไมกอใหเกดิการสะสมทางชีวภาพ - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา เปนพิษตอปลา และแพลงคตอน - เมื่อร่ัวไหลลงสูแหลงน้ํา จะกอใหเกดิสารผสมที่มีพิษ ไมสามารถเจือจางได และอาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ํา ใหไอของสารที่ระเบิดได ไมสงผลอันตรายตอระบบบําบัดน้ําทิ้ง หากมกีารใชและจดัการสารเคมีอยางเหมาะสม 18.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 2000, 3800 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช Silica gel - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.02 ถึง 2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด ต่ําสุด 1 ลิตร สูงสุด 5 ลิตร

100

18.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 568 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 200-201 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา .1.255 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-66 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2174 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 39 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0057 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 525 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 39 " 10. Source of Ignition หนา 108 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 18.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 16 DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

101

19. Nitric acid ammonium salt ชื่อเคมี IUPAC: Ammonium nitrate ชื่อเคมีท่ัวไป Nitric acid ammonium salt ชื่อพองอื่นๆ Ammonium (i) nitrate ; Nitric acid ; Ammonium salt; Varioform สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 6484-52-2 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1942, 0222, 2426 รหัส RTECS BR 9050000 รหัส EUEINECS/ELINCS 229-347-8 ชื่อวงศ Ammonium salt / nitrate ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 19.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชทําปุย 19.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 4820 ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

102

19.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 80.04 จุดเดือด(0ซ.) : 210 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 170 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.73 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.8 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 190 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 5.43 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.268 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.306 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - ละลายในเอทานอล อะซิโตน เมทามอล แอมโมเนีย , อุณหภูมิสลายตวั : > 170 0ซ 19.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การสูดดมเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองตอเยือ่จมูก , เจ็บคอ , ไอ , หายใจถี่ๆ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคืองเปนผ่ืนแดง , ปอดบวม และสารนี้สามารถซึมผานผิวหนัง จะเปนอันตรายตอสุขภาพ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปจะทําใหคล่ืนไส อาเจียน กลามเนื้อทองหดเกร็ง ผิวหนังซีดเปนสีน้ําเงิน ออนเพลีย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกดิการระคายเคืองตอตา ตาแดง เจ็บตา การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ทําลายเลือด ระบบประสาทสวนกลาง ทางเดินอาหาร 19.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว สารนี่มีความเสถียร - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร จะไมเกดิขึ้น - การกัดกรอนตอโลหะ จะทาํปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับผงโลหะ เสี่ยงตอการเกิดไฟไหม และระเบดิได - สารที่เขากันไมได เมื่อปนเปอนน้ํามัน ถานชาโคล (Chacoal) หรือสารอินทรียอ่ืน ๆ จะทําใหเกดิการระเบิดขึ้น เหล็กกลา ผงโลหะ โลหะอัคลาไลคารไบด ไนไตรท สารประกอบแอมโมเนีย สารออกซิไดซ สารอินทรีย ผงอลูมิเนียม สารอินทรีจําพวก ไนไตรท ซัลไฟด เกลือของออกไซดโอโลจีนิค คลอเลท 19.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

103

- สารดับเพลิงใหใชน้ําในการดับเพลิง หามใชคารบอนไดออกไซด โฟม หรือผงเคมีแหง - การเผาไหม และการเผาไหมและการสลายตัวเนื่องจากความรอน ทําใหเกดิออกไซดของไนโตรเจนและแอมโมเนีย - สารนี้ทําปฏิกิริยารุนแรงกบัผงโลหะ มีความเสียงตอการเกิดไฟไหมและการระเบิด - อาจจะลุกติดไฟขึ้นไดกับวสัดุติดไฟอื่นๆ - สวนผสมของแอมโมเนียไนเตรทตับน้ํามนัอาจจะกอใหเกิดการระเบิดได 19.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในที่แหง และเยน็ - เก็บหางจากสารติดไฟได แหลงประกายไฟและความรอน - ชื่อทางการขนสง : แอมโมเนียไนเตรท (Ammonium nitrate) - ใชสารในตูดดูควันสําหรับสารเคมีเทานั้น - ลางทําความสะอาดหลังการใชงาน - ประเภทอันตราย : 5.1 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II 19.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - เก็บกวาดในลักษณะแหง เพื่อสงไปกําจดัตอไป - ลางทําความสะอาดบริเวณที่หกร่ัวไหล/ปนเปอน - ระมัดระวังการหายใจเอาสารนี้เขาไป 19.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 19.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยไมหายใจ ใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบากใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนกินเขาไป ใหดื่มนมหรือน้าํปริมาณมากๆ กระตุนทําใหเกิดการอาเจยีน ใชยาระบายประเภทโซเดียมซัลเฟต(1 ชอนโตะ ในน้ํา 0.2 ลิตร ) นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําและสบูปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํากลับมาใชใหมอีกครั้ง

104

สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 19.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) ผลกระทบทางชีวภาพ : จะเปนพิษตอส่ิงมีชวีิตที่อาศัยน้ําใน้ํา เปนอันตรายตอแหลงน้ําดื่ม และอาจมีผลกระทบในการปฏิสนธิ 19.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 19.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 48 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 212 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th "

105

19.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

106

20. Oxalic acid ชื่อเคมี IUPAC: Ethanedionic acid ชื่อเคมีท่ัวไป Oxalic acid ชื่อพองอื่นๆ Ethane-1,2-dioic acid; Ethanedioic acid; Oxalic Acid solution, 10% W/V; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 144-62-7 รหัส EC NO. 607-006-00-8 UN/ID No. 3261, 2922 รหัส RTECS RO 2450000 รหัส EUEINECS/ELINCS 205-634-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT. Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 20.1 การใชประโยชน (Uses) - เปนสารกัดกรอนไนโอเนยีม เปนสาร anodizing ใชหลอโลหะผสมทองแดง 20.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 7500 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 100 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.20 PEL-STEL(ppm) : 0.40 PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.20 TLV-STEL(ppm) : 0.40 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

107

20.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : ใส,ไมมีสี กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 126.07 จุดเดือด(0ซ.) : 149-160 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 101.5 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.65 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : <0.001 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 14 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 5.16 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.20 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 20.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง แผลไหมตอจมกู คอ และทางเดนิหายใจ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคือง ตอผิวหนัง อาจทําใหผิวหนงัไหมได สารนี้อาจถูกดดูซึมเขารางกายผานทางผิวหนังได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปจะกอใหเกดิแผลไหม คล่ืนไส เกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง ตอกระเพาะอาหารและลําไส อาเจียน หมดสติ และชัก อาจทาํใหเกดิการทําลายไต ทําใหพบเลือด ออกปนมากับปสสาวะ เนื่องจากกรดออกซาลิกจะมีผลตอการดึงเอา แคลเซียมออกซาเลทออกจากเลอืด ซ่ึงแคลเซียมออกซาเลทจะไปอดุตันอยูทีไ่ต ซ่ึงปริมาณที่รับทางการกินแลวทําใหเสียชีวติไดคือ 5-15 กรัม สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคือง ตอตาและอาจทําใหเกิดผลจากการกัดกรอนได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสเรื้อรังจะทําใหทางเดนิหายใจสวนบนเกิดการอักเสบ การสัมผัสถูกผิวหนังเปนระยะเวลานานจะทําใหผิวหนังอักเสบ เกิดภาวะที่นิ้วเปลี่ยนเปนสีเขียวคล้ํา และอาจเกิดผิวหนังเปอยได - อาจทําใหเกดิผลกระทบตอไต และในบางบุคคลอาจพบอาการผิดปกติ ที่ผิวหนังตา ไต และระบบหายใจได 20.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารนี้เปนของแข็งไวไฟ และติดไฟที่อุณหภูมิต่ํากวา 101 องศาเซลเซียส - สารนี้สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางรุนแรง และสารประกอบซิลเวอรบางตัว ทําใหเกิดการระเบิดได - สารที่เขากันไมได : เบส คลอไรด ไฮโปคลอไรด สารออกซิไดซ เฟอพูริวแอลกอฮอล - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน แหลงจุดติดไฟ และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดอกไซด คารบอนมอนออกไซด จะเกิดขึน้เมื่อสัมผัสกับความรอน ทําใหเกดิการสลายตัว และอาจทําใหเกดิกรดฟอรมิก - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

108

20.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้มีความไวไฟสูงและอาจเกิดการระเบิดได - ไอระเหยของสารสามารถแพรกระจายออกไปถึงแหลงจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟยอนกลับมา - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช : น้ําฉีดเปนฝอย ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด - การฉีดโฟมหรือน้ําอาจทําใหเกดิฟองได - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) ที่ผานการรับรองจาก NIOSH พรอมหนากากแบบเต็มหนา 20.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด และปองกันความเสยีหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากความรอน ความชื้น และสารที่เขากันไมได - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได - ใหสังเหตุคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ช่ือในการขนสง :Corrosive Solid , Acidic , Organic , N.O.S. (Oxalic Acid , Dihydrate) - ประเภทอันตราย 8 - รหัสผลิตภัณฑ : UN 3261 - กลุมการบรรจุ : 3 20.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหตัดแหลงจดุติดไฟทั้งหมด ออกไป - จัดใหมีการระบายอากาศในพื้นที ่- ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม และใหกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกจากบริเวณ ทีห่กร่ัวไหล - ใหทําความสะอาดสวนทีห่กร่ัวไหลโดยไมใหเกดิการแพรกระจายของฝุนในบรรยากาศ - ใหใชอุปกรณและเครื่องมอื ปองกันการเกิดประกายไฟ

109

- ใหเก็บสารที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรุที่ปดสนิทเพื่อนํากลับมาใชใหม หรือนําไปกําจัด - หากสารสัมผัสกับน้ํา ของเหลวที่เปนกลาง สารที่เปนดาง เชนโซดาไฟ ใหทําการดดูซับสวนที่หกร่ัวไหลดัวยวัสดุที่เฉื่อย แลวเก็บใสไวในภาชนะบรรจุ สําหรับกากของเสียเคมี - อยาใชวัสดุไวไฟ เชนขี้เล่ือย - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ 20.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 20.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ําหรือนมปริมาณมากๆ หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย ทนัท ีสัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหเช็ดสารออกจากผิวหนังและ ใหฉีดลางผิวหนังทนัทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนํากลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหคอยๆฉีดลางดวยน้ําเปนเวลาอยางนอย 15 นาที พรอมกระพรบิตาถี่ ๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทยทนัท ีอ่ืน ๆ: - 20.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 20.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิน้เจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

110

20.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 238 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.289 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2540 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 45 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0529 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 45 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 20.14 ขั้นตอนการปฎิบัตงิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 38 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

111

21. Phosphoric acid ชื่อเคมี IUPAC: Orthophosphoric acid ชื่อเคมีท่ัวไป Phosphoric acid ชื่อพองอื่นๆ White phosphoric acid; Orthophosphoric acid; Sonac; Phosphoric Acid สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7664-38-2 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1805 รหัส RTECS TB 6300000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-638-2 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 21.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้นําไปใชในหองปฏิบตัิการ (Laboratory Reagent) 21.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1530 ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 250 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.25 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.25 TLV-STEL(ppm) : 0.75 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

112

21.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 98.00 จุดเดือด(0ซ.) : 158 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 21 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.69 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.4 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0.0285 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายได ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 1.5 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.01 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.25 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สามารถละลายได 21.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป ไอหรือละอองของสารทําใหระคายเคืองจมูก คอ และทางเดนิหายใจสวนบน ทําใหเปนโรคปอดอักเสบได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั ทําใหเปนผ่ืนแดง เจ็บปวดและทําใหผิวหนังแสบไหมได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิอาการเจ็บคอ ปวดทอง คล่ืนไส และแสบไหมบริเวณปาก คอ และทอง ทําใหเกดิอาการช็อก อาจทําใหเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา ทําใหเปนผ่ืนแดง เจ็บปวด การมองเหน็ไมชัดเจน ทําใหแสบไหม และทําลายตาอยางถาวรได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - อวยัวะเปาหมาย ตับ เลือด 21.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : คงตัวภายใตสภาวะการเก็บ การใช สารสามารถเย็นตัวอยางไมเปนผลึกได - สารที่เขากันไมได : คลอไรด สแตนเลาสตีล โซเดียมเตตระไฮโดรบอเรต อัลดีไฮด เอมีน เอไมด แอลกอฮอล ไกลคอล คารบาเมต เอสเทอร ฟนอล ครีซอล คีโตน อีปอกไซด ไซยาไนด ซัลไฟด ฟลูออไรด - สารนี้จะเกิดปฏิกิริยาโพลิเมอรอยางแรงในสภาวะที่มีสารประกอบเอโซและอีปอกไซด - สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง การใหความรอนสูง 21.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

113

- การเกดิเพลิงไหม เมื่อสัมผัสกับโลหะ ทําใหเกดิกาซไฮโดรเจน ที่ไวไฟและทําใหเกดิการระเบิดได - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) 21.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด มีการปองกันการทําลายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากความชื้น ความรอน แสงอาทิตย สารที่เขากันไมได - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได - ชื่อทางการขนสง : Phosphoric acid - ประเภทอันตราย : 8 - รหัส UN : 1805 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II 21.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อสารหกรั่วไหลควรระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล - กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหลและแยกบุคคลที่ไมเกี่ยวของและไมไดสวมใสอุปกรณปองกัน - เก็บรวบรวมสารที่หกร่ัวไหลเพื่อทําใหสารที่หกร่ัวไหลถาสามารถทําได - ใชโซดาแอซ ปูนขาว เพื่อทาํใหสารที่หกร่ัวไหลเปนกลาง - ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยขี้เล่ือย ทราย - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจทุี่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 21.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซ่ึง

114

ควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทาํมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 mg/m3 : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรบัการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาคสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากและอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซึง่มีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคอนภุาคประสิทธิ(HEPA filtre) ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

115

21.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนทําใหเกิดการอาเจียน ใหดืม่น้ําปริมาณมาก ๆ อยาใหอะไรเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - สัมผัสถูกผิวหนัง: ฉีดลางผิวหนังโดยทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาทีขณะที่ซ่ึงเคลื่อนที่เสื้อผาที่เปอนและรองเทา. เรียกแพทย โดยทนัท.ี ลางเสื้อผากอนนํามาใชอีกครัง้. สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพรบิตาถี่ ๆ นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 21.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน - สารนี้เปนอนัตรายตอส่ิงแวดลอม ควรสนใจเกี่ยวกับน้าํและอากาศ 21.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7903 OSHA NO. : ID 165 SD วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - อัตราการไหลสําหรับเก็บสําหรับ 0.2 ถึง 0.5 /นาท ี- ปริมาตรสําหรับเกบ็ตัวอยาง ต่ําสุด 3 ลิตร สูงสุด 100 ลิตร 21.14 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 704 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 254 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2686 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 48 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 1008 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 650 "

116

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 21.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 38 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

117

22. Potassium chromate (VI) ชื่อเคมี IUPAC: Potassium chromate ชื่อเคมีท่ัวไป Potassium chromate (VI) ชื่อพองอื่นๆ Chromic acid, dipotassium salt; Chromic acid (H2CrO4), dipotassium salt; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7789-00-6 รหัส EC NO. 024-006-00-8 UN/ID No. 3077 รหัส RTECS GB2940000 รหัส EUEINECS/ELINCS 232-140-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 22.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนสารวิเคราะห และทดสอบทางเคมี ( reagent ) ในหองปฏิบัติการ 22.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 18 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.0125 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.00625 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

118

22.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : เหลือง กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 194.19 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : 975 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.73 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 6.7 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 69.9 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 8.6-8.8 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 7.94 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.125 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้เปนสารออกซิไดซ 22.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปสารนีม้ีฤทธิ์กัดกรอน จะทําลายเนือ้เยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดเปนแผลผุพอง และลําคออักเสบ ไอ หายใจถี่ และติดขัด อาจทําใหเปนโรคภูมิแพ ถาสัมผัสกับสารนี้ปริมาณมากจะทําใหเกดิเปนโรคน้ําทวมปอด สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนีม้ีฤทธิ์กัดกรอนทําใหเปนผ่ืนแดง ปวดแสบปวดรอน และเปนแผลไหมอยางรุนแรง ผงฝุนและสารละลายที่เขมขนของสารนี้จะกอใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง ถาสัมผัสผิวหนังที่แตกจะกอใหเกดิการอักเสบ และดูดซึมผานผิวหนัง ทําใหเปนอันตรายตอรางกาย มีผลตอการทํางานของไต และตับ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินสารนี้เขาไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหปาก ลําคอ และทองเปนแผลไหม อาจทําใหตายได ทําใหเจ็บคอ อาเจยีน หมดสติ กลามเนื้อหดเกร็ง กระหายน้ํา ทําลายการทํางานของตับ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหมองไมชัด ตาแดง ปวดตาและเนื้อเยื่อเปนแผลไหมอยางรนแรง ทําลายกระจกตา หรือทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้เปนสารกอมะเร็ง - สารนี้มีผลทําลายปอด เลือด ตับ ไต และทางเดินอาหาร - สารนี้เปนอนัตรายตอทารกในครรภ และกอใหเกดิการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม 22.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้เสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : สารรีดิวซ ไฮดราซีน วัตถุที่ติดไฟได สารอินทรียที่เผาไหมได หรือสารที่ออกซิไดซไดงาย ( กระดาษ ไม กํามะถัน อลูมิเนียม หรือพลาสติก ) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน สารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซโครเมียมออกไซด

119

22.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมสามารถเผาไหมไดแตสารนี้เปนสารออกซิไดซ และเมื่อสารนี้สัมผัสกับความรอนหรือสารที่เผาไหมได จะลุกจุดติดไฟ ขึ้น และสลายตัวใหกาซ ออกซิเจนซึ่งจะเพิ่มการเผาไหม - สารดับเพลิง ใชน้ําปริมาณมาก ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุ ที่สัมผัสกับเปลวไฟ - ในกรณีที่เกิดเพลิงไหมการสวมใสอุปกรณปองกันและอุปกรณชวยหายใจ ชนิดที่มีถังอากาศในตัว ( SCBA ) 22.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิดปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บใหหางจากความรอน ความชื้น และสารที่เขากันไมได - ไมควรเก็บในที่ที่เปนพืน้ไม - หลังจากเคลือ่นยายควรทําความสะอาด รายกายใหทัว่ถึง และทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทาทีป่นเปอน - ชื่อทางการขนสง : Potassium chromate - ประเภทอันตราย : 9 - รหัส UN / NA : UN 3077 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : II 22.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล - เก็บกวาด หรือดูดดวยเครื่องดูดฝุน ขณะที่สารยังชื้นเพือ่ปองกันการแพรกระจายของฝุน - เก็บกวาดใสในภาชนะบรรจุเพื่อนํากลับมาใชใหม หรือนําไปกําจดั - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การกําจดัสารนี้ การนําสารนี้กลับมาใชใหม ไมสามารถทําไดอยางปลอดภัย ควรนาํไปกําจัดตามขอกําหนด ระเบียบของทางราชการ

120

22.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : 22.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ถาผูปวยมีสติใหดื่มน้าํตามปริมาณมากๆ หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ นําสงแพทย ทันที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนาํกลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพรบิตาถี่ ๆ ใหนําสงแพทย อ่ืน ๆ: 22.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - ผลกระทบทางชีวภาพ : เปนพิษอยางมากตอส่ิงมีชีวิตที่อาศัยในน้ํา - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 22.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

121

22.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 728 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2757 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" - " 22.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 49 DOT Guide : 171 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

122

23. Potassium dichromate ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Dichromic acid, dipotassium salt; Bichromate of potash; Potassium dichromate (VI); Dipotassium dichromate; Iopezite; Chromic acid (H2Cr2O7), dipotassium salt สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7778-50-9 รหัส EC NO. 024-002-00-6 UN/ID No. 3085 รหัส RTECS KX 7680000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-906-6 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T.Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 23.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนสารในการวิเคราะหและทดสอบทางเคมี(reagant)ในหองปฏิบัติการเคมี 23.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 190 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.0083 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.0042 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

123

23.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : แดงสม กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 294.19 จุดเดือด(0ซ.) : 500 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 398 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.676 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 6.5 % ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 4.04 ที่ 25 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 12.03 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.08 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สลายตัวที่อุณหภูมิ 500 0ซ. 23.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป : สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําลายเนือ้เยื่อและทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดเปนแผลพพุองและเกิดรพูรุนที่ผนังโพรงจมูก รวมถึงอาการลําคออักเสบ ไอ หายใจถี่รัว และหายใจติดขัด อาจทําใหปอดไวตอการเกิดภูมิแพถาสูดดมเขาไปมากๆอาจทําใหน้ําทวมปอดได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั สารนี้มฤีทธิ์กัดกรอนเกิดอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดรอน และแผลไหมอยางรุนแรง ฝุนและสารละลายเขมขนจะเปนเหตุใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง การสัมผัสกับผิวหนังทีแ่ตกเปนแผลจะทําใหเกิดแผลพุพอง (แผลจากโครเมี่ยม)และสารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนังจะมีผลกระทบตอการทํางานของไตและตับ จะเปนสาเหตุใหผิวหนังไวตอภูมิแพ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหปาก ลําคอ และกระเพาะอาหารเปนแผลไหมอยางรุนแรง และอาจจะทําใหถึงแกความตายได ทําใหเจ็บคอ อาเจียน และทองเสีย อาจจะทาํใหลําไสอักเสบ เวียนศีรษะ กลามเนือ้เปนตะคริว หมดสติ เปนไข ตับและไตถกูทําลาย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน จะทําใหมองไมชัด ตาแดง เจ็บตา เยื่อบุตาเกดิแผลไหมอยางรุนแรง จะกอใหเกดิการบาดเจ็บตอกระจกตาหรือตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้เปนสารกอมะเร็งตาม IARC, OSHA, ACGIH, NTP,EPA -สารนี้มีผลทําลายไต ทอไต กระเพาะปสสาวะ ปอด 23.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความเสถียร : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บสารเคมี - สารที่เขากันไมได : สารรีดิวซ, อะซิโตนกับกรดซัลฟูริค, โบรอนกับซิลิคอน, เอทธิลีนไกลคอล, เหล็ก, ไฮดราซีน และไฮดรอกซี่ลามีน, สารอินทรียหรือสารอื่นที่ออกซิไดซไดงาย (กระดาษ ไม กํามะถัน อลูมินั่มหรือพลาสติก) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน สารที่เขากันไมได

124

- สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การลุกไหมทําใหเกิดกาซโครเมีย่มออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 23.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมติดไฟแตเปนสารออกซิไดซอยางแรง - สารดับเพลิงใหฉีดดวยน้ําปริมาณมากๆ การใชนําฉีดเปนฝอยสามารถใชควบคุมหลอเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - อยาใหน้ําที่ใชดับเพลิงแลวไหลลนเขาไปในทอระบายน้ําหรือทางน้ํา - สารนี้สัมผัสกับสารออกซิไดซจะทําใหเกิดการเผาไหมอยางรุนแรงมาก - ในเหตุการณเกิดเพลิงไหมควรสวมใสชดุปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 23.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในบริเวณที่แหง, แยกหางจากวัสดุทีต่ิดไฟได, สารอินทรีย หรือสารออกซิไดซไดงาย - หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม - ปองกันการเสียหายทางกายภาพ - ควรสวมใสอุปกรณปองกนัอันตราย โดยเฉพาะสําหรับงานบํารุงรักษาหรือที่ซ่ึงมีการสัมผัสในระดับมากเกินกวาที่กําหนด - ลางมือ หนา แขน คอ เมื่อออกจากพืน้ที่ควบคุม และกอนกินอาหาร หรือสูบบุหร่ี - อาบน้ําถอดเสื้อผาที่ปนเปอนออกและสวมใสเสื้อผาที่สะอาดหลังจากเลิกงานแตละวัน หลีกเลี่ยงการใชเสื้อผาที่ปนเปอน - ภาชนะของสารนี้อาจจะเปนอันตรายเมือ่เปนถังเปลา เนื่องจากมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง - สังเกตคําเตือนทั้งหมดและขอควรระมัดระวังที่ระบุไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : โปแตสเซียมไดโครเมท (Pottassium dicromate) - ประเภทอนัตราย : 5.1 , 8 - รหัส UN/NA : 3085

125

- ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II - การรายงานขอมูลสําหรับผลิตภัณฑ / ขนาด : 400 ปอนด 23.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหลใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ดูดหรือการเก็บกวาดขณะชื้น เพื่อหลีกเลี่ยงการแพรกระจายของฝุน - เก็บกวาดและ - บรรจุใสภาชนะบรรจุเพื่อเก็บคืนหรือนําไปกําจัด - สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัดสารนี้ไมสามารถนํากลับมาใชใหมไดอยางปลอดภัยในการนาํเอากลับคืนมาใชใหมจะตองจดัการเชนเดียวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจัด 23.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 23.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาไมหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนและนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากินหรือการกลนืเขาไปและยงัมีสติอยู อยากระตุนทําใหเกิดการอาเจยีน ใหดื่มน้ําปริมาณมาก หามใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสตินําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหฉีดลางผิวหนังโดยทันทีด่วยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดรองเทาและเสื้อผาที่เปรอะเปอนสารเคมีออกและนําไปพบแพทยโดยทันที ลางทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทาใหทั่วถึงกอนนาํมาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตาใหฉดีลางตาโดยทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้น – ลง นําสงไปพบแพทยโดยทันท ีอ่ืน ๆ: -

126

23.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 23.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 23.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2753 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 23.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :30 DOT Guide : 141 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสยี กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

127

24. Potassium hydroxide ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Potassium hydrate; Caustic potash; Lye; Potassa; Caustic potash, liquid สูตรโมเลกุล

CAS No. 1310-58-3 รหัส EC NO. 019-002-01-5 UN/ID No. 1813, 1814 รหัส RTECS TT 2100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-181-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 24.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในกระบวนการผลิตแบตเตอรี่ เปนอัลคาไลนเซลล 24.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 273 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : TLV-C(ppm) : 0.88 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

128

24.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผงของแข็ง สี : ขาว กล่ิน : ไมมกีล่ิน นน.โมเลกุล : 56.1 จุดเดือด(0ซ.) : 1324 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 361 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.044 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 1 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 110 ที่ 25 0ซ ความเปนกรด-ดาง(pH) : >13.5 ที่ 20 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.30 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.44 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สามารถละลายไดในแอลกอฮอล 24.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป เปนอันตรายตอเยือ่เมืองและทางเดินหายใจสวนบน ทําใหคล่ืนไส อาเจียน มนึงง ปวดศีรษะ หายใจตดิขัด โรคปอดอักเสบ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคือง และดูดซึมผานผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนเขาไปจะเปนอันตราย ทําใหไอ มึนงง ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน คอหอยอักเสบ หลอดอาหารอักเสบ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคือง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ 24.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : ความรอนเหนือจุดหลอมเหลว, ดีบุก, สารประกอบไนไตร, สังกะสี, สารอินทรีย, แมกนีเซยีม, ทองแดง - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ดูดซึม CO2 จากอากาศ, ความรอนจากการเดอืดของสารจะสูงมาก - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น 24.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้ไมสามารถเผาไหมได - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA)

129

- ในขณะที่เกดิเพลิงไหมจะเกิดฟูม/กาซพษิซึ่งจะทําปฏิกิริยารุนแรงกบัโลหะ จะปลอยกาซไฮโดรเจนซึ่งเปนกาซที่สามารถลุกติดไฟได 24.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากการสัมผัสกับน้ํา - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย 24.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล : กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 24.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกิดการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และ แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดปุระเภท Unsupported Neoprene ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซ่ึงควรมีระยะเวลาทีจ่ะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Polyvinyl Chloride ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และ แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และไมแนะนําใหใชถุงมือทีท่ํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

130

24.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหเครื่องชวยหายใจ ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหนาํสงไปพบแพทยทนัที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหลางดวยน้าํปริมาณมากๆทันทีอยางนอย 15 นาท ีถอดเสื้อผาและรองเทาทีป่นเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆทันที อยางนอย 15 นาที พรอมกระพรบิตาถี่ๆ นําสงไปพบแทพย อ่ืน ๆ: 24.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน - สารนี้อาจเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม ควรใหความสนใจเปนพิเศษตอส่ิงมชีีวิตในน้ํา - สารนี้จะสงผลที่เปนอันตราย เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงพีเอช มีฤทธิ์กัดกรอนแมในสภาพที่เจือจาง - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา LC50 : 10 mg/l/96 hr. 24.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7401 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - วิธีการวเิคราะหใชการไตเตรท ( acid - bse titration ) - การเก็บตวัอยางใช : 1 um PTFE membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 1 ถึง 4 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

131

24.13 เอกสารอางอิง (Reference) 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 734 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 262 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2764 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 49 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0351 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 49 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 24.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

132

25. Potassium permanganate ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Permanganic acid, potassium salt; Permanganic acid (nMnO4), potassium salt; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7722-64-7 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1490 รหัส RTECS SD 6475000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-760-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T. Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 25.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชเปนสารออกซิไดส , ใชในการวิเคราะหเหล็ก , ควบคุมกลิ่น 25.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1090 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.77 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.030949367 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

133

25.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : สีมวง-บรอนซ กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 158.03 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : 240 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.7 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 7 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : ~ 7-9 ที่ 20 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 6.46 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.16 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : อุณหภูมิสลายต่ํา > 240 องศาเซลเซียส 25.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ทาํใหเกดิอาการไอ หายใจถี่รัวและการหายใจเอาสารที่มีความเขมขนสูงสามารถทําใหเกิดอาการน้ําทวมปอดได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะทําใหผิวแหงเปนขุยและสารละลายที่เขมขนจะทําใหมีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเกดิผ่ืนแดง ปวด เปนแผลไหมอยางรุนแรง เปนจุดดางสีน้าํตาลบริเวณทีสั่มผัสถูกและทําใหผิวหนังดานขึน้ สารละลายเจือจางจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังเพียงเล็กนอย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินสารนี้ในสภาพของแข็งหรือในสภาพที่มีความเขมขนสูงเขาไป จะทําใหระบบการยอยอาหารเกดิเปนแผลไหมอยางรุนแรงและมีอาการบวมน้ํา ชีพจรเตนเร็ว ความดนัโลหิตลดต่ําลงจนทําใหหมดสติและอาจถึงแกความตายได ถากลนืหรือกินสารที่มีความเขมขน 1% จะทําใหลําคอไหม คล่ืนไส อาเจียน และปวดทอง ที่ความเขมขน 2-3% จะทําใหเปนโรคโลหิตจาง และลําคอบวม ทําใหหายใจไมออก และทีค่วามเขมขน 4-5% ไตถูกทําลาย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารละลายเขมขนจะกอใหเกิดอาการระคายเคืองอยางรุนแรง ทําใหการมองเห็นไมชดั และอาจจะทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสถูกผิวหนังนานๆ จะทําใหเกิดการระคายเคือง ช้ันไขมนัของผิวหนังถูกทําลายและทําใหผิวหนังอกัเสบ ทําใหเกดิอาการแพพิษแมงกานีสจากการหายใจเอาฝุนเขาไปมากๆ เปนอันตรายตอประสาทสวนกลาง เกิดอาการเชื่องชา งวงนอน และแขนขาออนแอไมมแีรง 25.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้จะเสถียรภายใตสภาวะปกตขิองการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : ผงโลหะ, แอลกอฮอล, สารอารเซไนท, โบรไมด, ไอโอไดด, ฟอสฟอรัส, กรดกํามะถัน, สารประกอบอินทรีย, กํามะถัน, ถานกัมมันต, ไฮดราย, ไฮโดรเจนเปอรออกไซดเขมขน, เหล็ก, เกลือเมอรคิวรัส, ไฮโปฟอสไฟท, ไฮโปซัลไฟท, เปอรออกไซด และออกซาเลท (OXALATES) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุไฟ และสารที่เขากันไมได

134

- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อถูกความรอนจะสลายตวัใหไอโลหะที่เปนพิษออกมา - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 25.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้เปนสารออกซิไดซอยางแรง สามารถระเบิดไดเมือ่เกิดการสั่นสะเทือนอยางแรง หรือสัมผัสถูกความรอน เปลวไฟ หรือมีการเสียดสี - การสัมผัสกับสารออกซิไดซจะกอใหเกดิการเผาไหมอยางรุนแรง - ภาชนะบรรจทุี่ปดผนึกสนทิอาจเกิดระเบดิไดเมื่อไดรับความรอน - สารนี้ไมติดไฟ แตสารนี้เปนสารออกซิไดซอยางแรง ซ่ึงเมื่อสัมผัสกับความรอนที่เกดิจากการเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวซหรือสารที่สามารถลุกติดไฟไดจะทําใหเกิดการจดุติดไฟได - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเหตุเพลิงไหม ใหใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อปกคลมุไฟ - ใหฉีดน้ําเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม และฉีดลางสวนที่หกร่ัวไหล หรือไอระเหยที่ยังไมติดไฟออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม - สารดับเพลิงชนิดอื่นๆ จะไมมีประสิทธิภาพดีกวาน้ํา แตใหหลีกเลี่ยงการไหลลนของน้ําเขาไปในทอระบายน้ําหรือทางน้ํา - ในเหตุการเกดิเพลิงไหม ใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 25.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่ปดมิดชดิ - เก็บภายในทีท่ี่เย็นและแหง มีการระบายอากาศในพืน้ทีอ่ยางด ี- ปองกันการเสียหายทางกายภาพและความชื้น - แยกเก็บออกจากสารที่เขากนัไมได สารตดิไฟได สารอนิทรีย หรือสารออกซิไดซไดงาย - แยกออกจากแหลงของความรอนหรือแหลงจุดติดไฟใดๆ - หลีกเลี่ยงการเก็บไวบนพืน้ไม - ภาชนะบรรจขุองสารนี้อาจกอใหเกิดอันตรายไดเมื่อเปนถังเปลาที่มีกากของเสียตกคางอยู เชน ฝุนของแข็ง - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : โปแตสเซียมแมงกาเนต (POTASSIUM PERMANGANATE) - ประเภทอันตราย : 5.1

135

- รหัส UN : 1490 25.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล ใหเคลื่อนยายของที่จุดติดไฟทัง้หมดออกไป - ใหมกีารระบายอากาศในพืน้ที่ที่สารหกรัว่ไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - ทําความสะอาดสวนที่หกร่ัวไหลเพื่อไมใหฝุนแพรกระจายไปในอากาศ - ลดฝุนในบรรยากาศและปองกันการทําใหฝุนฟุงกระจายโดยการทําใหช้ืนดวยน้ํา - อยาใชเครื่องมืออุปกรณที่ทาํใหเกดิประกายไฟ - เก็บสารที่หกร่ัวไหลเพื่อนํากลับไปใชใหม หรือนําไปกาํจัดและใสในภาชนะที่ปดแนนสนิท - การพิจารณากําจัด สารนี้ไมสามารถทําไดอยางปลอดภยัในการนําเอากลับคืนมาใชใหม จะตองจัดการเชนเดยีวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจัด 25.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 25.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย แลวรีบนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหดื่มน้าํปริมาณมากๆ หามไมใหนําสิ่งใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ แลวรับนําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาออก แลวรีบนาํสงไปพบแพทยทันที ลางเสื้อผากอนนํามาใชอีกครั้ง ทําความสะอาดรองเทาอยางทั่วถึงกอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ขณะทําการลาง แลวรีบนําสงไปพบแพทยทันท ี อ่ืน ๆ: -

136

25.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) ผลในการฆาแบคทีเรีย , เปนอันตรายตอแหลงน้ําดื่ม , หามทิ้งลงสูระบายน้ํา , น้ําเสีย หรือดิน 25.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิน้เจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 25.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 740 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2770 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 680 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 25.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

137

26. Pyridine ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Azabenzene ; Azine; Pyr สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 110-86-1 รหัส EC NO. 613-002-00-7 UN/ID No. 1282 รหัส RTECS UR 8400000 รหัส EUEINECS/ELINCS 203-809-9 ชื่อวงศ Heterocychlc ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T.Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 26.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ (Laboratory reagent) 26.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 891 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 29160 / 4 ชั่วโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 1000 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 5 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 5 TLV-STEL(ppm) : N/E TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

138

26.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส,ไมมีสี- เหลือง กล่ิน : เฉพาะตัว นน.โมเลกุล : 79.10 จุดเดือด(0ซ.) : 115 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -42 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.98 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.7 ความหนดื(mPa.sec) : 0.95 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 16 ที่ 20 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ 21 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 8.5 ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.24 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.31 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 26.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะทําใหปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน เวยีนศีรษะ งวงซึม ระบบหายใจลมเหลว ความดันโลหิตต่ํา และหายใจติดขดั สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั สารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนัง ทําใหเกดิการระคายเคือง เกิดผ่ืนแดง ปวดแสบปวดรอน และเกิดแผลไหมอยางรนุแรง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปจะเปนอันตรายและอาจทําใหเสียชีวิตได มีอาการปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน ปวดทอง ทวงรวง มนึงง ระคายเคอืงตอกระเพาะอาหาร และลําไส สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา การระคายเคืองอยางรุนแรงหรือแผลไหม ตาแดง ปวดตา และสายตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ไมมีระบุในบัญชีรายช่ือสารกอมะเร็งของ NTP IARC OSHA - การสัมผัสอยางเรื้อรัง มีผลทําใหไตและตบัถูกทําลาย - อวัยวะเปาหมาย : ระบบประสาทสวนกลาง ตับ ไต ระบบทางเดินอาหาร ผิวหนัง 26.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้จะมีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง กรดเขมขน ฟลูออรีน สารประกอบฮาโลเจน กรดไนตริก ไนโตรเจนออกไซด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุติดไฟ แสงสวาง ซัลเฟอรออกไซด แอนไฮไดรส - สารที่เกิดจากการสลายตัว : ไนโตรเจนออกไซด ไซยาไนด แอมโมเนีย คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

139

26.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 18 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 481 คา LEL % : 1.8 UEL % : 12.4 LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- ไอระเหยจะไหลแพรกระจายไปบนพื้นสูแหลงจุดติดไฟ และเกิดการติดไฟยอนกลับมาได - ภาชนะบรรจทุี่ปดสนิทเมื่อสัมผัสกับความรอนอาจจะเกิดการระเบิดขึ้นได - การสัมผัสกับสารออกซิไดซอยางแรง จะทําใหเกิดเพลิงไหมได จะเกิดกาซพษิขณะเกิดเพลิง เชน ออกไซดของไนโตรเจน ไซยาไนด แอมโมเนีย คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด - สารนี้ไวตอการเกิดไฟฟาสถิตย - สารดับเพลิง ใหใชโฟมแอลกอฮอล ผงเคมีแหง หรือคารบอนไดออกไซด น้ําจะใชในการฉีดดับเพลิงไมไดผล - ใชน้ําเปนฝอนเพื่อหลอเย็นควบคุมภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - ขั้นตอนการดับเพลิงรุนแรง จะตองสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายทีเ่หมาะสมและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา - ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจอุอกจากพืน้ทีท่ี่เกิดเพลิงไหม ถาทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงตอการเกิดอันตราย 26.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในที่เยน็ และแหง มีการระบายอากาศอยางเพยีงพอ - เก็บในบริเวณที่สําหรับเกบ็ของเหลวไวไฟ - เก็บสารนี้ใหหางจากแสง - มีการตอเชื่อมระหวางภาชนะบรรจุ (Bonding) การตอสายลงดิน (Grounding) เมื่อมีการถายเทสารนี้ - ชื่อในการขนสง : Pyridine - ประเภทอันตราย : 3.2 (ของเหลวไวไฟ) - รหัส UN : 1282 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II

140

26.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ขั้นตอนการในการปฏิบัติในเหตุการณ หกร่ัวไหลหรือการปลอย ออกมาใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดปองกันแบบคลุมตัว - ปดกั้นแหลงจุดติดไฟ เปลวไฟ การสูบบุหร่ีหรือทําใหเกิดเปลวไฟในบริเวณนี ้- ใหหยดุการรัว่ไหลถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ปดคลุมสารที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวสัดุอ่ืนที่ไมติดไฟ และเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจัดตอไป - ใหฉีดลางบรเิวณทีห่กร่ัวไหลดวยน้ํา - ใหใชน้ําฉีดเปนฝอยละอองเพื่อลดการเกดิไอระเหย - วิธีการกําจัดใหกําจัดตามวธีิของหนวยงานราชการ และกฎระเบยีบที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม 26.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film แตควรหลีกเลี่ยงถุงมือประเภท Nitrile,Unsupported Neoprene , Polyvinyl Chloride ,Neoprene/Natural Rubber Blend - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm : ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight - fitting facepiece โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 2000 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode)

141

โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 26.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไปอยากระตุนทําใหเกดิการอาเจียน ถามีสติอยูใหดื่มน้ําปริมาณมาก ๆ และนําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหฉีดลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 26.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 26.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1613 OSHA NO. : 7 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเกบ็ตวัอยางใช : coconut shell charcoal 100 mg / 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.01 ถึง 1 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 18 ลิตร สูงสุด 150 ลิตร

142

26.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 765 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 272-273 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.305 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-83 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2831 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 50 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0323 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 699 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 50 " 10. Source of Ignition หนา 119 " 11. "อ่ืน ๆ" www.chemtrack.trf.or.th " 26.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :19 DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

143

27. Rotenone ชื่อเคมี IUPAC: 1,2,12,12A-tetrahydro-2alpha-isopropenyl-8,9-dimethoxy(1)benzopyrano(3,4-b)furo(2,3-h)(1)benzopyran-6(6aH)-one ชื่อเคมีท่ัวไป Rotenone ชื่อพองอื่นๆ Extrax; Rotocide ; Tubatoxin ; Cube root extract ; Fish-tox ; Cube extract ; (2R,6a5,12axS)-1,2,12,12a-tetrahydro-2a-isopropenyl-8,9-dimethoxy(1)benzopyrano(3,4-b)furo(2,3-H)(1)benzopyran-6(6aH)-one; Tubatoxin; Derris; [2R-(2alpha,6aalpha,12aalpha)]-1,2,12,12a-tetrahydro-8,9-dimethoxy-2-(1-methylethenyl)-[1]Benzopyrano[3,4-b]furo[2,3-h][1]benzopyran-6(6aH)-one; Noxfish; Noxfire; Foliafume; Nusyn-Noxfish; PB-Nox; Chem-Fish; (-)-rotenone; Barbasco; Chem-mite; Cubor; Dactinol; Deril; Derrin; Dri-kil; Extrax; Green cross warble; Haiari; Mexide; Nicouline; Paraderil; Pro-nox fish; RO-KO; Ronone; Rotefive; Rotefour; Rotessenol; Rotocide; Tubotoxin; 1,2,12,12A-tetrahydro-8,9-dimethoxy-2-(1-methylethenyl)-(1)benzopyrano(3,4-b)furo(2,3-h)(1)benzopyran-6(6aH)-one, (2R-(2alpha, 6alpha-12aalpha))-; Synpren; Prenfish; Nusyn; Benzopyrano[3,4-b]furo[2,3-h][1]benzopyran-6(6aH)-one, 1,2,12,12a-tetrahydro-8,9-dimethoxy-2-(1-methylethenyl)-, ([2.2.1]R-([2.2.1]alpha,6aalpha,[2.2.1][2.2.1]aalpha))-; Hydrogenated rotenone; Rotenone, hydrogenated; สูตรโมเลกุล

รหัส IMOCAS No. 83-79-4 รหัส EC NO. - UN/ID No. 2811 รหัส RTECS DJ 2800000 รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 27.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนยาฆาแมลง 27.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 60 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 150 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.31 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : -

144

TLV-TWA(ppm) : 0.31 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา 27.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง,ของแข็ง สี : เหลืองถึงน้ําตาล กล่ิน : - นน.โมเลกุล : 394.45 จุดเดือด(0ซ.) : 210-220 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 165-166 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.27 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : <0.00004 ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ไมละลายน้ํา ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 16.13 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.06 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : -ละลายในแอลกอฮอล อะซิโตน คารบอนเตตระคลอไรด คลอโรฟอรม อีเธอร และสารละลายอินทรียอ่ืน ๆ 27.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะเปนอันตราย ทําใหคล่ืนไส อาเจียน และมีอาการสั่น และระคายเคืองตอเยื่อบ ุสัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคือง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะมีผลตอกระเพาะอาหาร และลําไส สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคือง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ผลการเรื้อรัง จะทําใหเปนเนื้องอกและมีผลตอทารกในครรภ ผลของการกลืนหรือกินเขาไป จะมีผลกระทบตอกระเพาะลําไส ทําลายตับ และไต - อาการเฉียบพลันเมื่อสัมผัสกับสารนี้ หมดสติ คล่ืนไส อาเจียน และตัวส่ัน และระคายเคืองตอเยื่อเมือกของผิวหนัง และทางเดินหายใจ

145

27.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง 27.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - NFPA Code : LFL % : - UFL % : - - ความไวไฟ : ไมเปนอันตราย - การระเบิด : ไมเปนอันตราย - สารดับเพลิง : คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือโฟม - สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวเนื่องจากความรอน : ควันกรด ฟมู/กาซที่กอใหเกิดการระคายเคือง 27.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ 27.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อสารหกรั่วไหล ใหดดูซับสารที่หกร่ัวไหลดวยทราย โดโลไมต เวอรคิวไลต หรือสารดูดซับอื่น ๆ และตักกวาดเก็บใสภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสําหรับนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - ถาเปนกรดหกใหทํากรดใหเปนกลางดวยโซดาแอซ แลวใชวัสดุดูดซบัสารที่หก ตักใสในภาชนะสําหรับนําไปกําจดั หรือลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ - ถาเปนดางหก ทําใหเปนกลางดวย NaHSO4 และใชวสัดุดูดซับสารที่หก ตักเก็บใสภาชนะสําหรับนําไปกําจัด หรือฉีดลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 27. 9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ

146

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 mg/m3 : ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 ซ่ึงมี Cartridge สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 250 mg/m3 : ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอปุกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight-fitting facepiece ซ่ึงมี Cartridge สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight-fitting facepiece ซ่ึงมีอัตราการไหลแบบตอเนือ่ง โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือในกรณทีี่เกดิเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLHพรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคอนภุาคประสิทธิสูง (HEPA filtre) ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

147

27.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหดืม่น้ํา 1 ถึง 2 แกว ภายใน 15 นาที กระตุนใหเกิดการอาเจียนและนาํสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหถอดเสื้อผาที่เปรอะเปอนสารออก ลางดวยสบูและน้ําปริมาณมาก ๆ และนําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาดวยน้ําปริมาณมาก ๆ หลาย ๆ คร้ัง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 27.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน - สารนี้เปนพษิตอส่ิงแวดลอม และควรสนใจเปนพิเศษตอน้ําและปลา 27.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 5007 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช 1 mm PTFE membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 4 ลิตรตอนาที - ใช HPLC, UV DETECTION 27.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 274 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2885 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมใีนอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 50 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0944 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - "

148

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 50 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 27.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

149

28. Sodium carbonate ชื่อเคมี IUPAC: - ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium carbonate ชื่อพองอื่นๆ - สูตรโมเลกุล

รหัส IMOCAS No. 497-19-8 รหัส EC NO. 011-005-00-2 UN/ID No. - รหัส RTECS VZ 4050000 รหัส EUEINECS/ELINCS 207-838-8 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Merck.Ltd แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 28.1 การใชประโยชน (Uses) 28.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 4090 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 2300 / 2 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

150

28.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : สีขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 105.99 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : ~ 891 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.53 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 21 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 11.5 ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.33 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.23 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - 28.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองชองทางหายใจสวนบน ไอ หลอดลมตอนบนอักเสบ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง มีอาการปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง ทําใหไอ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคอืงตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้มีผลตออวัยวะเจริญพันธ 28.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : กรดแก อะลูมินัม ฟลูออรีน โลหะอัลคาไลท สารประกอบไนโตร กรดซัลฟูริกเขมขน - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด 28.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - NFPA Code : LFL % : - UFL % : - - สารนี้ไมไวไฟ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ - เมื่อเกิดเพลิงไหมจะเกดิควนัพิษออกมา - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA)

151

28.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง ที่อุรหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเเซียล - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - เก็บหางจาก ความชื้น 28.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล อพยพคนออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิผงฝุน - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 28.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 28.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิว้ถางแยกเปลือกตาออก อ่ืน ๆ:

152

28.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 28.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 28.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 792 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา - " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 28.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : - DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

153

29. Sodium dichromate ชื่อเคมี IUPAC: Disodium dichromate ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium dichromate ชื่อพองอื่นๆ Dichromic acid, disodium salt ; Chromic acid (H2Cr2O7), disodium salt; Sodium Bichromate - Carc.; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 10588-01-9 รหัส EC NO. - UN/ID No. 3085 รหัส RTECS - รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT.BAKER Inc., SAF-T.DATA แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 29.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในกระบวนการแยกสารดวยไฟฟา (eletrochemical) และทําใหสารแขวนลอย 29.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 50 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : 0.0082 TLV-TWA(ppm) : 0.0041 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

154

29.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก ของแข็ง สี : แดงสม กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 298.0 จุดเดือด(0ซ.) : 400 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 357 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.35 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0 ที่ 20 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 73 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 3.5 ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 0.082 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 12.195 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 29.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน จะกอใหเกิดเนื้อเยื่อของเยื่อบุและทางเดินหายใจสวนบนอยางรุนแรง อาจทําใหเกดิแผลเปอยหรือทําใหโพรงจมูกทะลไุด จะกอใหเกดิอาการเจ็บคอ ไอ หายใจตดิขัด อาจทําใหเกดิอาการหอบหือ และการสัมผัสสารที่ความเขมขนสูงอาจทําใหเกิดน้ําทวมปอดได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั เนื่องจากสารนี้มีทธิ์กัดกรอน จะกอใหเกิดผ่ืนแดง ปวด และอาจเกิดแผลไหมรุนแรงได ฝุนและสารละลายเขมขนของสารนี้จะกอใหเกดิการระคายเคือง การสัมผัสกับผิวหนังทีแ่ตกจะกอใหเกิดแผลพุพอง หรือแผลเปอยได การดูดซึมของสารนี้ผานผิวหนังเขาสูรางกายจะกอใหเกิดพษิ และเกดิผลกระทบตอการทํางานของตับและไต รวมทั้งอาจทําใหเกิดภาวะภูมิไวตอการสัมผัสทางผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินสารนี้เขาไปจะกอใหเกดิแผลไหมบริเวณปาก ลําคอ และกระเพาะอาหาร และอาจทําใหเสยีชีวติได กอใหเกิดอาการเจ็บคอ อาเจียน ทองรวง กระเพาะอาหารและลําไสอักเสบ เสนเลือดหดตวั วิงเวยีนศีรษะ กระหายน้ํา เปนตะคริว หมดสติ เกิดความผิดปกติของการสูบฉีดโลหิต เปนไข ทําลายตับ และอาจทําใหเกดิภาวะไตลมเหลวอยางเฉยีบพลันได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิอาการตาแดง สายตาพรามัว ปวดตา และเกิดแผลไหมของเนื้อเยื่ออยางรุนแรง อาจทําใหเกิดการทําลายกระจกตา และทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - เปนสารกอมะเร็งในมนุษย (NTP) - การสัมผัสสารเปนระยะเวลานานหรือการสัมผัสสารซํ้าๆ จะทําใหเกิดแผลเปอยและแผลทะลุของโพรงจมูก ระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ทําลายตับและไต เกดิแผลเปอยหรือแผลพพุองที่ผิวหนงั การเกิดแผลพุพองอาการเริ่มแรกจะไมมีอาการเจ็บปวดแตสารจะคอยๆเกดิการทําลายลึกเขาจนถึงกระดกู , สารนี้เปนสารกอมะเร็งในมนุษย

155

29.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บรักษา - สารที่เขากันไมได : ไฮดรอกซีน อะซิตกิแอนไฮดราย เอททานอล ไตรไนโตรโทลูอีน ไฮดรอกซลีามัน กรดเขมขน สารที่ไวไฟ สารอินทรียหรือสารที่สามารเกิดปฏิกิริยาออกซิไดสไดงาย เชน กระดาษ ไม ซัลเฟอร อลูมินัม พลาสติก - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซโครเมียมออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 29.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมไวไฟ แตสารนี้เปนสารออกซิไดสอยางแรง ซ่ึงสามารถเกิดปฏิกิริยาคายความรอนกับสารรีดิวซทําใหเกดิการลุกติดไฟได - การกระแทกอยางแรง การสัมผัสถูกความรอน การเสียดสี หรือการสัมผัสกับประกายไฟอาจกอใหเกิดการระเบิดได - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ - ใหใชน้ําฉีดหลอเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม - ใชน้ําฉีดหลอหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหมจนกระทั้งไฟดับหมด - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) และชุดปองกนัสารเคมีพรอมหนากากแบบเต็มหนา 29.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในบริเวณที่แหงและเกบ็แยกออกจากสารที่สามารถติดไฟได สารอินทรีย สารที่สามารถออกซิไดสไดงาย - การเคลื่อนยายและการเก็บรักษาจะตองมกีารปองกันความเสียหายทางกายภาพ - หลีกเลี่ยงการเก็บสารนี้ไวบนพื้นไม

156

- ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายโดยเฉพาะการเขาไปบํารุงรักษารอยแตกราวภายใน หรือที่ซ่ึงมีการสัมผัสสารมากเกินกวาทีก่ําหนด - ใหทําการลางมือทุกครั้งกอนการกินอาหาร ดื่มน้ํา หรือสูบบุหร่ี - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง อาจเปนอันตรายได - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อในการขนสง : Oxidation Solid , Corrosive , N.O.S. (Sodium bichromate) - ประเภทอันตราย : 5.1 , 8 - รหัสผลิตภัณฑ : UN 3085 - กลุมการบรรจุ : II - หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารที่ความเขมขนสูงเปนระยะเวลานาน 29.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหจดัใหมกีารระบายอากาศในบริเวณที่หกร่ัวไหล - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหใชการดดูหรือการกวาดขณะชื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการแพรกระจายของฝุน - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 29.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : 29.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย แลวนําสงไบพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกดิการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ําปริมาณมาก หามนําสิ่งใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทยทนัท ี

157

สัมผัสถูกผิวหนัง: ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้าํปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย และใหซักทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํากลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : ถาสัมผัสถูกตาใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตา ถ่ีๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 29.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เมื่อร่ัวไหลสูดิน สารนี้จะถกูชะลงสูน้ําใตดินได - เมื่อร่ัวไหลสูน้ํา คาดวาสารนี้ไมสามารถระเหยได - สารนี้จะสะสมในสิ่งมีชีวติไดในบางชวงความเขมขน - เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ สารนี้อาจเกิดการสลายตัวแบบเปยกออกจากอากาศได - คาดวาสารนีจ้ะเปนพิษตอสัตวและพืชน้าํ 29.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7024 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : 0.8 um Cellulose ester membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 1 ถึง 3 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร 29.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2961 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันวีัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - "

158

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 29.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : - DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

159

30. Sodium dithionite ชื่อเคมี IUPAC: Sodium hydrosulfite ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium dithionite ชื่อพองอื่นๆ Sodium sulphide hydrated สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1313-84-4 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1849 รหัส RTECS WE 1925000 รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ Inorganic Sulphide ชื่อผูผลิต/นําเขา Caledron Laboratories Ltd. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 30.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในหองปฏิบัติการเคมี 30.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 50 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 10 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 10 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

160

30.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : ขาว-เหลืองออน กล่ิน : กล่ินกาซ ไขเนา นน.โมเลกุล : 240.18 จุดเดือด(0ซ) : 920 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : ~50 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.427 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : - ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : ดางแก ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 9.82 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.10 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 30.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะทาํใหเจ็บคอ ทําใหเกดิอาการไอ หายใจติดขดั การไดรับสารที่มีความเขมขนสูงหรือสัมผัสนานๆจะทําให เวียนศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน ปอดบวม และอาจเสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคือง อาการคัน เปนแผลไหม ปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะทําใหเกดิแผลที่ปาก ลําคอ และระบบทางเดินอาหาร คล่ืนไส ทองรวง ในกรณีรุนแรงอาจทําใหลําไสทะลุ และอาจเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรง เจ็บตา เปนแผลไหม และอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ไมเปนสารกอมะเร็ง 30.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรปานกลาง เปนสารดูดความชืน้ จะเปลีย่นสีเมื่อสัมผัสกับแสงและอากาศ ทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดหรือกาซไขเนาออกมา - สารที่เขากันไมได : กรอแร กรดอินทรีย สารออกซิไดซ เกลือ คารบอนไดอะโซเนยีม (Diazonium) N,N-dichloromethylamine - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทําใหเกดิกาซไฮโดรเจนซัลไฟด และซัลเฟอรไดออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะทําปฏิกิริยากับกรดทําใหเกิดกาซพษิ กาซไฮโดรเจนซลัไฟดที่ไวไฟ จะเกิดปฏิกิริยาอยางรนุแรงกับกาซออกซิไดซจะทําใหเกดิซัลเฟอรไดออกไซด ทําปฏิกิริยาที่ระเบิดไดกับเกลือไดอะโซเนียมและ N,N-dichloromethylamine จะทําปฏิกิริยากับคารบอนทําใหเกดิความรอน มีฤิทธิ์กัดกรอนสังกะสี อลูมิเนียม ทองแดง

161

30.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 260 คา LEL % : 4 UEL % : 44 LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้ทําการเผาไหมไดแตติดไฟยาก - อนุภาคที่ละเอียดที่แพรกระจายออกอาจเกิดระเบดิขึ้นได - การเผาไหมจะทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซลัไฟด ซ่ึงเปนกาซไวไฟสูงทําใหเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภยัและการระเบิด - สารดับเพลิงใหใชคารบอนไดออกไซด โฟม ผงเคมีแหง - สารอันตรายจากการเผาไหม ทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซลัไฟด และซัลเฟอรไดออกไซด 30.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ปดภาชนะบรรจุทุกครั้งที่เลิกใชงานและเปนถังเปลา - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง และมีอากาศถายเทอยางดี - เก็บใหหางจากแหลงความรอน เปลวไฟ ผิวโลหะรอน - เก็บใหหางจากการสัมผัสกับแสงแดดโดยตรง - ปองกันความเสียหายทางกายภาพ - เก็บหางจากสารที่เขากันไมได - ตรวจสอบความเสียหายและการรั่วไหลอยางเปนระยะ - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - เกบ็ในภาชนะบะจุทีเ่หมาะสม ติดฉลากบนภาชนะบรรจุ 30.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ใหอพยพบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของออกจากบริเวณทีม่ีการหกรัว่ไหล -ใหหยดุการรัว่ไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - เก็บใสในภาชนะบรรจุและขนสงไปเก็บในที่ที่ปลอดภยั - ลางทําความสะอาดบริเวณหกรั่วไหลดวยน้ําและผงซักฟอก - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด

162

30.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : 30.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ําสะอาด ใหดื่มน้ํา 2-4 แกวเพื่อเจือจาง หามใหส่ิงใดๆเขาปากผูปวยทีห่มดสตหิรือไมรูสึกตัว ชักกระตุก นาํสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ถาเกิดการระคายเคืองใหนําสงแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิว้ถางแยกเปลือกตาออกใหกวางเพื่อใหมั่นใจวาลางน้ําออกอยางทัว่ถึง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 30.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - 30.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

163

30.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา - " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 30.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 40 DOT Guide : 153 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

164

31. Sodium fluoride ชื่อเคมี IUPAC: Sodium monofluoride ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium fluoride ชื่อพองอื่นๆ Disodium difluoride; Floridine; Florocid; Villiaumite; NaF; Sodium hydrofluoride; Sodium monofluoride; Trisodium trifluoride; Alcoa sodium fluoride; Antibulit; Cavi-trol; Chemifluor; Credo; Duraphat; Fda 0101; F1-tabs; Flozenges; Fluoral; Fluorident; Fluorigard; Fluorineed; Fluorinse; Fluoritab; Fluorocid; Fluor-o-kote; Fluorol; Fluoros; Flura; Flura-gel; Flura-loz; Flurcare; Flursol; Fungol b; Gel II; Gelution; Gleem; Iradicav; Karidium; Karigel; Kari-rinse; Lea-cov; Lemoflur; Luride; Luride lozi-tabs; Luride-sf; Nafeen; Nafpak; Na frinse; Nufluor; Ossalin; Ossin; Osteofluor; Pediaflor; Pedident; Pennwhite; Pergantene; Phos-flur; Point two; Predent; Rafluor; Rescue squad; Roach salt; Sodium fluoride cyclic dimer; So-flo; Stay-flo; Studafluor; Super-dent; T-fluoride; Thera-flur; Thera-flur-n; Zymafluor; Les-cav; Sodium Fluoride, 99.9%; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7681-49-4 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1690 รหัส RTECS - รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ Metallic halide (inorganic salt) ชื่อผูผลิต/นําเขา Caledon Laboratories Ltd. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 31.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชฟอกขาวในอุตสาหกรรมกระดาษ ส่ิงทอ และใชเปนสารเคมีในหองปฏิบัติการ 31.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 64 ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 146 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 1.46 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 1.46 TLV-STEL(ppm) : N/E TLV-C(ppm) : -

165

พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา 31.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง, ผลึก สี : ไมมีสี , ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 41.99 จุดเดือด(0ซ.) : 1695 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 998 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.78 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.45 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : ~ 0 ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : > 10 ที่ - 0ซ ความเปนกรด-ดาง(pH) : 7.4 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.72 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.58 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 31.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะทําใหเกดิการระคายเคือง เจ็บคอ ไอ หายใจตดิขัด คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง เกิดภาวะลําตวัเขียวคลํ้าเนื่องจากขาดออกซิเจน ออนเพลีย สารนี้ดูดซึมและเกิดผลกระทบตอระบบในรางกายได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัทําใหเกิดการระคายเคือง แผลไหม ผ่ืนแดง ปวดแสบปวดรอน แผลพุพอง และทําใหเนื้อเยื่อบริเวณที่สัมผัสถูกทําลาย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะทําใหเจบ็คอ ปวดทอง ทองรวง เปนตะคริวในทอง คล่ืนไส อาเจียน ความดันโลหิตลดลง ออนเพลีย อาจทําใหเกิดการทําลายสมองและไตได และการสัมผัสที่ความเขมขนที่ทําใหเสียชีวิตได (5-10 g) และกอใหเกิดอาการกลามเนื้อออนเพลีย ชัก เกิดภาวะการทํางานไมประสานกัน หายใจตดิขัด ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทํางานผิดปกติ และทําใหเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกดิการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา สายตาพลามัวและอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ผลกระทบตอการสัมผัสสารนี้เปนระยะเวลานานทางการหายใจจะกอใหเกิดอาการหายใจติดขดั ไอ อุณหภูมริางกายสูงขึ้น และเกดิภาวะลําตัวเขียวคลํ้าเนื่องจากขาดออกซิเจน

166

31.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภมูิต่ํากวา 1800 องศาเซลเซียส - สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ไมมี - อันตรายจากการสลายตัว : เกิดออกไซดของคารบอนและไนโตรเจน ฟูม/กาซพิษของไฮโดรเจนและโซเดียมออกไซด - การเกดิปฏิกริิยา : จะทําปฏิกิริยากับกรดฟอมิคที่สามารถระเบิดได ทําปฏิกิริยารุนแรงกับอะซิโตนไนไตรสเซลูโลส สารนี้สามารถทําปฏิกิริยากับกรดทําใหเกดิไฮโดรเจนฟลูออไรดซึ่งเปนพิษและมีฤทธิ์กัดกรอนรุนแรง - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง กรดแรเขมขน แกว 31.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้จะเกิดติดไฟจากความรอน, ประกายไฟ เปลวไฟ - ไอระเหยของสารนี้อาจไหลแพรกระจายไปสูแหลงจุดติดไฟและเกดิติดไฟยอนกลับมาได - ภาชนะบรรจอุาจเกิดการระเบิดขึ้นไดจากความรอนและเปลวไฟ - ไอระเหยสามารถทําใหระเบิดไดทั้งในรมและกลางแจงหรือในทอ - อันตรายจากการเผาไหมจะเกิดฟูม/กาซพฒิของคารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด และไอระเหย - สารดับเพลิงใหใชสารเคมแีหง คารบอนไดออกไซด ใชน้ําฉีดใหเปนฝอย และโฟม - ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจอุอกถาทําไดโดยปราศจากความเสี่ยง - ใชน้ําฉีดหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิง เพื่อปองกันการระเบดิใหออกหางจากดานทายของภาชนะบรรจุ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA)

167

31.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ปองกันการสัมผัสโดยตรงกับแสง และปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในที่ที่เยน็ แหง มกีารระบายอากาศเปนอยางด ี- เก็บใหหางจากแหลงจดุติดไฟ เปลวไฟและการเอื้อมถึงของมือเด็ก และสารที่เขากันไมได - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - ประเภทอันตราย : 6.1 , 9.2 - ประเภทบรรจุหีบหอ : กลุม III - รหัส UN : 1690 31.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - หยดุการรั่วไหลของสารถาสามารถหยุดไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุอ่ืน ๆ และเกบ็ใสในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิดสําหรับนาํไปกําจัด - หลีกเลี่ยงการสูบบุหร่ี, การดื่มหรือการกนิ - สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPR) อยางเหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 31.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ถุงมือใหเลือกใชวัสดุที่ทํามาจากไนไตร ยาง นีโอพริน PVC หรือซาราเนก TM - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 12.5 mg/m3 : ใหใชหนากากปองกนัฝุนและละอองไอ โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 5 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 mg/m3 : ใหใชหนากากปองกันฝุนและละอองไอ ซ่ึงเปนแบบ quarter mask โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 62.5 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองฝุน และละอองไอ โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 mg/m3 : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนาพรอมอุปกรณกรองอนภุาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

168

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 250 mg/m3 : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 2000 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพรอมหนากากแบบเต็มหนา หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 31.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ แลวนําไปพบแพทยโดยดวน ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหบวนลางปากดวยน้ําสะอาดและนําผูปวยไปพบแพทยทันท ี สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางออกดวยน้ําปรมิาณมาก ๆ สัมผัสถูกตา : - การสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางออกดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ: - 31.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 31.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7902 , 7906 OSHA NO. : ID 110 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น

169

ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช 0.8 cellulose ester filter - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 - 2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 12 ลิตร -สูงสุด 800 ลิตร 31.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 802 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 282 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2965 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 737 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" - " 31.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

170

32. Sodium hydroxide ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Caustic soda ; Lye; Sodium hydrate; Soda lye; White Caustic; Lye, caustic; Augus Hot Rod; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1310-73-2 รหัส EC NO. 011-002-00-6 UN/ID No. 1823 รหัส RTECS WB 4900000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-185-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT Baker Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 32.1 การใชประโยชน (Uses) - เปนสารเคมีในหองปฏิบัติการ 32.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 40 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 6.11 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : 1.22 TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : 1.22 2mg/m3 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง 1.22 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

171

32.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 40.00 จุดเดือด(0ซ.) : 1390 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 318 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.13 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : >1.4 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : เล็กนอย ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 111 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 13 - 14 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.635 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.611 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 32.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง และทําใหเกดิการทําลายตอทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดอาการจาม ปวดคอ หรือน้ํามูกไหล ปอดอักเสบอยางรุนแรง หายใจติดขัด หายใจถี่รัว สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคืองรุนแรง เปนแผลไหม และเกิดเปนแผลพุพองได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหแสบไหมบริเวณปาก คอ กระเพาะอาหาร ทําใหเปนแผลเปน เลือดออกในกระเพาะอาหาร อาเจยีน ทองรวง ความดันเลือดลดต่ําลง อาจทําใหเสียชีวิต สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะมีฤทธิ์กดักรอน ทําใหเกิดการระคายเคืองรุนแรง เปนแผลแสบไหม อาจทําใหมองไมเห็นถึงขั้นตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสสารติดตอกันเปนเวลานาน จะทําใหเกดิการทําลายเนือ้เยื่อ - สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอนเนื้อเยื่อ 32.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : น้ํา, กรด, ของเหลวไวไฟ, สารประกอบอินทรียของฮาโลเจน โดยเฉพาะไตรคลอโรเอทิลีน ซ่ึงอาจกอใหเกดิไฟหรอืการระเบิด การสัมผัสไนโตรมีเทนและสารประกอบไนโตรทําใหเกดิเกลือที่ไวตอการกระแทก - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น, ฝุน และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : โซเดียมออกไซด การทําปฏิกริิยากับโลหะเกิดกาซไฮโดรเจนที่ไวไฟ - สารนี้ผสมความชื้นในอากาศและทําปฏิกริิยากับคารบอนไดออกไซดในอากาศเปนสารโซเดียมคารบอเนต - สารนี้มีฤทธิ์เปนเบสเขมขน - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

172

32.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมทําใหเกดิอันตรายจากเพลิงไหม สารที่รอนหรือหลอมอยูจะทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้ํา - สารนี้ทําปฏิกิริยากับโลหะ เชน อะลูมิเนยีม เกิดกาซไฮโดรเจนที่ไวไฟ - สารดับเพลิงกรณีเกดิเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ หามใชน้ําในการดับเพลิง - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) 32.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากความรอน, ความชื้น, สารที่เขากันไมได - เก็บหางจากอะลูมเินียม, แมกนีเซียม - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง อาจเปนอันตรายได - อยาผสมสารนี้กับกรดหรือสารอินทรีย - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ช่ือในการขนสง : Sodium Hydroxide - รหัส UN : 1832 - ประเภทอันตราย : 8 - ประเภทบรรจุหีบหอ : กลุม II - รายงานขอมลูสําหรับผลิตภัณฑ/ขนาด : 300 ปอนด 32.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล - ปองกันบุคคลเขาไปในบริเวณสารรั่วไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม

173

- ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทราย, แรเวอรมิคิวไลต หรือวัสดุดดูซับอื่น - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด โดยวธีิไมทําใหเกดิฝุน - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ - สารที่หลงเหลืออยู สามารถทําใหเจือจางดวยน้ําหรือทําใหเปนกลางดวยกรด เชน อะซีติก, ไฮโดรคลอริก, ซัลฟูริก - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 32.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเตม็หนา และอุปกรณกรองอนภุาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงมีอุปกรณกรองฝุน และละอองไอ โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

174

32.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหดื่มน้าํหรือนมปริมาณมากๆ หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที ซักทําความสะอาดเสือ้ผาและรองเทากอนนาํกลับมาใชไหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ๆ นําสงไปพบแพทยทนัท ีอ่ืน ๆ: - 32.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน - สารนี้ไมสามารถยอยสลายไดทางชีวภาพ - สารนี้เปนพษิตอปลาก และแพลงคตอน ซ่ึงสงผลเปนอันตรายเนื่องจากเปลี่ยนแปลงพีเอช อาจทําใหปลาตายได 32.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7401 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - วิธีวิเคราะหใช acid - base titration - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 4 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด ต่ําสุด 70 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

175

32.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 805 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 284 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2970 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 52 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0360 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 52 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 52 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 32.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

176

33. Sodium hypochlorite ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Clorox; Bleach; Liquid bleach; Sodium oxychloride; Javex; Antiformin; Showchlon; Chlorox; B-K; Carrel-dakin solution; Chloros; Dakin's solution; Hychlorite; Javelle water; Mera industries 2MOM3B; Milton; Modified dakin's solution; Piochlor; Sodium hypochlorite, 13% active chlorine; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7681-52-9 รหัส EC NO. 017-011-01-9 UN/ID No. 1791 รหัส RTECS NH 3486300 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-668-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา 1675 No. Main Street, Orange, California 92867 แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 33.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารทาํความสะอาด 33.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 8910 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา

177

33.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : เขียว-เหลือง กล่ิน : ฉุน คลายคลอรีน นน.โมเลกุล : 74.4 จุดเดือด(0ซ.) : 48-76 จุดหลอมเหลว/จุดเยอืกแข็ง(0ซ.) : - ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.20-1.26 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.5 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : <17.5 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 12 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.05 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.32 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 33. 4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อเมือกของทางเดินหายใจ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคืองปานกลาง และเกิดผ่ืนแดงบนผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกนิหรือกลืนเขาไปจะทําใหเกดิระคายเคืองตอเยื่อบุที่ปากและลําคอ เกิดอาการปวดทอง และแผลเปอย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะทําใหระคายเคืองอยางรุนแรง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ไมมีรายงานวาสารนี้กอมะเร็ง - สารนี้มีผลทําลายปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ผิวหนัง 33.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้ไมเสถียร - สารที่เขากันไมได : กรดเขมขน, สารออกซไดสอยางแรง, โลหะหนกั, สารรีดิวซ, แอมโมเนีย, อีเธอร, สารอินทรีย และสารอนินทรีย เชน สี, เคอรโรซีน, ทินเนอร, แลคเกอร - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความเสถียรของสารจะลดลงเมื่อความเขมขนเพิ่มขึ้น, สัมผัสกับความรอน, แสง, คาpHลดลง, ผสมกับโลหะหนัก เชน นิกเกลิ, โคบอลต, ทองแดง และเหล็ก - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น 33.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : ไมติดไฟ คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

178

- สารนี้ไมไวไฟ - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช ผงเคมีแหง - การสัมผัสกับสารอื่นอาจกอใหเกดิการตดิไฟ - ความรอนและการผสม/ปนเปอนกับกรด จะทําใหเกดิฟมู/กาซที่เปนพษิและมีฤทธิ์ระคายเคือง ซ่ึงการสลายตัวที่เกดิขึ้นจะทําใหเกดิกาซคลอรีนออกมา 33.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในที่แหง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี - เก็บใหหางจากแสง และสารเคมีอ่ืน - อยาผสมสารนี้หรือทําใหสารนี้ปนเปอนกับแอมโมเนยี, ไฮโดรคารืบอน, กรด, แอลกอฮอล และอีเธอร - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ทําการเคลื่อนยายในที่โลง - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย 33.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีปฏิบัติกรณีเกดิอุบัติเหตร่ัุวไหล ใหระบายอากาศในพื้นที่ที่มีสารหกร่ัวไหล - ใหกันแยกพืน้ที่ที่สารหกรัว่ไหล และกันคนที่ไมมีอุปกรณปองกันออกไป - ใหเก็บสวนที่หกร่ัวไหล เก็บใสในภาชนะบรรจุและทําใหเปนกลางดวยโซเดียมซัลไฟด, ไบดซัลไฟด, ไทโอซัลไฟด - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุดดูซับ เชน ดินเหนยีว ทราย หรือวัสดุดูดซับ แลวเก็บใสในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกาํจัด - ใหฉีดลางบรเิวณทีห่กร่ัวไหลดวยน้ํา 33.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) :

179

33.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสต ิหากผูปวยยังมีสติอยูใหดื่มสารละลายโปรตีน หรือ ถาไมสามารถหาไดกใ็หดืม่น้ําปริมาณมากๆ อยาใหผูปวยดื่มน้ําสม,เบคกิงโซดา,ยาที่มีฤทธิ์เปนกรด นาํสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําปริมาณมากๆ สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถ่ีๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 33.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 33.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 33.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 807 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2971 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 742 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th "

180

33.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

181

34. Sulfuric acid ชื่อเคมี IUPAC: Sulfuric acid ชื่อเคมีท่ัวไป Sulfuric acid ชื่อพองอื่นๆ Oil of vitriol; BOU; Dipping Acid; Vitriol Brown Oil; Sulfuric; Acid Mist; Hydrogen sulfate; Sulfur acid; Sulfuric acid, spent; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7664-93-9 รหัส EC NO. 016-020-00-8 UN/ID No. 1830 รหัส RTECS WS 5600000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-639-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Kyhochem (pty) Limited แหลงขอมูลอ่ืนๆ Modderfontein Ganteng 1645 34.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนตวัเรงปฏิกิริยา เปนสารละลายอิเล็กโตรไลต เปนตัวชะลางถานหิน เปนตัวแลกเปลี่ยนไอออน 34.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 2140 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 510 / 2 ชั่วโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 0.25 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 3.75 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.25 TLV-STEL(ppm) : 0.75 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 0.25 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

182

34.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ไมมีสี กล่ิน : ไมมกีล่ิน นน.โมเลกุล : 98 จุดเดือด(0ซ.) : 276 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -1 - (-30) ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.84 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.4 ความหนดื(mPa.sec) : 26.9 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0.001 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้าํที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.07 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.25 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 34.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอนและกอใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําใหมีอาการน้ําทวมปอด เจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด และหายใจถี่รัว การหายใจเอาสารที่ความเขมขนสูงอาจทําใหเสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเปนแผลไหม และปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือการกนิเขาไป ทําใหคล่ืนไส อาเจียน แตไมมีผลตอเนื้อเยื่อ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหตาแดง ปวดตา และสายตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้มีผลทําลายฟน ระบบหลอดเลือดเลี้ยงหวัใจ 34.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : เบสแก น้ํา สารอินทรีย โลหะอัลคาไลน - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อทําปฏิกิริยากับโลหะจะเกดิออกไซดของกํามะถันและไฮโดรเจน - สารนี้ทําปฏิกิริยากับสารอนิทรียทําใหเกดิเพลิงไหมและการระเบดิ 34.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกตดิไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

183

- สารนี้ไมไวไฟ - สารดับเพลิง ในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ํา - สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม : ออกไซดของกํามะถัน - สารนี้เมื่อทําปฏิกิริยากับสารอินทรีย อาจทําใหเกดิเพลิงไหมและการระเบิดได 34.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากแสง ไอน้ํา เบสแก สารประกอบอินทรีย - เก็บภาชนะบรรจุสารไวในบริเวณเก็บสารเคมีที่เหมาะสม - หลีกเลี่ยงการหายใจและการสัมผัสถูกผิวหนังและตา - ชื่อในการขนสง : Sulphuric acid - ประเภทอันตราย : 8 - รหัส UN : 1830 34.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหลใหกั้นบริเวณสารหกแยกจากบริเวณอืน่ - ใหดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยสารอัลคาไลด เชน โซดาแอซ สารอนินทรยี หรือดนิ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 34.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับ และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile , Supported Polyvinyl Alcoho, Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ

184

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 15 mg/m3 ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงมี Cartridge สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากาแบบเต็มหนา พรอม Cartridge สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนุภาคประสทิธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canistr สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนภุาคประสิทธิภาพสูง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากาแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 34.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย รักษารางกายผูปวยใหอบอุนและอยูนิง่ นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา ใหผูปวยดื่มน้ํา 200-300 มิลลิลิตร นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย

185

สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - การรักษาอื่น ๆ อยูในการวินิจฉยัของแพทยภายใน 24 ช่ัวโมง อาการเกี่ยวกับปอดบวม อักเสบ บางทีอาจจะมขีึ้น 34.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน 33.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7903 OSHA NO. : ID 165SG วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใชหลอดขนาด 400 mg/200mg. และ glass fiber filter - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.2 ถึง 0.5 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด 0.3 ลิตร , 100 ลิตร 34.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 838 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 290 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 3046 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 53 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0362 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 53 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http:\\chemtgrack.trf.or.th "

186

34.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 42 DOT Guide : 137 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

187

35. Xylene ชื่อเคมี IUPAC: Dimethylbenzene ชื่อเคมีท่ัวไป Xylene ชื่อพองอื่นๆ Xylol; Xylene; Dimethylbenzene (mixed isomers); Xylene (mixed isomers); Xylenes mixed isomers; Xylenes (o-, m-, p-isomers); Dimethylbenzenes; Xylene mixture (60% m-xylene, 9% o-xylene, 14% p-xylene, 17% ethylbenzene); Xylene (mixed); Xylene (o-, m-, p-isomers); Except p-xylene, mixed or all isomers; Xylene, mixed or all isomers, except p-; M & p-xylene; Xylenes (mixed); Xylene mixture (m-xylene, o-xylene, p-xylene); Total xylenes; M-,p-,o-Xylene; O-,m-,p-Xylene; Xylene, (total); Xylene mixture; Socal aquatic solvent 3501; Xylenes ; Xylene (o-,m-,p-); สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1330-20-7 รหัส EC NO. 601-022-00-9 UN/ID No. 1307 รหัส RTECS ZE2100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-535-7 ชื่อวงศ Aromatic Solvent ชื่อผูผลิต/นําเขา Champion Technologies,LTD แหลงขอมูลอ่ืนๆ 6555-30th Street South East Calgary Alberta Canada T2C 1R4 35.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปน Solvent 35.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 4000 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 21700 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 100 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 100 TLV-STEL(ppm) : 150 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : -

188

พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : 35.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส กล่ิน : กล่ินหอมหวาน นน.โมเลกุล : 106.16 จุดเดือด(0ซ.) : 138.3 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 30 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.87 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.7 ความหนดื(mPa.sec) : 0.62 - 0.81 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 6.72 ที่ 21 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 0.13 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.34 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.23 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 35.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง และหายใจติดขัด สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะกอใหเกิดการระคายเคือง เกิดแผลแสบไหม และทําใหผิวหนังอักเสบ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป เปนอันตรายตอรางกาย ทําใหมีการขับของน้ําลายออกมามาก มีเหงื่อออก คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง ปวดทอง และเบื่ออาหาร สัมผัสถูกตา -การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองและเกดิแผลไหม การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง - สารนี้ทําลายประสาท เลือด ดวงตา หู ตบั ไต และเปนอันตรายตอทารกในครรภ 35.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความคงตัว - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด, คารบอนไดออกไซด, ควัน และไอระเหย - อันตรายจากปฏิกิริยาโพลิเมอร : จะไมเกดิขึ้น

189

35.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 26.1 จุดลุกตดิไฟไดเอง(0ซ.) : 527 คา LEL % : 1 UEL % : 7 LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

-สารนี้เปนสารไวไฟ อาจลุกติดไฟไดเมื่อสัมผัสกับความรอน, ประกายไฟ หรือเปลวไฟ -ไอระเหยของสารสามารถแพรกระจายออกไปถึงแหลงจดุติดไฟและอาจเกิดการติดไฟยอนกลับมา -ภาชนะบรรจขุองสารอาจเกิดการระเบิดไดเมื่อสัมผัสกับความรอนหรือไฟ -ไอระเหยของสารนี้อาจกอใหเกิดอนัตรายจากการระเบิดไดทั้งภายในบริเวณอาคาร, ภายนอก หรือในทอระบบระบายน้าํ -การไหลของสารไปในทอระบายน้ําอาจกอใหเกดิอันตรายจากไฟไหมและการระเบดิได -สารดับเพลิงในกรณีเกิดเพลิงไหมใหใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด น้ําฉีดเปนฝอย หรือโฟม -ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสีย่งอันตราย -ใหใชการฉีดน้ําเพื่อหลอเยน็ภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม จนกระทั่งไฟดับสนิท -ใหอยูหางจากภาชนะบรรจุสาร -สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด, คารบอนไดออกไซด, ควัน และไอระเหย 35.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม -เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ -เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟทั้งหมด -เก็บหางจากเด็ก - ชื่อในการขนสง : Xylene - รหัส UN : 1307 - กลุมการบรรจุ : กลุม II 35.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -วิธีการปฏิบัตใินกรณีเกดิการหกรั่วไหล -ใหหยดุการรัว่ไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย -ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไมติดไฟ -เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด -การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด

190

35.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมอืที่ทํามาจากวสัดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับ ดมีากและแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับดีมาก และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทาํมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ,Polyvinyl Chloride , Natural Rubber,Neoprene/Natural Rubber Blend 35.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: -ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหอาเจียน นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหลางออกดวยน้ําและสบูอยางนอย 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 35.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) -

191

35.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 35.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 926 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.342 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-94 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 3403 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 60 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 844-846 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 60 " 10. Source of Ignition หนา 126 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 35.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 16 DOT Guide : 130 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

192