ทพญ สุรีย์พร โพธิ์ศรีทอง...

Post on 01-Feb-2020

2 views 0 download

Transcript of ทพญ สุรีย์พร โพธิ์ศรีทอง...

ทพญ. สุรีย์พร โพธิ์ศรีทอง โรงพยาบาลบางจาก

พฤษภาคม 2555

การดูแลและควบคุมการติดเชื้อจากพื้นผิวต่างๆ ในงานทันตกรรม การรักษาทางทันตกรรมจะมีการกระเด็นของละอองซึ่งมีเลือดและน้้าลายผู้ป่วย

ปะปนอยู่ ท้าให้เกิดการปนเปื้อนตามพื้นผิวที่ให้การรักษา อาจเกิดจากถุงมือที่ปนเปื้อนไปสัมผัสกับพื้นผิวต่างๆ หากพื้นผิวไม่ได้รับการคลุมเพื่อป้องกันการปนเปื้อนไว้ก่อน หรือท้าความสะอาด

และฆ่าเชื้อหลังการรักษาสิ้นสุดแล้ว ก็จะเป็นแหล่งสะสมเชื้อจุลินทรีย์และแพร่กระจายไปยังบุคคลต่างๆ

การคลุมพืน้ผิวและการฆ่าเชื้อ การท้าให้พื้นผิวไม่ติดเชื้อมี 2 วิธี

1. การคลุมพื้นผิวด้วยวัสดุบางชนิดเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อน2. การท้าความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวที่ปนเปื้อน

ปัจจัยการเลือกวิธีดูแลพื้นผิวหรือการท้าความสะอาด ขึ้นอยู่กับ 4 ปัจจัย1. พื้นผิวที่มีแนวโน้มว่าจะเกิดการปนเปื้อนในขณะท้างาน ควรเลือกวิธีคลุม

พื้นผิวในขณะที่พื้นผิวยังสะอาดอยู่2. ราคาของวัสดุ (ตรงกับวัตถุประสงค์)3. ถ้าเวลาที่ต้องใช้ในการท้าความสะอาดมาก ควรเลือกวิธีคลุมพื้นผิวมากกว่า

การท้าความสะอาดและฆ่าเชื้อ เช่น ปุ่มควบคุมบนยูนิต

การคลุมพืน้ผิวและการฆ่าเชื้อสายท่อดูดน้้าลาย ถาดวางเครื่องมือ ด้ามปรับไฟ4. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับอุปกรณ์เนื่องจากน้้ายาฆ่าเชื้อ เช่น เกิดการติดสีถ้าใช้ประจ้า หรืออุปกรณ์เสียหายหากใช้น้้ายาฆ่าเชื้อเป็นเวลานานๆ พื้นผิวบางอย่างถ้าใช้แอลกอฮอล์เป็นเวลานาน ท้าให้กัดกร่อน และลอกเสียหาย

High level : ฆ่าเชือ้สปอร์ได ้เช่น glutaraldehyde(2-3.2%)10 ชั่วโมง Intermediate level : ไม่สามารถฆ่าสปอร์ได้ แต่ฆา่วณัโรคและไวรัสได้ เช่น ฟอรแ์มลดี

ไฮด์ สารประกอบคลอรีน ไอโอโดฟอร ์ แอมโมเนยีมคอมเพานด์ แอลกอฮอล ์และกลุ่มฟีนอลกิส์

Low level : ต้านจลุินทรีย์ได้นอ้ย ไม่สามารถฆ่า nonlipid virus และ วัณโรคได้ เช่น แอมโมเนียมคอมเพานด์บางชนิด ฟีนอลกิส์

การฆ่าเชื้อแบ่งออกเป็น 3 ระดับ

สารฆ่าเชื้อทางทนัตกรรม ใช้ส้าหรับเคร่ืองมือหรอืสิ่งของที่ไม่สามารถท้าให้ปลอดเชื้อได้ด้วยความร้อน จา้เป็นตอ้ง

ใช้สารเคมี ประสิทธิภาพขึ้นกับ ปริมาณและธรรมชาติของเชื้อ ความเข้มขน้ของสารเคมี ระยะเวลาที่สารเคมีสัมผัสเชื้อ ปริมาณอินทรีย์วัตถุที่มีอยู่

กูลตาราลดีไฮด์(glutaraldehyde)

ปัจจุบันใช้ที่ 2.0-2.3% เวลาที่ใช้ 10-90 นาที มีประสิทธิภาพสูง ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย วัณโรค รา ไวรัส สปอร์ได้ ถ้าแช่นานกว่า 10 ชั่วโมง ท้าความสะอาดก่อนแช่ แต่ถ้าแช่หัวกรอ steel เป็นเวลานานเกินไป ท้าให้เปลี่ยนสีและสึกกร่อนได้

การใช้งาน หวังผลปราศจากเชื้อต้องใช้ความเข้มข้น 2% แช่นาน 3 – 10 ชั่วโมง เครื่องมือนั้นต้องท้าความสะอาดอย่างดี เช็ดแห้งก่อนแช่

หวังผลระดับฆ่าเชื้อ แช่นาน 10-30 นาที ราคาแพง มีฤทธิ์ระคายเคือง ไม่ควรสัมผัสน้้ายาโดยตรง ก่อนใช้ล้างน้้ากลั่น

ปราศจากเชื้อ 3 ครั้ง ระบุวันหมดอายุหลังผสมทุกครั้ง เปลี่ยนน้้ายาเมื่อครบวันหรือขุ่น

ไอโอโดฟอร์(iodophors) เป็นส่วนผสมของไอโอดีน และไอโอดีนแอลกอฮอล์ มีคุณสมบัติฆ่าเชือ้จุลินทรีย์ ประสิทธิภาพปานกลาง ฆ่าเชือ้วัณโรคได้ สัมผัสกับเชื้อนาน 5-10 นาที เช่นเดียวกับ

ไอโอดีน ท้าให้สึกกร่อน ระคายเคืองผิวหนัง ตดิสีน้อยกวา่ไอโอดีน ความเข้มข้นตามค้าแนะน้าของบรษิัท ฆ่าเชื้อบนพื้นผิว เช่น ยูนติทันตกรรม ด้ามปรับไฟ เครื่องผสมอะมลักัม

ฆ่าเชื้อวัสดุพิมพป์าก ฟันเทียม แช่เครื่องมือกอ่นลา้งท้าความสะอาด ต้องผสมใหม่ทุกวันเนื่องจากคุณสมบัตกิารฆา่เชื้อวัณโรคจะเปลี่ยนไปถ้ามากกวา่ 24 ชม. เจือจางด้วยน้้ากลัน่ก่อนใช้งาน ถา้ใช้น้้ากระด้างจะเสียคุณสมบัติการฆา่เชื้อ ไม่ใช้กับวัสดุสีอ่อน ติดสีได ้แก้ไขโดยใช้แอลกอฮอล์เช็ด หลีกเลี่ยงแช่เครื่องมือที่เป็นโลหะเวลานานๆ เนื่องจากสึกกร่อน หลีกเลี่ยงสัมผัสผวิหนังถ้าแพ้ไอโอดีน

ไอโอโดฟอร์(iodophors)

เรียกว่า ควอท เป็นสารลดแรงตึงผิว ฆ่าจุลินทรีย์ได้บางชนิด ไม่สามารถฆ่าวัณโรคได้ จัดอยู่ในประสิทธิภาพต่่า ประสิทธิภาพลดลงเมื่อเจอกับสารอินทรีย์หรือสบู่ เหมาะกับฆ่าเชื้อบนพื้นหรือผนัง แต่ไม่ควรใช้กับเครื่องมือที่บ้าบัดผู้ป่วยโดยตรง จากข้อเสียนี้ ADA ไม่แนะน้าให้ใช้ทางทันตกรรม

ควอเทอร์นารีแอมโมเนียคอมเพานต์(quaternary ammonium compound)หรือแอลกอฮอล์ฟรีควอท (quats alcohol)

ควอเทอร์นารีแอมโมเนียคอมเพานต์(quaternary ammonium compound) ผสมแอลกอฮอล์หรือควอทแอลกอฮอล์(quats alcohol)

ผสมแอลกอฮอล์เข้าไปในควอเทอร์นารีแอมโมเนียมคอมเพานต์ เพื่อลดข้อด้อยของน้้ายาในกลุ่มควอท และเพิ่มประสิทธิภาพในฆ่าเชื้อ สามารถฆ่าวัณโรคได้

จัดอยู่ในประสิทธิภาพปานกลาง

จึงเหมาะที่จะใช้ในงานทันตกรรม

สารประกอบคลอรีน น้้ายาเคมีนี้เมื่อท้าปฏิกิริยากับน้้าจะท้าให้เกิด ฮาโลเจนคลอรีน มีคุณสมบัติในการ

ฆ่าจุลินทรีย์ ฆ่าแบคทีเรียได้ภายใน 10-30 วินาที ที่ความเข้มข้น 0.10-0.25 ppm และฆ่าวัณโรค

ได้ ได้แก่ โซเดียมไฮโปคลอไรด์ 5.25% ปัจจุบันใช้เจือจางที่ 1:100 ในการขจัดการ

ปนเปื้อนบนพื้นผิว แต่ต้องเตรียมใหม่ทุกวัน ใช้กับฟันเทียม ข้อเสีย กัดกร่อนโลหะ ระคายเคืองผิวหนัง(1:10) ไม่ควรใช้กับโลหะโครมโคบอลต์ อลูมิเนียมหรือโลหะที่ถูกออกซิไดซ์ง่าย

เป็นสารผสมของ Primary active ingredients 2 ตัวคือ Potassium monopersulfate และ Sodium chloride กับ Secondary active ingredient คือ hypochlorous acid เมื่อเทผง virkon ซึ่งมีสีชมพูลงในน้้าจะเกิดปฏิกิริยาให้สารจ้าพวก hypochlorite ที่มีประสิทธิภาพการท้าลายเชื้อสูง การดูประสิทธิภาพของน้้ายา สังเกตได้จากสีของสารละลาย ถ้าสีของสารละลายเปลี่ยนจากสีชมพู เป็นสารละลายใส ให้เปลี่ยนน้้ายาในวันน้ัน แต่ต้องไม่เกิน 7 วัน

Indication :- Surface & Instrument Disinfectant- Highly effective virucide , bactericide and fungicide

VIRKON

แอลกอฮอล์ Isopropyl alcohol และethyl alcohol หรือ ethanol น้ามาใช้ฆ่าเชื้อนานแล้วเนื่องจาก

ไม่ระคายเคือง ความเข้มข้น ที่ใช้ได้ 50-70% ที่ออกฤทธิ์ได้เร็วสุดคือ 70% สามารถฆ่าเชื้อได้ดีที่สุด

มีผลต่อเชื้อทุกชนิด ยกเว้นสปอร์ ไม่ใช้แช่เครื่องมือ ท้าให้เป็นสนิม สเปรย์บนพื้นผิวระเหยเร็ว มีข้อจ้ากัดเยอะ ประสิทธิภาพลดลงเมื่อสัมผัสกับสารอินทรีย์ กัดกร่อนและท้าลาย

พลาสติก

ไม่ละลายโปรตีนในเลือด หรือน้้าลาย มีคุณสมบัติในการท้าความสะอาดต่้า

แอลกอฮอล์

ท่าไมไมค่วรใช้กลูตาราลดีไฮด์ (Glutaraldehyde) เช็ดพื้นผิว

กลูตาราลดีไฮด์จดัเป็นสารฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพสูงสามารถฆ่าเชือ้ได้ทุกชนิด รวมถึงสปอร์ของแบคทีเรีย แต่สารฆ่าเชื้อที่เหมาะสมส้าหรับการฆา่เชื้อบนพื้นผิวในทาง

ทันตกรรม ควรเป็นเพียงชนิดที่มีประสิทธิภาพปานกลางซ่ึงสามารถฆ่าเชื้อวัณโรคได้ก็เพียงพอแล้ว ดังนั้นการน้ากลูตาราลดีไฮด์มาใช้ในกรณีนี้จึงเป็นการเลือกใช้ที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ประสิทธิภาพในการฆา่เชื้อของกลูตาราลดีไฮด์ค่อนข้างช้า และไอระเหยยังเป็นพิษต่อผิวหนังระบบทางเดินหายใจ

การคลุมพื้นผิว วัสดุที่น้ามาใช้คลุมพื้นผิว เช่น พลาสติกใสส้าหรับห่ออาหาร อลูมิเนียมฟอยล์ วิธีการคลุมพื้นผิว

1. เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม2. ถ้าพ้ืนผิวที่จะคลุมเกิดการปนเปื้อน ให้ท้าความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิว

นั้นก่อน ถอดถุงมือและล้างมือให้สะอาด3. คลุมพื้นผิวทั้งหมดที่อาจเกิดการปนเปื้อนอย่างแน่นหนา ไม่หลุดง่าย4. ภายหลังสิ้นสุดการรักษา แกะวัสดุโดยสวมถุงมือและไม่สัมผัสกับผิวข้างใต้

ให้ท้าความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวนั้น

การคลุมพื้นผิว5. ทิ้งวัสดุที่ใช้คลุมและถอดและทิ้งถุงมือที่ปนเปื้อนในถังขยะติดเชื้อ6. ล้างมือ จากนั้นคลุมพื้นผิวเพื่อเตรียมให้การรักษาผู้ป่วยรายต่อไป

การฆ่าเชื้อบนพื้นผิว ท้าความสะอาดก่อนการฆ่าเชื้อบนพ้ืนผิว เพื่อช่วยลดจ้านวนเชื้อจุลินทรีย์ ขจัดเลือด

น้้าลาย และสารอินทรีย์อื่นๆ ที่ปนเปื้อน ท้าให้สารเคมีที่ใช้ฆ่าเชื้อออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น เช่น เช็ดออกด้วยผ้า กระดาษ ตามด้วยน้้าสบู่(ขึ้นกับการปนเปื้อน)

ที่ดีที่สุดควรใช้น้้ายาฆ่าเชื้อที่สามารถท้าความสะอาดพื้นผิวได้ด้วย เนื่องจากมีสารลดแรงตึงผิว ท้าให้ฆ่าเชื้อตั้งแต่ขั้นตอนการท้าความสะอาด ลดโอกาสการกระจายของเชื้อจุลินทรีย์ ได้แก่ ฟีนอลิกสังเคราะห์ บางชนิด ไอโอโดฟอร์ และควอทแอลกอฮอล์

ขั้นตอนการท่าความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิว1. ใช้ผลติภัณฑ์ที่เหมาะสมกับพื้นผิว อ่านคู่มอืการใช้น้า้ยา ดูให้แน่ใจว่าสารเคมีที่จะใช้

ได้รับการผสมและเจือจางอยา่งถูกต้อง2. สวมถุงมือ แมสค์ เคร่ืองป้องกันตาและใบหน้า และเสื้อคลุม3. ฉีดพ่นน้้ายาท้าความสะอาดบนพื้นผิว หรอืใช้ผ้าชุบเช็ดบนพื้นผิว จากนั้นใช้ผ้าให้ทั่ว

กรณีทีต่้องท้าความสะอาดเป็นบริเวณกว้างหรือหลายต้าแหน่งให้ใช้ผ้าหรือกระดาษหลายชิ้น เพื่อมิให้มีการแพรก่ระจายการปนเปื้อนจากพื้นผิวหนึ่งไปอกีพื้นผิวหนึ่ง

4. ฉีดพ่นน้้ายาฆ่าเชือ้ให้ทั่ว ปล่อยทิ้งไว้ตามเวลาที่ก้าหนดบนฉลาก(โดยทั่วไปประมาณ 10 นาที) หรอืใชน้้้ายาฆ่าเชื้อที่สามารถท้าความสะอาดได้

5. เช็ดให้แห้ง หรือลา้งน้้ายาทีต่กค้างออกด้วยน้้า

การท่าความสะอาดและฆ่าเชือ้พื้นผิวที่มีเลือดหยด 1.เช็ดท าความสะอาดคราบเลอืดด้วย ผา้ หรอื กระดาษออกให้มากที่สุด(ทิ้ง) 2. ผ้าชุบน้ าสบู่หรือผงซักฟอกท าความสะอาดอีกครั้ง(ทิ้ง) 3. เช็ดแห้งด้วยผา้ให้แห้ง(ทิ้ง) 4.ฉีดพ่นน้ ายาฆ่าเชื้อ เช่น โซเดียมเดียมไฮโปคลอไรด์ 5.25% ผสมน้ า 1:10 ทิ้งไว้ 10 นาที

จึงเช็ดน้ ายาออกให้แห้งหรือเช็ดให้แห้งกรณีเป็นบริเวณที่ตอ้งใช้พื้นที่ให้บริการผู้ป่วย

เตรียมให้บริการรักษา

พัน wrap

เริ่มให้บริการรักษา

หุ้มฟอยล์

ฟอยล์ที่ท้าให้ปราศจากเชื้อแล้วส้าหรับหุ้มด้ามจับโคมไฟส่องปาก

หลังให้บริการเสร็จสิ้น

แกะ wrap

หลังให้บริการเสร็จสิ้น

ทิ้งขยะติดเชื้อ

ถอดถุงมือพร้อมทิ้งวัสดุที่ใช้คลุมในถังขยะติดเชื้อ

ฆ่าเชื้อพื้นผิวเพื่อเตรียมให้บริการ

Triple syringe

ฆ่าเชื้อพื้นผิว

ทิ้งไว้ 3-5 นาที

เช็ดให้แห้ง

คลินิก การดูแลพื้นผิว ทันตอุปกรณ์ ระบบน่้าและMobile Suction

กอ่น หลัง กอ่น หลัง กอ่น หลังคลินิกทันตกรรม 1. ด้ามจบัโคมไฟ

พัน wrap /หุ้มด้วย foil เปลี่ยนทุก case

2.สวิซต์ปุ่มปิด-เปิดไฟส่องปากพัน wrap เปลี่ยนทุก case

3. ถาดเครื่องมือ ใช้ผ้าห่อชุดตรวจปูทบั

4. แผงควบคุมยูนิต ห่อหุ้มด้วย wrap เปลี่ยนwrap ทุก case

5. เก้าอี้ท าฟันสเปรย์ด้วย cavicide เช็ดให้แห้ง ห่อหุ้มด้วยหมวกผ้าเฉพาะบริเวณที่วางศีรษะ

6. View box ห่อหุ้มด้วย wrap

1. ด้ามจบัโคมไฟ เชด็ด้วย cavicide

2.สวิซต์ปุ่มปิด-เปิดไฟส่องปากเช็ดด้วย cavicide

3. ถาดเครื่องมือเมื่อเสร็จสิน้การใช้งานในแต่ละวัน ใช้น้ ายา cavicide ฆ่าเชื้อโรค และเชด็ท าความสะอาดด้วยผ้าแห้ง

4. แผงควบคุมยูนิตเมื่อเสร็จสิ้นการใชง้านในแต่ละวัน ใช้น้ ายา cavicide ฆ่าเชื้อโรค และเชด็ท าความสะอาดด้วยผ้าแห้ง

5. เก้าอี้ท าฟัน เช็ดท าความสะอาดด้วยผ้าชุบน้ าเมื่อเสรจ็งานในแต่ละวัน ตามด้วย cavicide ในกรณีผู้ป่วยติดเชื้อสเปรย์ด้วยน้ ายาฆ่าเชื้อ Cavicide ทิ้งไว้ 10 นาทีแล้วใช้ผ้าชุบน้ าหมาดเช็ดตาม ส าหรับหมวกผ้าที่หุ้มบริเวณที่วางศีรษะ จะเปลี่ยนทุก case 6. View box เปลี่ยน wrap ถ้าไม่สามารถท าได้จะสเปรย์ด้วย Cavicide

1. สาย Handpieces

2. ด้ามจับ

Handpieces

3. สาย Triple syringe

เช็ดด้วย cavicide

แล้วน้า wrap มาพันบริเวณด้ามจับ handpiece

1. สาย Handpieces2. ด้ามจบั Handpieces3. สาย Triple syringe

แกะwrap /เช็ดด้วยน้ ายา Cavicide ก่อนใชง้านกบัผู้ป่วยรายต่อไป

1. อ่างบ้วนปาก

2.สายดูดน้ าลายเช็ด cavicide พัน wrap

3. ถังน้ า เติมน้ ากลั่นทกุเช้าก่อนเริ่มปฏิบัตงิาน

1. อ่างบ้วนปากเปิดน้ าล้างหลังเสร็จงานในผู้ป่วยแต่ละราย และขดัล้างด้วยน้ ายาล้างจาน และสเปรย์น้ ายาฆ่าเชื้อเมื่อเลิกงานในแต่ละวัน

2. สายดูดน้ าลายแกะ wrap เช็ดด้วยน้ ายา Cavicide ก่อนใชง้านกบัผู้ป่วยรายต่อไป

3. ถังน้ า แต่ละวันเทน้ ากลั่นทีเ่หลือและล้างท าความสะอาดคว่ าขวดไว้ให้แหง้ตามปกติ

ขอบคุณค่ะ