1 สํานักระบาดวิทยา1].pdf14 ส าน กระบาดว...

Post on 08-Jan-2020

5 views 0 download

Transcript of 1 สํานักระบาดวิทยา1].pdf14 ส าน กระบาดว...

สํานักระบาดวิทยา1

สํานักระบาดวิทยา2

สํานักระบาดวิทยา3

ยืนยันการเกิดโรคปองกันไมใหเกิดการแพรกระจายของโรคตอไป

เขาใจถึงลักษณะการเกิดโรคในผูปวยแตละราย

วัตถุประสงควัตถุประสงค

รวบรวมขอมูลการปวยของผูปวยคนหาขอบเขตการกระจายของโรคในคน

ประเมินความชุกของลูกน้ํายุงลายควบคุมโรค

เขียนรายงาน

ขั้นตอนขั้นตอน

สํานักระบาดวิทยา6

รวบรวมขอมูลผูปวยรวบรวมขอมูลผูปวย๏ ขอมูลท่ัวไป ๏ อาการและอาการแสดง๏ ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ

สํานักระบาดวิทยา7

รวบรวมขอมูลผูปวยรวบรวมขอมูลผูปวย๏ อาการและอาการแสดง

อ่ืน ๆผ่ืนแดงTourniquet Testปวดกระดูกและขอมีภาวะช็อกปวดกลามเน้ือตับโตมักกดเจ็บปวดกระบอกตามีอาการเลือดออกทางอวัยวะภายในปวดศีรษะมีอาการเลือดออกตามผิวหนังไขสูง/ไขสูงเฉียบพลัน

สํานักระบาดวิทยา8

รวบรวมขอมูลผูปวยรวบรวมขอมูลผูปวย๏ ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการท่ัวไป จํานวนเม็ดเลือดขาว(< 5000 เซลล/มม.3) เกล็ดเลือด(< 100,000 เซลล/มม.3) ฮีมาโตคริต > 40 %

สํานักระบาดวิทยา9

รวบรวมขอมูลผูปวยรวบรวมขอมูลผูปวย๏ ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการจําเพาะ PCR การตรวจแยกเช้ือ HI titer : single serum, pair serum EIA

สํานักระบาดวิทยา10

แหลงแพรโรคในระยะ 14 วันกอนปวย • การเดินทาง • ในครอบครัว• ในละแวกบาน• ในชุมชน/โรงเรียน

คนหาขอบเขตการกระจายของโรคคนหาขอบเขตการกระจายของโรค

สํานักระบาดวิทยา11

ผูปวยรายอ่ืนผูปวยรายอ่ืน

คนหาขอบเขตการกระจายของโรคคนหาขอบเขตการกระจายของโรค

ในระยะ 14 วันหลังวันเริ่มปวย • ในครอบครัว• ในละแวกบาน• ในชุมชน/โรงเรียน

สํานักระบาดวิทยา12

การประเมินความชุกลูกน้ํายุงลายการประเมินความชุกลูกน้ํายุงลาย๏ ในบานผูปวย๏ รอบบานผูปวยรัศมี 100 เมตร๏ ในโรงเรียน/วัด/ศูนยเด็กเล็ก ท่ีพบผูปวย๏ อื่นๆ

สํานักระบาดวิทยา13

BI (Breteau Index) หมายถึง คาดัชนีลูกน้ํายุงลายท่ีพบในภาชนะตางๆ ในครัวเรือน (จํานวนภาชนะท่ีพบลูกน้ํายุงลายใน 100 หลังคาเรือน)

๏BI > 50 มีความเส่ียงสูงท่ีจะเกิดการแพรโรค๏BI < 5 มีความเส่ียงต่ําท่ีจะเกิดการแพรโรค

การประเมินความชุกลูกน้ํายุงลายการประเมินความชุกลูกน้ํายุงลาย

สํานักระบาดวิทยา14

การประเมินความชุกลูกน้ํายุงลายการประเมินความชุกลูกน้ํายุงลายHI (House Index) หมายถึง คาดัชนีลูกน้ํายุงลายที่พบใน

หมูบาน (รอยละของการพบลูกน้ํายุงลายในบานที่ทําการสํารวจในพื้นที)่

> 50เสี่ยงสูงมาก10 – 50เสี่ยงสูง

< 10เสี่ยงต่ํา0ปลอดภัย

คา HIภาวะความเสี่ยงตอการเกิดการแพรโรคไขเลือดออก

สํานักระบาดวิทยา15

การประเมินความชุกลูกน้ํายุงลายการประเมินความชุกลูกน้ํายุงลายCI (Container Index) หมายถึง คาดัชนีลูกน้ํายุงลายท่ี

พบในอาคารสถานท่ีและโรงเรียน (รอยละของการพบลูกน้ํายุงลายในภาชนะใสน้ํา)

> 10เสี่ยงสูงมาก5 – 9เสี่ยงสูง< 5เสี่ยงต่ํา0ปลอดภัย

คา HIภาวะความเสี่ยงตอการเกิดการแพรโรคไขเลือดออก

สํานักระบาดวิทยา16

การแปลผลการแปลผล๏ HI สูง CI สูง = ชุมชนนี้มีปญหามากโดยรวม๏ HI ต่ํา CI ต่ํา = ชุมชนนี้มีปญหานอยโดยรวม๏ HI สูง CI ต่ํา = ชุมชนนี้มีปญหาท่ัวไปกระจาย

ท้ังหมูบาน๏ HI ต่ํา CI สูง = ชุมชนนี้มีปญหาเปนบางจุดของ

ชุมชน แกไขเฉพาะจุดได

สํานักระบาดวิทยา17

ควบคุมโรคควบคุมโรคกิจกรรมการควบุมโรคในชุมชน/โรงเรียน/ที่อ่ืนๆ๏ พนเคมีกําจัดยุงลาย๏ ควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลาย๏ กระบวนการแกปญหาแบบมีสวนรวม๏ การใหความรู๏ กิจกรรมอ่ืนๆ

สํานักระบาดวิทยา18

เขียนรายงานเขียนรายงานประกอบดวย๏ ความเปนมา๏ ผลการสอบสวนโรค๏ แนวโนมการระบาด๏ กิจกรรมควบคุมโรคที่ดําเนินการไปแลว๏ สรุปความสําคัญและเรงดวน๏ ขอเสนอเพื่อพิจารณาดําเนินการ

สํานักระบาดวิทยา19

สงกลับใหผูเก่ียวของไดใชประโยชน

* กลุมผูบริหารที่มีหนาที่ในการควบคุมโรค

* * กลุมเจาหนาที่สาธารณสุขกลุมเจาหนาที่สาธารณสุข ที่มีหนาที่เฝาระวังที่มีหนาที่เฝาระวังและควบคุมโรคในชุมชนและควบคุมโรคในชุมชน

* กลุมประชาชนและชุมชนที่เกิดโรคหรือประชาชนทั่วไป

Thank

you for

your a

ttentio

n

Thank

you for

your a

ttentio

n