Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

18
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 39 25 Oct - 31 Oct 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits&Vegetables Food Ingredient&Ready-to-Eat รองนายกฯ กิตติรัตน์ หารือป ัญหาน�้า ท่วมกับเอกชน สถิติการส่งออกสินค้าอาหารส�าเร็จรูป ม.ค.-ส.ค. 2554 สรุปมาตรการ SPS/TBT ของประเทศ สมาชิก WTO ที่อาจมีผลกระทบต ่อ ประเทศไทย (มิ.ย.-ก.ย.-54) ซีพีเอฟแนะวิธีเลี้ยงปลา ลดผลกระทบ เกษตรกร เอเฟทเล็งดึงสับปะรดกระป๋อง

description

Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

Transcript of Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

Page 1: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 39

25 Oct - 31 Oct 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

รองนายกฯ กิตติรัตน์ หารือปัญหาน�้าท่วมกับเอกชน

สถิติการส่งออกสินค้าอาหารส�าเร็จรูป ม.ค.-ส.ค. 2554

สรุปมาตรการ SPS/TBT ของประ เทศสมาชิก WTO ท่ีอาจมีผลกระทบต ่อ

ประ เทศไทย (มิ .ย.-ก.ย.-54)

ซีพีเอฟแนะวิธีเลี้ยงปลา ลดผลกระทบเกษตรกร

เอเฟทเล็งดึงสับปะรดกระป ๋อง

Page 2: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

2 3

ContentsContents35 6 7 7 9 10 11 12 13 14

15

16 17 18 18 19 20 20

21 26

28 28 30

06

15

28

16

03 ขา่วประชาสัมพนัธ์• สถิติการส่งออกสินค้าอาหารส�าเร็จรูป ม.ค.-ส.ค. 2554 • ขอเชิญร่วมงานเสวนา::: เจาะลึกแนวทางสร้างองค์กรความรู้และกิจกรรม Happy Workplace ส�าหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (เอกสารแนบ1) สถานการณด์้านมาตรฐานและความปลอดภยั อาหาร • RASFF (Rapid Alert System for Food and Feed) week 43 : 24-30 Sep 2011• ประเทศคู่ค้าห้ามใช้สาร BPA (Bisphenol A) (เอกสารแนบ2)• สรุปมาตรการ SPS/TBT ของประเทศสมาชิก WTO ที่อาจมีผลกระทบต่อประเทศไทย (มิ.ย.-ก.ย.-54) • สรุปมาตรการ SPS/TBT ของประเทศไทย ระหว่างเดือนมิถุนายน-กันยายน 2554 • สรุปมาตรการ SPS ของประเทศสมาชิก WTO ระหว่างเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2554(เอกสารแนบ3,4) • สรุปมาตรการ TBT ของประเทศสมาชิก WTO ระหว่างเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2554(เอกสารแนบ5,6) • มาตรการความปลอดภัยอาหารน�าเข้าและส่งออกของจีน • การขึ้นทะเบียนอาหารน�าเข้าของจีน • มาตรฐานอาหารสัตว์เลี้ยงญี่ปุ่น สถานการณด์้านประมง • ซีพีเอฟแนะวิธีเลี้ยงปลา ลดผลกระทบเกษตรกร

สถานการณด์้านเกษตร• เอเฟทเล็งดึงสับปะรดกระป๋อง • เกษตรฯเตรียมบังคับใช้ กฎหมายล�าดับรอง5ฉบับ ลุยควบคุมการผลิต-ค้าปุ๋ย • น�้าท่วมดันผักขึ้นราคากว่า 20% สศก.เตือนคนไทยไม่ต้องวิตกหลังน�้าลดปลูกทดแทนได้ทันที • ฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรหลังน�้าลด • พาณิชย์เร่งน�าเข้าไข่มาเลย์ 3 ล้านฟองแก้ขาดแคลน-ราคาแพงหูฉี่• ฐานข้อมูลผลไม้ที่ส�าคัญประจ�าเดือนตุลาคม 2554 (เอกสารแนบ7)• ฐานข้อมูลปริมาณน�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาคต่างๆ เดือนมกราคม - กันยายน ปี 2552-2554 (เอกสารแนบ8) สถานการณน์โยบายครม.ชุดใหม ่และ ประเด็นแรงงาน • สรุปมติคณะรัฐมนตรี 25 ตุลาคม 2554 (เอกสารแนบ9)• รองนายกฯ กิตติรัตน์ หารือปัญหาน�้าท่วมกับเอกชน

สถานการณด์้านการค้า• หอการค้าไทย ประเมินน�้าท่วมท�าส่งออกปีนี้ลดลง 0.5%• นักลงทุนนอกรุมสวดรบ.ห่วย เศรษฐกิจพังยับเยิน 8 แสนล้าน • ชงบีโอไอเพิ่มมาตรการจูงใจต่างชาติลงทุน

อตัราแลกเปลีย่น

21

การส่งออกสินค้าอาหารส�าเร็จรูป เฉพาะสินค้าท่ีเกี่ยวข้องกับสมาคมฯ เดือนมกราคม- สิงหาคม ปี 2554 เปรียบเทียบ

กับปี 2553 มีปริมาณ 1,761,848 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12 มีมูลค่า 109,967 ล้านบาท หรือ 3,657 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 17 ในเทอมของเงินบาท และเพิ่มขึ้นร้อยละ 26 ในเทอมของเงินเหรียญสหรัฐฯ

สถิติการส่งออกสินค้าอาหารส�าเร็จรูป

2) สินค ้าประเภทผักและผลไม ้แปรรูปได ้แก ่ ผลิตภัณฑ ์ สับปะรด ข ้าวโพดหวาน

กระป ๋อง ผักและผลไม ้กระป ๋อง น�้ าผลไม ้ ในภาพรวมเพิ่ มขึ้ น ท้ั งปริมาณและมูลค ่ า

ยกเว ้น เงาะ ลิ้นจี่ ผลไม ้กระป ๋องอื่ นๆ ปริมาณ 975 ,330 ตัน เพิ่ มขึ้ น 20 %

มูลค่า 35,995 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 27 % หรือ มูลค่า 1,196 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมขึ้น 37%

3) สินค้าประเภทเครื่องปรุงต่างๆ เช่น ซอส เครื่องแกง บะหม่ีพร้อมปรุง ในภาพรวม

เพิ่มขึ้นท้ังปริมาณและมูลค่า ปริมาณ 276,491 ตัน เพิ่มขึ้น 8%มูลค่า 19,040 ล้านบาท

เพิ่มขึ้น 13% หรือ มูลค่า 634 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 21%

1) สินค้าประเภทประมงแปรรูป ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าแปรรูป ปลาและอาหารทะเลอื่นๆ

บรรจุกระป๋อง ในภาพรวมเพิ่มขึ้น ท้ังปริมาณและมูลค่า ยกเว้นปลาแอนโชวี หอยลาย ปูกระป๋อง

ปริมาณ 510,027 ตัน เพิ่มขึ้น 3 % มูลค่า 54,932 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 13 % หรือ มูลค่า 1,826

ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 22 %

31

Page 3: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

4 5

ข่าวประชาสัมพันธ์

ขอเชิญร่วมงานเสวนา::: เจาะลึกแนวทางสร้างองค์กรความรู้และกิจกรรม Happy Workplace ส�าหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (เอกสารแนบ1)

ในปัจจุบันหลายองค์กรยังคงเผชิญหน้า

กับกระแสวิกฤตและความเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ

การเมืองและสังคมซึ่งยังไม่มีทีท่าว่าจะหยุดนิ่งในสภาวะ

การณ์เช่นน้ีล้วนมีผลกระทบต่อความม่ันคงกับทุกองค์กร

หลายองค์กรพยายามดิ้นรนเพื่อเอาชนะอุปสรรคที่เผชิญ

อยู ่แต่มักหนีไม่พ้นวิธีลดต้นทุนและเพิ่มยอดขายเพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผลในการท�างานอย่าง

เคร่งครัดโดยอาจลืมมุมมองด้านอื่นๆที่มีความส�าคัญไม่

แพ้กันได้แก่มุมมองภายใน หรือบุคคลากรในองค์กร โดย

เฉพาะด้านการเรียนรู้และเติบโตของคนในองค์กร

ทางสมาพันธ์โลจิสติกส์ไทยซึ่งเป็นตัวแทนผู้ให้

บริการและผู้ใช้บริการโลจิสติกส์ ร่วมกับส�านักงานกองทุน

สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ก�าหนดจัด

งานเสวนาหัวข้อ “เจาะลึกแนวทางสร้างองค์ความรู้และ

กิจกรรม Happy Workplace ส�าหรับกลุ่มอุตสาหกร

รมโลจิสติกส์” และยังเพิ่มความรู้เพื่อน�าไปปรับใช้ในการ

ท�างานให้เกิดประโยชน์ ด้วยการอบรม “หลักสูตรระยะ

สั้นในการเสริมสร้างองค์กรสุขภาวะส�าหรับผู้ประกอบการ

ขนส่งสินค้า” เพื่อกระตุ้นและสร้างแรงบันดาลใจให้ผู ้เข้า

อบรมสามารถปรับประยุกต์ใช้กับองค์กรได้อย่างเหมาะสม

จึงใคร่ขอเรียนเชิญท่านหรือผู้แทน เข้ามาร่วม

รับฟังการเสวนา และเข้าร่วมอบรม เพื่อรับฟังแลกเปลี่ยน

ประสบการณ์และความรู ้ที่เป็นประโยชน์จากทีมวิทยากร

ผู ้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู ้และประสบการณ์โดยตรง จาก

หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ในวันพุธที่ 30 พฤศจิกายน

2554 เวลา 8.30 – 16.00 น. ณ โรงแรมจัสมิน ห้อง

Sakura ( L Floor) ในการร่วมฟังการบรรยายในครั้งนี้

ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น

กรุณาส่งใบตอบรับการสัมมนากลับมายัง : สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย

Fax:02-105-6364 Email:[email protected]

หรือติดต่อสอบถามที่ เบอร์ 02-105-6364,081-829-3254

(คุณอมรรัตน์, คุณระวีวัฒน์)

ตาราง สถิติการส่งออกสินค้าอาหารส�าเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับสมาคมฯ ไปทั่วโลก แบ่งตามกลุ่มสนิค้า

ท่ีมา: www.moc.go.th/7 October 2011

เรียบเรียงโดย สมาคมผู้ผลิตอาหรส�าเร็จรูป

Page 4: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

6 7

WEEKLY BRIEF

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

RASFF (Rapid Alert System for Food and Feed) week 43 : 24-30 Sep 2011

จากข้อมูลการแจ้งเตือน RASFF ใน week 43 พบสินค้าที่มีปัญหาจากไทย 4 รายการ คือ 1) พบเช้ือ พบเชื้อจุลินทรีย์

Salmonella spp. ในใบพลู (paan leaves) 2) carbofuran, methomyl and unauthorised substance EPN ใน

ถั่วฝักยาว 3) พบการปนเปื้อนสาร bisphenol A ในขวดนมเด็ก และ 4) พบสาร chlorpyriphos -ethyl ในใบโหระพา

สด นอกจากนี้ยังพบปัญหาในสินค้าที่เกี่ยวข้องกับสมาชิกจากประเทศ Tunisia 2 รายการ คือ 1) พบฉลากไม่ถูกต้อง

และแมลงในสินค้าปลาซาร์ดีนในน�้ามันพืช 2) พบ Histamine ในสินค้าปลาซาร์ดีนบรรจุกระป๋อง ตามรายละเอียด

ด้านล่าง

ที่มา : https://webgate.ec.europa.eu/rasff-window/portal/index.cfm?event=searchResultList

ป ร ะ เ ท ศ คู ่ ค ้ า ห ้ า ม ใ ช ้ ส า ร B P A (Bisphenol A) เอกสารแนบ 2

สาร BPA (Bisphenol A) เป็นสารเคมีที่เป็นส่วน

ประกอบส�าคัญของพลาสติกชนิดโพลีคาร์บอเนตท่ีใช้ผลิต

ภาชนะกระป๋อง ขวดน�้า ขวดนมเด็ก และ CDs เป็นต้น

ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากส่งผลกระทบต่อ

ระบบประสาท รวมท้ังเป็นสาเหตุของโรคหัวใจ และเบา

หวาน ปัจจุบันหลายประเทศมีความกังวลต่อสารดังกล่าว

จึงได้ออกกฏหมายห้ามใช้สาร BPA ในการผลิตเครื่องใช้

ภาชนะบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม โดยเฉพาะส�าหรับเด็ก

และทารก

ในระยะที่ผ่านมาประเทศต่างๆมีแนวโน้มเข้มงวด

มากขึ้นในการห้ามใช้สาร BPA ในการผลิตสินค้าภาชนะ

พลาสติก ประป๋อง ขวดน�้า และขวดนม เป็นต้น ท้ังนี้

ไทยส่งออกบรรจุภัณฑ์พลาสติกไปทั่วโลก โดยตลาดส่ง

ออกท่ีส�าคัญของไทย คือ ญี่ปุ่น รองลงมา ได้แก่ สหรัฐฯ

และออสเตรเลีย ดังนั้นเพื่อไม่ให้สินค้าถูกกักกัน ณ ด่าน

น�าเข้าผู้ประกอบการไทยจึงไม่ควรใช้สาร BPA ในการ

ผลิตสินค้าดังกล่าว เพื่อรักษามูลค่าการส่งออกในตลาด

ต่างประเทศต่อไป

ที่มา : กลุ่มมาตรการ TBT ส�านักมาตรการทางการค้า (ต.ค.2554)

สรุปมาตรการ SPS/TBT ของสมาชิก WTO ที่อาจมีผลกระทบต่อประเทศไทย ระหว่างเดือนมิถุนายน-กันยายน 2554

1) Sanitary and Phytosanitary Measures-SPS

• แยกตามวัตถุประสงค ์ แบ ่งเป ็น ด ้านความ

ปลอดภัยอาหาร 272 เรื่อง ด้านป้องกันเรื่องพืช/ศัตรูพืช

87 เรื่อง และ ด้านป้องกันโรคสัตว์ 55 เรื่อง

• แยกตามประเทศ แบ ่งเป ็น จีน 78 เ ร่ือง

สหรัฐอเมริกา 52 เรื่อง แคนาดา 41 เรื่อง บราซิล 29

เรื่อง ไต้หวัน 21 เรื่อง และ ประเทศอื่นๆ 161 เรื่อง

• Notification ด้าน SPS ที่อาจมีผลกระทบกับ

ประเทศไทย

Page 5: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

8 988

2) Technical Barriers to Trade : TBT

•แยกตามวัตถุประสงค์แบ่งเป็น ด้านฉลากอาหาร 53 เรื่อง และด้านการตรวจสอบคุณภาพ/มาตรฐาน 63 เรื่อง

•แยกตามประเทศ แบ่งเป็น สหภาพยุโรป 15 เร่ือง, การ์ตาร์ 10 เรื่อง, อิสราเอล 10 เรื่อง,โคลัมเบีย 9 เรื่องสหรัฐ

อมเริกา 7 เรื่อง และ ประเทศอ่ืนๆ 65 เร่ือง

•Notification ด้าน TBT สิน้คาเกษตรและอาหาร ที่อาจกระทบกับประเทศไทย

ท่ีมา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมประชุมคณะอนุกรรมการว่าด้วยการบังคับใช ้

มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช และอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า

ครั้งท่ี 3/2554 วันท่ี 12 ตุลาคม 2554 ณ มกอช.

Vol. 2 Issue 2

9

สรุปมาตรการ SPS/TBT ของประเทศไทย ระหว่างเดือนมิถุนายน-กันยายน 2554

ที่มา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมประชุมคณะอนุกรรมการว่าด้วยการบังคับใช ้

มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช และอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า

คร้ังที่ 3/2554 วันที่ 12 ตุลาคม 2554 ณ มกอช.

Page 6: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

10 1110

สรุปการแจ้งมาตรการ SPS ของสมาชิก WTO ประจ�าเดือน กรกฎาคม-สิงหาคม 2554(1) Sanitary and Phytosanitary Measures (SPS)

เดือน กรกฎาคม เอกสารแนบ 3

• แยกตามประเทศ แบ่งเป ็น จีน 57 เรื่อง

สหรัฐอเมริกา 3 เรื่อง, แคนาดา 10 เร่ือง บราซิล 2

เรื่อง ไต้หวัน 2 เรื่อง เร่ือง สหภาพยุโรป 3 เร่ือง และ

ประเทศอื่นๆ 5 เรื่อง

• แยกตามกลุ่มของผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น กลุ่มผลิต

ภัณ์ผักและผลไม้ 3 เร่ือง กลุ่มผลิตภัณฑ์ประมง 1 เรื่อง

กฏระเบียบบรรจุภัณฑ์ 1 เรื่อง และกฎระเบียบทั่วไป

และกลุ่มอาหารทั่วไป เช่น สารพิษตกค้าง สารปรุงแต่ง

อาหาร ฉลาก 77 เรื่อง

• Notification ด้าน SPS ส�าคัญที่อาจกระทบต่อ

สินค้าอาหารส�าเร็จรูป

(2) Sanitary and Phytosanitary Measures (SPS)

เดือน สิงหาคม

• แยกตามประเทศ แบ่งเป็น สหรัฐอเมริกา 4 เรื่อง

ไต้หวัน 5 เรื่อง เรื่อง สหภาพยุโรป 2 เรื่อง ออสเตรเลีย

2 เรื่อง และประเทศอื่นๆ 4 เรื่อง

• แยกตามกลุ่มของผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น กลุ่มผลิต

ภัณ์ผักและผลไม้ 6 เรื่อง กลุ่มผลิตภัณฑ์ประมง 1 เรื่อง

กฏระเบียบบรรจุภัณฑ์ 1 เรื่อง กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม

1 เรื่อง กลุ่มผลิตภัณอาหารพร้อมรับประทาน 1 เรื่อง

และกฎระเบียบทั่วไป และกลุ่มอาหารทั่วไป เช่น สารพิษ

ตกค้าง สารปรุงแต่งอาหาร ฉลาก 7 เรื่อง

• Notification ด้าน SPS ส�าคัญที่อาจกระทบต่อ

สินค้าอาหารส�าเร็จรูป เอกสารแนบ 4

ท่ีมา : มกอช (website : http://www.acfs.go.th/searchNotifica-

tion.php)

เรียบเรียงโดย สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป/เจ้าหน้าท่ีการค้าและวิชาการ

สรุปการแจ้งมาตรการ TBT ของสมาชิก WTO ประจ�าเดือน กรกฎาคม-สิงหาคม 2554

(1) Technical Barriers to Trade (TBT) เดือน

กรกฎาคม

• แยกตามวัตถุประสงค ์ แบ่งเป ็นด ้านควบคุม

คุณภาพและมาตรฐาน 10 เรื่อง ด้านปรับปรุงข้อก�าหนด

และมาตรฐาน 14 เรื่อง และด้านบรรจุภัณฑ์และฉลาก

อาหาร 2 เรื่อง

• แยกตามประเทศ แบ่งเป็น อิสราเอล 9 เรื่อง EU

1 เรื่อง Middle East 8 เรื่อง สหรัฐอเมริกา 1 เรื่อง

ประเทศอื่นๆ 7 เรื่อง

• Notification ด้าน TBT ส�าคัญท่ีอาจกระทบกับ

สินค้าอาหารส�าเร็จรูป เอกสารแนบ 5

(2) Technical Barriers to Trade (TBT) เดือน

สิงหาคม

• แยกตามวัตถุประสงค ์ แบ ่งเป ็นด ้านควบคุม

คุณภาพและมาตรฐาน 9 เรื่อง ด้านปรับปรุงข้อก�าหนด

และมาตรฐาน 1 เรื่อง และด้านบรรจุภัณฑ์และฉลาก

อาหาร 3 เรื่อง

• แยกตามประเทศ แบ ่ ง เป ็น EU 7 เรื่ อง

สหรัฐอเมริกา 3 เรื่อง ประเทศอื่นๆ 3 เรื่อง

• Notification ด้าน TBT ส�าคัญที่อาจกระทบกับ

สินค้าอาหารส�าเร็จรูป เอกสารแนบ 6

ที่มา : มกอช (website : http://www.acfs.go.th/searchNotifica-

tion.php)

เรียบเรียงโดย สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป/เจ้าหน้าที่การค้าและวิชาการ

Page 7: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

12 13

มาตรการความปลอดภัยอาหารน�าเข้าและส่งออกของจีน

เมือเดือนพฤศจิกายน 2553 จีนได ้ออกร ่าง

ประกาศมาตรการการบริหารความปลอดภัยอาหารน�าเข้า

และส่งออก (G/SPS/N/CHN/314) โดย มกอช.ได้เชิญ

ผู้เกี่ยวข้อง ภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมฟังบรรยายสรุปกฏ

ระเบียบใหม่ของจีน (เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2554) พร้อม

ทั้งระดมความคิดเห็นท่ีส�าคัญจากผู้ส่งออกไทย และ มก

อช.ได้มีหนังสือแจ้งสอบถามจีนในประเด็นต่างๆ ดังนี้

1) Thailand : ร่างประกาศนี้ครอบคลุมสินค้า

ทุกประเภท ในอนาคตจะต้องประกาศระเบียบย่อยราย

สินค้า เพิ่มเติมหรือไม่ กรณีสินค้าชนิดน้ันน�าเข้าครั้ง

แรก หมาย ถึงสินค้าท่ีมีการน�าเข้าคร้ังแรกของบริษัท

ส่งออกหรือของประเทศส่งออก

Chinese : มาตรการดังกล่าวใช้กับอาหาร

ทุกชนิดยกเว้น ผลไม้ ถั่วเหลือง ข้าวสาลี ข้าวยาร์เลย์

ข้าวโพด มันฝรั่ง และมะเขือเทศ ทั้งนี้ประเทศจีน

จะออกมาตรการเฉพาะ เช่น ผลิตภัณฑ์นม ผลิตภัณฑ์

ประมง และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และจะแจ้งองค์การ

การค้าโลกในโอกาสต่อไป

2) Thailand : การยื่นใบอนุญาตน�าเข้าสินค้าครั้ง

แรกส�าหรับสินค้าที่ไม่มีมาตรฐานแห่งชาติจะต้องยืนยัน

โดยบริษัทหรือประเทศ และจะต้องด�าเนินการโดย

หน่วยงานสาธารณสุขของมลฑล หมายถึงหน่วยงาน

AQSIQ หรือกระทรวงสาธารณสุข

Chinese : หน่วยงานสาธารณสุขของมลฑล หมาย

ถึง หน่วยงานสาธารณสุขของประเทศจีน

3) Thailand : การลงทะเบียนอาหารต่างประเทศ

สินค้าทุกชนิดต้องจดทะเบียน หรือต้องรอการออก

ประกาศย่อยเพิ่มเติมเป็นรายชนิด และหากต้องจด

ทะเบียนต้องไปจดทะเบียนที่ AQSIQ โดยตรงหรือ

จดทะเบียนกับ CA ของประเทศผู้ส่งออกแล้วส่งให้

AQSIQ หลังประกาศย่อยออกแล้ว

Chinese : การลงทะเบียนอาหารต่างประเทศ

สามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก

http://www.cnca.gov.cn/rjwzcfl/flfg/bmgz/584.shtml

4) Thailand : หลักฐานประกอบการน�าเข้าต้อง

มีต้องมีใบรับรองสุขอนามัยออกโดยราชการ หรือ

ข้อตกลงที่ท�าร่วมกัน ถ้าไม่มีข้อตกลงต้องมีใบรับ

รองสุขอนามัยหรือไม่

Chinese : หากไม่มีข้อก�าหนดระบุว่าจะต้องมีใบรับ

รองสุขอนามัยก็ไม่จ�าเป้นต้องมี

5) Thailand : การติดฉลาก สามารถใช้ได้ท้ัง

ภาษาจีนด้ังเดิม หรือตัวย่อใช่หรือไม่

Chinese : การติดฉลากให้ใช้เฉพาะภาษาจีนตัว

ย่อ (simplified Chinese language)

ท่ีมา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมประชุมคณะอนุกรรมการ

ว่าด้วยการบังคับใช้

มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช และอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า

ครั้งท่ี 3/2554 วันท่ี 12 ตุลาคม 2554 ณ มกอช.

13

การขึ้นทะเบียนอาหารน�าเข้าของจีน

ภายใต้ Food safety law ของจีนได้แจ้งกฏ

ระเบียบส�าหรับการขึ้นทะเบียน คือ Order of the Gen-

eral Administration of Quality Supervision, Inspec-

tion and Quarantine of the people’s Republic

of China (AQSIQ) No.16 ปี2002 ต่อมามีการแก้ไข

และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น Provision of Administration of

the Registration of Foreign Production Enterprise

of Imported Foods หากฉบับแก้ไขมีผลบังคับใช้ก็จะ

ยกเลิกฉบับเดิม ท้ังนี้จีนได้แจ้งองค์การการค้าโลกแล้ว

เมื่อเดือนสิงหาคม 2554

ระเบียบดังกล่าวมีประเด็นส�าคัญ ดังนี้

1) ส�านักงานควบคุมคุณภาพ ตรวจสอบและ

กักกันโรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (AQSIQ) เป็น

ผู ้ดูแลการขึ้นทะเบียนผู ้ผลิตสินค้าอาหารน�าเข้าต่างชาติ

ท้ังหมด และมีหน่วยงานด้านรับรอง Certification and

Accreditation (CNCA) เป็นผู้ด�าเนินการขึ้นทะเบียน

และตรวจสอบควบคุมผู้ผลิตสินค้าอาหารน�าเข้าต่างชาติ

2) ผู ้ผลิตต่างชาติที่ได้รับการขึ้นทะเบียนตาม

บัญชีรายชื่อการขึ้นทะเบียน จะได้รับอนุญาตให้ส่งออก

สินค้ามาสาธารณรัฐประชาชนจีน

3) ผู้ผลิตต้องผ่านการประเมินจากหน่วยงานขึ้น

ทะเบียนของประเทศต้นทาง (Competent Authority :

CA) ได้แก่ หน่วยงานด้านสัตวแพทย์ ด้านอารักขาพืช

และ ด้านสาธารณสุข

4) การยื่นขอขึ้นทะเบียน ต้องยื่นผ่านหน่วยงาน

CA ในประเทศผู้ผลิต และหน่วยงานนั้นจะเป็นผู้ยื่นเรื่อง

มายัง CNCA

5) หน่วยงาน CNCA จะตรวจสอบควบคุมผู้ผลิต

ตามบัญชีรายช่ืออย่างเคร่งครัด และหากจ�าเป็นอาจมีการ

ตรวจซ�้าและหากพบว่าผู ้ผลิตไม่ปฏิบัติตามก�าหนดจะถูก

ระงับการขึ้นทะเบียนชั่วคราว

6) กรณีเกิดเหตุการณ์ความปลอดภัยอาหารร้าย

แรงกับผู ้ผลิตรายใด หรืออาหารที่ถูกกักไม่เป็นไปตาม

มาตรฐาน เช่น มีการปลอมปน เป็นต้น ก็จะท�าการยกเลิก

การขึ้นทะเบียน

7) การขึ้นทะเบียนผู้ผลิต แปรรูป และการเก็บ

รักษาอาหารน�าเข้าจากเขตการปกครองพิเศษ ฮ่องกง มา

เก๊าและไต้หวัน ที่ส่งอาหารตามบัญชีรายชื่อมาสาธารณรัฐ

ประชาชนจีนให้ปฏิบัติตามระเบียบนี้เช่นกัน

ที่มา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมประชุมคณะอนุกรรมการ

ว่าด้วยการบังคับใช้

มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช และอุปสรรคทางเทคนิคต่อ

การค้า คร้ังที่ 3/2554 วันที่ 12 ตุลาคม 2554 ณ มกอช.

Page 8: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

14 15

มาตรฐานอาหารสัตว์เลี้ยงญี่ปุ่น

ความเป็นมา

1) เดือนกุมภาพนธ์ 2554 กระทรวงเกษตร ป่า

ไม้และประมงญี่ปุ ่นได้ออกประกาศเพิ่มเติมค่ามาตรฐาน

อาหารสัตว์เลี้ยง ได้แก่ สารพิษจากเชื้อรา โลหะหนัก

สารกลุ ่มออร์แกโนคลอรีน ตามประกาศองค์การการค้า

โลก G/SPS/N/JPN/270 มกอช.ได้เวียนให้หน่วยงานที่

เกี่ยวข้องเสนอข้อคิดเห็น และได้น�าเสนอต่อที่ประชุมคณะ

อนุกรรมการ SPS ครั้งที่ 1/2554

2) เดือนมีนาคม 2554 มติการประชุมคณะ

อนุกรรมการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและอุปสรรคทาง

เทคนิคต่อการค้า คร้ังที่1/2554 เห็นสมควรเสนอให้ญี่ปุ ่น

ปรับค่ามาตรฐานตามที่กรมปศุสัตว์และสมาคมผู้ประกอบ

การอาหารสัตว์เลี้ยงเสนอ

ข้อเสนอแนะจากไทย และการตอบรับของญี่ปุ่น

1) Thailand : เสนอว่าค่า MRL ของสารบาง

ชนิดเข้มงวดเกิดไป อยากให้ยึดตามข้อก�าหนดของ EU

Japan : ยืนยันค่าตกค้างของสารพิษจากเชื้อรา

และโลหะหนักตามมาตรฐาน Codex standard

193-1995

2) Thailand : เสนอให้ก�าหนดความชื้นของอาหาร

สัตว์

Japan : เรื่องความช้ืนที่ไทยเสนอให้ก�าหนดนั้น ได้

ก�าหนดความช้ืนในอาหารสัตว์ไว้แล้วตอน

ประกาศเดิม (ฉบับเต็ม) ต้องไม่เกิน

ร้อยละ 10

3) Thailand : เสนอขอให้ระบุสารหนูเป็น inor-

ganic arsenic

Japan : ยังไม่มีวิธีวิเคราะห์ส�าหรับสาร inorganic

arsenic ก�าหนดเพียงค่าสูงสุดของ Total arsenic

ท่ีมา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมประชุม

คณะอนุกรรมการว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช

และอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้าครั้งท่ี 3/2554 วันท่ี 12 ตุลาคม 2554 ณ

มกอช.

15

สถานการณ์ด้านประมง

ซีพี เอฟแนะวิธี เลี้ยงปลา ลดผลกระทบเกษตรกร

นายอดิศร์ กฤษณวงศ์ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ากัด ( มหาชน) หรือ

ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ปัจจุบันหลายพื้นท่ีของประเทศไทย

ประสบปัญหาน�้าท่วมและน�้าหลากส่งผลกระทบต่อ การ

เลี้ยงปลาของพี่น้องเกษตรกร จึงมีค�าแนะน�าส�าหรับการ

เลี้ยงปลาในช่วงฤดูฝนเพื่อลดความเสียหายที่อาจเกิด ขึ้น

โดยการเลี้ยงปลาในช่วงฤดูฝนเกษตรกรจ�าเป็นต้อง

เอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ โดยเฉพาะการเลี้ยงปลาระบบ

กระชังในแม่น�้าที่ต้องเสี่ยงกับการเปลี่ยนแปลงของ น�้า

โดยจะต้องท�าโครงกระชังให้มีขากระชังลงไปท้ัง 4 ด้าน

อย่างน้อยครึ่งหนึ่งของความลึกกระชังเพื่อป้องกันไม่ให้

กระชังลู่ไปตาม แรงน�้า แต่ในบางพื้นท่ีท่ีภาวะน�้าหลาก

รุนแรงควรเคลื่อนย้ายกระชังไปยังจุดท่ีสามารถ หลบแรง

น�้าได้

นอกจากนี้ในสภาวะท่ีน�้าไหลหลากมากอย่างต่อเนื่อง

อาจมีภาวะการเปล่ียนแปลงของ สภาพน�้าได้ตลอดเวลา

ดังนั้นผู้เล้ียงควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของ

น�้าท่ีจะมีผลต่อการ กินอาหารลดลง จึงควรปรับปริมาณ

การให้อาหารในแต่ละมื้อลง โดยให้อาหารที่ละน้อยเท่า

ที่ปลากินหมด และควรแบ่งจ�านวนมื้ออาหารออกเป็น

มากกว่า 5-6 มื้อต่อวัน เพ่ือกระตุ้นให้ปลากินอาหารมาก

ขึ้นเนื่องจากปลาต้องการพลังงานเพ่ิมขึ้น เพราะต้องว่าย

ต้านแรงน�้าท่ีรุนแรงกว่าปกติตลอดเวลา

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 29/10/2011

Page 9: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

16 17

สถานการณ์ด้านเกษตรเอเฟทเล็งดึงสับปะรดกระป๋อง

ตลาดสินค้าเกษตรเล็งดึงสินค้าสับปะรดกระป๋อง ซื้อ

ขายล่วงหน้า หลังหารือผู้ประกอบการมีความสนใจ แต่

ขอศึกษาข้อมูลให้ชัดเจนอีกครั้ง พร้อมให้ข ้อมูลกลุ ่ม

เกษตรกรเชิงรุกเพื่อให้มีความรู ้น�าสินค้ามาซื้อขายล่วง

หน้า

นายประสาท เกศวาพิทักษ์ ประธานกรรมการตลาด

สินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย (เอเฟท) เปิด

เผยกับ “ฐานเศรษฐกิจ” ว่าปัจจุบันตลาดสินค้าเกษตร

ล่วงหน้าแห่งประเทศไทยมีสินค้าที่ท�าการซื้อขาย ได้แก่

ข้าวหอมมะลิ 100% ข้าวขาว 5% ยางแผ่นรมควัน มัน

ส�าปะหลังเส้น และยางแท่ง ขณะนี้ก�าลังเตรียมน�าสินค้า

เข้ามาเทรดเพิ่มเติมในตลาดล่วงหน้าเพื่อให้การ ซื้อขายมี

ความคึกคักมากขึ้น คาดว่าจะมีสับปะรดกระป๋อง ซึ่งเป็น

สินค้าที่ไทยส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก และต้องการ

จะเข้ามาซ้ือขายในตลาดเพราะว่าสินค้าสับปะรดกระป๋อง

สหรัฐอเมริกากล่าวหาว่าทุ่มตลาด

ดังนั้นถ้าหากน�ามาซ้ือขายในตลาดล่วงหน้าจะมีราคา

อ้างอิงใครอยากจะเข้ามา ซื้อก็เข้ามาซื้อได้ สามารถใช้

อ้างอิงกับสหรัฐอเมริกาและยุโรปได้ เพราะฉะนั้นตลาด

สินค้าเกษตรล่วงหน้านอกจากจะยกระดับราคาแล้ว ยัง

เป็นการป้องกันการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีได้ด้วย

“ขณะนี้ก�าลังหารือร่วมกับ

สมาคมผู ้ผลิตสับปะรดกระป๋อง ถ้าหากสมาชิกสมาคม

เห็นพ้องตกลงร่วมกันว่าจะซื้อขายในตลาดสินค้าเกษตร

ล่วง หน้า ทางเอเฟทก็พร้อมที่จะเปิดตลาดให้ เป็นการ

สนองนโยบายรัฐบาลอีกทางหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์ต้องการ

ระบายตลาดโดย ที่ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่ง

ออกสินค้า การที่ไทยมีตลาดล่วงหน้าของเราเองท�าให้การ

กดราคาของผู้ซื้อในตลาดล่วงหน้า เพื่อใช้เป็นราคาอ้างอิง

ในการตกลงซื้อขายไม่สามารถท�าได้ง่าย”

นอกจากสับปะรดกระป๋อง

แล้ว จะท�าอย่างไรให้สินค้าเกษตรขนาดใหญ่เข้ามาซื้อขาย

ในตลาดล่วงหน้ามากข้ึน ได้แก่ 1.ข้าว มีจ�านวนเนื้อท่ี

การเพาะปลูก 65 ล้านไร่ 2. ยางพารา มีเนื้อท่ีการเพาะ

ปลูก 17-18 ล้านไร่ 3.ข้าวโพดมีเนื้อที่การเพาะปลูก 8

ล้านไร่ 4. อ้อย มีเนื้อที่การเพาะปลูก 8 ล้านไร่ 5.มัน

ส�าปะหลัง มีเนื้อที่การเพาะปลูก 8 ล้านไร่ 6.ปาล์มน�้ามัน

4 .6 ล้านไร่ 7. สับปะรดไม่ถึง 1 ล้านไร่ และไม้ผล

ต่างๆ ไม่ถึง 1 ล้านไร่ เป็นต้น

หากเปรียบเทียบกับตลาด

ล่วงหน้าในญี่ปุ่น (TOCOM) ขายยางพาราตัวเดียว วัน

หนึ่ง 2,000,000 สัญญา หมายความว่ามีคนเข้าไปเล่นเก็ง

ก�าไรกันมาก มีการส่งมอบจริงๆ 2-3% เท่านั้น แต่ถ้าเรา

ไม่เอาส่งมอบมาเน้น อย่างข้าว ในตอนแรกคิดว่าไม่มีคน

ซื้อ แต่พอเอาเข้าจริงไม่มีคนมาขาย เพราะโรงสีท่ีซื้อจาก

เกษตรกรมาเขาก็ขายของเขาเอง ไม่มาขายในตลาดสินค้า

เกษตรล่วงหน้า ซึ่งเราก็พยายามเน้นให้เกษตรกรมาขาย

ตรงโดยท่ีไม่ผ่านโรงสี ผู้ส่งออก ยี่ปั ๊ว ซาปั๊ว เพราะจะ

ได้ราคาที่เป็นธรรม ไม่ถูกกดราคา ซึ่งในขณะนี้ทางเอเฟท

ได้พยายามลงไปให้ความรู้ในระดับผู้บริหาร อาทิ ประธาน

สหกรณ์ กรรมการสหกรณ์ ให้เข้าใจ แล้วให้รวมกัน 10

สหกรณ์ แล้วให้มาซื้อขายในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า

เป็นแผนปฏิบัติท่ีเอเฟทจะท�าในเชิงรุกมากขึ้น

จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับที่ 2,682 27 - 29 ตุลาคม พ.ศ.

2554

เกษตรฯเตรียมบังคับใช้ กฎหมายล�าดับรอง5ฉบับ ลุยควบคุมการผลิต-ค้าปุ๋ย

นายจิราก โกศัยเสวี อธิบดีกรมวิชาการเกษตร

เปิดเผยว่า ขณะนี้กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร

และสหกรณ์ได้เตรียมประกาศบังคับใช้กฎหมายล�าดับรอง

เพิ่มเติม จ�านวน 5 ฉบับ ประกอบด้วย ประกาศกระทรวง

เกษตรและสหกรณ์เรื่องก�าหนดสารอนินทรีย์หรืออินทรีย์

ไม่ว่าจะเกิดข้ึนโดยธรรมชาติ หรือท�าข้ึนตามท่ีมุ่งหมาย

ส�าหรับใช้ในอุตสาหกรรมหรือกิจกรรมอื่นไม่เป็นปุ ๋ยเคมี

และประกาศกรมวิชาการเกษตร 4 เรื่อง ได้แก่ 1.หลัก

เกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขเก่ียวกับปุ๋ยท่ีได้รับการยกเว้น

ไม่ต้องขึ้นทะเบียนตาม พรบ.ปุ๋ย พ.ศ.2518 แก้ไขเพิ่ม

เติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2550 2.หลักเกณฑ์วิธีการน�าปุ๋ยหรือ

วัตถุท่ีสงสัยว่าเป็นปุ๋ยในปริมาณพอสมควรไปเป็นตัวอย่าง

เพื่อตรวจสอบหรือวิเคราะห์ตาม พรบ.ปุ๋ยฯ

3.หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการน�าเข้า

ส่งออกหรือการผลิตปุ ๋ยท่ีไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรา 12

และมาตรา 35 แห่ง พรบ.ปุ๋ยฯ และ4.การก�าหนดห้อง

ปฏิบัติการวิเคราะห์ปุ ๋ยให้สอดรับและเป็นไปตาม พรบ.

ปุ๋ยฯ สาระส�าคัญของกฎหมายล�าดับรองทั้ง 5 มีเนื้อหา

เกี่ยวกับการก�าหนดสารอนินทรีย์ หรือสารอินทรีย์ส�าหรับ

ใช้ในอุตสาหกรรมหรือกิจการอื่นๆ โดยไม่ต้องปฏิบัติตาม

กฎหมายปุ๋ย ซึ่งมีบัญชีรายชื่อสารเคมี 42 รายการ ที่

จะได้รับอนุญาตให้ใช้ได้ อาทิ สารแคลเซียมไนเตรทใน

อุตสาหกรรมยาง สารแอมโมเนียมซัลเฟตในอุตสาหกรรม

ฟอกหนัง สิ่งทอ เม็ดพลาสติก และเป็นสารเคมีในห้อง

ปฏิบัติการ ยูเรียในอุตสาหกรรมผลิตกาว ผงชูรส เครื่อง

ส�าอาง สี และอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ เป็นต้น ทั้งนี้

เพื่อช่วยลดขั้นตอนการน�าเข้าและพิธีการทางศุลกากร ซึ่ง

จะช่วยอ�านวยความสะดวกให้แก่ผู ้ประกอบการสามารถ

ด�าเนินธุรกิจได้คล่องตัวมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีหลัก

เกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับปุ๋ยที่ได้รับการยกเว้นไม่

ต้องขึ้นทะเบียนตาม พรบ.ปุ๋ยฯ โดยก�าหนดให้ผู ้ประกอบ

การที่ประสงค์จะผลิตหรือน�าเข้าปุ ๋ยเคมีธาตุอาหารรอง

หรือปุ๋ยเคมีธาตุอาหารเสริม ต้องขอหนังสือส�าคัญรับแจ้ง

ปุ๋ยเคมีธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริมตามแนวทาง

ท่ีได้ปฏิบัติเดิม

ที่มา : หนังสือพิมพ์ แนวหน้า ฉบับวันที่ 28 ตุลาคม 2554

Page 10: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

18 19

น�า้ท่วมดนัผกัขึน้ราคากว่า 20% สศก.เตอืนคนไทยไม่ต้องวิตก หลังน�้าลดปลูกทดแทนได้ทันท ี

สศก. คาดน�้าท่วมท�าพื้นที่ เกษตรกรรมกระทบ

ราคาพืชผักปรับตัวสูงขึ้นกว่าร้อยละ 20 แต่เตือนคนไทย

ไม่ต้องวิตก ย�้าประเทศไทยไม่เคยขาดแคลนผัก หลังน�้า

ลดสามารถปลูกชดเชยได้ในระยะเวลาอันส้ัน ซึ่งจะท�าให้

ปัญหาคล่ีคลายได้ภายในระยะเวลารวดเร็วอย่างแน่นอน

นายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการส�านักงานเศรษฐกิจ

การเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์น�้าท่วม

ใหญ่ครั้งนี้คาดว่า อาจจะส่งผลกระทบต่อราคาพืชผัก ที่ได้

รับความเสียหาย เนื่องจากพื้นที่ปลูกผักที่อยู ่ในภาคกลาง

โดยคาดว่า น�้าท่วมคร้ังนี้จะท�าให้ราคาผักปรับตัวเพิ่มข้ึน

ถึงร้อยละ 20 อย่างไรก็ตาม คาดว่า ภายหลังจากน�้าลด

อาจจะสามารถเร่งปลูกพืชผักชดเชย ได้ในระยะเวลาไม่

นานเนื่องจากผักมีระยะเวลาการเพาะปลูกช่วงส้ันๆ และ

ประชาชนสามารถหันไปบริโภคพืชผักชนิดอ่ืนๆทดแทน

ได้ในขณะนี้ เนื่องจากพื้นที่น�้าท่วมไม่ได้เกิดพร้อมกันทั่ว

ประเทศ โดยในพื้นที่ภาคเหนือก็ยังมีพื้นที่ปลูกผักอีกมาก

นอกจากนี้ ตนคาดว่า ในช่วงนี้แม้จะเกิดภาวะ

น�้าท่วมแต่พืชผักในประเทศยังไม่ขาดแคลนและยังไม่มี

ความจ�าเป็นที่จะต้องน�าเข้าจากต่างประเทศเพิ่ม เนื่องจาก

การน�าเข้าจะส่งผลให้ราคาพืชผักแพงมากขึ้น ซึ่งปัจจุบัน

ไทยมีการน�าเข้าพืชผักส่วนใหญ่จากจีนอยู ่แล้ว อย่างไร

ก็ตามหากสถานการณ์น�้าท่วมยังกินระยะเวลาเรื้อรัง ก็คาด

ว่าประเทศไทยยังจะไม่ประสบปัญหาการขาดแคลนพืชผัก

ผลไม้เพื่อการบริโภคอย่างแน่นอน

ที่มา: หนังสือพิมพ์ แนวหน้า ฉบับวันที่ 28 ตุลาคม 2554

ฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรหลังน�้าลด

การเ กิดอุทกภัยอย ่าง รุนแรงในครั้ งนี้ ท�าให ้

เกษตรกรเดือดร้อนกว่า 1.07 ล้านราย คาดพื้นที่เสีย

หายกว่า 10.6 ล้านไร่ มูลค่าประมาณ 26,413.99 ล้าน

บาท เตรียมแผนการฟื้นฟูอาชีพทางการเกษตรหลังน�้าลด

เน้นสนับสนุนปัจจัยการผลิตทั้งเมล็ดพันธุ์และกล้าพันธุ์ผัก

ต้นพันธุ์ไม้ผลระยะสั้น ประมาณ 7 ล้านต้น นางพรรณ

พิมล ชัญญานุวัตร อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เปิดเผย

ว่า ขณะนี้มีเกษตรกรประสบอุทกภัย จ�านวน 1,073,297

ราย พื้นที่คาดว่าจะได้รับความเสียหาย 10,687,143 ไร่

ประมาณการมูลค่าความเสียหาย 26,413.99 ล้านบาท

โดยกรมส่งเสริมการเกษตรได้เร่งส�ารวจพื้นที่ความเสียหาย

ไปแล้ว 43 จังหวัด เกษตรกร 397,482 ราย และพื้นท่ี

3,675,510 ไร่ วงเงินขอรับความช่วยเหลือ 8,693.65 ล้าน

บาท โดยเม่ือวันที่ 25 สิงหาคม 2554 ครม. ได้อนุมัติเงิน

ช่วยเหลือแล้วจ�านวน 7,741.8994 ล้านบาท ขณะนี้กรม

ส่งเสริมการเกษตรได้ส่งหลักฐานขออนุมัติแล้ว 21 จังหวัด

เกษตรกร 133,224 ราย เป็นเงิน 3,626.563 ล้านบาท

ธ.ก.ส.ได้รับเงิน และอยู่ระหว่างโอนให้เกษตรกร 97,828

ราย เป็นเงิน 2,932.70 ล้านบาท

โดยการให้ความช่วยเหลือด้านพืช จะเป็นเงินสด อัตรา

ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 25 สิงหาคม 2554 คือ

ข้าว 2,222 บาทต่อไร่ พืชไร่ 3,150 บาทต่อไร่ พืชสวน

และอื่น ๆ 5,098 บาทต่อไร่ กรณีพืชสวนและอื่น ๆ ท่ี

ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ท�าให้ชะงักการเจริญเติบโต

แต่ไม่ตายและยังอยู ่ในสภาพฟื ้นฟูให้กลับสู ่สภาพเดิมได้

ช่วยเหลืออัตราไร่ละ 2,549 บาท กรณีพื้นท่ีการเกษตร

ถูกดินทับถม ได้รับความเสียหาย ช่วยเหลืออัตราไร่ละ

7,000 บาท รายละไม่เกิน 5 ไร่ จากแผนการฟื้นฟูอาชีพ

ทางการเกษตรให้กับเกษตรกรหลังน�้าลดของกรมส่งเสริม

การเกษตร จะสามารถช่วยเหลือเกษตรกรได้ จ�านวน

10,732,972 ราย พื้นท่ี 65 จังหวัด โดยการสนับสนุน

ปัจจัยการผลิต เช่น กล้าพันธุ์ผัก 5 ชนิด เมล็ดพันธุ์ผัก

และต้นพันธุ์ไม้ผล ประมาณ 7 ล้านต้น.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 31 ตุลาคม 2554

พาณิชย์เร่งน�าเข้าไข่มาเลย์3ล้านฟองแก้ขาดแคลน-ราคาแพงหูฉ่ี

หลังจากที่สินค ้าอุปโภคและบริโภค ที่จ�าเป ็น

ขาดแคลนอย่างหนักใน ช่วงวิกฤติน�้าท่วม ขณะเดียวกัน

ยังส่งผลให้สินค้ามีราคาแพงซ�้าเติม ประชาชนที่เดือดร้อน

โดยเมื่อวันท่ี 29 ตุลาคม นายยรรยง พวงราช ปลัด

กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยแนวทางการแก้ปัญหาไข่ไก่

ราคาแพง ในขณะนี้ ว่า ในวันท่ี 30 ต.ค.นี้ กระทรวง

พาณิชย์ร่วมมือกับผู้เลี้ยงไก่ไข่รายใหญ่ ซีพีเอฟ และเบ

ทาโกร น�าไข่ไก่ 2 แสนฟองไปจ�าหน่ายท่ีตลาด อ.ต.ก.

จตุจักร กรุงเทพฯ เพื่อแก้ปัญหา ขาดตลาดและราคา

แพง โดยขายฟองละ ไม่เกิน 3 บาท ตั้งแต่ 10.00 น.

เป็นต้นไป

นอกจากนี้ยังประสานให้ทั้ง 2 บริษัท เร่งเชื่อมโยงน�าไข่ไก่

ออกไปส่งในศูนย์การค้าในพ้ืนที่ขาดแคลนเพ่ิมด้วย เพราะ

ขณะนี้ยังมีหลายฟาร์มท่ีไม่ถูกน�้าท่วม เช่น นครราชสีมา

และหลังจากนี้จะเชื่อมโยงกับผู ้ผลิตในประเทศ ฟาร์ม

เกษมชัยเพิ่มเติมอีกเร่งน�าเข้าไข่จากมาเลย์3ล้านฟอง ส่วน

การน�าเข้าไข่ไก่จากต่างประเทศนั้น นายยรรยงกล่าวว่า

ภายใน 1-2 วันนี้ ห้างเทสโก้ โลตัส และแม็คโคร จะน�า

เข้าไข่จากมาเลเซียเข้ามาได้ 3 ล้านฟอง เพื่อเร่งกระจาย

ไปจ�าหน่ายตามสาขาต่างๆ ได้ และเชื่อว่าตั้งแต่ วันที่ 1

พ.ย.นี้ ปัญหาไข่ไก่ราคาแพงและ ขาดตลาดจะคลี่คลาย

จึงขอให้ประชาชนอย่า แตกตื่นซื้อกักตุน หรือหากพบร้าน

ใดขายแพง ก็อย่าซื้อ และสามารถร้องเรียนเข้ามาที่สาย

ด่วน โทร.1569 ได้ เพื่อน�าไปสู่การจับกุม เพราะไข่ไก่

ถือเป็นสินค้าอยู่ในบัญชีควบคุม

ที่มา หนังสือพิมพ์แนวหน้า ฉบับวันที่ 30 ตุลาคม 2554

Page 11: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

20 21

ฐานข ้อมูลผลไม ้ที่ส� าคัญประจ�า เดือนตุลาคม 2554 (รายละเอียดตามเอกสารแนบ 7)

ฐานข้อมูลผลไม้ที่ส�าคัญจะมีข้อมูลของผลไม้ 12

ชนิด ได้แก่ สับปะรดโรงงาน ล�าไยเกรดA ลองกอง เงาะ

โรงเรียน มังคุด ลิ้นจี่ มะพร้าว มะม่วง ทุเรียน ข้าวโพด

ฝักอ่อน ข้าวโพดหวาน และ มะนาว ซึ่งแต่ละชนิดทาง

สมาคมฯได้จัดท�าข้อมูลให้รายละเอียดเกี่ยวกับ มาตรา

ฐานวัตถุดิบท่ีเกี่ยวข้อง, ฤดูกาล, จังหวัดที่มีการเพาะปลูก

มาก, สถานการณ์/ปัจจัยการผลิตที่เกี่ยวข้อง, เนื้อที่เพาะ

ปลูก, ปริมาณผลผลิต และราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย

ฯลฯ เป็นต้น

ที่มา: ส�านักเศรษฐกิจการเกษตร, กรมการค้าภายใน, ส�านักงาน

มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ

ฐานข้อมูลปริมาณน�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาคต่างๆ เดือนมกราคม - กันยายน ปี 2552-2554 (รายละเอียดตามเอกสารแนบ 8)

ฐานข้อมูลปริมาณน�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาค

ต่างๆ เดือนมกราคม-กันยายน ปี 2552-2554 จะเป็นการ

เปรียบเทียบทั้งปริมาณของน�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาค

ต่างๆในประเทศไทย

ท่ีมา: กรมอุตุนิยมวิทยา

สถานการณ์นโยบายครม.ใหม่และประเด็นแรงงาน

สรุปการประชุมครม. วันที่ 25 ตุลาคม 2554 (เอกสารแนบ 9)

Page 12: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

22 23

Page 13: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

24 25

ที่มา :http://www.thaigov.go.th/

วันที่ 25 ตุลาคม 2554 เรียบเรียงโดย สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป 2554

Page 14: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

26 27

รองนายกฯ กิตติรัตน์ หารือปัญหาน�้าท่วมกับเอกชน

เม่ือวันที่ 26 ตุลาคม 2554 ณ ท�าเนียบรัฐบาล นาย

กิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.

พาณิชย์ ร่วมหารือกับ รมว.คลัง รมว.อุตสาหกรรม

รมว.แรงงาน หัวหน้าส ่วนราชการ ที่ เกี่ยวข ้องด ้าน

เศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรม เช ่น ประธานสภา

อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นายกสมาคมอุตสาหกรรม

ไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผู้ว่าการธนาคารแห่ง

ประเทศไทย และผู้ประกอบการที่ประสบปัญหาอุทกภัย

โดยนายกสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปได้เข้าร่วมประชุม

ในนามกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมฯ ด้วย

ผลการหารือมีประเด็นส�าคัญดังนี้

นโยบายภาครัฐ

- มติ ครม. คณะรัฐมนตรีมีมติการจัดวงเงินต่างๆ

โดยกลุ ่มธนาคารพาณิชย์และธนาคารของรัฐจะประสาน

ให้เป็นรูปธรรม โดยอนุมัติ 3 ด้าน คือ 1)การเหยียวยา

ประชาชน ครอบครัวละ 45,000 บาท 2)การอนุมัติสิน

เช่ือให้ SME จนถึงระดับกิจการขนาดใหญ่ โดยจะกู้เงิน

จาก JETRO และต่างประเทศ และ 3)การให้ BOI ดูแล

สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ การออกใบอนุญาตท�างานให้ต่าง

ชาติมาช่วยฟื้นฟูประเทศ ทั้งนี้ ในการเปิดสภาสมัยหน้า

ต้นพฤศจิกายนศกนี้ ครม.จะน�าเสนอแผนฟื้นฟูและป้องกัน

ประเทศ เช่น การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเพื่อป้องกัน

ปัญหาน�้าท่วม/ ภัยแล้ง ด้วย

- การเงิน กระทรวงการคลังมีแผนจัดสินเชื่อดอกเบี้ยต�่า

โดยธปท.ร่วมมือกับธนาคารพาณิชย์ และตลาดทุน ประชุม

หารือกันแล้วเพื่อจัดการเรื่อง 1)เงินสด ให้เพิ่มศูนย์เงินสด

2)การช�าระเงิน ให้ธนาคารพาณิชย์เปิดท�าการตามปกติ 3)

เครดิต ขอให้เลื่อนการช�าระต้น-ดอก ออกไป 6-12 เดือน/

การปรับลดงวดช�าระ/ การเพิ่มวงเงิน โดยพิจารณาตาม

ความจ�าเป็นของลูกค้า เพื่อให้มีสภาพคล่องไม่ติดขัด

นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

(นางสาวกัณญภัค ตันติพิพัฒน์พงศ์) ในนามกลุ่ม

อุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตฯ) แจ้งท่ีประชุมว่า (1)มี

ความกังวลเรื่องปริมาณน�้าท่ีจะไหลสู่ทะเลผ่านอ่าวไทย

จะกระทบต่อโรงงานผลิตอาหารและ Supply Chain

บริเวณอ่าวไทย ขอให้รัฐบาลช่วยดูแลด้วย (2)มีโรงงาน

บรรจุภัณฑ์ในจังหวัดอยุธยาและปทุมธานีได้รับความเสีย

หาย ซึ่งจะกระทบต่อโรงงานผลิตอาหารเพราะมีการใช้

บรรจุภัณฑ์จากโรงงานในพื้นท่ีดังกล่าว ดังนั้น คาดว่า

ในไตรมาสท่ี 1/ 2555 ยอดการส่งออกอาหารส�าเร็จรูป

จะลดลง (3)หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีให้บริการออกใบรับรอง

ท่ีเกี่ยวกับสินค้าอาหารส่งออก ได้หยุดท�าการในช่วง 27-

31 ตุลาคม 2554 ตามประกาศของรัฐ เช่น กระทรวง

สาธารณสุข เป็นต้น ท�าให้กระทบต่อการด�าเนินธุรกรรม

ต่าง ๆ ท�าให้การส่งออกล่าช้าหรือหยุดชะงัก และ(4)

ปลากระป๋องเป็นสินค้าจ�าเป็นในสถานการณ์น�้าท่วม ซึ่ง

ขาดตลาดอยู่ในขณะนี้ จึงขอให้ภาครัฐพิจารณาลดภาษี

น�าเข้าปลาแมคเคอเรลจาก 5% เหลือ 0% ด้วย

ปัญหานิคมอุตสาหกรรมที่รับความเสียหายจากน�้าท่วม

- แผนเตรียมการหลังน�้าลด ผู้ประกอบการ มีข้อกังวล

ว่า ท�าอย่างไรจะฟื ้นการท�างานหรือท�าการผลิตในนิคม

อุตสาหกรรมได้อย่างรวดเร็ว โดยขอให้รัฐเร่งด�าเนินการ

เอาน�้าออกจากนิคมฯ อย่างรวดเร็ว จัดหานักประดาน�้า

ไปงมชิ้นส่วน หรือเครื่องจักรที่ส�าคัญ ขึ้นมาซ่อมแซมและ

เตรียมพร้อมไว้ก่อน และเตรียมพร้อมในการจ่ายน�้า จ่าย

ไฟ ซึ่งในเรื่องนี้ ทางการนิคมอุตสาหกรรมแจ้งว่า มีการ

หารือผู้เกี่ยวข้อง ในการเตรียมแผนการหลังน�้าลดแล้ว ทั้ง

เรื่องกรอบเวลา งานเทคนิคไฟฟ้า ประปา ของเสียต่าง

ๆ โดยจะใช้เวลา 45 วันในการฟื้นฟูนับจากน�้าลดวันแรก

ส�าหรับน�้าจะลดลงเมื่อใดยังไม่มีหน่วยงานใดยืนยันได้ แต่

ได้พยายามแก้ปัญหาเต็มที่

- อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ขอให้มีการ

ผ่อนปรนหลายเรื่อง เช่น การอนุญาตให้มีการน�าเข้าชิ้น

ส่วนวัตถุดิบบางชิ้น ทดแทนส่วนที่เสียหายหรือยังผลิตไม่

ได้ การจัดวงเงินต่าง ๆ เพ่ือช่วยเหลือ ในเรื่องนี้ ภาครัฐ

ได้มอบหมายหน่วยงานท่ีรับผิดชอบรับเรื่องไปด�าเนินการ

ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป เข้าร่วมประชุมกับรองนายกกิตติ

รัตน์ เม่ือวันที่ 26 ตุลาคม 2554

Page 15: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

28 29

สถานการณ์ด้านการค้า

พิษน�้ำท่วมทุบจีดีพีภำคอุตฯ 1.9%

ส�ำหรับ ผลกระทบทำงอ้อมต่อมูลค่ำกำรผลิตของ

ปี 2554 นั้น นำยชลิตรัตน์ กล่ำวว่ำ เบ้ืองต้นจำกกำร

ประเมินคำดว่ำมูลค่ำกำรผลิตจะลดลงในไตรมำสที่ 4 คิด

เป็นมูลค่ำท้ังสิ้น 3.28 แสนล้ำนบำท ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์

มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ภำค อุตสำหกรรมในปี 2554

ลดลง 1.9 เปอร์เซ็นต์ จำกท่ีคำดกำรณ์ไว้ก่อนหน้ำนี้ว่ำ

ตลอดท้ังปีจะขยำยตัว 2-3 เปอร์เซ็นต์ เหลือ 0.1-1.1

เปอร์เซ็นต์ ท้ังนี้ ข้ึนอยู ่กับกำรฟื ้นฟูควำม เสียหำยว่ำ

สำมำรถท�ำได้อย่ำงรวดเร็วหรือไม่ ซึ่งหำกฟื้นฟูได้ช้ำอำจ

ส่งผลให้เกิดควำมเสียหำย ต่อเนื่องอีกมำก

อ่านเพ่ิมเตอมได้ที่ http://www.ocsb.go.th/th/cms/detail.php?ID=21

57&SystemModuleKey=economic

จากหนังสือพิมพ์แนวหน้า ฉบับวันที่ 26 ตุลาคม 2554

หอการค้าไทย ประเมินน�้าท่วมท�าส่งออกปีนี้ลดลง 0.5%

สภาหอการค้าไทย  ร้องรัฐ ผ่อนปรนการเรียก

เก็บค่าธรรมเนียมตู้สินค้าน�าเข้า หลังน�้าท่วมโรงงานผลิต

ไม่ได้จึงต้องทิ้งตู ้ไว้ที่ท่าเรือ ย�้า อาหารไม่ขาดแคลนแต่

เป็นผลกระทบจากผู้บริโภคตื่นตระหนก ประเมินส่งออกปี

นี้ลดลง 0.5% ส่วนข้าวสารเสียหาย 2-3 ล้านตัน

เม่ือ วันที่ 31 ต.ค. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล

รองประธานกรรมการ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

เรียกร้องให้รัฐบาลผ่อนปรนการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม

ส�าหรับตู้สินค้าน�าเข้า ที่หากปกติไม่น�าออกภายใน 3

วัน จะเริ่มเก็บวันละ 500 บาท เนื่องจากขณะนี้โรงงาน

ต่างๆ ไม่สามารถผลิตได้ จากปัญหาอุทกภัย จึงจ�าเป็น

ต้องทิ้งตู ้สินค้าไว้ที่ท่าเรือ ด้านการส่งออกก็มีปัญหาเช่น

กัน เนื่องจากไม่สามารถใช้ศักยภาพของท่าเรือคลองเตย

ได้ ผู้ส่งออกจึงมีภาระค่าขนส่งตู้สินค้าไปที่แหลมฉบัง

จึงอยากให้รัฐบาลเข้ามาช่วยเหลือในจุดนี้

จากหนังสือพิมพ์แนวหน้า ฉบับวันที่ 26 ตุลาคม 2554

นักลงทุนนอกรุมสวดรบ.ห่วย เศรษฐกิจพังยับเยิน 8 แสนล้าน ทุบจีดีพี 1.9% ส่อตกงาน 6.6 แสน สอท.จวกซ�้าไร้น�้ายาแก้น�้าท่วม

เม่ือ วันที่ 25 ต.ค. นายชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา

รองโฆษกประจ�าส�านักนายกรัฐมนตรี แถลงภายหลังการ

ประชุม คณะรัฐมนตรี (ครม.) ว่า ที่ประชุมได้รับทราบ

สถานการณ์ภาพรวมความเสียหาย ภาคอุตสาหกรรมจาก

เหตุอุทกภัยที่เกิดขึ้นว่า ได้ส่งผลกระทบต่อโรงงานทั้งใน

และนอกนิคมอุตสาหกรรมประมาณ 9,859 โรงงาน มูลค่า

การลงทุนกว่า 8 แสนล้านบาท ครอบคลุม เขตอุทกภัย

ร้ายแรงจ�านวน 8 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท นครสวรรค์

ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง อุทัยธานี นนทบุรี

และปทุมธานี ท�าให้มีผู ้ใช้แรงงานได้รับผลกระทบกว่า

6.6 แสนคน รวมถึงได้สร้างความเสียหายให้แก่เครื่องจักร

วัตถุดิบ และสินค้าคงคลังอีกเป็นจ�านวนมาก

เผยแค่ 7 นิคมฯเสียหายกว่า 2.3 แสนล.

นาย ชลิตรัตน์ กล่าวต่อว่า โดยเฉพาะใน 7 นิคม

อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบ อย่างรุนแรง ได้แก่ นิคม

สหรัตนนคร นิคมไฮ-เทค นิคมบางปะอิน นิคมโรจนะ

นิคมแฟคตอรี่แลนด์ นิคมนวนคร และนิคมบางกะดี มี

จ�านวนโรงงานได้รับความเสียหาย 838 โรง จ�านวนคนงาน

3.82 แสนคน มูลค่าความเสียหายโดยตรงกว่า 237,410

ล้านบาท โดยในพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา ผู้ประกอบการ

ได้มีการท�าประกันภัย แต่ยังไม่สามารถระบุประเภทความ

คุ้มครองได้รวม 396 ราย วงเงินประกันรวม 257,589

ล้านบาท และใน จ.ปทุมธานี จ�านวน 249 ราย วงเงิน

รวม 199,185 ล้านบาท

Page 16: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

30 31

ชงบีโอไอเพิ่มมาตรการจูงใจต่างชาติลงทุน

น.พ.วรรณ รัตน์ ชาญนุกูล รมว.อุตสาหกรรม เปิด

เผยว่า ภายในสัปดาห์นี้ที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริม

การลงทุน (บีโอไอ) ที่มีนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รอง

นายกรัฐมนตรี และ รมว.พาณิชย์ เป็นประธาน จะอนุมัติ

มาตรการภาษีอากรเพื่อฟื้นฟูการลงทุนจากวิกฤตอุทกภัย

ให้กับผู้ที่จะลงทุนเพื่อการผลิตชั่วคราวและลงทุนใหม่ โดย

เฉพาะการจูงใจนักลงทุนต่างชาติไม่ให้มีการย้ายฐานการ

ผลิตหนีไปประเทศอื่น ทั้งนี้ จะให้สิทธิประโยชน์ลดหย่อน

ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพ่ิมขึ้น แบ่งตามพื้นที่ลงทุน เขต 1

ส่วนนอกนิคมอุตสาหกรรม และในนิคมอุตสาหกรรม จะ

เสนอให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี ไม่จ�ากัดวงเงิน

ยกเว้น เขต 2 นอกนิคม เสนอให้เว้นภาษี 8 ปี ไม่

จ�ากัดวงเงิน ส่วนในนิคม เสนอเว้น 8 ปี ไม่จ�ากัดวงเงิน

และลดหย่อนต่อ 50% อีก 3 ปี และเขต 3 นอกนิคม

ในนิคม และพื้นที่พิเศษ เสนอให้ยกเว้น 8 ปี ไม่จ�ากัด

วงเงินและลดหย่อน 50% ต่ออีก 5 ปี

น.พ.วรรณ รัตน์ กล่าวว่า กระทรวงยังได้เสนอ

มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการ 10 ข้อ ให้ที่ประชุม

คณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณา โดยครม. เห็นชอบใน

หลักการ ประกอบด้วย

1. การชะลอช�าระค่าสาธารณูปโภค

2. ให้ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย

(ศปภ.) ช่วยเคลื่อนย้ายเครื่องจักร สินค้า ในนิคมออก

จากพื้นที่

3. ให้ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติเพิ่มก�าลังป้องกัน

มิจฉาชีพ

4. ให้กระทรวงพาณิชย์ติดตามการจ่ายสินไหม

ทดแทนจากบริษัทประกัน

5. ให้กระทรวงการต่างประเทศให้ความร่วมมือการ

ออกวีซ่าให้ผู ้เช่ียวชาญจากต่างประเทศ

6. ให้คลังเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร

7. ให้คลังยกเว้นหรือลดหย่อนอากรขาเข้ารถยนต์

ส�าเร็จรูปหรือช้ินส่วนในจ�านวนและอัตราที่เหมาะสม

8. จัดท�าโครงการบรรเทาและฟื้นฟูสถานประกอบ

การเอสเอ็มอีวงเงิน 500 ล้านบาท

9. จัดมาตรการอบรมเสริมทักษะให้กับแรงงานท่ีอาจ

ว่างงานสูง 6.6 แสนคน

10. ให้คลังจัดสินเช่ือดอกเบี้ยต�่า 2.5 แสนล้านบาท

จากหนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันท่ี 26 ตุลาคม 2554

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 17: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3925 Oct - 31 Oct 2011

32 33

อัตราแลกเปลี่ยน

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

33

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 18: Weekly Brief_25 Oct - 31 Oct 11_Issue 39

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

25 Oct - 31 Oct 2011

34

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATIONTel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7E-mail: [email protected]

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net6. http://www.dailynews.co.th7. http://www.acfs.go.th8. http://www.posttoday.com9. http://www.matichon.co.th10. http://www.naewna.com

เสนอขอ้คดิเห็น/ขอ้เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM