Telecommuting...

9
File : remote.doc page : 1 From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สุรพล ศรีบุญทรง "Telecommuting" เมื่อออฟฟซเปนฝายวิ่งมาหาคน สุรพล ศรีบุญทรง ไอทีซอฟต ปที่ 8 ฉบับที่ 94 (ม.ค.2543) 125-130 สําหรับผูอานที่ทํางานประเภทแปดโมงเชาถึงหาโมงเย็นเหมือนผูเขียน เชื่อวาหลายทานนาจะเคยฝนถึง ระบบการทํางานแบบ telecommuting ซึ่งพนักงานไมจําเปนตองเขาออฟฟซกันทุกวัน แตสามารถใชชองทางสื่อสาร โทรคมนาคมเปนที่ติดตอระหวางตนเองกับทางสํานักงาน โดยเฉพาะผูอานที่มีออฟฟซอยูยานใจกลางเมืองดวยแลว นาจะยิ่งอยากทํางานภายใตระบบ Telecommuting เพราะภาวะการจราจรในกรุงเทพฯ ในชวงเรงดวนนั้น บางครั้งก็ ทําใหการเดินทางไปและกลับจากที่ทํางานกลายเปนชวงเวลาที่หนักหนวง ที่สุดของวันไป ดังนั้น เมื่อ กอรดอน เหลียง แหงนิตยสารเพอรซันนัล คอมพิวเตอร เวิลด ไดนําเสนอใหเห็นชองทางการทํางานแบบ Telecommuting ที่เปนไปไดจริงในทางปฏิบัติ และใชอุปกรณหรือ ทรัพยากรที่มีกันอยูแลวในทองตลาด ไวในนิตยสารฉบับเดือนตุลาคมที่ผาน มา ผูเขียนจึงอดไมไดที่จะตองนํามาเลาสูกันฟงไวในที่นีกอรดอน เหลียง ไดตั้งขอสังเกตุวาในสหัสวรรษใหมที่กําลังจะมาถึงนีไมแนวาวิถีชีวิตแบบเขาออฟฟซ ทํางานตั้งแตเกาโมงเชาไปจนถึงหาโมงเย็นนั้นอาจจะสูญหายไปจากโลกของเราก็เปนได เพราะมันดูจะไมมีเหตุผลอัน สมควรเลยที่มนุษยจะตองฝาการจราจรไปยังออฟฟซทุกๆ เชา ในเมื่องานชิ้นเดียวกันนั้นสามารถจะทําใหเสร็จลุลวงไปได จากที่บาน หรือบางทีอาจจะไมตองเปนที่บานก็ได อาจจะเปนการนั่งทํางานอยูที่สระวายน้ํา ที่ชายทะเล หรือจาก ตางประเทศ ฯลฯ กระนั้น การที่สํานักงานธุรกิจใดจะปรับเปลี่ยนตนเองเขาสูระบบ Telecommuting ได พื้นฐานทาง เทคโนโลยีของสํานักงาน ของโครงสรางพื้นฐานดานโทรคมนาคมภายในประเทศ และของตัวพนักงานเองจะตองมี ศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับรูปแบบการทํางานอยางที่วานั้นได อยางไรก็ดี ผูเขียนอยากจะเสริมวาความสําเร็จของการกอตั้งระบบการทํางานแบบ Telecommuting นั้น ไมไดเปนผลมาจากความกาวหนาในเชิงเทคโนโลยีแตเพียงอยางเดียว ยังมีเรื่องความพรอมของตัวพนักงานและ ผูบริหารสํานักงานเขามาเกี่ยวของดวย เพราะตองมีการปรับรูปแบบทัศนคติในการทํางานและการบริหารไปจากเดิมอีก มาก ยกตัวอยางเชนเรื่องการประกันสุขภาพและอุบัติเหตุในระหวางการทํางาน หรือการใชอุปกรณเครื่องใชไมสอยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทํางาน ซึ่งแตเดิมนั้นเคยเปนความรับผิดชอบของเจาของ กิจการที่จะตองเปนธุระจัดหาใหกับพนักงานของตน ทีนีหากพนักงานประสงค จะทํางานอยูกับบานและขอเบิกคาใชจายเพื่อนําไปกอตั้งออฟฟซยอยๆ อยูที่บาน ของตนเอง ก็คงเกิดคําถามติดตามมาวาเจาของกิจการควรจะตองรับผิดชอบตอ คาใชจายทั้งหมดเลยหรือไม และถาเกิดรับผิดชอบไปแลว ประดาสินทรัพยทีพนักงานใชงานอยูนั้นจะถือวาเปนของบริษัทหรือของตัวพนักงานเอง หากถือวา เปนของบริษัท ทางบริษัทจะควบคุมใหการใชงานทรัพยากรเหลานั้นเปนอยาง เหมาะ และตรงตอวัตถุประสงคของการใชงานไดอยางไร

Transcript of Telecommuting...

File : remote.doc page : 1

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

"Telecommuting" เมื่อออฟฟซเปนฝายวิ่งมาหาคน สุรพล ศรีบุญทรง

ไอทีซอฟต ปที่ 8 ฉบับที่ 94 (ม.ค.2543) 125-130

สําหรับผูอานที่ทํางานประเภทแปดโมงเชาถึงหาโมงเย็นเหมือนผูเขียน เช่ือวาหลายทานนาจะเคยฝนถึง

ระบบการทํางานแบบ telecommuting ซ่ึงพนักงานไมจําเปนตองเขาออฟฟซกันทุกวัน แตสามารถใชชองทางสื่อสาร

โทรคมนาคมเปนที่ติดตอระหวางตนเองกับทางสํานักงาน โดยเฉพาะผูอานที่มีออฟฟซอยูยานใจกลางเมืองดวยแลว

นาจะยิ่งอยากทํางานภายใตระบบ Telecommuting เพราะภาวะการจราจรในกรุงเทพฯ ในชวงเรงดวนน้ัน บางครั้งก็

ทําใหการเดินทางไปและกลับจากที่ทํางานกลายเปนชวงเวลาที่หนักหนวง

ที่สุดของวันไป ดังน้ัน เม่ือ กอรดอน เหลียง แหงนิตยสารเพอรซันนัล

คอมพิวเตอร เวิลด ไดนําเสนอใหเห็นชองทางการทํางานแบบ

Telecommuting ที่เปนไปไดจริงในทางปฏิบัติ และใชอุปกรณหรือ

ทรัพยากรที่มีกันอยูแลวในทองตลาด ไวในนิตยสารฉบับเดือนตุลาคมที่ผาน

มา ผูเขียนจึงอดไมไดที่จะตองนํามาเลาสูกันฟงไวในที่นี้

กอรดอน เหลียง ไดตั้งขอสังเกตุวาในสหัสวรรษใหมที่กําลังจะมาถึงน้ี ไมแนวาวิถีชีวิตแบบเขาออฟฟซ

ทํางานตั้งแตเกาโมงเชาไปจนถึงหาโมงเย็นน้ันอาจจะสูญหายไปจากโลกของเราก็เปนได เพราะมันดูจะไมมีเหตุผลอัน

สมควรเลยที่มนุษยจะตองฝาการจราจรไปยังออฟฟซทุกๆ เชา ในเมื่องานชิ้นเดียวกันนั้นสามารถจะทําใหเสร็จลุลวงไปได

จากที่บาน หรือบางทีอาจจะไมตองเปนที่บานก็ได อาจจะเปนการน่ังทํางานอยูที่สระวายนํ้า ที่ชายทะเล หรือจาก

ตางประเทศ ฯลฯ กระน้ัน การที่สํานักงานธุรกิจใดจะปรับเปลี่ยนตนเองเขาสูระบบ Telecommuting ได พ้ืนฐานทาง

เทคโนโลยีของสํานักงาน ของโครงสรางพ้ืนฐานดานโทรคมนาคมภายในประเทศ และของตัวพนักงานเองจะตองมี

ศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับรูปแบบการทํางานอยางที่วานั้นได

อยางไรก็ดี ผูเขียนอยากจะเสริมวาความสําเร็จของการกอต้ังระบบการทํางานแบบ Telecommuting

นั้น ไมไดเปนผลมาจากความกาวหนาในเชิงเทคโนโลยีแตเพียงอยางเดียว ยังมีเร่ืองความพรอมของตัวพนักงานและ

ผูบริหารสํานักงานเขามาเก่ียวของดวย เพราะตองมีการปรับรูปแบบทัศนคติในการทํางานและการบริหารไปจากเดิมอีก

มาก ยกตัวอยางเชนเรื่องการประกันสุขภาพและอุบัติเหตุในระหวางการทํางาน หรือการใชอุปกรณเครื่องใชไมสอยตางๆ

ที่เก่ียวของกับการทํางาน ซึ่งแตเดิมน้ันเคยเปนความรับผิดชอบของเจาของ

กิจการที่จะตองเปนธุระจัดหาใหกับพนักงานของตน ทีนี้ หากพนักงานประสงค

จะทํางานอยูกับบานและขอเบิกคาใชจายเพ่ือนําไปกอต้ังออฟฟซยอยๆ อยูที่บาน

ของตนเอง ก็คงเกิดคําถามติดตามมาวาเจาของกิจการควรจะตองรับผิดชอบตอ

คาใชจายทั้งหมดเลยหรือไม และถาเกิดรับผิดชอบไปแลว ประดาสินทรัพยที่

พนักงานใชงานอยูนั้นจะถือวาเปนของบริษัทหรือของตัวพนักงานเอง หากถือวา

เปนของบริษัท ทางบริษัทจะควบคุมใหการใชงานทรัพยากรเหลานั้นเปนอยาง

เหมาะ และตรงตอวัตถุประสงคของการใชงานไดอยางไร

File : remote.doc page : 2

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

การกอต้ังออฟฟซภายในบาน

แนนอนวา อุปกรณที่สําคัญที่สุดในการจัดตั้งออฟฟซสวนตัวข้ึนภายในบานก็คือ เครื่องคอมพิวเตอรพีซีที่

มีสม รรถนะสูงพอ และมีความทนทานเชื่อถือได พนักงานที่ตกลงใจเลือกทํางานอยูที่บานของตัวเอง จึงควรเลือกเครื่อง

คอมพิวเตอรอยางพิถีพิถันเปนพิเศษ เพราะ

เมื่อไรที่เครื่องแฮงคก็เทากับวาเปนการขาด

งานไปโดยปริยาย และถึงแมวาโปรแกรม

บริหารสารสนเทศที่ติดต้ังไวสํานักงานหลายๆ

ยี่หอจะสามารถสงคําสั่งมาแกไขเงื่อนไข

พ้ืนฐาน (reconfigure) ภายในเครื่องพีซีที่

บานได มันก็คงไมชวยอะไรมากนัก หากวา

การแฮงคนั้นเปนผลมาจากปญหาไฟไมเขามา

เลี้ยงเคร่ือง

ทางที่ดี พนักงานเจาของ

เครื่องควรจะมีมาตรการสนับสนุน (backup)

ไวสําหรับกรณีฉุกเฉิน โดยอาจจะใชวิธีการซ้ือ

เครื่องคอมพิวเตอรมาสํารองไวอีกหน่ึงเครื่อง หรือซ้ือหาอุปกรณสํารองขอมูลมาใชเก็บโปรแกรมและขอมูลสําคัญๆ ไวใน

สถานที่เก็บซึ่งแยกออกไปตางหาก เผื่อวาเกิดไฟไหม/นํ้าทวมขึ้นมา ขอมูลที่ถูกแบ็คอัพไวจะไดไมสูญหายไปไหน และถา

หากขอมูลทางธุรกิจน้ันมีความสําคัญชนิดคอขาดบาดตาย ก็อาจจะตองถึงขนาดทําประกันไวดวยเลย

องคประกอบสําคัญอันดับที่สองในการกอต้ังออฟฟซสวนตัวไวที่บาน คือ อุปกรณสื่อสาร เพราะถา

พนักงานไมสามารถรับคําสั่งจากสํานักงาน หรือไมสามารถสงงานที่เสร็จลุลวงแลวกลับไปใหทางบริษัทได ก็เปนอันวาจบ

กัน ไมตองมาพูดถึงเรื่อง Telecommuting อีกเลย (บางคนบอกวาสื่อสารผานไปรษณียก็ได แตอยาลืมวาระบบไปรษณีย

นั้นตองใชเวลาเดินทางเปนวัน แถมยังตองมีเรื่องแสตมป ซองจดหมาย และที่ทําการไปรษณียใหตองคํานึงถึงอีก)

ซ่ึงในเรื่องอุปกรณสื่อสารน้ัน อยางแรกก็ตองมีการขอเบอรโทรศัพทไวสักสองสายเปนอยางนอย เผื่อวา

จะตองพูดคุยสื่อสารกับทางสํานักงานในระหวางที่มีการดาวนโหลดไฟลล สงแฟกซ หรือสงอีเมลล และควรจะมีการแยก

เบอรกันใหชัดเจนไปเลยวาเบอรโทรศัพทเคร่ืองไหนเปนเบอรที่ใชเพื่อธุรกิจ และเบอรใดเปนเบอรที่ใชเพ่ือการสื่อสาร

สวนตัว เผื่อวาอาจจะตองใชบิลลคาโทรศัพทไปเบิกบริษัท หรือใชประกอบในการหักคาภาษี

ถัดจากเรื่องอุปกรณสื่อสาร และโทรศัพท ก็คือเรื่องการสื่อสารผานอินเทอรเน็ต ซึ่งนับวาแปลกมากที่

ผูใชคอมพิวเตอรทั่วโลกตางมีเร่ืองบนเกี่ยวกับความลาชาของการสื่อสารผานอินเทอรเน็ตคลายๆ กัน แตคนที่เคยบนเรื่อง

ความลาชาของอินเทอรเน็ตเวลาอยูที่ทํางาน ก็จะยิ่งตองบนหนักข้ึนเปนสองเทาเวลาที่มาใชวิธีการติดตอเขาสู

อินเทอรเน็ตผานโมเด็ม 56 K และสายโทรศัพทจากที่บาน เพราะเวลาจะรับจะสงไฟลลสักทีอาจจะตองนั่งรอกันเงกเลย

ทีเดียว แถมบางครั้งยังอาจจะตองรําคาญใจกับพวกโฆษณาทางอีเมลล และประดาพวกที่ชอบพวงไฟลลขนาดมหึมามากับ

ตัวอีเมลล นอกจากนั้น พนักงาน Telecommuting ยังควรพิจารณาเลือกบริการอินเทอรเน็ตจากศูนยบริการ ISP ที่

เชื่อถือไดอีกดวย เพ่ือใหเปนหลักประกันวาการสื่อสารระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอรของตนเองกับสํานักงานจะไมสะดุดขาด

หายไปโดยไมจําเปน

File : remote.doc page : 3

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

นอกจากบรรดาอุปกรณคอมพิวเตอรและสารสนเทศที่จําเปนตามที่กลาวมาแลว ก็ยังมีเรื่องสัพเพเหระ

ประเภทสิ่งของอํานวยความสะดวกที่จะชวยใหการทํางานภายในบานอยูในสภาพที่เหมาะสมใกลเคียงกับการน่ังทํางานอยู

ที่ออฟฟซ เชน พวกโตะ เกาอ้ี และ อุปกรณใหแสงสวาง ที่ถูกออกแบบมาโดยคํานึงสุขภาพของผูใช (ergonomics

design)

การจัดต้ังออฟฟซเคล่ือนท่ี

สวนพนักงาน Telecommuting ที่มีลักษณะชีพจรลงเทาไมคอยอยูน่ิงในที่ใดที่หน่ึงไมวจะเปนที่บานหรือ

ที่สํานักงาน ก็อาจจะใชวิธีกอต้ังออฟฟซเคลื่อนที่สวนตัวขึ้นมาเอง โดยเริ่มดวยอุปกรณคอมพิวเตอรพกพาอยางเครื่อง

โนตบุค หรืออุปกรณ PDA ที่คอนขางจะครบเครื่องอยูสักหนอย คือจะตองทํางานเหมือนเครื่องพีซีที่ใชเปนออฟฟซในบาน

ไดแทบทุกอยาง ไมวาจะเปนเรื่องของโมเด็ม ชองทางสื่อสารผานอินเทอรเน็ต หรืออุปกรณสํารองขอมูลเพื่อปองกันความ

เสียหายของขอมูลสําคัญๆ (แตอาจจะมีขีดความสามารถในการทํางานแตละอยางดอยลงไปบาง ตามขนาดของตัวเคร่ือง)

นอกจากน้ัน ยังอาจจะตองประกันตัวเคร่ืองคอมพิวเตอรและอุปกรณ PDAs ไวดวย ในฐานะที่มันอาจจะตกหลนสูญหาย

หรือถูกขโมยไปไดโดยงาย

และไมควรลืมวาการทํางานผานเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็กเหลาน้ีจะตองอาศัยพลังงานจากตัวแบตตารี่

เปนหลัก ฉน้ันจึงควรหามาตรการตางๆ มาชวยประหยัดพลังงานเพ่ือยืดอายุการใชเครื่องใหไดนานที่สุดเทาที่จะนานได

หลังจากการชารจแบตตารี่แตละครั้ง เชน เลือกซ้ือเคร่ืองโนตบุคหรือเครื่อง PDA ที่มีโปรแกรมประหยัดพลังงาน และ

เวลาจะลงโปรแกรมซอฟทแวรอะไรก็ควรตรวจเสียหนอยวามันบริโภคพลังงานไดจุมากมายขนาดไหน (ทางบริษัทอินเทล

เขามีโปรแกรมตรวจเช็คการบริโภคพลังงานของซอฟทแวรชื่อ Power Monitor ซ่ึงสามารถดาวนโหลดมาใชไดฟรีๆ ที่เว็บ

File : remote.doc page : 4

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

ไซท http://channel.intel.com/mobile/techforum/sw.htm) ) และนอกจากจะตองมีมาตรการประหยัดพลังงาน

แลว ผูใชเคร่ืองคอมพิวเตอรพกพาเหลาน้ียังตองพกพาแบตตารี่สํารองไปเผื่อไวดวยระหวางการเดินทาง

สวนเรื่องการสื่อสารระหวางออฟฟซเคลื่อนที่กับสํานักงานน้ัน ก็ใชวิธีการเดียวกันกรณีของการสื่อสาร

ผานเครื่องพีซีน่ันแหละ เพราะเด๋ียวนี้มีการพัฒนาผลิตภัณฑที่ชวยอํานวยความสะดวกใหการสื่อสารขอมูลผานเครื่อง

คอมพิวเตอรพกพามากมาย ไมวาจะเปนโปรโตคอลการสื่อสาร WAP (Wireless Application Protocol) โปรแกรม

Microbrowser หรือ อุปกรณฮารดแวรที่ใชแสงอินฟราเรดเปนตัวพาสัญญาณ (ทําใหไมตองมีสายไฟ หรือสายสัญญาณ

ระเกะระกะไปหมด) ตลอดไปจนถึง โปรแกรมที่ใชรับ/สงขอมูล และสื่อสารระยะไกล (Remote access & File

Transfer) ซ่ึงมีใหเลือกอยูมากมายเชนกัน อันไดแก โปรแกรม Laplink Professional, โปรแกรม pcANYWHERE 9.0

และโปรแกรม Reachout Enterprise 8 ฯลฯ โดยทั้งสามโปรแกรมที่วาน้ีจะรันบนซอฟทแวรระบบปฏิบัติการยอดนิยม

ไดแทบทุกตัว คือจะรันบนดอส, วินโดวส 3.1, วินโดวส 95, วินโดวส 98, หรือวินโดวส เอ็นที ก็ได

ปญหาที่แทจริงของพนักงานนักเดินทาง นาจะอยูตรงหาที่เหมาะๆ พอจะน่ังทํางานไมไดมากกวา เพราะ

ตัวอุปกรณ PDAs และโนตบุคนั้นคอนขางจะมีขอจํากัดในเรื่องจอมอนิเตอร หากแสงมากไป/นอยไป หรือทิศทางที่แสงลง

มาไมเหมาะก็อาจจะทําใหผูใชอานหนาจอไดไมถนัด แถมที่นั่งพักระหวางการเดินทางบางแหงยังอาจจะเต็มไปดวย

สิ่งรบกวนสมาธิประเภทเด็กเล็ก หรือสัตวเลี้ยงที่คอยจะมาเวียนวนอยูรอบๆ ตัว หรือในทางกลับกัน หากสถานที่ทํางาน

นั้นเงียบสงบเอื้อตอการต้ังสมาธิทํางาน ตัวผูใชคอมพิวเตอรเองก็อาจจะไปรบกวนสมาธิของผูรวมเดินทางคนอ่ืนได (เชน

กรณีที่ผูโดยสารทั้งเครื่องกําลังนอนหลับกันอยางสุขสงบ แตมีเราน่ังคียคอมพิวเตอรอยูตอกๆ แตกๆ คนเดียว ผูโดยสาร

ที่เหลืออาจจะอยากโยนเราลงมาจากเคร่ืองบินเลยก็ได) สถานที่ดูเหมือนวาจะเหมาะใหนักเดินทางน่ังลงใชคอมพิวเตอร

มากที่สุด เห็นจะไดแก รานกาแฟเล็กๆ หรือล็อบบี้โรงแรมที่มีแสงสวางมากพอสมควร ฯลฯ

การส่ือสารกับสํานักงาน

หลังจากจัดต้ังออฟฟซสวนตัวขึ้นมาเรียบรอยแลว ข้ันตอนตอไปก็คือการสื่อสารกันระหวางพนักงานกับ

ทางสํานักงาน ซึ่งแนนอน ก็จะตองประกอบไปดวยการถายโอนไฟลลกลับไปกลับมาอยูบอยๆ เพ่ือใหแนใจไดวาทั้งสอง

ฝายจะไดรับขาวสารที่ถูกตอง เหมาะสม และทันตอเหตุการณ โดยเฉพาะในกรณีที่ตัวพนักงานเองตองเขาไปใชเครื่อง

คอมพิวเตอรที่ทํางานสลับกับการใชเครื่องที่บานหรือเคร่ืองคอมพิวเตอรพกพา ไฟลลขอมูลเรื่องเดียวกัน หรือที่เกี่ยวของ

กันก็ควรจะสอดคลองตองกันอยูเสมอ (synchronisation) มิฉน้ัน อาจจะกอใหเกิดปญหาปวดหัวติดตามมาไดวาไฟลลตัว

ไหนถูก และไฟลลตัวไหนผิด

File : remote.doc page : 5

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

การที่ขอมูลบนเคร่ืองคอมพิวเตอรที่ทํางานและที่บาน/หรือที่พกติดตัว จะสอดประสานกันไดเปนอยางดี

นั้น หมายความวาทุกคร้ังที่ตัวไฟลลดังกลาวถูกเรียกข้ึนมาใชงาน มันจะตองเปนที่รับรูบนเคร่ืองคอมพิวเตอรทั้งสองฝาย

อยางในกรณีที่เปนการเดินทางไปตางบานตางเมือง และใชมาตรฐานเวลาตางกัน พนักงานผูใชเครื่องคอมพิวเตอรมือถือ

อาจจะตองยึดหลักเวลามาตรฐานของสํานักงาน หรือถาหากจะเปลี่ยนเวลาบนเคร่ืองคอมพิวเตอรใหเปนไปตามาตรฐาน

ของประเทศที่ตนพัก ก็อาจจะตองใชวิธีแกบันทึกวันที่และเวลาบนไฟลลดวยตนเอง เพ่ือไมใหสับสนวาไฟลลไหนถูกสราง

กอนไฟลลไหนถูกสรางหลัง)

มีขอแนะนําอีกอยางวา ในระหวางการเดินทางไปไหนตอไหนนั้น ผูใชคอมพิวเตอรพกพาควรจะได

สํารองไฟลลเอกสาร และอีเมลลออกมาเก็บไวตางหากดวย โดยจะเลือกใชอุปกรณสํารองประเภทไหนก็คงตองแลวขนาด

ของไฟลล เชน ถาไฟลลเล็กๆ แคแผนฟลอปปดิสกก็นาจะพอ แตถาหากไฟลลใหญมากก็คงตองหันไปใชบริการจาก

อุปกรณประเภท ZIP หรือ JAZ cartidge แทน และถาคิดวาไมสะดวกในการพกพาอุปกรณสํารองขอมูลเหลาน้ีไปดวย

ระหวางการเดินทาง ก็อาจจะเปลี่ยนไปใชวิธีโอนยายไฟลลเขาไปเก็บไวในเครื่องพีซีผานการทํางานของโปรแกรม DCC

(Direct cable connection) แทน โดยโปรแกรม DCC ของวินโดวส 98 น้ัน จะเปดโอกาสใหผูใชเครื่องคอมพิวเตอร

พกพาสามารถถายโอนขอมูลของตนไปเก็บไวบนเครื่องพีซีโดย

ผานทางสายเคเบิ้ลอนุกรม ขนาน หรือจะผานชองสัญญาณ

อินฟราเรด ก็ได (แตนาแปลกวามันไมยักจะอนุญาตใหสง

ขอมูลผานสายเคเบิ้ล USB ทั้งๆ ที่ทางไมโครซอฟทเองเปนตัว

ตั้งตัวตีในเร่ืองมาตรฐาน USB)

อยางไรก็ตาม แมวาจะบอกใหสํารองขอมูล

ใสฟลอปปดิสกเก็บไว แต กอรดอน ก็เสนอแนะวาผูใชเครื่องโนตบุค หรือ PDAs ไมควรจะดาวนโหลดเอาขาวสารอีเมลล

มาเก็บไวบนเครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง ควรกําหนดใหไฟลลเหลาน้ันถูกเก็บบันทึกไวบนฮารดดิสกของเครื่อง

เซิรฟเวอรที่ศูนยบริการอินเทอรเน็ต เผื่อวาเกิดจะตองเปดดูอีเมลลผานเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นในภายหลัง จะได

เรียกดูได ไมตองไปติดยึดอยูกับเคร่ืองคอมพิวเตอรพกพาของตนเพียงเคร่ืองเดียว

นอกจากนั้น เขายังต้ังขอสังเกตุไวดวยวาประดาอุปกรณ PDAs สมัยใหมที่ผุดขึ้นมาเปนดอกเห็ดในชวงนี้

ไมวาจะเปนผลิตภัณฑ Psion Series 5, Windows CE หรือ 3Com Palm ฯลฯ ตางลวนอนุญาตใหผูใชเคร่ืองรักษา

ความสอดประสานระหวางขอมูลบนอุปกรณ PDA กับเคร่ืองพีซีที่สํานักงานโดยผานทางโปรแกรมประเภท

synchonisation tools ดวยกันทั้งสิ้น (ขอมูลที่จําเปนตองมีการสอดประสานกันมากๆ ก็ไดแก เอกสารธุรกิจ อีเมลล

และหมายกําหนดการ) เพียงแตโปรแกรม Note บนอุปกรณ PDAs หลายๆ ย่ีหอน้ัน อาจจะยังสอดประสานการทํางาน

กับเฉพาะโปรแกรม Personal Information Managers รุนใหญอยาง Schedule+ หรือ Outlook เทานั้น ยังไม

สามารถสื่อสารกับโปรแกรม Personal Information Managers รุนเล็กอยาง Netscape Mail หรือ Outlook

Expresss ได

โปรแกรมท่ีใชส่ือสาร

สําหรับผูใชเครื่องโนตบุคทั่วไปดูจะไมมีปญหามากนักในการสื่อสารระหวางเครื่องของตน กับเซิรฟเวอรที่

ออฟฟซ เพราะระบบปฏิบัติการวินโดวสบนเครื่องโนตบุคก็เปดโอกาสใหผูใชถายโอนขอมูลไปมาระหวางเครื่องโดยผาน

File : remote.doc page : 6

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

โปรแกรม DCC ไดเปนอยางดีอยูแลว อีกทั้งโปรแกรมประเภท synchronization tools ที่จะชวยสอดประสานระหวาง

เครื่องคอมพิวเตอรตางระดับก็มีใหเลือกใชไดอยางเหลือเฟอ (การโอนยายขอมูลจากเครื่องโนตบุคอาจจะมีปญหาบางก็

เฉพาะในกรณีที่มีความสลับซับซอนมากๆ )

อยางไรก็ตาม สําหรับผูที่ตองการรูปแบบการทํางานพิเศษหนอย กอรดอน เหลียง ไดเลือกโปรแกรม

สื่อสารที่เหมาะสมมา 3 ยี่หอ ดังน้ี

1. โปรแกรม Laplink Professional ราคา 175.08 ปอนดของบริษัท Traveling Software

(www.laplink.com)

2. โปรแกรม pcANYWHERE 9.0 ราคา 169.20 ปอนด ของบริษัท Symantec

(www.symantec.co.uk)

3. โปรแกรม Reachout Enterprise 8 ราคา 176.19 ปอนด ของบริษัท Stac (www.stac.com)

โดยโปรแกรมทั้งสามยี่หอที่ยกมาน้ี ตางลวนมีรูปแบบการทํางานซึ่งจะอํานวยความสะดวกในการเรียกใช

โปรแกรมหรือขอมูลจากเคร่ืองคอมพิวเตอรที่อยูหางไกลออกไป

(remote control) ตลอดจนสามารถถายโอนขอมูลไปมาระหวางเครื่อง

คอมพิวเตอรที่อยูหางกัน (file transfer facilities) ไดอยางมี

ประสิทธิภาพ ไมแตกตางกันสักเทาใด จะมีที่ตางไปบางก็เพียง

รายละเอียดยอยๆ ซึ่งในสวนของรายละเอียดยอยๆ น่ีเอง ที่ กอรดอน

เหลียง สารภาพวาเขาออกจะมีความช่ืนชมในผลิตภัณฑ

pcANYWHERE 9.0 มากกวาอีกสองยี่หอที่เหลือ (เขาใหเรท 5 ดาว

สําหรับโปรแกรม pcANYWHERE 9.0 และ 4 ดาวสําหรับอีกสอง

โปรแกรมที่เหลือ)

เชน โปรแกรม pcANYWHERE 9.0 จะอนุญาตใหเคร่ืองพีซี หรือเครื่องคอมพิวเตอรพกพาที่เราใชงานอยู

นอกสํานักงาน สามารถติดตอกลับไปยังเคร่ืองคอมพิวเตอรภายในสํานักงาน และแสดงสภาพหนาจอในลักษณะเดียวกัน

กับเคร่ืองพีซีที่อยูสํานักงานเลยทีเดียว เวลาที่ผูใชเครื่องคอมพิวเตอรตนทางลากเมาส หรือคียอะไรเขาไปบนเครื่องของ

ตน เคร่ืองคอมพิวเตอรทางปลายทางก็จะมีลักษณะการแสดงออกบนหนาจอใน

ลักษณะเดียวกันไปพรอมกัน ซ่ึงถาเพ่ือนรวมงานที่ประจําอยูที่ออฟฟซไมเคยไดรับรู

หรือรับทราบเก่ียวกับการทํางานของโปรแกรมประเภท pcANYWHERE 9.0 มา

กอน อาจจะตกใจนึกวาผีหลอกเอาไดงายๆ เพราะอยูๆ เคอรเซอรบนหนาจอเกิด

เลื่อนไปเลื่อนมา เดี๋ยวก็มีการตัวอักษรปรากฏข้ึนมาเฉยโดยไมมีคนพิมพ หรืออยูๆ

อาจจะมีโปรแกรมประยุกตถูกเปดข้ึนมาทํางานโดยที่ไมตองมีคนน่ังประจําอยูที่โตะ

คอมพิวเตอร

จุดเดนในการควบคุมเครื่องคอมพิวเตอรจากระยะไกลของ

โปรแกรม pcANYWHERE 9.0 น้ันอยูตรงที่มันมีการปรับรูปหนาจอใหพอเหมาะ

พอดีกับสรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางอัตโนมัต เชน ถาจะแสดงภาพบน

เคร่ืองโนตบุคก็อาจจะลดความละเอียดของภาพลงสักหนึ่งระดับ พรอมกับจัด

File : remote.doc page : 7

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

หนาตางใหพอดีกับจอ หรือในกรณีที่เปนอุปกรณ PDAs ก็จะตองลดความละเอียดทั้งภาพและสีลงไป ซ่ึงตรงน้ีนับวามี

ความสําคัญมากเอาการทีเดียว เน่ืองจากเครื่องคอมพิวเตอรแตละชนิดจะมีขีดความสามารถในการแสดงออกทางหนาจอ

ในระดับที่แตกตางกันไป ยกตัวอยางเชน อุปกรณ PDAs นั้นหากปลอยใหแสดงรายละเอียดบนหนาจอไดถึงขนาด Super

VGA 64 bit ก็พอดีไมตองทําอะไรกัน เพราะตองระดมทรัพยากรทั้งหมดของมันไปใชเพื่อการแสดงภาพบนจอ

สวนในแงของการสงผานสัญญาณขอมูลไปมาระหวางเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูตนทางและปลายทางน้ัน

โปรแกรม pcANYWHERE 9.0 ก็สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพนาเช่ือถือไดมากทีเดียว เพราะขนาดความเร็วใน

การสงผานขอมูลถูกลดลงไปเหลือแค 14.4 Kbps มันก็ยังสามารถทํางานไดอยางถุกตองไมมีขอผิดพลาด (เรื่องน้ีจะสําคัญ

มากในกรณีที่ตองสงผานขอมูลผานทางโทรศัพทมือถือซ่ึงมีสมรรถนะของชองสัญญาณดอยกวาสายโทรศัพทบาน)

นอกจากนั้น โปรแกรม pcANYWHERE 9.0 ยังเปดโอกาสใหผูบริหารสารสนเทศที่ประจําอยูในออฟฟซ

สามารถปรับแตง หรือแกไขโปรแกรม และขอมูลบางอยางที่ถูกจัดเก็บอยูในเคร่ืองคอมพิวเตอรของพนักงานที่ประจําอยู

ตามบาน หรือเคร่ืองคอมพิวเตอรที่พนักงานพกพาไปมาระหวางการเดินทางไปทําธุรกิจไดดวย ตรงนี้หลายคนอาจจะนึก

กังวลวา อยางนี้ก็แยสิ เพราะผูบริหารที่สํานักงานอาจจะละเมิดสิทธิและเสรีภาพของลูกนองดวยการแอบมาเปดดูขอมูล

สวนตัว แตเรื่องน้ีคงไมเปนปญหานัก เพราะลูกนองและเจานายนาจะตกลงกันไดวาจะกําหนด Priority ของการสื่อสาร

วา จะปลอยใหอีกฝายเขาถึงขอมูลสําคัญๆ ไดในระดับไหนบาง (เรื่องความสามารถในการเขาถึงขอมูลที่มีระดับ

ความสําคัญแตกตางกัน หรือที่เรียกวาคา Priority น้ี โปรแกรม pcANYWHERE 9.0, โปรแกรม LapLink และโปรแกรม

Reachout จะมีการกําหนดระดับคา priority ไวตางกันเล็กนอย )

สําหรับชองทางสื่อสารที่สัญญาณขอมูลจะใชว่ิงไปมาระหวางเครื่องคอมพิวเตอรน้ัน โปรแกรมสื่อสารทั้ง

สามตัวน้ีจะมีการรองรับทั้งชองทางอนาล็อกที่ใชโมเด็มตอพวงกับสายโทรศัพท และชองทางดิจิตัลแบบ ISDN โดยเครื่อง

เซิรฟเวอรที่สํานักงานหน่ึงเคร่ืองจะสามารถรองรับและใหบริการแกเครื่องคอมพิวเตอรตามบานหรืออุปกรณ PDAs ที่

พนักงานพกพาไปในระหวางการเดินทางไดหลายตัว และแนนอน อุปกรณฮารดแวรเหลาน้ีจะตองไดรับการติดต้ังวงจร

อินเทอรเฟซที่เหมาะสมไวดวย เชน ที่นิยมกันมากที่สุดก็คือการเสียบแผงวงจร PC card เพ่ิมใหกับเคร่ืองพีซี หรือถาเปน

อุปกรณ PDAs รุนใหมๆ ก็ดูจะไมมีปญหานัก เพราะสวนใหญมักจะมีการติดต้ังวงจรโมเด็มมาภายในตัวเคร่ืองใหเสร็จ

สรรพ แตถาเปนอุปกรณ PDAs รุนเกาก็อาจจะมีปญหาเร่ืองอุปกรณสื่อสารบาง แถมยังอาจจะมีความเร็วในการสงผาน

สัญญาณที่คอนขางตํ่า (19.2 Kbps) เม่ือเทียบกับผลิตภัณฑรุนใหมๆ

อยางไรก็ตาม ที่กลาวๆ มานี้ หมายถึงการใชโมเด็มกับสายโทรศัพทบานเทานั้น หากเปนการใชโมเด็ม

กับโทรศัพทมือถือก็จะเปนอีกเรื่องหน่ึง เพราะโทรศัพทมือถือรุนเกาๆ อาจจะไมมีการออกแบบวงจรที่รองรับการสื่อสาร

ขอมูลไว ในขณะที่โทรศัพทมือถือรุนใหมมักจะมีการติดตั้งวงจรสําหรับรับสงสัญญาณขอมูล (data capabilities) มาดวย

แตก็อีกน่ันแหละ ขอมูลที่เคลื่อนผานชองสัญญาณโทรศัพทมือถือก็จะมีความลาชากวาสัญญาณขอมูลที่วิ่งผาน

สายโทรศัพทบานอยูในระดับหน่ึง (9.6 Kbps) แถมวงจรที่วาน้ันก็มักจะมีความจําเพาะกับมาตรฐานของอุปกรณ PDAs

หรือครื่องโนตบุคเฉพาะรุนใดรุนหนึ่งดวย

ตัวอยางของโทรศัพทมือถือที่ไดรับการโฆษณาวาสามารถรองรับการสื่อสารขอมูลได น้ัน ก็มี โทรศัพท

ยี่หอโนเกียรุน SH888 และรุน NH8810 ที่มีระบบการทํางานแบบ build-in data utilities และรองรับพอรตอินฟารเรด

ตามมาตรฐาน IRDAทําใหสามารถใชงานรวมกับเครื่องโนตบุคหรืออุปกรณ PDAs ได, ในขณะที่ผลิตภัณฑ Nokia 6110

หรือ Orange NK702 ที่โฆษณาวาสามารถรับ/สงสัญญาณผานคลื่นอินฟราเรดไดน้ัน ก็ไมไดมีการติดต้ังชิ้นสวนฮารดแวรที่

File : remote.doc page : 8

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

เกี่ยวของกับการสื่อสารขอมูลมาดวย ทําใหเวลาที่จะใชรับ/สงขอมูลในแบบ Telecommuting ผูใชเครื่องโนตบุค

จําเปนตองติดต้ังโปรแกรม Nokia's Cellular Data Suite ที่รันบน

วินโดวส 95 และ 98 เพ่ิมใหกับเคร่ืองโนตบุคของตน (โปรแกรมตัวน้ี

ไมไดถูกออกแบบมาเพ่ือการรันบนอุปกรณ PDAs )

กลาวโดยสรุปแลว เช่ือวาการใชโทรศัพทมือถือเปน

ชองทางสงผานขอมูลในแบบ Telecommuting น้ัน นาจะตองรอ

เวลาไปอีกสักพักเพ่ือใหทางฝายผูผลิตโทรศัพทมือถือไดปรับปรุง

ประสิทธิภาพในการรับ/สงขอมูลของตนเสียกอน เพราะดวย

ประสิทธิภาพที่มีอยูในขณะนี้ดูจะไมเอ้ือตอการทํางานแบบ

Telecommuting สักเทาใดนัก เชน ในเรื่องความเร็วของชองสัญญาณน้ัน แมวาจะมีบางย่ีหอสามารถผลิต

โทรศัพทมือถือที่รองรับความเร็วสัญญาณไดสูงถึง 28.8 Kbps หรือ 2 Mbps ข้ึนมาบางแลว แตมาตรฐานความเร็วสวน

ใหญยังคงอยูที่ 9.6 Kbps

นอกจากนั้น ยังมีปญหาเรื่องคาใชจายที่จะติดตามมาเนื่องจากราคาคาบริการโทรศัพทมือถือซ่ึงคิดเปน

นาที และมีอัตราคาบริการสูงกวาโทรศัพทบานมาก วานาจะสงผลใหผูใชเครื่องโนตบุคหรืออุปกรณ PDAs ตองคิดแลวคิด

อีกเวลาจะสงไฟลลหรืออีเมลลสักที ซ่ึงแมวาจะมีศูนยบริการอินเทอรเน็ตบางรายเปดบริการพิเศษขึ้นมาสําหรับผูใช

โทรศัพทมือถือโดยเฉพาะ และคิดอัตราคาบริการต่ํากวาอัตราคาโทรศัพทของโรงแรมอยูพอควร ก็ยังไมกระตุนใหเกิด

แรงจูงใจในการใชโทรศัพทมือถือเปนชองทางสําหรับการทํางานแบบ Telecommuting ไดมากเทาที่ควร

ขอจํากัดอีกอยางของการรับ/สงขอมูลดวย

โทรศัพทมือถือ ยังเปนผลสืบเน่ืองมาจากขอบเขตพื้นที่การ

ใหบริการของผูใหบริการโทรศัพทมือถือเองดวย ทําใหผูที่

ตองเดินทางไปตางบานตางเมืองบอยๆ จําเปนตองขอรับ

บริการเสริมจากบริษัทผูขายบริการ ( ยกตัวอยางเชน

บริการ roaming ) พรอมกันน้ัน ก็อาจจะตองซื้อหา

เครื่องโทรศัพทที่ใชกับคลื่นมือถือไดมากกวาหนึ่งชวง (Dual-band หรือ Triple-band phone) เพราะบางคร้ังอาจจะ

ตองใชการสื่อสารผานชองสัญญาณของเครือขาย 900 MHz GSM, บางคร้ังอาจจะตองใชเครือขาย 1800 MHz และ

บางคร้ังอาจจะตองใชเครือขาย 1900 MHz GSM,

การโอนยายไฟลลขามเครื่อง

การเคลื่อนยายไฟลลขามไปมาระหวางเครื่องคอมพิวเตอรสองเครื่องที่อยูหางไกลกันออกไปดวย

โปรแกรมสามย่ีหอที่ยกมาเปนตัวอยางน้ี นับไดวาเปนกระบวนการที่สะดวกงายดาย และไมตองการความรูอะไรมากมาย

นัก เพราะรูปแบบหนาจอในสวนการทํางาน File transfer น้ันก็มีลักษณะคลายๆ กับหนาจอ Windows Explorer ที่

ผูใชคอมพิวเตอรสวนใหญตางคุนเคยกันเปนอยางดีอยูแลว และเราก็สามารถจะใชเมาสลากไฟลลเคลื่อนยายไปมาบน

หนาจอ (drag-and-drop) ไดเหมือนกัน จะมีที่ตางไปบางตรงที่ผูใชโปรแกรมจะไมสามารถลากเอาไฟลลจากเครื่อง

File : remote.doc page : 9

From : “Remote Control” Gordon Laing , Personal Computer World, Oct 99 สรุพล ศรีบุญทรง

คอมพิวเตอรหนึ่งมาใสไวในไดเรกตอรี่ของเครื่องคอมพิวเตอรอีกที่หน่ึงไดทันที จะตองมีกอปปเอาไฟลลที่ตองการไปใสไว

ในคลิปบอรดกอน และจากคลิปบอรดจึงคอยกอปปมาใสไวในอีกไดเรกตอรี่หนึ่ง

นอกจาก จะอนุญาตใหลากไฟลลไปๆ มาๆ ไดแลว โปรแกรมสื่อสารทั้งสามย่ีหอน้ียังอนุญาตใหมีการ

สรางความสัมพันธแบบ Synchronization ระหวางไฟลลชื่อเดียวกันที่จัดเก็บไวบนคอมพิวเตอรคนละเครื่องไดดวย เพ่ือ

วาไฟลลที่วาน้ันจะมีขอมูลซึ่งทันตอเหตุการณเสมอ และสามารถสื่อความเขาใจที่ตรงกันระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอรทั้ง

สองฝายตลอดเวลา แถมเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กๆ นอยๆ ภายในไฟลล ผูใชโปรแกรมสื่อสารยังสามารถ

กําหนดมีเฉพาะขอมูลที่เปลี่ยนแปลงเทาน้ันที่ถูกสงผานไปมาระหวางเครื่อง เชน เอกสารรอยกวาหนา ถามีการแก

ขอความไปแคหน่ึงบรรทัด ก็สามารถสงเฉพาะขอมูลที่แกไขหนึ่งบรรทัดน้ันไปยังคอมพิวเตอรอีกเครื่อง ไมตองสั่งใหกอป

ปใหมหมดทั้งรอยกวาหนา (การอัพเดทขอมูลเพียงบางสวนน้ี ไมไดจํากัดอยูแคไฟลลประเภทขอความเทานั้น แต

ครอบคลุมไปถึงไฟลลประเภทกราฟฟก และมัลติมีเดียดวย)

ความแตกตางระหวางโปรแกรม

ดังที่ไดกลาวมาขางตนแลววา โปรแกรมสื่อสารทั้งสามตัวน้ีมีรูปแบบการทํางานหลักที่ไมแตกตางกันสัก

เทาใดนัก สิ่งที่ทําใหมันดูแตกตางกันมากที่สุดคือรูปแบบดีไซนของหนาจอ และองคประกอบปลีกยอย อยางเชน สาย

เคเบิ้ลนําสัญญาณที่แถมมาใหผลิตภัณฑ pcANYWHERE 9.0 จะเปนแบบอนุกรมที่ใชหัวคอนเน็คเตอร 25 หัวเข็มทั้งตน

ทางและปลายทาง ในขณะที่ผลิตภัณฑ LapLink มีสายเคเบิ้ลอนุกรมใหเลือกสองแบบ คือ แบบที่ใชหัวคอนเน็คเตอร 9

เข็มทั้งสองปลาย หรือแบบชนิดที่คอนเน็คเตอรขางหน่ึง 9 เข็ม ปลายอีกขางเปน 25 เข็ม (LapLink เปนผลิตภัณฑเดียว

ที่มีการรองรับมาตรฐานเคเบิ้ลแบบ USBที่รองรับขอมูลไดดวยความเร็วสูงถึง 12 Mbps ไดดวย )

นอกจากนั้น หากใครใชอุปกรณ PDAs ซ่ึงติดต้ังระบบปฏิบัติการ Windows CE ไวก็อาจจะลดตัวเลือก

ลงมาเหลือแค pcANYWHERE 9.0 และ LapLink โดยโปรแกรม LapLink รุนที่ออกแบบมาเพื่อรันบน Windows CE

ขนาด 3.5 Mb น้ันลูกคาของ LapLink สามารถโหลดมาใชไดฟรีจากเว็บ

ไซท Traveling software (สําหรับผูที่ไมไดเปนลูกคาอยูแตเดิม ขาวไมได

แจงวาจะตองเสียคาโปรแกรมเทาไร) สวนผลิตภัณฑ pcANYWHERE 9.0

ที่ออกแบบมาสําหรับ Windows CE น้ัน ทางบริษัท Symantec ไดตั้ง

ราคาสินคาไวสองราคา คือ โปรแกรมที่ใชรันบนเครื่องเซิรฟเวอรราคา 79

ปอนด และโปรแกรมที่ใชรันบนเครื่องลูกขายราคา 39 ปอนด

รูปท่ี 1 ผลิตภัณฑ Nokia Communicator 9110 ซึ่งรวมเอาอุปกรณ

PDAs และโทรศัพทมือถือเขามารวมไวภายในเคร่ืองเดียว