SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG...

62
การศึกษาชนิดและการกระจายของมดสกุล AENICTUS ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG REU NAI WILDLIFE SANCTUARY พรนรินทร คุมทอง Ponnarin Kumtong สวนอนุรักษสัตวปา สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที2 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช มกราคม 2550

Transcript of SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG...

Page 1: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

การศึกษาชนิดและการกระจายของมดสกุล AENICTUSในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG REU NAI WILDLIFE

SANCTUARY

พรนรินทร คุมทอง

Ponnarin Kumtong

สวนอนรุักษสัตวปา สํานักบริหารพื้นทีอ่นุรักษที่ 2

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

มกราคม 2550

Page 2: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

บทคัดยอ

ทําการศึกษาชนิดและการกระจายของมดสกุล Aenictusในบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน ภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยศึกษาจากตัวอยางที่เก็บจากภาคสนามและตรวจสอบตัวอยางมดจากพิพิธภัณฑตางๆ ในระหวางป 2547 ถึง 2549 จากการศึกษาพบมดทั้งสิ้น 9 ชนิด ไดแก มดทหารบิงแฮม(A.binghami), มดทหารเหลือง (A. camposi), มดทหารทราย (A. dentatus), มดทหารอกขน (A. fergusoni), มดทหารชวา (A. javanus), มดทหารอกเรียบ (A. laeviceps), มดทหารสยาม (A. nishimurai), มดทหารฤๅไน (Aenictus sp.3 of WJT) และมดทหารกนเหลือง (Aenictus sp.5 of WJT) ซ่ึงไดจัดทําเปนรูปวิธานไวสําหรับการจําแนกชนิด มด A. nishimurai เปนมดที่ไดรับการรายงานครั้งแรกในภาคตะวันออกบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ การกระจายและระบบนิเวศบางประการจะกลาวถึงในทุกชนิด จากรูปแบบการกระจายสามารถแบงมดสกุลนี้ไดเปน 3 กลุมไดแก กลุมแรกคือมดที่อาศัยไดทุกพื้นที่ ประกอบดวย A. binghami, A. laeviceps, A. fergusoni และ A. sp.5 of WJT กลุมที่สอง เปนมดที่พบเฉพาะในปาธรรมชาติ ไดแก A. nishimurai, A. javanus และ A. sp.3 of WJT และสุดทายคือมดที่พบเฉพาะในพื้นที่ถูกรบกวน หรือพื้นที่เปดโลง ไดแก A. camposi และ A. dentatus

คําหลัก: ชนิดมด, การกระจาย, เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

Page 3: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

ABSTRACT

The species and distribution of genus Aenictus was investigated in the Khao Ang Reu Nai Wildlife Sanctuary, Eastern Thailand by field collecting and searching the specimens from ant collection between 2004 and 2006. A total of 9 species was recorded here as A.binghami, A. camposi, A. dentatus, A. fergusoni, A. javanus, A. laeviceps, A. nishimurai, Aenictus sp.3 of WJT and Aenictus sp.5 of WJT. The key for identification to the species were provided. A. nishimurai is first record from eastern Thailand in this Wildlife Sanctuary. Distributional and some ecological data are given for most species. Among the species could be separated into 3 group consider by distribution pattern. First group is the species that found in all habitats such as A. binghami, A. laeviceps, A. fergusoni and A. sp.5 of WJT. Second group is distribute in the primary forest as A. nishimurai, A. javanus and A. sp.3 of WJT. And lastly group is live in disturbed or opened area as A. camposi and A. dentatus.

Key words: Ant species, Distribution, Khao Ang Reu Nai Wildlife Sanctuary.

Page 4: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

สารบัญ หนา สารบัญ IV สารบัญภาพ V สารบัญตาราง VII คํานํา 1 วัตถุประสงค 2 การตรวจเอกสาร 3 อุปกรณและวธีิการ 19 ผลและวิจารณผลการศึกษา 22 สรุป 45 ขอเสนอแนะ 52 คํานิยม 52 เอกสารอางอิง 53

-

IV

Page 5: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา

1 ลักษณะโครงสรางของมดงานสกุล Aeinctus 3 2 การกระจายของมดสกุล Aenictus เปรียบเทียบกับมดทหารสกุล Dorylus ใน

ระบบนิเวศปาเขตรอน 8

3 ผลกระทบของสัตวขาขอในพื้นที่ที่มีมดทหารหากนิ 10 4 พื้นที่ศึกษามดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพนัธุสัตวปาเขาอางฤๅไน 13 5 ลักษณะผิวของสวนหวั 22 6 จํานวนขนแขง็ที่ขึ้นปกคลุมบนสวนหวั และอกปลองที่ 1 23 7 ความยาวของฐานหนวดเทียบกับความยาวของสวนหวั 23 8 ความยาวของฐานหนวดเทียบกบัความยาวของสวนหวั 24 9 รูปรางของกราม 24 10 ลักษณะผิวดานบนของอกปลองที่ 1 25 11 ลักษณะมุมฐานกะโหลก 25 12 ภาพถายมดงานและมดราชนิี Aenictus binghami Forel, 1900 26 13 การกระจายของมด A. binghami ในเขตรกัษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน 27 14 ภาพถายมดงาน Aenictus camposi Wheeler and Chapman, 1925 28 15 การกระจายของมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน 29 16 ภาพถายมดงาน Aenictus dentatus Forel, 1911 30 17 ภาพถายมดงาน Aenictus fergusoni Forel, 1901 31 18 การกระจายของมด A. fergusoni ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน 32 19 ภาพถายมดงานของมด Aenictus javanus Emery, 1896 33 20 ภาพลายเสนมดงานของมดสกุล Aenictus 35 21 ภาพถายมดงานของมด Aenictus laeviceps (Smith, 1857) 36 22 การกระจายของมด A. laeviceps ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน 37 23 ภาพถายงานของมด Aenictus nishimurai Terayama and Kubota, 1993 38 24 ภาพถายมดงานของมด Aenictus sp. 3 of WJT 39

V

Page 6: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที ่ หนา

25 ภาพถายมดงานของมด Aenictus sp.5 of WJT 40 26 การกระจายของมด A. sp.5 of WJTในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน 41 27 ภาพลายเสนมดงานของมดสกุล Aenictus 42

VI

Page 7: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

1 อาหารของมดสกุล Aenictus ที่มีรายงานในโลกเกา 11

VII

Page 8: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

คํานํา

มดสกุล Aenictus เปนมดที่กระจายอยูในโลกเกา (Old World) เขตรอน (tropics) และ กึ่งเขตรอน (subtropics) (Bolton, 1994; Bolton, 1995) ชอบอยูรวมกันเปนสังคมขนาดใหญ มีบทบาทเปนผูบริโภคอันดับสูงสุดของกลุมสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัยในดิน ชอบกินมด แมลง หรือไขของแมลงชนิดอื่นเปนอาหาร จึงมีบทบาทเกี่ยวของกับการควบคุมปริมาณของสัตวชนิดอื่นใหอยูสภาวะสมดุล อันเปนบทบาทที่สําคัญประการหนึ่งในระบบนิเวศ ในอนาคตเราสามารถนํามดสกุลนี้มาประยุกตใชใหเกิดประโยชนได หากมีการศึกษาอยางจริงจัง แตในปจจุบันขอมูลเกี่ยวกับมดสกุล Aenictus ในประเทศไทยมีอยูนอยมากโดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นฐานดานชนิดและการแพรกระจาย จึงควรเรงทําการศึกษาเปนอันดับตน ๆ เพื่อหาทางใชประโยชนมดสกุลนี้ตอไป

เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนตั้งอยูในเขตรอน พื้นที่สวนใหญเปนปาราบต่ําที่สมบูรณ

ผืนใหญที่สุดในประเทศไทย ประกอบกับการที่เขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ อยูในเขตชีวภูมิศาสตร 2 ภูมิภาคดวยกันคือ ภูมิภาคอินโดจีน (Indo-China) และภูมิภาคอินโดมาลายา (Indo-Malaya) ทําใหพื้นที่แหงนี้มีความหลากหลายทางทรัพยากรชีวภาพในระบบนิเวศคอนขางสูง และเปนแหลงรวมของทรัพยากรชีวภาพจากทั้ง 2 เขตชีวภูมิศาสตรกระจายอยูดวยกัน มดสกุล Aenictus เปนมดกลุมหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญและมีความหลากหลายคอนขางมาก คาดการณวาในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้พบมดสกุล Aenictus หลายชนิดที่ยังไมทราบชื่อที่แนนอน นอกเหนือจากที่ Jaitrong and Nabhitabhata (2005) รายงานไว 7 ชนิด การศึกษาดานชนิดจึงเปนความสําคัญเรงดวนหากตองการมดชนิดนี้ไปใชประโยชนในอนาคต

Page 9: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

2

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาลกัษณะทางสัณฐานวิทยาของมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

2. เพื่อศึกษาชนิด การแพรกระจาย และนเิวศวิทยาบางประการของมดสกุล Aenictus ในพื้นที่ศกึษา 3. เพื่อจัดทํารูปวิธาน (Key to species) และคําบรรยายลกัษณะ (description) การจําแนกมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

Page 10: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

3

การตรวจเอกสาร

ลักษณะภายนอกของมดสกลุ Aenictus

ลักษณะสัณฐานภายนอกของมดที่กลาวในหัวของานวิจัยเรื่องนี้ใชลักษณะของมดงานเปนหลัก ซ่ึงอางตาม Terayama and Kubota (1993), Bolton (1994), Gotwald (1995) Shattuck (1999) และ Bolton (2003) ซ่ึงแบงลําตัวมดออกเปนสวนๆ ไดแก สวนหัว (head) สวนอกรวมกับทองปลองแรก (alitrunk หรือ mesosoma) เอว (waist) และสวนทอง (gaster) มีความแตกตางจากมดสกุลอ่ืนดังนี้

ภาพที่ 1 ลักษณะโครงสรางของมดงานสกลุ Aeinctus A โครงสรางทางดานขาง B โครงสรางสวนหวั

ท่ีมา: Gotwald, (1995)

Page 11: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

4

มดงาน (Workers) มีลักษณะสัณฐานภายนอก (ภาพที่ 1) ที่ใชจําแนกดังนี้

- โดยทั่วไปมดงานมีรูปแบบเดียว (monomorphic) (เดชา และ วียะวัฒน, 2544; Wilson, 1964 และ Gotwald, 1995) Yamane and Hashimoto (1999) พบมดชนิดใหมของสกุลนี้ มีมดงานขนาดแตกตางหลายรูปแบบ (polymorphic) ไดแก A. inflatus

- ฐานริมฝปากบน (clypeus) คอนขางแคบ ขอบดานบนอยูชิดกับเบาฐานหนวด (antennal sockets) มาก

- เบาฐานหนวดอยูในแนวระนาบเมื่อมองทางดานหนา - ไมมีพูหนา (frontal lobe) หากมีจะมีขนาดเล็ก ๆ อยูระหวางเบาฐานหนวด - ไมมีตา (compound eyes) หนวด (antenna) มีจํานวน 8-10 ปลอง พื้นที่แกม (gena) อยู

ระหวางเบาฐานหนวดและขอบดานขางของหัว - ดานบนของสวนอกไมมีเสนแบงระหวางอกปลองที่ 1 และ 2 (promesonotal suture) ทํา

ใหเห็นดานบนของปลองอกทั้งสองรวมกัน - มี propodeal lobes - รูหายใจ (spiracle) บน propodeum อยูในตําแหนงสูงบนแผนแข็งดานขางลําตัว - เอว (waist) ประกอบดวย 2 ปลองมีขนาดใกลเคียงกัน ปลองที่ 1 เรียก petiole สวนปลอง

ที่ 2 เรียก postpetiole (เปนทองปลองที่ 2 และ 3 พัฒนาคอดเปนปุม) - รูหายใจอยูตรงจุดกึ่งกลางทางดานขางของ postpetiole - ดานหนาของ petiole ไมมีกาน (petiole sessile or subsessile) - รูหายใจบริเวณปลองทองมี 5-7 รู - สวนทองปลองที่ถัดจาก postpetiole รวมกันเรียกวา gaster - gaster ปลองแรกมีขนาดใหญที่สุด ทางดานหนาแหลมและขยายออกไปทางดานทาย - แผนแข็งดานบนของ gaster ปลองสุดทายมีขนาดเล็ก และมีลักษณะเปนรูปตัว U

Page 12: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

5

สังคมและการสรางรัง สังคมมด

มดเปนแมลงสังคมที่แทจริง (eusocial Insect) คือมีการเลี้ยงดูตัวออน (cooperative brood care) มีการอยูรวมกันของประชากรอยางนอย 2 รุน (overlap at least two generation) และแบงกลุมหรือแบงออกเปนวรรณะตาง ๆ ตามหนาที่ภายในรัง (Hölldolbler and Wilson, 1990) ประกอบดวย

- มดราชินี มีหนาที่ในการผสมพันธุวางไข รวมถึงการควบคุมกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นภายในรัง

- มดงาน เปนมดเพศเมียที่เปนหมันทําหนาที่แตกตางกัน เชน มดบางสวนที่อายุนอย ๆ ทําหนาที่เปนมดพยาบาล คอยดูแลเลี้ยงดู และขนยายตัวออน มดบางสวนที่แข็งแรงที่สุดทําหนาที่เปนมดทหารคอยปกปองรัง และมดงานสวนที่เหลือมีหนาที่ทํางานทุกอยางภายในรัง เชน ออกลาเหยื่อ และการเคลื่อนยายรัง มดงานของมดสกุล Aenictus สวนใหญมีรูปแบบเดียว (monomorphic) พบนอยมากที่มดงานมีสองรูปแบบ (dimorphic) หรือหลายรูปแบบ (polymorphic) - มดเพศผู เปนมดที่มีปกมีหนาที่สืบพันธุเทานั้น และจะตายหรือมีอายุอยูประมาณ 1 สัปดาหหลังจากการผสมพันธุเสร็จสิ้นลง

การสรางรัง

การสรางรังของมดทหารสกุล Aenictus มีรูปแบบเชนเดียวกับมดสกุลอ่ืน ๆ คือหลังจากมดราชินีผานการผสมพันธุเรียบรอยแลว มดราชินีจะเก็บน้ําเชื้อ (sperm) ไวในอวัยวะเก็บน้ําเชื้อภายในสวนทอง และทําการเลือกพื้นที่สําหรับสรางรัง ไขรุนแรกที่มดราชินีวางออกมาทั้งหมดเปนวรรณะมดงาน ซ่ึงไดรับอาหารจากการสลายไขมันและไขที่ไมไดรับการผสม หลังจากมดงานชุดแรกเจริญเปนตัวเต็มวัยแลวจะทําหนาที่สรางรังชั่วคราว และหาอาหาร สวนมดราชินีทําการวางไขรุนตอ ๆ

Page 13: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

6

ไปจนกระทั่งประชากรในรังมีขนาดใหญขึ้น ซ่ึงมดสกุล Aenictus มีจํานวน ประชากรมดงานในรังหนึ่ง ๆ จํานวนมาก โดยเฉพาะ ชนิดที่พบในเอเชีย เชน A. gracilis และ A. laeviceps มีจํานวนประชากรมดงานในรังประมาณ 60,000 ถึง 110,000 ตัว (Scheirla and Reyes, 1966) หลังจากที่ภายในรังมีประชากรมดงานมากพอสมควรมดราชินีจะผลิตมดวรรณะสืบพันธุเพื่อออกไปสรางรังใหมตอไป ถิ่นอาศัย มดสกุล Aenictus เปนมดทีไ่มสรางรังที่ถาวร (Scheirla, 1971; Gotwald, 1995) คือมีชวงระยะเวลาหนึง่ที่มดสกุลนี้ยดึพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเปนรังชัว่คราวเพื่อใหมดราชินีวางไข และเมื่อไขฟกเปนตัวหนอนแลวก็จะเคลื่อนยายรังไปตามแหลงอาหารบนพื้นปา ซ่ึงเห็นไดจากมกัพบเห็นมดสกุลนี้เดินเปนแถวยาวตามพื้นปาโดยเฉพาะในปาเขตรอนอยางในเอเชยีตะวันออกเฉยีงใต

ในระบบนิเวศปาเขตรอน แหลงที่สามารถพบมดสกุลนี้ไดสวนใหญจะเปนพื้นที่ปาธรรมชาติ (natural forest) หรือปาขั้นทดแทน (secondary forest) มีบางชนิดที่สามารถแพรกระจายไดในพื้นที่เกษตรกรรม เชน Aenictus laeviceps และบริเวณที่สามารถพบมดสกุลนี้สรางรังหรือประกอบกิจกรรมตาง ๆ ไดแก

- บนพื้นดินเปนบริเวณที่พบมดสกุล Aenictus ไดบอยที่สุด มักพบเห็นเดินเปนแถวยาว

เพื่อหาอาหารหรือยายรังไปยังพื้นที่ใหม และสามารถพบเห็นไดทั้งกลางวันและกลางคืน (Scheirla, 1971)

- ใตพื้นดิน รังที่พบใตพื้นดินสวนใหญจะเปนรังชั่วคราว หากถูกรบกวนจากภายนอกมักยายรังหนี

- ใตกอนหิน กองใบไมเศษไมที่รวงหลนตามพื้นปา หรือใตขอนไมผุ มดสกุลนี้ใชพื้นที่เหลานี้เปนแหลงหาอาหาร หรือสรางรังชั่วคราว

- บนเรือนยอดของตนไม สุระชัย และคณะ (2546) พบมดสกุล Aenictus จํานวน 1 ชนิด

บนชั้นเรือนยอดของตนไมซ่ึงสูงกวา 16 เมตร จากพื้นดินจากการศึกษามดบนเรือนยอดไมปาดิบชื้น

Page 14: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

7

บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาโตนงาชาง มดที่พบบนเรือนยอดของตนไมนี้อาจเปนมดที่อาศัยบนพื้นดินแตสามารถขึ้นไปหากินบนตนไมสูง การจําแนกหมวดหมูและการกระจาย

มดสกุลนี้ไดรับการตั้งชื่อคร้ังแรกในประเทศอินเดียโดย Shuckard (1840) ในชื่อ type species Aenictus ambiguus คร้ังนั้นถูกจัดอยูในวงศ Formicidae วงศยอย Dorylinae แตในปจจุบันไดเปลี่ยนมาอยูในวงศยอย Aenictinae เผา (tribe) Aenictini ในปจจุบัน Shattuck (1999); Bolton (2003) จัดระบบหมวดหมูของมดโดยจัดมดสกุล Aenictus ไวดังนี้ Kingdom: Animalia Phylum: Arthropoda Class: Insecta Order: Hymenoptera Family: Formicidae Subfamily: Aenictinae Tribe: Aenictini Genus: Aenictus มดสกุลนี้เปนมดเขตรอน และกึ่งเขตรอน (Wilson, 1964; Bolton, 1995) มีรายงานการกระจายตั้งแตประเทศอินเดีย ทางตอนใตของประเทศจีน ทุกประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีรายงานการพบมดสกุลนี้ใน ออสเตรเลีย (ควีนแลนด และ นิวเซาธเวลส) ฟลิปปนส ศรีลังกา นิวกีนี เกาะบอรเนียว เกาะชวา ญ่ีปุน (Wilson, 1964) และไตหวัน (Terayama, 1984) นอกจากนี้มดสกุล Aenictus พบกระจายหนาแนนตั้งแตแอฟริกา ตะวันออกกลาง จนถึงตะวันออกไกล แตชนิดมดในแอฟริกาและเอเชียมีความแตกตางกันมากทั้งนี้เนื่องจาก พื้นที่มีความแตกตางและแยกตัวออกจากกันเปนระยะเวลานาน (Wheeler, 1930)

Page 15: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

8

มดสกุล Aenictus สามารถกระจายไดคอนขางกวางทั่วทั้งดินแดนโลกเกา (Old World)

เชนเดียวกับนิเวศวิทยาของมดสกุล Neivamyrmex ที่สามารถกระจายไดทั่วทั้งดินแดนโลกใหม (New World) (Gotwald, 1995) นอกจากพบมดสกุล Aenictus กระจายไดดีในเขตรอนและกึ่งเขตรอนแลวยังพบแพรกระจายในเขตอบอุน (temperate) เชนมีรายงานพบใน แอฟกานิสถาน ตลอดแนวเทือกเขาประเทศปากีสถาน (Gotwald, 1974) และในรัสเซีย (Arnoldi, 1968)

ความหลากชนิด ในภูมิภาคอินโด-ออสเตรเลีย (Indo-Australian Region) มีการรายงานทางอนุกรมวิธานของมดสกุล Aenictus ไวจํานวน 34 ชนิด (Wilson, 1964) ตอมา Bolton (1995) จัดทําบัญชีรายช่ือมดและไดรวบรวมรายชื่อมดสกุลนี้ไวประมาณ 110 ชนิด ทั่วโลก กระจายอยูในเขตรอนและกึ่งเขตรอน ในจํานวนนี้มากกวา 80 ชนิด กระจายในภูมิภาคอินโด-ออสเตรเลีย สําหรับในภูมิภาคเอเชีย

ภาพที่ 2 การกระจายของมดสกุล Aenictus เปรียบเทยีบกับมดทหารสกุล Dorylus ในระบบนิเวศปาเขตรอน

ที่มา: Gotwald (1995)

Page 16: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

9

ตะวันออกเฉียงใตรายงานไวประมาณ 49 ชนิด สวน Gotwald (1995) รายงานมดสกุลนี้ในแอฟริกาไวประมาณ 15 ชนิด สําหรับการศึกษามดสกุล Aenictus ในประเทศไทยมีนอยมาก นับตั้งแตรายงานของ Wheeler (1930) และ Wilson (1964) พบมดสกุลนี้เพียง 2 ชนิดเทานั้น ไดแก A. binghami และ A. artipus จนกระทั่ง Terayama and Kubota (1993) ไดตีพิมพมดชนิดใหมในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอีก 2 ชนิด ไดแก A. nishimurai และ A. thailandianus และปจจุบัน Jaitrong and Nabhitabhata (2005) จัดทําบัญชีรายช่ือมดที่สามารถจําแนกชนิดแลวในประเทศไทยและไดรายงานมดสกุลนี้ไว 9 ชนิด ทั้งนี้ยังมีมดสกุลนี้อีกหลายชนิดที่พบในประเทศไทยและยังไมสามารถจําแนกชนิดได บทบาทตอระบบนิเวศปาไม มดสกุลนี้สวนใหญเปนมดที่พบในปาธรรมชาติและพื้นที่ปาทดแทน (secondary forest) มีนอยมากที่พบในพื้นที่เกษตรกรรม (agriculture area) หรือพื้นที่เปดโลง (opened site) เชน เดชาและวียะวัฒน (2544) พบมดทหารเหลือง (Aenictus camposi Wheeler and Chapman, 1925) ในสังคมพืชทุงหญาบริเวณอุทยานแหงชาติเขาใหญ สวน พรนรินทร และ วียะวัฒน (2547) พบมดสกุลนี้ในปาทดแทนเพียง 2 ชนิด จากที่พบทั้งหมด 9 ชนิด ดังนั้นบทบาทสําคัญของมดสกุลนี้จึงเกี่ยวของกับระบบนิเวศปาไมเปนสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งในระบบนิเวศปาเขตรอน เนื่องจากเปนระบบนิเวศที่พบมดสกุลนี้มากที่สุด (Bolton, 1995) และพอที่จะสรุปบทบาทสําคัญไดดังนี้ บทบาทในการควบคุมปริมาณแมลงชนิดอืน่

Gotwald (1995) ไดจัดมดสกุล Aenictus ไวในกลุมมดทหาร (army ant) 1 ใน 7 สกุล ที่พบในโลก (สกุล Aenictus, Dorylus, Cheliomyrmex, Eciton, Labidus, Neivamyrmex และ Nomamyrmex) เปนกลุมมดที่มีประชากรในรังจํานวนมาก (Schneirla and Reyes, 1966; Yamane and Hashimoto, 1999) กินมด แมลง และไขของแมลงชนิดอื่นเปนอาหาร (ตารางที่ 1) ทําใหมดสกุลนี้มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมปริมาณแมลงและสัตวขนาดเล็กชนิดอื่นในดิน เห็นไดจากมด Aenictus gracilis และ Aenictus laeviceps ในโลกเกาเขตรอนจะลามด แมลง และสัตวขนาดเล็ก

Page 17: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

10

ตามเสนทางการยายรังเปนอาหาร (Gotwald, 1995) ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ Otis et al. (1986) เกี่ยวกับผลกระทบของมดทหารที่มีตอสัตวขาขอ (arthropods) บนพื้นปาใน Costa Rica พบวาเมื่อมีมดทหารเขามาในพื้นที่จะทําใหประชากรของสัตวขาขอบนพื้นปาลดลงดวยสาเหตุ 3 ประการ คือ 1. ถูกกัดกินโดยตรงจากมดทหาร 2. ถูกกัดกินจากตัวห้ํา (predators) ชนิดอื่น หรือตัวเบียน (parasites) และ 3. ยายหนีออกจากพื้นที่ (ภาพที่ 3)

จากบทบาทดังกลาวสามารถประยุกตใชมดสกุลนี้สําหรับควบคุมปริมาณแมลงศัตรูพืชได

ทางหนึ่งโดยเฉพาะในฤดูฝนซึ่งเปนชวงเวลาที่พรรณไมหลายชนิดแตกใบออน ซ่ึงจากการสํารวจขอมูลมดสกุล Aenictus ในภาคตะวันออกของประเทศไทยพบวาในชวงฤดูฝนที่ความชื้นในดินสูงมดสกุลนี้สวนใหญจะหากินบนตนไมสูงและพบลาแมลงศัตรูพืชหลายชนิด

ถูกเบียนโดยแมลงวัน

ถูกลาโดยนก

สัตวขาขอในพื้นที่มีมดทหารหากิน

คงอยูในพืน้ที ่ สูญหายไปจากพื้นที ่

ถูกเบียนโดยแมลงวัน ไมถูกลาดวยมดทหาร ถูกลาโดยมดทหาร

ปลอดภัย

ภาพที่ 3 ผลกระทบของสัตวขาขอในพืน้ที่ที่มีมดทหารหากิน ที่มา: Otis et al (1986)

Page 18: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

11

ตารางที่ 1 อาหารของมดสกุล Aenictus ที่มีรายงานในโลกเกา

ชนิดมด อาหารที่กิน Aenictus asantei Aenictus binghami Aenictus ceylonicus Aenictus gracilis Aenictus laeviceps

- ตัวออนและตัวเต็มวัยของมดสกุล Pheidole (Campione et al., 1983) - ตัวออนและตัวเต็มวัยของมด (Wilson, 1964) - มด โดยเฉพาะตัวออนของมดวงศยอย Myrmicinae (Wilson, 1964) น้ําหวานจากเพลี้ยแปง Pseudococcus sp (Santschi, 1933) - มด 16 สกุล ตัวหนอน ตัวเต็มวัย ดักแด ของตอ Ropalidia flavopicta ปลวก ดวงกนกระดกบางชนดิ (Chapmen, 1964) สัตวไมมีกระดกูสันหลังหลายชนดิ ตอขนาดใหญ ตัวเต็มวยัของแมลง (Schneirla and Reyes, 1966) มดไดแกสกุล Technomyrmex, Paratrechina, Acropyga และ Prenolepis (Rosciszewski and Maschwitz, 1994) - มด 16 สกุล ตัวหนอน ตัวเต็มวัย ดักแด ของตอ Ropalidia flavopicta ปลวก ดวงกนกระดกบางชนดิ (Chapmen, 1964) สัตวไมมีกระดกูสันหลังหลายชนดิ ตอขนาดใหญ ตัวเต็มวยัของแมลง (Schneirla and Reyes, 1966) มดที่เปนอาหารไดแกมดสกลุ Polyrhachis, Camponotus, Crematogaster และPrenolepis (Rosciszewski and Maschwitz, 1994)

บทบาทเปนอาหารของสัตวชนิดอื่น มดสกุลนี้เปนกลไกหนึ่งในหวงโซ (food chain) และสายใยอาหาร (foodweb) มีสวนชวยรักษาสมดุลในระบบนิเวศ ประการสําคัญคือเปนอาหารของสัตวชนิดอื่นโดยเฉพาะสัตวปก สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก และสัตวล้ียงลูกดวยนมบางชนิด แตการศึกษาหรือขอมูลการใชประโยชนของสัตวปาจากมดสกุลนี้ในปาเขตรอนมีนอยมาก นอกจากรายงานของ McGrew (1974) พบวาลิง ซิมแพนซี กินมดสกุล Dorylus ซ่ึงเปนมดทหารที่พบในปาเขตรอน และมีพฤติกรรมเชนเดียวกับมดสกุล Aenictus ดังนั้นเชื่อวามดสกุลนี้นาจะเปนอาหารของสัตวที่หากินตามพื้นปาหลายชนิด เชน ตัวนิ่ม นก และสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก

Page 19: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

12

และ จากการศึกษาของ Willis and Oniki (1978) พบวามดทหารสามารถแพรกระจายไดตั้งแตในดินจนกระทั่งบนตนไมสูง และเปนอาหารของนกที่หากินตามแหลงอาศัยตาง ๆ เชนเดียวกับมดสกุล Aenictus ในระบบนิเวศปาฝนเขตรอน บทบาทชวยแพรกระจายพันธุพืช นอกเหนือจากที่มดสกุลนี้มีบทบาทเปนตัวห้ํากินมดและแมลงชนิดอื่นเปนอาหารแลว พบวามดสกุลนี้ยังกินเมล็ดไมที่รวงหลนตามพื้นปาเปนอาหาร เห็นไดจากมดสกุล Aenictus ที่พบในเอเชียมักคาบเมล็ดไมเดินเปนแถวยาวตามพื้นปา การที่มดคาบเมล็ดไมไปในที่ตางนั้นเปนการชวยแพรกระจายพันธุพืชทางหนึ่ง (สวนที่เหลือจากที่เปนอาหารมด) สําหรับมดสกุลนี้สามารถกระจายไดคอนขางกวางทําใหชวยแพรกระจายเมล็ดไมไดกวางตามไปดวย พื้นท่ีศึกษา ทําการศึกษาและเก็บตัวอยางมดบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนดานทิศตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดสระแกว ในพื้นที่ปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest) ปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) ปาทดแทน (Secondary Forest) และแหลงชุมชน (Domestic area) กระจายตามพื้นที่หนวยพิทักษปา ซ่ึงประกอบดวย หนวยฯ หลุมจังหวัด หนวยฯน้ําตกบอทอง หนวยฯ ทับกระบก หนวยฯ ภูไท หนวยฯ สามพราน หนวยฯ เขาตระกรุบ และทําการสํารวจตามเสนทางระหวางหนวยฯ ตางๆ ไดแกเสนทางระหวางหนวยฯ หลุมจังหวัดถึงหนวยฯ น้ําตกบอทอง และเสนทางระหวางหนวยฯ ภูไทถึงหนวยฯ สามพราน

Page 20: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

13

ภาพที่ 4 พื้นที่ศึกษามดสกลุ Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

พื้นท่ีสํารวจ

Page 21: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

14

ท่ีตั้ง เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนตั้งอยูระหวางเสนรุงที่ 13°00′00″ ถึง 13°00′00″ เหนือ และระหวางเสนแวงที่ 101°35′00″ ถึง 102°05′00″ ตะวันออก ถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2520 ในทองที่ตําบลคลองตะเกรา อําเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนเขตรักษาพันธุสัตวปา อันดับที่ 13 ของประเทศ เดิมมีเนื้อที่ 67,562 ไร เปนสวนหนึ่งของปารอยตอ 5 จังหวัด (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา) และตอมาไดประกาศขยายพื้นที่เพิ่มขึ้นตามพื้นที่ปาปดสวนใหญของกองทัพภาคที่ 1 โดยประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2535 รวมเนื้อที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนทั้งหมด 643,750 ไร ในทองที่ตําบลทากระดาน อําเภอสนามชัยเขต ตําบลทาตะเกียบ ตําบลคลองตะเกรา กิ่งอําเภอทาตะเกียบ อําเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ตําบลตาหลังใน ตําบลวังใหม ตําบลวังสมบูรณ อําเภอวังน้ําเย็น จังหวัดสระแกว ตําบลขุนชอง ตําบลพวา กิ่งอําเภอแกงหางแมว อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี ตําบลบอทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี และตําบลชุมแสง กิ่งอําเภอวังจันทร อําเภอแกลง ตําบลหวยทับมอญ อําเภอแกลง จังหวัดระยอง ภูมิประเทศ พื้นที่ตอนบนและตอนกลางสวนใหญเปนที่ราบลูกฟูก มีความลาดชันปานกลางจึงเปนบริเวณที่ราษฎรบุกรุกแผวถางและถือครองที่ดินกันมากอนที่จะอพยพออกจากพื้นที่ สวนพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต ทิศตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงใตนั้นเปนภูเขาสูง ความสูงของพื้นที่จากระดับน้ําทะเลปานกลางตั้งแต 30-763 เมตร ยอดเขาสูงสุดอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเขตรักษาพันธุสัตวปาฯ คือ เขาตะกรุบ มีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 763 เมตร พื้นที่ทางตอนใตเปนสวนหนึ่งของเทือกเขาบรรทัดและเทือกเขาจันทบุรี จึงประกอบไปดวยภูเขาที่มีความลาดชันสูงตอเนื่องกัน เชน เขาอางฤๅไน เขาใหญ เขาชะมูน เขาชะอม เปนตน นอกจากนี้ผืนปารอยตอ 5 จังหวัดเปนแหลงกําเนิดตนน้ําที่สําคัญหลายสายที่เอื้ออํานวยประโยชนแกประชาชนที่อาศัยอยูโดยรอบทั้ง 5 จังหวัด เชน แมน้ําประแสร แมน้ําจันทบุรี คลองตะเกรา แควสียัด เหลานี้เปนตน

Page 22: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

15

ภูมิอากาศ พื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณปารอยตอ 5 จังหวัดเปนที่มีรองมรสุมพาดผาน ฝนตกคอนขางชุก และเนื่องจากมีเทือกเขาบรรทัดและเทือกเขาจันทบุรีอยูทางตอนใตของพื้นที่จึงทําใหพื้นที่บริเวณดังกลาวมีฝนตกมากกวาทางตอนเหนือ นอกจากอิทธิพลของลมมรสุมที่พัดผานแลวยังไดรับอิทธิพลจากทะเล ลักษณะภูมิอากาศจึงมีทั้งแบบสะวันนาทางตอนบนของพื้นที่ และแบบมรสุมเขตรอนทางตอนลางของพื้นที่ แสดงใหเห็นถึงลักษณะภูมิอากาศที่แตกตางกันของพื้นที่โดยรอบเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน ดังนั้นจึงเปนปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดความหลากหลายของทรัพยากรชีวภาพในพื้นที่เปนอยางมาก โดยเฉพาะทรัพยากรชีวภาพนั้นมีการกระจายจาก 2 ภูมิภาคดวยกันคือ ภูมิภาคอินโดจีน (Indo-china) และภูมิภาคอินโดมาลายา (Indo-malaya)

ลักษณะทางสังคมพืช

ลักษณะทางสังคมพืชบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน นับวาแตกตางจากบริเวณอ่ืนของประเทศ ซ่ึงอาจกลาวไดวาเปนสังคมพืชที่เกิดบนที่ราบหรือคอนขางราบผืนที่กวางที่สุดของประเทศไทยโดยมีเขตการกระจายทางเขตพรรณพฤกษศาสตร 2 เขตการกระจาย ไดแก ภูมิภาคอินโดจีน (Indo-china) และ ภูมิภาคอินโดมาลายา (Indo-malaya) ทั้งนี้เนื่องจากเทือกเขาที่ปรากฏอยูในพื้นที่เปนเทือกเขาที่ทอดยาวตอเนื่องมาจากเทือกเขาสอยดาวและเทือกเขาบรรทัด ทําใหสังคมพืชที่กระจายอยูในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้มีลักษณะเดนเฉพาะตัวตางจากภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศไทย

สังคมพืชปาดงดิบแลง (Dry Evergreen Forest) ปาดิบแลงเปนสังคมปาที่ขึ้นปกคลุมพื้นที่เขตรักษาพันธสัตวปาเขาอางฤๅไนเกือบทั้งหมด ยกเวนพื้นที่ตามสันเขาหรือในบริเวณที่มีดินตื้นจะมีสังคมพืชชนิดอื่นๆ ขึ้นแทรกอยูเปนหยอมๆ ซ่ึงนับวาพื้นที่ปาดิบแลงผืนใหญที่สุดของประเทศที่ขึ้นปรากฏอยูบนพื้นที่ราบ แตอยางไรก็ตามปาดง

Page 23: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

16

ดิบที่เหลืออยูไดผานการสัมปทานทําไมมาแลวตั้งแตป พ.ศ. 2513 ปจจุบันไดรับการเพิกถอนสัมปทานเรียบรอยแลวตามคําสั่งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ 32/2532 จากเดิมปาผืนนี้รูจักกันในนาม “ปาพนมสารคาม” เปนปาที่อุดมไปดวยสัตวปานานาชนิดและมีไมที่มีคาขนาดใหญมากมาย ไดแก ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus Gaaertn.f.) กระบาก (Anisoptera costata Korth.) พนอง (Shorea hypochra Pierre) ตะเคียนทอง (Hopea odorata Roxb.) ฯลฯ แตปจจุบันไมที่มีคาขนาดใหญเหลืออยูนอยมาก แตคงจะเหลือเฉพาะไมที่มีเนื้อไมไมคอยดีนักตอการนําไปทําเปนไมซุง เชนไม ตะแบกแดง (Lagerstoemia calyculata Kurz) กะบก (Irvingia malayana Oliv.ex A. Benn.) เปนตน ลักษณะโครงสรางดานตั้งของปาดงดิบแลงแบงออกได 3 ช้ันเรือนยอด โดยไมช้ันบนมีความสูงประมาณ 20-30 เมตร ไดแก ตะแบกแดง กะบก ซ่ึงทั้งสองชนิดนี้ถือวาเดนมากที่สุดในพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบ ยางแดง ตะเคียนทอง ปออีเกง (Pterocymbium javanicum R. Br.) สมพง (Tetrameles nudiflora R. Br.) ขึ้นอยูเปนกลุมๆ ตามบริเวณใกลลําธารหรือริมหวย สวนไมช้ันรองมีความสูงประมาณ 15-25 เมตร ที่พบในปาแหงนี้ไดแก คางคาว (Aglaia pirifera Hance) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya Paker) ลําปาง (Pterospermum diversifolium Bl.) กระทอน (Sandoricum koetjape Merr.) คอแลน (Nephelium hypoleucum Kurz) สีระมัน (Lithci cinensis Sonn.) เฉียงพรานางแอ (Carrallia brachiata Merr.) เปนตน ไมช้ันลางมีความสูงประมาณ 6-15 เมตร พรรณไมที่ปรากฏอยูในพื้นที่นี้ไดแก แกว (Murrya paniculata Jack) ตัวตาบอด (Excoecaria oppositifolia Griff.) นางดํา (Diospyros castanea Fletch.) ลําบิด (Diospyros ferrea Bahk.) ส่ังทํา (Diospyros buxifolia Bl. ex Hiern.) สังเครียดหยามฝาย (Aglaia palembanica Miq.) กะโมกเขา (Sageraea elliptica Hook. f.) จันทนชะมด (Mansonia gagei Drumm.) วานชางรอง (Dendrocnide stimulans Chew.) เปนตน สําหรับปาดงดิบแลงในบริเวณที่เคยถูกบุกรุกหรือไฟไหมพบวามีไมโตเร็วที่เปนไมเบิกนํา (pioneer species) ขึ้นอยูเปนกลุมๆ อยูอยางหนาแนน พรรณไมที่ขึ้นอยูในพื้นที่เหลานี้ไดแก อะราง (Peltophorium dasyrachis Kurz.) พังแหรใหญ (Trema orientalis Bl.) เตาหลวง (Macaranga gigantea Muell. Arg.) ตามพื้นปารกทึบไปดวยไมพุม พืชวงศหญาและปาลม เชน ฉก (Arenga pinnata Merr.) ระกํา (Salaca rumphii Wall.) และ พบหวายเคี่ยม (Daemnorops tabacina Becc.) หวายโปรง (Calamus latifolius Roxb.) ขึ้นอยูเปนหยอมๆ ตามริมหวย จนทําใหมีสภาพคลายปาดิบ

Page 24: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

17

ช้ืนมาก นอกจากนี้ยังพบพืชในวงศขิงขา (Zingibeeraceae) อาทิเชน เรวยา (Amomum uliginosus Koeniq.) เรว (A. xanthioides Wall.) เรวนอย (A. biflorum Jack) ปุดใหญ (Achasma macrocheilos Griff.) ขาปา (Catimbium speciosum Holtt.) ขึ้นอยูหนาแนนตามพื้นที่เปดโลง (Gap) ของเรือนยอดไมใหญ สังคมพืชปาผสมผลัดใบ หรือปาเบญจพรรณ (Mixed Deciduous) สังคมพืชชนิดนี้มีลักษณะเรือนยอดโปรงพื้นปาไมรกทึบเหมือนปาดงดิบแลงและในฤดูแลงพรรณไมจะผลัดใบกระจายทั่วไปตามสันเขาหินปูนหรือบริเวณที่มีดินตื้นหรือบริเวณที่เกิดไฟปาขึ้นเปนประจําอยางเชนบริเวณรอบๆ หนองปรือ หรือขึ้นแทรกตัวอยูเปนหยอมๆ ลอมรอบดวยปาดงดิบแลง จนทําใหพรรณไมไมผลัดใบจากปาดงดิบแลงขึ้นปะปนอยูคอนขางสูง และดูชุมชื้นกวาปาผสมผลัดใบในบริเวณอื่นของประเทศ ลักษณะทั่วไปมีไผขึ้นนอยมาก และไมไผที่ขึ้นอยูเปนเพียงไผกอขนาดเล็ก ชนิดที่พบคือ ไผรวก (Thyrsostachys siamensis Gamble) ไผหนาม (Bambusa arundinacea Willd.) สําหรับโครงสรางทางดานตั้งของปาชนิดนี้สามารถแบงได 3 ช้ันเรือนยอด โดยเรือนยอดช้ันบนมีความสูงประมาณ 25-30 เมตร ไมเดนในชั้นนี้ไดแก สมอพิเภก (Terminalia bellerica Roxb.) ประดู (Pterocarpus macrocarpus Kurz) งิ้วปา (Bombax anceps Pierre) กางขี้มอด (Albizia odoratissima Benth.) ตะครอ (Schleichera oleosa Merr.) ขึ้นอยูหางๆ กัน สวนไมช้ันรองมีความสูง 10-25 เมตร พรรณไมในชั้นนี้ไดแก ตีนนก (Vitex Pinnata Linn.) แคหัวหมู (Markhamia stipulata Seem.) ขี้อาย (Terminalia nigrovnnulosa Pierre ex Laness.) ติ้วแดง (Cratoxylum formosum Dyer.) หอมไกลดง (Harpullia arborea Raldk) รักขาว (Semecarpus cochinchiensis Eugler) มะกอกปา (Spondias pinnata Kurz.) เปนตน ไมช้ันลางที่ปรากฏอยูมีความสูงประมาณ 5-10 เมตร ไดแก หมีเหม็น (Litsea glutinosa C.B. Robinson) เมาไขปลา (Antidesma ghaesembilla Gaertn.) โมกมัน (Writhia tomentosa Roem. et Schult.) กะอวม (Acronychia pedunculata Miq.) มะกา (Bridelia ovata Decne.) เปนตน นอกจากนี้ยังพบวาในพื้นที่บางแหงของปาชนิดนี้ยังพบไมตะแบกแดง กะบกขึ้นปะปนอยูดวยกันแตมีขนาดลําตนเล็กกวาในปาดงดิบแลงมาก สําหรับพื้นที่ปาสวนใหญมีหญาขึ้นอยู

Page 25: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

18

หนาแนนในฤดูฝนอยางเชน หญาพริกพราน (Apluda mutica Linn.) หญาหางหมาจิ้งจอก (Setaria pallide-fusca Stipf.) หญากานเหนียว (Sporobolus indicus (L.) R. Br.) หญาหวาย (Erigostis sp.) เอื้องหมายนา (Costus speciosus Smith) และพืชในวงศกลอยและมัน (Dioscoreaceae) เปนตน พื้นท่ีเกษตรกรรมและไรราง (Old Farmland and Shifting Cultivation Areas) พื้นที่เกษตรกรรมและไรรางเกิดจากการบุกรุกทําลายโดยราษฎร หลังจากการใหสัมปทานทําไมและการตัดถนนผานพื้นที่ แตขาดการควบคุมหรือไมมีมาตรการปองกันการรักษาปาที่ดีพอ ทําใหพื้นที่ปาสองขางทางถูกบุกรุก และยึดครองอยางรวดเร็วเพื่อใชเปนพื้นที่เกษตรกรรม และตั้งแหลงชุมชน จนทําใหสภาพปาดั้งเดิมที่ขึ้นอยูบริเวณดังกลาวถูกทําลายใหเสื่อมสภาพลง ตอมาป พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2532 ทางกรมปาไม และสวนราชการที่เกี่ยวของไดดําเนินการอพยพราษฎรที่เขาบุกรุกพื้นที่ดังกลาวออกจากพื้นที่ และจัดพื้นที่รองรับใหทํากินในบริเวณโดยรอบพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนเปนหมูบานปาไม เมื่อราษฎรออกจากพื้นที่แลวพื้นที่เกษตรกรรมและที่อยูอาศัยจึงกลายสภาพเปนปาไรรางและมีการทดแทนเพื่อกลับสูสภาพปาที่สมบูรณตอไปในอนาคต จากการศึกษาหลังจากการอพยพราษฎรออกจากพื้นที่ใหมๆ พบวามีพรรณไมเดนที่ขึ้นปกคลุมพื้นที่สองกลุมดวยกันคือ กลุมพืชใบกวาง ซ่ึงสังคมพืชในกลุมนี้จะขึ้นอยูเปนพื้นที่แคบๆ ตามบริเวณชายปารอยตอระหวางพื้นที่ เกษตรกรรมและปาสมบูรณ พรรณพืชเดนที่พบไดแก สาบเสือ (Eupatorium odoratum L.) และลูกไมเบิกนําเชน พังแหรใหญ (Trema orientalis L.) ปอฝาย (Sterculia hypochra Pierre) อะรางและกระทุม ขึ้นสลับแทรกอยูกับหญาพงและกลาไมชนิดอื่นๆ กลุมไมใบแคบ สวนใหญจะกระจายอยูเปนบริเวณกวางพรรณพืชเดนไดแก ออ (Arudo donax L.) หญาคา (Imperata cylindrica Beauv.) หญาพง (Neyraudia reynaudiana (Kunth) Keng ex Hitchcock) หญาขจรจบ (Pennisetumpolystachyon Schult.) ฯลฯ และมีลูกไมยืนตนขึ้นปะปน นอกจากนี้ยังพบไมเบิกนําขึ้นปะปนอยูดวย เชน อะราง พังแหรใหญ ปอฝาย ติ้วแดง พลับพลา และในบริเวณริมหวยหรือรองน้ําจะพบกระทุม ลําพูปา (Daubanga grandiflora Walp.) เตาหลวง (Macaranga giganthia M.A.) ขึ้นอยูเปนหยอมๆ และยังพบไมปลูกหลายชนิดดวยกันที่หลงเหลือ

Page 26: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

19

อยูในพื้นที่ เชน มะมวง มะนาว ขนุน มะเฟอง ไผตง มะขาม ตลอดจนมะพราว ฯลฯ ขึ้นอยูในพื้นที่ที่เคยเปนพื้นที่แหลงชุมชนเดิม และบางพื้นที่ยังพบไมตางถิ่นที่นําเขามาปลูก เชน ยูคาลิปตัส (Eucalyptus camanduensis Dehn.) กระถินยักษ (Leucaena leucocephala de Wit) ขึ้นอยูดวย

อุปกรณและวิธีการ

อุปกรณ

1. แผนที่แสดงภมูิประเทศครอบคลุมพื้นที่ศึกษา ขนาดมาตราสวน 1: 50,000 2. อุปกรณเก็บตวัอยางมด ไดแก ปากคีบ (forceps) ถาดขาวพรอมตะแกรงรอน ขวดดองแมลง

และจอบขนาดเล็ก 3. แอลกอฮอลความเขมขน 95 เปอรเซ็นต 4. กลองพรอมอุปกรณถายภาพ 5. ไฟฉายและถานไฟฉาย 6. อุปกรณจัดรูปรางมด ไดแก กระดาษสามเหลี่ยม กาว กระดาษบนัทึกประจําตัวมด และเข็ม

ปกแมลงเบอร 3 7. กลองพลาสติกใส สําหรับเก็บตัวอยางมดแหง 8. กลองดูแมลงแบบ stereoscope

วิธีการ

การศึกษาชนิดและการกระจายของมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนมีวิธีการดังนี้

1. การรวบรวมขอมูลมด การเก็บรวบรวมขอมูลทําได 2 ลักษณะดังนี้

Page 27: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

20

1.1 การสํารวจและเก็บตัวอยางโดยตรงจากภาคสนาม เก็บตัวอยางมดสกุล Aenictus ในพื้นที่สังคมพืชแตกตางกัน ไดแก สังคมพืชปาดิบแลง (Dry evergreen forest) สังคมพืชปาทดแทน (Secondary Forest) ปาปลูกหรือสวนปา (Plantation) และพื้นที่เกษตรกรรม (Agricultural area) ที่ปรากฏในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน ครอบคลุมทองที่ จังหวัดสระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และ จันทบุรี บริเวณหนวยพิทักษปาเขาตะกรุบ สํานักงานเขตฯ (หนวย ฯ ภูไท) หนวยฯ สามพราน หนวยฯ หลุมจังหวัด หนวยฯ ทับกระบก หนวยฯ น้ําตกบอทอง หนวยฯ คลองรอย หนวยฯ เขาปอ และ หนวยฯ สีระมัน (ภาพที่ 4) ในระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง 2549

แตละสังคมพืชที่เลือกศึกษา ทําการเก็บตัวอยางในระยะทาง 1 กิโลเมตร โดยเก็บตัวอยางมดสกุล Aenictus ทุก ๆ รัง ที่พบรังละ ประมาณ 50-100 ตัวอยาง ดองในแอลกอฮอลความเขมขน 95 เปอรเซ็นต พรอมทั้งกําหนดหมายเลขประจํารัง สังเกตพฤติกรรม

1.2 การสํารวจตรวจสอบตัวอยางจากพิพิธภัณฑตางๆ รวบรวมขอมูลจากเอกสารการศึกษามดสกุล Aenictus ที่ปรากฏ และศึกษาจากตัวอยางแหงที่เก็บรักษาไว ณ พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาทั้งในและตางประเทศ เชน พิพิธภัณฑมดแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยา องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ พิพิธภัณฑแมลง กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หองเก็บตัวอยางมดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และตัวอยางจากหองเก็บตัวอยางมดมหาวิทยาลัย Kagoshima ประเทศญี่ปุน

2. การปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ

ตัวอยางมดที่เก็บไดจากภาคสนามจะถูกนํามาทําตัวอยางแหงโดยจัดรูปรางตามแบบมาตรฐานสากล (Wilson, 1964) เพื่อความสะดวกในการจัดจําแนกชนิด ณ องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ

Page 28: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

21

3. การจัดจําแนก

นําตัวอยางแหงที่ไดเปรียบเทียบกับตัวอยางตนแบบ (type specimens) หรือเอกสารทางวิชาการดานอนุกรมวิธานของมดสกุลนี้ เชน Wilson (1964), Terayama and Kubota (1993), Gotwald (1995), Yamane and Hashimoto (1999) การวัดขนาดสวนประกอบตางๆ ของลําตัวมดอางตามการวัดขนาดของ Terayama and Kubota (1993) โดยสงตัวอยางทั้งหมดใหองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติตรวจทานความถูกตอง

นําขอมูลที่ไดจัดทํารูปวิธานการจําแนก ( key) ชนิดมดสกุล Aenictus ที่พบในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนและบรรยายลักษณะสัณฐานภายนอกของมดแตละชนิดพรอมทั้งการกระจาย

Page 29: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

22

ผลและวิจารณผลการศึกษา

จากการศึกษาชนิดและการกระจายของมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน โดยการสํารวจจริงจากภาคสนาม และตรวจสอบตัวอยางมดจากพิพิธภัณฑตาง ๆ ระหวางป พ.ศ. 2547 ถึง 2549 พบจํานวน 9 ชนิด ในจํานวนนี้สามารถจําแนกไดแลวจํานวน 7 ชนิด มีเพียง 2 ชนิดที่ยังไมสามารถจําแนก ซ่ึงมีรูปวิธานการจําแนกโดยอาศัยลักษณะภายนอกของมดงาน และมีการกระจายดังนี้ รูปวิธานจําแนกมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

1. a. ผิวของสวนหัวไมเรียบมลัีกษณะเปนเมด็เล็ก ๆ คลายกระดาษทรายละเอียด (ภาพที่ 5 A) ..................................................................................................... A. dentatus

b. ผิวของสวนหวัเรียบเปนมัน (ภาพที่ 5 B) ......................................... 2 2. a. ไมมีขนบนสวนหวัและอก หรือมีเพยีง 1 ถึง 2 เสน (ภาพที่ 6 A) ..... A. laeviceps

b. มีขนบนสวนหัวและอกจํานวนมาก (ภาพที่ 6 B) .............................. 3

A B

ภาพที่ 5 ลักษณะผิวของสวนหัว A. ผิวของสวนหัวไมเรียบ มีลักษณะสากเปนเม็ดเล็ก ๆ คลายกระดาษทราย B. ผิวของสวนหัวเรียบเปนมัน

Page 30: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

23

3. a. ฐานหนวด (scape) มีความยาวครึ่งหนึง่ของสวนหวั (ภาพที่ 7A)….. 4

b. ฐานหนวดมีความยาวมากกวาครึ่งหนึ่งของสวนหวั (ภาพที่ 7B)....... 5 4. a. ขนาดลําตัวส้ันกวา 3 มิลลิเมตร เอวมีผิวคอนขางเรียบ ...................... A. javanus

b. ขนาดลําตัวยาวกวา 3 มิลลิเมตร เอวมีผิวไมเรียบ .............................. A. nishimurai 5. a. ฐานหนวดยาวกวาความยาวสวนหวั ผิวลําตวัสีเหลือง หรือสีน้ําตาลเหลอืง (ภาพที่ 8A) .............................................................................................. A. camposi

b. ฐานหนวดสั้นกวา หรือเทากบัความยาวสวนหัว (ภาพที่ 8B) ............ 6

A. B.

ภาพที่ 6 จํานวนขนแข็งที่ขึ้นปกคลุมบนสวนหวั และอกปลองที่ 1 A หัวและอกไมมีขนแข็งปกคลุมหรือมีเพียง 1-2 เสน B หัวและอกมีขนแข็งยาวปกคลุมจํานวนมาก

A B

ภาพที่ 7 ความยาวของฐานหนวดเทยีบกบัความยาวของสวนหวั A. ฐานหนวดยาวครึ่งหนึ่งของความยาวหัวหรือนอยกวา B. ฐานหนวดยาวกวาครึ่งหนึ่งของความยาวหัว

Page 31: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

24

6. a. กรามรูปสี่เหล่ียม สามารถเห็นชองวางระหวางกรามทั้ง 2 ขางและขอบดานหนาของ ริมผีปากบนชัดเจน (ภาพที่ 9A) ............................................................... sp. 5

b. กรามรูปสามเหลี่ยมเบียดชิดกัน (ภาพที่ 9B) ..................................... 7 7. a. ผิวดานบนของอกปลองที่ 1ไมเรียบ (ภาพที่ 10A) ............................ A. binghami

b. ผิวดานบนของอกปลองที่ 1 เรียบเปนมัน (ภาพที่ 10B) ................... 8

A. B

ภาพที่ 8 ความยาวของฐานหนวดเทยีบกบัความยาวของสวนหวั A. ฐานหนวดยาวมากกวาความยาวหวั B. ฐานหนวดสั้นกวาความยาวหัวเล็กนอย

ภาพที่ 9 รูปรางของกราม A. กรามไมเปนรูปสามเหลี่ยม สามารถมองเห็นชองวางระหวางกรามชัดเจน B. กรามเปนรปสามเหลี่ยมเบียดชิดกัน

A. B.

Page 32: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

25

8. a. มุมสันกะโหลกทั้ง 2 ขางนูนสูงขึ้น (ภาพที่ 11A) ............................. A. sp. 3 b. มุมสันกะโหลกทั้ง 2 ขางโคงมนไมนูนสูงขึ้น (ภาพที่ 11B) ............. A. fergusoni

A. B

ภาพที่ 10 ลักษณะผิวดานบนของอกปลองที่ 1 A. ผิวดานบนของอกปลองที่ 1ไมเรียบ มีลักษณะเปนเม็ดเล็ก ๆ คลายกระดาษทราย B. ผิวดานบนของอกปลองปลองที่1 เรียบเปนมัน

A

ภาพที่ 11 ลักษณะมุมฐานกะโหลก A. มุมสันกะโหลกทั้ง 2 ขางนูนสูงขึ้น B. มุมสันกะโหลกทั้ง 2 ขางโคงมนไมนนูสูงขึ้น

A B

Page 33: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

26

ลักษณะภายนอก และการกระจายของมดสกุล Aenictus แตละชนิด Aenictus binghami Forel, 1900 มดทหารบิงแฮม Aenictus binghaniri Forel, 1900: 76 (w.). Type locality: BURMA ลักษณะทั่วไป

ขนาดความยาวลําตัว 5.75 – 6.54 มิลลิเมตร สีดําหรือสีน้ําตาลดํา ดานขางของหัวสวนที่ติดกับฐานกะโหลกสะทอนสีเหลือง ผิวของสวนหัวเรียบเปนมัน มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป มีหนวดจํานวน 10 ปลอง ฐานหนวดสั้นกวาความยาวสวนหัว อกปลองแรกหยาบมีลักษณะเปนเม็ดเล็ก ๆ มีขนขึ้นปกคลุมเล็กนอย propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม เอวปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง สวนทองเรียบเปนมัน (ภาพที่ 12A, B, 18A, B)

การกระจาย มดชนิดนี้พบไดทั่วทุกภาคของประเทศไทย (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005) ในเขต

รักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ พบไดในปาดิบแลง ปาทดแทน สวนปา และพื้นที่เกษตรกรรมที่อยูรอบพื้นที่อนุรักษ (ภาพที่ 13) มีประชากรในรังจํานวนมาก

B A 1 มม. 1 มม.

ภาพที่ 12 ภาพถายมดงานและมดราชินี Aenictus binghami Forel, 1900 A ดานหนาสวนหวัของมดงาน B ดานขางลําตัวของมดงาน

Page 34: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

27

อาหาร ออกหาอาหารทั้งกลางวันและกลางคืน กินมด Polyrhachis proxima, Camponotus

(Tanaemyrmex) spp., Anoplolepis gracilipes, Dolichoderus tuberifer และแมลงขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ ไดแก ดวง ตั๊กแตน และปลวกเปนอาหาร

ภาพที่ 13 การกระจายของมด A. binghami ในเขตรักษาพนัธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

การกระจาย

Page 35: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

28

Aenictus camposi Wheeler and Chapman, 1925 มดทหารเหลือง Aenictus camposi Wheeler and Chapman, 1925: 48, pl. 1, figs. 3-4, (w.). Type locality: PHILIPPIN

ลักษณะทั่วไป ขนาดความยาวลําตัว 2.92 – 3.04 มิลลิเมตร สีเหลืองหรือสีน้ําตาลเหลือง ผิวเรียบเปนมัน

หัวรูปวงรี มีหนวดจํานวน 10 ปลอง ฐานหนวดยาวกวาความยาวสวนหัว กรามรูปสามเหลี่ยม อกและขาเรียวยาว propodeum มีลักษณะเปมมุมตั้งฉากกับความยาวลําตัว เอวปลองแรกใหญกวาปลองที่ 2 เล็กนอย ทองเรียบเปนมัน (ภาพที่ 14A, B, 18C, D)

การกระจาย ในประเทศไทยพบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก (เดชา และ วี

ยะวัฒน, 2544; Jaitrong and Nabhitabhata, 2005) สําหรับในบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน พบเฉพาะในปาทดแทนบริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัด (ภาพที่ 15)

A B 0.5 มม 1 มม

ภาพที่ 14 ภาพถายมดงาน Aenictus camposi Wheeler and Chapman, 1925 A ดานหนาสวนหวัของมดงาน B ดานขางลําตัวของมดงาน

Page 36: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

29

ภาพที่ 15 การกระจายของมดสกุล Aenictus ในเขตรกัษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน การกระจายของมด A. camposi

การกระจายของมด A. dentatus การกระจายของมด A. nishimurai การกระจายของมด A. javanus การกระจายของมด A. sp. 3 of WJT

Page 37: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

30

อาหาร พบออกหากินในเวลากลางวัน กินไขมด Pheidole sp. และแมลงขนาดเล็ก ไดแก ปลวกวงศ

Termitidae เปนอาหาร Aenictus dentatus Forel, 1911 มดทหารทราย Aenictus aitikeni var. dentatus Forel, 1911: 383 (w.), type locality: WEST MALEYSIA ลักษณะทั่วไป

ขนาดความยาวลําตัว 5.3 – 6.4 มิลลิเมตร สีดําหรือน้ําตาลดํา ผิวของสวนหัว อก และเอวไมเรียบมีลักษณะเปนเม็ดคลายกระดาษทรายละเอียด มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม สวนทองเรียบเปนมัน (ภาพที่ 16A, B, 18E, F)

การกระจาย ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้พบไดนอยมาก จากการสํารวจพบเฉพาะในปาทดแทน

บริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัด (ภาพท่ี 15) เชนเดียวกับที่พบในบริเวณสวนพฤกษศาสตรเขา

A B 1 มม

ภาพที่ 16 ภาพถายมดงาน Aenictus dentatus Forel, 1911 A ดานหนาสวนหวัของมดงาน B ดานขางลําตัวของมดงาน

0.5 มม

Page 38: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

31

0.5 มม

ชอง ซ่ึงพบเดินเปนแถวตามพื้นปาในพื้นที่ปาทดแทนและพื้นที่เปดโลง (Jaitrong and Ting-nga, 2005)

อาหาร พบออกหากินในเวลากลางวัน กินมดและไขมด Camponotus (Tanaemyrmex) spp.,

Polyrhachis spp., และแมลงในดินขนาดเล็ก ไดแก ดวง เปนอาหาร Aenictus fergusoni Forel, 1901 มดทหารอกขน Aenictus fergusoni Forel, 1901: 473 (w.), type locality: TRANVANCORE, INDIA ลักษณะทั่วไป

ขนาดความยาวลําตัว 4.50 – 5.00 มิลลิเมตร สีดําหรือสีน้ําตาลดํา ดานขางของหัวสวนที่ติดกับฐานกะโหลกสะทอนสีเหลือง ผิวของสวนหัว อกปลองแรก เอว และทองเรียบเปนมัน มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม เอวปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง สวนทองเรียบเปนมัน (ภาพที่ 17A, B, 18G, H)

A B

ภาพที่ 17 ภาพถายมดงาน Aenictus fergusoni Forel, 1901 A ดานหนาสวนหวัของมดงาน B ดานขางลําตัวของมดงาน

Page 39: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

32

การกระจาย ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนพบมดชนิดนี้คอนขางบอย กระจายในปาดิบแลง

ธรรมชาติ และปาทดแทน (ภาพที่ 18) ในสภาพธรรมชาติเปนมดที่เดินคอนขางเร็ว มีลักษณะคลายกับมด Aenictus laeviceps สําหรับในประเทศไทยมีรายงานการกระจายในพื้นที่อ่ืน ๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005)

ภาพที่ 18 การกระจายของมด A. fergusoni ในเขตรักษาพนัธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

การกระจาย

Page 40: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

33

อาหาร พบออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน กินมด Polyrhachis spp., Anoplolepis gracilipes,

Camponotus rufoglaucus , Iridomyrmex anceps และแมลงขนาดเล็กที่อยูในดินเปนอาหาร Aenictus javanus Emery, 1897 มดทหารชวา Aenictus javanus Emery, 1897: 245 (m.), fig. 2, type locality: BUITENZORG (Bogor), JAVA ลักษณะทั่วไป

มดขนาดเล็กความยาวลําตัวประมาณ 1.83 – 2.29 มิลลิเมตร มดงานมีรูปรางหลายรูปแบบ (polymorphic type) เชนเดียวกับมด Aenictus inflatus Yamane and Hashimoto, 1999 ลําตัวสีเหลืองหรือสีน้ําตาลเหลือง ผิวของสวนหัว และทองเรียบเปนมัน อกและเอวมีผิวหยาบเล็กนอย หัวมีความกวางมากกวาความยาว มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม อกเปนทรงสี่เหล่ียมดานบนแบนราบ propodeum มีลักษณะเปนมุมปาน (ภาพที่ 19A, B, 18I, J)

ภาพที ่19 ภาพถายมดงานของมด Aenictus javanus Emery, 1896 A. ดานหนาของสวนหวัมดงาน B. ดานขางของลําตัวมดงาน

A 0.1 มม B 1 มม

Page 41: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

34

การกระจาย ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้พบไดนอยมาก จากการสํารวจพบเฉพาะในปาดิบแลง

ธรรมชาติบริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัด (ภาพที่ 15) สําหรับในประเทศไทยมีรายงานเฉพาะในสวนพฤกษศาสตรพุแค และในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้เทานั้น (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005)

อาหาร พบออกหากินตอนกลางวัน กินมด Crematogaster sp. และปลวกเปนอาหาร

Page 42: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

35

I J

G H

C D

A

E F

ภาพที ่20 ภาพลายเสนมดงานของมดสกลุ Aenictus

A. สวนหวัของมด A. binghami B. ดานขางลําตัวของมด A. binghami C. สวนหัวของมด A. camposi D. ดานขางลําตัวของมด A. camposi E. สวนหัวของมดA. dentatus F. ดานขางลําตัวของมด A. dentatus G. สวนหวัของมด A. fergusonie H. ดานขางลําตัวของมด A. fergusoni I. สวนหวัของมด A. javanus J. ดานขางลําตวัของมด A. javanus

B

Page 43: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

36

Aenictus laeviceps (Smith, 1858) มดทหารอกเรียบ Aenictus laeviceps (Smith, 1858): 79 (w.), type locality: SARAWAK

ลักษณะทั่วไป ขนาดความยาวลําตัว 4.75 – 5.25 มิลลิเมตร สีดําหรือสีน้ําตาลดํา ดานขางของหัวสวนที่ติด

กับฐานกะโหลกสะทอนสีเหลือง ผิวของสวนหัว และอกปลองแรกเรียบเปนมัน ไมมีขนขึ้นปกคลุมหรือมีเพียง 1 – 2 เสน มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม เอวมีผิวเรียบแตคอนขางดาน ปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง สวนทองเรียบเปนมัน (ภาพที่ 21A, B, 27A, B)

การกระจาย มดชนิดนี้เปนมดที่มีรังขนาดใหญเชนเดียวกับ A. fergusoni กระจายไดทุกพื้นที่ ทั้งในปา

ดิบแลงธรรมชาติ ปาทดแทน สวนปา และพื้นที่เกษตรกรรม (ภาพที่ 22) สําหรับในประเทศไทยมีรายงานการกระจายในพื้นที่อ่ืน ๆ ทั่วทุกภาคของประเทศ (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005)

A B

ภาพที ่21 ภาพถายมดงานของมด Aenictus laeviceps (Smith, 1857) A. ดานหนาสวนหวั B. ดานขางลําตัว

0.5 มม 1 มม

Page 44: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

37

ภาพที่ 22 การกระจายของมด A. laeviceps ในเขตรักษาพนัธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

การกระจาย

Page 45: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

38

อาหาร พบออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน กินมด Polyrhachis proxima, Camponotus

(Tanaemyrmex) spp., Anoplolepis gracilipes, Crematogaster sp., Pheidole sp., Prenolepis sp. และแมลงขนาดเล็กในดินไดแก ดวง ปลวก เปนอาหาร

Aenictus nishimurai Terayama and Kubota, 1993 มดทหารสยาม Aenictus nishimurai Terayama and Kubota, 1993: 70 (w.), figs. 9-10, type locality: DOISUTHEP, THAILAND ลักษณะทั่วไป

ขนาดความยาวลําตัวประมาณ 3.29-3.92 มิลลิเมตร สีแดงหรือน้ําตาลแดง หัว อกปลองแรก และทองมีผิวเรียบเปนมัน มีหนวดจํานวน 10 ปลอง ฐานหนวดมีความยาวเพียงครึ่งหนึ่งของความยาวหัว ดานบนของสวนอกแบนราบ propodium มีลักษณะเปนมุมเกือบตั้งฉากกับความยาวลําตัว (ภาพที่ 23A, B, 27B, C)

B 1 มม C

ภาพที ่23 ภาพถายงานของมด Aenictus nishimurai Terayama and Kubota, 1993 A. ดานหนาของสวนหวั B. ดานขางของลําตัว

0.5 มม

Page 46: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

39

การกระจาย มดชนิดนี้เปนมดที่ไดรับการคนพบและตั้งชื่อคร้ังแรกในประเทศไทย จากบริเวณอุทยาน

แหงชาติดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม และการศึกษานี้เปนการรายงานการคนพบมดชนิดนี้คร้ังแรก (new recorded) ในภาคตะวันออกของประเทศไทย บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน (ภาพที่ 15) ซ่ึงจากการสํารวจพบนอยมากและอาศัยเฉพาะในปาธรรมชาติเทานั้น

อาหาร ไมมีขอมูลอาหารที่มดชนิดนี้กิน เนื่องจากในระหวางการศึกษาพบมดชนิดนี้นอยมาก

สังเกตไมพบอาหารที่มดชนิดนี้ลาขณะเคลื่อนยายรัง

Aenictus sp.3 of WJT มดทหารฤๅไน ลักษณะทั่วไป

ขนาดความยาวลําตัวประมาณ 4.83 – 5.50 มิลลิเมตร สีน้ําตาลแดงหรือน้ําตาลดํา ผิวลําตัวเรียบเปนมัน ดานขางของหัวสวนที่ติดกับฐานกะโหลกสะทอนสีเหลือง ฐานกะโหลกทั้ง 2 ดานมีลักษณะนูนขึ้น มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม อกเรียวยาว propodeum โคงมน เอวปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง มีขนขึ้นปกคลุมลําตัวจํานวนมาก (ภาพที่ 24A, B, 27E, F) มดชนิดนี้เปนมดที่ยังไมสามารถจําแนกชนิด มีลักษณะคลายกับ Aenictus gracilis แตมีขนาดลําตัวใหญกวา มด Aenictus sp.3 of WJT มี petiole ขนาดใกลเคียงกับ postpetiole ในขณะที่มด A. gracilis มี petiole เล็กกวา postpetiole เล็กนอย

A B 0.5 มม 1 มม

ภาพที ่24 ภาพถายมดงานของมด Aenictus sp. 3 of WJT A. ดานหนาสวนหวั B. ดานขางลําตัว

Page 47: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

40

การกระจาย ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้พบนอยมาก จากการศึกษาพบเพียงรังเดียว ในปาดิบแลง

บริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัด (ภาพที่ 15) อาหาร พบออกหากินในเวลากลางวัน กินมด ไขมด Camponotus (Tanaemyrmex) sp. เปนอาหาร

Aenictus sp.5 of WJT มดทหารกนเหลือง ลักษณะทั่วไป

ขนาดความยาวลําตัวประมาณ 3.88 – 4.17 มิลลิเมตร หัว อก เอว สีน้ําตาลแดง มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปขอบขนาน สามารถมองเห็นชองวางระหวางกรามทั้งสองและขอบดานหนาของริมผีปากบนชัดเจน propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม เอวปลองแรกเปนรูปทรงกระบอก ปลองที่ 2 คอนขางกลม ทองสีน้ําตาลเหลือง ผิวเรียบเปนมัน (ภาพที่ 25A, B, 27G, H)

ภาพที ่25 ภาพถายมดงานของมด Aenictus sp.5 of WJT A. ดานหนาสวนหวั B. ดานขางลําตัว

A B 0.5 มม 1 มม

Page 48: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

41

การกระจาย พบไดคอนขางบอย และกระจายไดทั่วทั้งปาดิบแลง ปาทดแทน สวนปา และพื้นที่

เกษตรกรรมใกลเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ (ภาพที่ 26) อาหาร

กิน มด Polyrhachis spp., Camponotus (Tanaemyrmex) spp., Anoplolepis gracilipes และแมลงขนาดเล็กในดิน ไดแกปลวก เปนอาหาร

ภาพที่ 26 การกระจายของมด A. sp.5 of WJTในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

การกระจาย

Page 49: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

42

B

C D

E F

H G

ภาพที ่27 ภาพลายเสนมดงานของมดสกลุ Aenictus

A. สวนหวัของมด A. laeviceps B. ดานขางลําตัวของมด A. laeviceps C. สวนหัวของมด A. nishimurai D. ดานขางลําตัวของมด A. nishimurai E. สวนหัวของมด A. sp.3 of WJT F. ดานขางลําตัวของมด A. sp. 3 of WJT G. สวนหวัของมด A. sp. 5 of WJT H. ดานขางลําตัวของมด A. sp. 5 of WJT

A

Page 50: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

43

มดงานของมดสกุล Aenictus ที่พบสวนใหญมีรูปรางแบบเดียว (monomophis type) หรือมีขนาดแตกตางกันไมชัดเจน ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน พบมดสกุลนี้ 2 ชนิดที่มดงานมีลักษณะแตกตางกัน 2 รูปแบบ (dimorphic type) ไดแก A. javanus และ A. nishimurai

การจําแนกมดสกุลนี้สวนใหญนิยมใชมดงานและมดเพศผู เนื่องจากเปนวรรณะที่พบไดงายและมีจํานวนมาก สําหรับมดราชินีมีลักษณะทางสัณฐานภายนอกเฉพาะตัวที่แตกตางจากชนิดอ่ืน ๆ ชัดเจน แตไมนิยมใชเพื่อการจําแนกชนิด เนื่องจากเปนวรรณะที่พบไดนอยมาก จากการศึกษาและเก็บตัวอยางมดในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้เปนเวลา 2 ป พบเพียง 2 ตัวอยางเทานั้น จากมด A. binghami

รูปวิธานการจําแนกมดสกุล Aenictus ในงานวิจัยนี้ครอบคลุมเฉพาะมดที่พบในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนเทานั้น จึงอาจไมเหมาะสําหรับการจําแนกชนิดมดสกุล Aenictus ในพื้นที่อ่ืน ๆ เนื่องจากในพื้นที่อ่ืน ๆ ของประเทศไทยอาจพบชนิดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่ระบุไวในรูปวิธานการจําแนกนี้

มดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนจํานวน 9 ชนิด สามารถจําแนกชนิดแลว 7 ชนิด มี 2 ชนิดยังไมสามารถจําแนก จากการเทียบมดทั้ง 2 ที่ไมทราบชื่อนี้กับตัวอยางตนแบบ (paratype) และเอกสารอางอิงการจําแนกมดสกุล Aenictus ในภูมิภาคเอเชีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มี (Wheeler and Chapman 1925; Wheeler, 1930; Wilson, 1964; Terayama and Kubota, 1993; Yamane and Hashimoto, 1999) พบวาไมเหมือนกับมดชนิดใด ซ่ึงอาจเปนเพราะเอกสารที่ใชอางอิงมีนอย ยังไมพบรายงานการบรรยายลักษณะของมดทั้ง 2 ชนิดนี้ หรือยังไมเคยมีการคนพบมดชนิดนี้เลย ซ่ึงอาจเปนมดชนิดใหมของโลก และหากเปนมดชนิดใหมจะทําการศึกษาอยางละเอียดและตั้งชื่อมดและบรรยายลักษณะชนิดตอไป

Page 51: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

44

จากลักษณะการกระจายของมดสกุล Aenictus ภายในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน สามารถแบงกลุมมดสกุลนี้ออกได 3 กลุม ไดแก

กลุมที่ 1 เปนมดที่สามารถกระจายไดทุกพื้นที่ ตั้งแตปาธรรมชาติ ปาเสื่อมโทรม จนกระทั่ง สวนปา ไดแก A. binghami, A. laeviceps, A. fergusoni และ A. sp.5 of WJT กลุมที่ 2 เปนมดที่พบเฉพาะในปาธรรมชาติ ไดแก A. nishimurai, A. javanus และ A. sp.3 of WJT กลุมที่ 3 เปนมดที่พบเฉพาะในปาเสื่อมโทรม และ พื้นที่เปดโลง ไดแก A. camposi และ A. dentatus อาหารของมดที่สังเกตไดจากการศึกษาพบวา สวนใหญมดสกุล Aenictus กินมดเปนอาหารเชนมดสกุล Camponotus, Polyrhachis, Pseudolasius, Pheidole, Crematogaster, Prenolepis, Anoplolepis, Iridomyrmex และ Dolichoderus รวมถึงแมลงขนาดเล็กชนิดอื่น เชน ตั๊กแตน ดวง ปลวก ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ Hirosawa et al. (2000) กลาววามด A. laeiceps และ A. gracilis ในปาดิบชื้นของเกาะบอรเนียวกินมดเปนอาหารมากถึง 99.9 เปอรเซ็นตเมื่อเทียบกับอาหารทั้งหมด และสวนใหญจะหากินอยูตามพื้นดิน สําหรับในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนพบวาในชวงฤดูฝนมดสกุลนี้บางชนิดออกหากินบนตนไม เนื่องจากพื้นดินคอนขางชื้นแฉะไมเหมาะกับการหาอาหารจึงปรับตัวหากินอยูเหนือพื้นดิน

Page 52: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

45

สรุป

1. จากการศึกษาชนิดและการกระจายของมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน พบจํานวน 9 ชนิด ไดแก มดทหารบิงแฮม (A. binghami) , มดทหารเหลือง (A. camposi) , มดทหารทราย (A. dentatus) , มดทหารอกขน (A. fergusoni) , มดทหารชวา (A. javanus) , มดทหารอกเรียบ (A. laeviceps) , มดทหารสยาม (A.nishimurai) , มดทหารฤๅไน (A. sp.3 of WJT) และ มดทหารกนเหลือง (A. sp.5 of WJT) ลักษณะของมดงานสกุล Aenictus แตละชนิด 1. มดทหารบิงแฮม (A. binghami)

ขนาดความยาวลําตัว 5.75 – 6.54 มิลลิเมตร สีดําหรือสีน้ําตาลดํา ดานขางของหัวสวนที่ติดกับฐานกระโหลกสะทอนสีเหลือง ผิวของสวนหัวเรียบเปนมัน มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป มีหนวดจํานวน 10 ปลอง ฐานหนวดสั้นกวาความยาวสวนหัว อกปลองแรกหยาบมีลักษณะเปนเม็ดเล็ก ๆ มีขนขึ้นปกคลุมเล็กนอย propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม เอวปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง สวนทองเรียบเปนมัน 2. มดทหารเหลือง (A. camposi)

ขนาดความยาวลําตัว 2.92 – 3.04 มิลลิเมตร สีเหลืองหรือสีน้ําตาลเหลือง ผิวเรียบเปนมัน หัวรูปวงรี มีหนวดจํานวน 10 ปลอง ฐานหนวดยาวกวาความยาวสวนหัว กรามรูปสามเหลี่ยม อกและขาเรียวยาว propodeum มีลักษณะเปมมุมตั้งฉากกับความยาวลําตัว เอวปลองแรกใหญกวาปลองที่ 2 เล็กนอย ทองเรียบเปนมัน

Page 53: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

46

3. มดทหารทราย (A. dentatus)

ขนาดความยาวลําตัว 5.3 – 6.4 มิลลิเมตร สีดําหรือน้ําตาลดํา ผิวของสวนหัว อก และเอวไมเรียบมีลักษณะเปนเม็ดคลายกระดาษทรายละเอียด มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม สวนทองเรียบเปนมัน 4. มดทหารอกขน (A. fergusoni)

ขนาดความยาวลําตัว 4.50 – 5.00 มิลลิเมตร สีดําหรือสีน้ําตาลดํา ดานขางของหัวสวนที่ติดกับฐานกะโหลกสะทอนสีเหลือง ผิวของสวนหัว อกปลองแรก เอว และทองเรียบเปนมัน มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม เอวปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง สวนทองเรียบเปนมัน 5. มดทหารชวา (A. javanus)

มดขนาดเล็กความยาวลําตัวประมาณ 1.83 – 2.29 มิลลิเมตร มดงานมีรูปรางหลายรูปแบบ (polymorphic type) เชนเดียวกับมด Aenictus inflatus Yamane and Hashimoto, 1999 ลําตัวสีเหลืองหรือสีน้ําตาลเหลือง ผิวของสวนหัว และทองเรียบเปนมัน อกและเอวมีผิวหยาบเล็กนอย หัวมีความกวางมากกวาความยาว มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม อกเปนทรงสี่เหล่ียมดานบนแบนราบ propodeum มีลักษณะเปนมุมปาน 6. มดทหารอกเรียบ (A. laeviceps)

ขนาดความยาวลําตัว 4.75 – 5.25 มิลลิเมตร สีดําหรือสีน้ําตาลดํา ดานขางของหัวสวนที่ติดกับฐานกะโหลกสะทอนสีเหลือง ผิวของสวนหัว และอกปลองแรกเรียบเปนมัน ไมมีขนขึ้นปกคลุมหรือมีเพียง 1 – 2 เสน มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม เอวมีผิวเรียบแตคอนขางดาน ปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง สวนทองเรียบเปนมัน

Page 54: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

47

7. มดทหารสยาม (A.nishimurai)

ขนาดความยาวลําตัวประมาณ 3.29-3.92 มิลลิเมตร สีแดงหรือน้ําตาลแดง หัว อกปลองแรก และทองมีผิวเรียบเปนมัน มีหนวดจํานวน 10 ปลอง ฐานหนวดมีความยาวเพียงครึ่งหนึ่งของความยาวหัว ดานบนของสวนอกแบนราบ propodium มีลักษณะเปนมุมเกือบตั้งฉากกับความยาวลําตัว 8. มดทหารฤๅไน (A. sp.3 of WJT)

ขนาดความยาวลําตัวประมาณ 4.83 – 5.50 มิลลิเมตร สีน้ําตาลแดงหรือน้ําตาลดํา ผิวลําตัวเรียบเปนมัน ดานขางของหัวสวนที่ติดกับฐานกะโหลกสะทอนสีเหลือง ฐานกะโหลกทั้ง 2 ดานมีลักษณะนูนขึ้น มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปสามเหลี่ยม อกเรียวยาว propodeum โคงมน เอวปลองแรกมีตุมหนามหรือครีบอยูทางดานลาง มีขนขึ้นปกคลุมลําตัวจํานวนมาก มดชนิดนี้เปนมดที่ยังไมสามารถจําแนกชนิด มีลักษณะคลายกับ Aenictus gracilis แตมีขนาดลําตัวใหญกวา มด Aenictus sp.3 of WJT มี petiole ขนาดใกลเคียงกับ postpetiole ในขณะที่มด A. gracilis มี petiole เล็กกวา postpetiole เล็กนอย 9. มดทหารกนเหลือง (A. sp.5 of WJT)

ขนาดความยาวลําตัวประมาณ 3.88 – 4.17 มิลลิเมตร หัว อก เอว สีน้ําตาลแดง มีหนวดจํานวน 10 ปลอง กรามรูปขอบขนาน สามารถมองเห็นชองวางระหวางกรามทั้งสองและขอบดานหนาของริมผีปากบนชัดเจน propodeum มีลักษณะเปนมุมแหลม เอวปลองแรกเปนรูปทรงกระบอก ปลองที่ 2 คอนขางกลม ทองสีน้ําตาลเหลือง ผิวเรียบเปนมัน

การกระจายของมดงานสกุล Aenictus แตละชนิด

1. มดทหารบิงแฮม (A. binghami)

Page 55: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

48

มดชนิดนี้พบไดทั่วทุกภาคของประเทศไทย (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005) ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ พบไดในปาดิบแลง ปาทดแทน สวนปา และพื้นที่เกษตรกรรมที่อยูรอบพื้นที่อนุรักษ มีประชากรในรังจํานวนมาก 2. มดทหารเหลือง (A. camposi)

ในประเทศไทยพบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก (เดชา และ วียะวัฒน, 2544; Jaitrong and Nabhitabhata, 2005) สําหรับในบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน พบเฉพาะในปาทดแทนบริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัด 3. มดทหารทราย (A. dentatus)

ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้พบไดนอยมาก จากการสํารวจพบเฉพาะในปาทดแทนบริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัดเชนเดียวกับที่พบในบริเวณสวนพฤกษศาสตรเขาชอง ซ่ึงพบเดินเปนแถวตามพื้นปาในพื้นที่ปาทดแทนและพื้นที่เปดโลง (Jaitrong and Ting-nga, 2005) 4. มดทหารอกขน (A. fergusoni)

ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนพบมดชนิดนี้คอนขางบอย กระจายในปาดิบแลงธรรมชาติ และปาทดแทน ในสภาพธรรมชาติเปนมดที่เดินคอนขางเร็ว มีลักษณะคลายกับมด Aenictus laeviceps สําหรับในประเทศไทยมีรายงานการกระจายในพื้นที่อ่ืน ๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005) 5. มดทหารชวา (A. javanus)

ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้พบไดนอยมาก จากการสํารวจพบเฉพาะในปาดิบแลงธรรมชาติบริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัด สําหรับในประเทศไทยมีรายงานเฉพาะในสวนพฤกษศาสตรพุแค และในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้เทานั้น (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005)

Page 56: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

49

6. มดทหารอกเรียบ (A. laeviceps)

มดชนิดนี้เปนมดที่มีรังขนาดใหญเชนเดียวกับ A. fergusoni กระจายไดทุกพื้นที่ ทั้งในปาดิบแลงธรรมชาติ ปาทดแทน สวนปา และพื้นที่เกษตรกรรม สําหรับในประเทศไทยมีรายงานการกระจายในพื้นที่อ่ืน ๆ ทั่วทุกภาคของประเทศ (Jaitrong and Nabhitabhata, 2005) 7. มดทหารสยาม (A.nishimurai)

มดชนิดนี้เปนมดที่ไดรับการคนพบและตั้งชื่อคร้ังแรกในประเทศไทย จากบริเวณอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม และการศึกษานี้เปนการรายงานการคนพบมดชนิดนี้คร้ังแรก (new recorded) ในภาคตะวันออกของประเทศไทย บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน ซ่ึงจากการสํารวจพบนอยมากและอาศัยเฉพาะในปาธรรมชาติเทานั้น 8. มดทหารฤๅไน (A. sp.3 of WJT)

ในเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้พบนอยมาก จากการศึกษาพบเพียงรังเดียว ในปาดิบแลงบริเวณหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัด 9. มดทหารกนเหลือง (A. sp.5 of WJT)

พบไดคอนขางบอย และกระจายไดทั่วทั้งปาดิบแลง ปาทดแทน สวนปา และพื้นที่เกษตรกรรมใกลเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้

อาหารของมดงานสกุล Aenictus แตละชนิด

1. มดทหารบิงแฮม (A. binghami)

Page 57: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

50

ออกหาอาหารทั้งกลางวันและกลางคืน กินมด Polyrhachis proxima, Camponotus (Tanaemyrmex) spp., Anoplolepis gracilipes, Dolichoderus tuberifer และแมลงขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ ไดแก ดวง ตั๊กแตน และปลวกเปนอาหาร 2. มดทหารเหลือง (A. camposi)

พบออกหากินในเวลากลางวัน กินไขมด Pheidole sp. และแมลงขนาดเล็ก ไดแก ปลวกวงศ Termitidae เปนอาหาร 3. มดทหารทราย (A. dentatus)

พบออกหากินในเวลากลางวัน กินมดและไขมด Camponotus (Tanaemyrmex) spp., Polyrhachis spp., และแมลงในดินขนาดเล็ก ไดแก ดวง เปนอาหาร 4. มดทหารอกขน (A. fergusoni)

พบออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน กินมด Polyrhachis spp., Anoplolepis gracilipes, Camponotus rufoglaucus , Iridomyrmex anceps และแมลงขนาดเล็กที่อยูในดินเปนอาหาร 5. มดทหารชวา (A. javanus)

พบออกหากินตอนกลางวัน กินมด Crematogaster sp. และปลวกเปนอาหาร 6. มดทหารอกเรียบ (A. laeviceps)

พบออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน กินมด Polyrhachis proxima, Camponotus (Tanaemyrmex) spp., Anoplolepis gracilipes, Crematogaster sp., Pheidole sp., Prenolepis sp. และแมลงขนาดเล็กในดินไดแก ดวง ปลวก เปนอาหาร

Page 58: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

51

7. มดทหารสยาม (A.nishimurai)

ไมมีขอมูลอาหารที่มดชนิดนี้กิน เนื่องจากในระหวางการศึกษาพบมดชนิดนี้นอยมาก สังเกตไมพบอาหารที่มดชนิดนี้ลาขณะเคลื่อนยายรัง 8. มดทหารฤๅไน (A. sp.3 of WJT)

พบออกหากินในเวลากลางวัน กินมด ไขมด Camponotus (Tanaemyrmex) sp. เปนอาหาร 9. มดทหารกนเหลือง (A. sp.5 of WJT)

กิน มด Polyrhachis spp., Camponotus (Tanaemyrmex) spp., Anoplolepis gracilipes และแมลงขนาดเล็กในดิน ไดแกปลวก เปนอาหาร 2. จากการศึกษาครั้งนี้มีมดทหารจํานวน 2 ชนิดที่ยังไมสามารถจําแนกชนิดคือ มดทหารฤๅไน (Aenictus sp. 3 of WJT) และ มดทหารกนเหลือง (Aenictus sp. 5 of WJT) จํานวน 1 ชนิด เปนมดที่พบและตั้งชื่อครั้งแรกในประเทศไทย รายงานครั้งแรกในภาคตะวันออกบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงนี้ไดแก มดทหารสยาม (A. nishimurai) 3. การกระจายของมดสกุล Aenictus ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน พบการกระจายเปน 3 กลุมคือ

3.1 กลุมที่กระจายไดทั่วไปทั้งในปาธรรมชาติ ปาทดแทน และพื้นที่เกษตรกรรม ไดแก มดทหารบิงแฮม (A. binghami ) , มดทหารอกเรียบ ( A. laeviceps) , มดทหารอกขน ( A. fergusoni) และ มดทหารนเหลือง (A. sp.5 of WJT )

3.2 กลุมที่กระจายไดเฉพาะในปาดิบแลงธรรมชาติ ไดแก มดทหารสยาม (A. nishimurai),

มดทหารชวา ( A. javanus) และ มดทหารฤๅไน (A. sp.3 of WJT)

Page 59: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

52

3.3 กลุมที่พบเฉพาะในปาเสื่อมโทรม และ พื้นที่เปดโลง ไดแก มดทหารเหลือง (A. camposi) และ มดทหารทราย (A. dentatus)

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการศึกษาการกระจายของมดทหารแตละชนิดเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองมากขึ้น 2. เก็บตัวอยางและศึกษามดทหารฤๅไน (Aenictus sp. 3 of WJT) และ มดทหารกนเหลือง (Aenictus sp. 5 of WJT) ใหมากกวาการศึกษาครั้งนี้ และทําการศึกษาอนุกรมวิธานเนื่องจากยังมีขอสงสัยวาเปนชนิดใหมหรือไม 3. ควรทําการศึกษาชนิดมดเปรียบเทียบกับชนิดปาใหครอบคลุมทุกสภาพปาและกระจายทุกพื้นที่จะสามารถนําชนิดมดทหารที่พบทํานายความอุดมสมบูรณของปาได 4. ควรทําการศึกษาพฤติกรรมการกินอาหารและชนิดของอาหารที่มดทหารกินเพื่อนําขอมูลไปใชในการจัดการพื้นที่ปาในอนาคต

คํานิยม

ขอขอบคุณอาจารยจารุจินต นภีตะภัฏ คุณวียะวัฒน ใจตรง เจาหนาที่องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติทุกทาน ที่เอื้อเฟอขอมูล คอยใหคําปรึกษา และชวยเหลือในการตรวจสอบความถูกตองของงานนี้ และขอขอบคุณเจาหนาที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤาไนที่มีสวนชวยเหลืองานนี้ใหสําเร็จดวยดีทุกประการ และสุดทายขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะวนศาสตร เหลาคณาจารย และเพื่อนๆ พี่ๆ นองๆ ทุกทาน ที่ชวยประสิทธิ์ประสาทความรู ประสบการณ คําเสนอแนะ ฯลฯ ตางๆ ใหขาพเจานํามาใชในงานทุกๆ ดาน และสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

Page 60: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

53

เอกสารอางอิง เดชา วิวัฒนวิทยา และ วียะวัฒน ใจตรง. 2544. คูมือจัดจําแนกมดบริเวณอุทยานแหงชาติเขาใหญ.

ภาควิชาชีววิทยาปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. สุระชัย ทองเจิม, ศุภฤกษ วัฒนสิทธ และ เดชา วิวัฒนวิทยา. 2546. ชนิดและความชุกชุมของมดบน

เรือนยอดไมบริเวณปาดิบชื้นในพื้นที่ต่ําของเขตรักษาพันธุสัตวปาโตนงาชาง จังหวัดสงขลา. รายงานวิจัยโครงการ BRT (2546): 183 – 192.

พรนรินทร คุมทอง และ วียะวัฒน ใจตรง. 2547. ความหลากชนิดของมดบริเวณเขตรักษา

พันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนดานทิศตะวนัตก. กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช, กรุงเทพ ฯ

Arnoldi, K. V. 1968. Wichtige erganzungen zur myrmecofauna (Hymenoptera,

Formicidae) der USSR , mit einigen neubeschreibungen. Zool. Zh. 47: 1800-1822.

Bolton, B. 1994. Identification guide to the ant genera of the world. Harvard

University Press, Cambridge. Bolton, B. 1995. A new general catalogue of ants of the world. Harvard

University Press, Cambridge. Bolton, B. 2003. Synopsis and classification of Formicidae. Memoirs of the

American Entomological Institute 71: 1 – 370. Emery, C. 1897. Formicides recoltes a Buitenzorg (Java), par M. Massart. Annales de

la Societe Entomologique de France 40: 245-249. Forel, A. 1900. Ponerinae et Dorylinae d’Australie. Recoltes par MM.Turner,

Froggatt, Nugent, Chase, Rothney, J.-J. Walker, etc. Annales de la Societe Entomologigue de belgigue 44: 54-77.

Forel, A. 1901. Les formicides de la l’Empire des Indes et de Ceylan. Part 8. Sous

famlle Dorylinae. Journal of the Bombay Natural History Society 13: 462-477.

Forel, A. 1911. Fourmis nouvelles ou interessantes. Bulletin de la Societe Vaudoise

des Sciences Naturelles 47: 331-400.

Page 61: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

54

Gotwald, W.H., Jr. 1974. Predatory behavior and food preferences of driver ants in selected

African habitats. Annals of Entomological Society of America 76: 877-886. Gotwald, W. H. Jr. 1995. Army ants the biology of social predation. Cornell

University Press Hirosawa, H., S., Higashi and M., Mohamed. Food habits of Aenictus army ants and

their effects on the ant community in a rain forest of Borneo. Insectes Sociaux 47: 42-49.

Jaitrong, W. and J. Nabhitabhata. 2005. A list of known ant species of Thailand

(Formicidae: Hymenoptera). The Thailand Natural History Museum Journal 1(1): 9-54.

Jaitrong, W. and T., Ting-nga. 2005. Ant fauna of Peninsular Botanical Garden

(Khao Chong), Trong Province, Southern Thailand (Hymenoptera: Formicidae). The Thailand Natural History Museum Journal 1(2): 137-147.

McGrew, W.C. 1974. Tool use by wild chimpanzees in feeding upon driver ants. J.

Hum. Evol. 3: 501-508. Otis, G.W., E. C. Santana, D.L. Craeford and M.L. Higgins. 1986. The effect of

foraging army ants on leaf-litter arthropods. Biotropica 18: 56-61. Schneirla, T.C. 1971. Army ant: A study in social organization. W.H. Freeman and

Company, San Francisco. Schneirla, T.C. and A.Y. Reyes. 1966. Raiding and related behavior in two surface-

adapted species of the Old World doryline ant Aenictus. Animal Behavior 14: 132 – 148.

Shattuck, S.O. 1999. Australian ants: their biology and identification. CSIRO

Publishing, Collingwood Australia. Shuckard, W.E. 1840. Monograph of the Dorylinae, a family of the Hymenoptera

Heterogyna. Annals Magazine of Natural History 5: 258 – 271. Smith, F. 1858. Catalogue of the hymenopterous insects in the collection of the

British Museum 6 Formicidae. London. Terayama, M. 1984. A new species of the army ant genus Aenictus from Taiwam

(Insecta; Hymenoptera; Formicidae). Bulletin of the Biogeographical Society of Japan 39: 13 – 16.

Page 62: SPECIES AND DISTRIBUTION OF GENUS AENICTUS IN KHAO ANG …app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00256/C00256-2.pdf · การศึกษาชน ิดและการกระจายของมดสก

55

Terayama, M. and S. Kubota. 1993. The army ant genus Aenictus (Hymenoptera: Formicidae) from Thailand and Viet Nam, with Descriptions of Three New Species. Bulletin of the Biogeographical Society of Japan Vol. 48 (2): 68-72.

Wheeler, W. M. 1930. Philippine Ants of the Genus Aenictus with Descriptions of the Female

Species. Journal of New York Entomological Society 38: 193-212. Wheeler, W.M. & Chapman, J.W. 1925. The ants of the Philippine Islands. Part 1.

Dorylinae and Ponerinae. Philippine Journal of Science 28: 49-73. Wilson, E. O. 1964. The true army ants of the Indo-Australian area. Pacific Insects

6 (3): 427-483. Willis, E.O. and Y. Oniki. 1978. Birds and army ants. Annu. Rev. Ecol. Syst. 9: 243-263. Yamane, S. and Y. Hashimoto. 1999. A remarkable new species of the army ant

genus Aenictus (Hymenoptera: Formicidae) with a Polymorphic worker caste. TROPICS Vol. 8 (4): 427-432.

(7)

(2) (6)

(5)

(8) (2) (1) (3) (4)

(2) (1) (3)

(17)

(18)