Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

23
Social Media Policy สําหรับนักศึกษาแพทย์ นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล SlideShare.net/Nawanan [email protected] 14 มีนาคม 2556

description

 

Transcript of Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Page 1: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Social Media Policy

สําหรับนักศึกษาแพทย์

นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์

โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

SlideShare.net/[email protected]

14 มีนาคม 2556

Page 2: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Image Source: http://michaelcarusi.com/2012/01/01/when-you-should-not-become-a-social-media-manager/

Social Media & Social Networks

Page 3: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Social Network Case Study #1

Disclaimer (นพ.นวนรรน): นําเสนอเป็น

กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media

เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

เสียหาย และไม่มีเจตนาสร้างประเด็นทาง

การเมือง

ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล

หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม

เพื่อการทําความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่

การใส่ความว่าผู้นั้นกระทําการใด อันจะทําให้

ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 4: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

บทเรียนจากกรณีศึกษา (Lessons Learned)

• องค์กรไม่มีทางห้ามพนักงานไม่ให้โพสต์ข้อมูลได้

– ช่องทางการโพสต์มีมากมาย ไม่มีทางห้ามได้ 100%

– นโยบายที่เหมาะสม คือการกําหนดกรอบไว้ให้พนักงานโพสต์ได้ตามความ

เหมาะสม ภายในกรอบที่กําหนด

• พนักงานย่อมสวมหมวกขององค์กรอยู่เสมอ (แม้จะโพสต์เป็นการส่วนตัว

แต่องค์กรก็เสียหายได้)– คิดก่อนโพสต์, สร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร

• การรักษาความลับขององค์กรและข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า

• มีนโยบายให้ระบุตัวตนและตําแหน่งให้ชัดเจน

• องค์กรควรยอมรับปัญหาอย่างตรงไปตรงมาและทันท่วงทีhttp://www.siamintelligence.com/social-media-policy-cathay-pacific-case/

Page 5: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Social Network Case Study #2

Source: Drama-addict.com

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

เสียหาย โปรดใช้วิจารณญาณในการ

อ่านเนื้อหา

Page 6: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Social Media กับความลับของผู้ป่วย

ข้อความจริง บน

• "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไป

แล้ว มา ฉายรังสีต่อที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้

ฝากขอบคุณอาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่างคนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้

ไป กทม. บอกว่าถ้าพร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ครับ"

Page 7: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ

• พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550

• มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล

ผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหาย

ไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของ

บุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย

แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่า

ด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร

เกี่ยวกบัข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไมใ่ช่ของตนไม่ได้

Page 8: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

คําประกาศสิทธิผู้ป่วย

• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ

พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้

1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญตัิไว้ในรัฐธรรมนูญ

2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มกีารเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ

การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย

3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ

ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น

4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่กรณี โดยไม่คํานึงว่า

ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่

5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน

6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ

9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ

ส่วนตัวของบุคคลอื่น

10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง

ได้

Page 9: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

คําประกาศสิทธิผู้ป่วย

• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ

พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้

1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญตัิไว้ในรัฐธรรมนูญ

2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มกีารเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ

การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย

3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ

ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น

4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่กรณี โดยไม่คํานึงว่า

ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่

5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน

6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ

9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ

ส่วนตัวของบุคคลอื่น

10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง

ได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง

จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่

จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

Page 10: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

หลักจริยธรรม (Ethical Principles) สําคัญด้านสุขภาพ

• Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของผู้ป่วย)

• Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย)

• Non-maleficence (หลักการไม่ทําอันตรายต่อผู้ป่วย)

– “First, Do No Harm.”

Page 11: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

MU Social Network Policy

http://intranet.mahidol/op/orla/law/index.php/anno

uncement/146-2556/770-social-network

Page 12: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

• ข้อความบน Social Network สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ

ผู้เผยแพร่ต้องรับผิดชอบ ทั้งทางสังคมและกฎหมาย และอาจ

ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง การทํางาน และวิชาชีพของตน

• ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการเผยแพร่ประเด็นที่ Controversial

เช่น การเมือง ศาสนา

• ไม่ได้ห้าม แต่ให้ระวัง เพราะอาจส่งผลลบต่อตนหรือองค์กรได้

MU Social Network Policy

Page 13: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

• ความรับผิดชอบทางกฎหมาย

– ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดฐานหมิ่นประมาท

– พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกีย่วกบัคอมพิวเตอร์

– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยจรรยาบรรณของบุคลากรและ

นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล

– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยวินัยนักศกึษา

MU Social Network Policy

Page 14: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

• ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น อ้างถึงแหล่งที่มาเสมอ

(Plagiarism = การนําผลงานของคนอื่นมานําเสนอเสมือนหนึ่ง

เป็นผลงานของตนเอง)

• แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกับหน้าที่การงาน/การเรียน– แยก Account ของหน่วยงาน/องค์กร ออกจาก Account บุคคล

– Facebook Profile (ส่วนตัว) vs. Facebook Page (องค์กร/หน่วยงาน)

• ในการโพสต์ที่อาจเข้าใจผิดได้ว่าเป็นความเห็นจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ให้

ระบุ Disclaimer เสมอว่าเป็นความเห็นส่วนตัว

MU Social Network Policy

Page 15: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

• ห้ามเผยแพร่ข้อมูล sensitive ที่ใช้ภายในมหาวิทยาลัยก่อนได้รับอนุญาต

• บุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ให้บริการสุขภาพ

– ระวังการใช้ Social Network ในการปฏิสัมพันธ์กับผูป้่วย (ความลับผู้ป่วย และการ

แยกแยะเรื่องสว่นตัวจากหน้าที่การงาน)

– ปฏิบัติตามจริยธรรมของวิชาชีพ

– ระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว (Privacy) และความลับของข้อมูลผู้ป่วย

– การเผยแพร่ข้อมูล/ภาพผูป้่วย เพื่อการศกึษา ต้องขออนุญาตผู้ป่วยก่อนเสมอ และลบ

ข้อมูลที่เป็น identifiers ทั้งหมด (เช่น ชื่อ, HN, ภาพใบหน้า หรือ ID อื่นๆ) ยกเว้น

ผู้ป่วยอนุญาต (รวมถึงกรณีการโพสต์ใน closed groups ด้วย)

• ตั้งค่า Privacy Settings ให้เหมาะสม

MU Social Network Policy

Page 16: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Facebook Privacy Settings

Page 17: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Facebook Privacy Settings

Page 18: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

MU Social Network Policy

Page 19: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

MU Social Network Policy

Page 20: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

MU Social Network Policy

Page 21: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

MU Social Network Policy

Page 22: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

MU Social Network Policy

Page 23: Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

MU Social Network Policy