RYHTHM ISSUE2

36
FREE COPY FREE COPY RHYTHM RHYTHM MAGAZINE MAGAZINE live live as your life as your life Volume 1 Issue 2 December 2011 Volume 1 Issue 2 December 2011 www.RhythmMagazine.net PHRANAKORN DRUM & BUGLE CORPS ดรัมคอรปมหาวิทยาลัย วงแรกของประเทศ ASK EXPERT บทเพลงแหงจินตนาการ DIRECTOR นี่คือเพลงของพอ เพลงที่เรากําลังเลน

description

live as your life

Transcript of RYHTHM ISSUE2

FREE COPY

FREE COPY

RHYTHMRHYTHMMAGAZINEMAGAZINE

livelive as your lifeas your life

Volume 1 Issue 2 December 2011Volume 1 Issue 2 December 2011

www.RhythmMagazine.net

PHRANAKORN DRUM & BUGLE CORPSดรัมคอรปมหาวิทยาลัย วงแรกของประเทศ

ASK EXPERTบทเพลงแหงจินตนาการ

DIRECTORนี่คือเพลงของพอเพลงท่ีเรากําลังเลน

สวสัดคีรบัทุกทาน ในเดอืนพฤศจกิายนนีผ้มเขาใจวาตางมเีหตกุารณผานเขามาในชวีติอยางมากมายเหลือเกิน “นํ้าทวม” เหตุการณที่ไมคาดคิด ไมนาเชื่อวาจะรุนแรง ไมมีทางเปนไปไดเลยตลอดชั่วอายุคนคนหนึ่งดวยซํ้า แตมันก็เกิดขึ้นแลวและกําลังจะผานพนไป ยอนไปตอนเร่ิมทํานิตยสารฉบับแรกทีมงานของเราเองก็ไมไดคาดคิดวาจะเปนเชนนี้เหมือนกัน ตอนที่นํ้ากําลังจูโจมมาท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถนนเสนหลักเพื่อเดินทางขึ้นภาคเหนือก็กําลังถูกปด ตอนนั้นผมอยูกรุงเทพฯ จําไดวาทางบานไดโทรมาบอกดวยความเปนหวงวา อยานั่งรถกลับเด็ดขาด ซึ่งผมก็ตองเดินทางกลับโดยไปขึ้นเครื่องที่สุวรรณภูมิ ไมนาเช่ือครับวาตอมาอีกไมกี่วัน นองนํ้าไดเดินพาเหรดมุงหนาสูเมืองหลวงอยางไมกลัวสิ่งใดจะขวางจนปรากฎใหเห็นเปนขาวจนถึงปจจุบัน

แต ..ฝนตกโดยไมมีฟารองไมไดหรอกครับ ฟาหลังฝนตางหากที่สวยงามเกินจะบรรยาย เดือนแหงความปรตียินิดแีละเปนเดอืนมหามงคลกม็าถงึครบั วนัเฉลิมพระชนมพรรษาของพอหลวงไทย ครบ 7 รอบ 84 พรรษา วนันีต้างหากทีท่าํใหคนไทยทกุคนในประเทศมคีวามสขุทีส่ดุในโลก ผมขออนญุาตนาํเสนอเรือ่งราวความรัก ความเช่ือ ความศรัทธาของคนดนตรีแตละคน แตละกลุมผานนิตยสารฉบับท่ีสองน้ีครบั เนือ้หาและความหมายที่ซอนอยูในแตละคอลัมนลวนลึกซึ้งและมีความหมายอยางยิ่ง

ขอใหทุกคนมีความสุขในเดือนมหามงคลนี้นะครับ ขอบคุณครับ

EDITOREDITOR’’S RHYTHMS RHYTHM

บรรณาธิการอํานวยการวสวัตติ์ วะดี

[email protected]

PPPPPPPPPhhhhhhhhooooottttooooo::::: hhhhhhhaaaaaaaaaazzzzzzzmmmmmmmmmmiiiiiiiaaaaaaaiii...wwwwwwwwwooooooorrrrdddddddppppprrrrreeeeessssssssssssss...cccccccoooooooommmmmmmmmmmmm 4 RHYTHM

ContentS

RHYTHM TEAMที่ปรึกษา ภราดามศีกัด์ิ วองประชานุกลู ดร.ชัยพฤกษ เมฆรา อ.สุรพล ธัญญวิบูลย อ.นิพัทธ กาญจนะหุต อ.กิตติ เครือมณี ณรงค คองประเสริฐบรรณาธิการอํานวยการ วสวัตติ์ วะดีบรรณาธิการบริหาร ธวัชชัย ใจมุขกองบรรณาธิการ จตุรภัทร อัสดรชัยกุลผูชวยบรรณาธิการ เกษม ดวงสนGraphic Design ประมาณ จรูญวาณิชยที่ปรึกษากฎหมาย ชนัญ บุญพุทธารักษา

พิมพที่ บริษทั ครองชางพร้ินต้ิง จาํกัด

บริษัท ริธมิคส จํากัดเลขที่ 159/71 หมู 1 หมูบานอนุสารวิลลาต.ปาแดด อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100โทร.053-273600 โทรสาร.053-273601E-mail: [email protected]://www.facebook.com/rhythmmag

30

Editor’s Rhythm ......................... 4 Calendar ................................10Event News ............................12Cover Story ............................14วงดรัมคอรปมหาวิทยาลัย วงแรกของประเทศ

Director .................................20ดร.ชัยพฤกษ เมฆรา

Did you know? ........................22James Campbell

Music Technology ....................24เทคโนโลยีการจูน

Ask Expert ..............................26บทเพลงแหงจินตนาการ

New Wave .............................28แบบอยางของคนกลาฝน

Art & Acting ...........................30Asian Beat

Sectional ................................32Leading instructors

RHYTHM8

เพราะไดมีโอกาสพูดคุยเร่ืองคลาริเน็ทกับนักดนตรีมืออาชีพหลายทาน ทําใหไดทราบขอมูลที่ชัดเจนอยางหนึ่งคือองคประกอบของคลาริเน็ทที่ดีมีตัวแปรหลายอยางไมวาจะเปน ตัวเครื่องทําจากไมคุณภาพดี คียกดทําจากวัสดุที่มีคุณภาพ หรือแมกระทั่งปากเปาคุณภาพดีที่มีขนาดเหมาะสมกับผูเลน ในครั้งแรกท่ีเรามีโอกาสไดพบกันนี้ “ผม...มิสเตอรมาย” จึงอยากนําเรื่องราวของ “นวมดํา” ชิ้นสวนสําคัญของเครื่องดนตรีคลาริเน็ท ที่เปนท่ีนิยมในหมูนักเลนคลาริเน็ททั่วโลกมานําเสนอครับ

นวมดํา หรือ Silence Pads เกิดขึ้นและเริ่มรูจักในหมูนักดนตรีคลาริเน็ทในประเทศไทยโดย มิสเตอร Wolfgang Lohff ชางซอมเครื่องดนตรีที่มีชื่อเสียงระดับโลกชาวเดนมารก ซึ่งหลังจากที่ทานไดใหความรูและทําการซอมเคร่ืองเปล่ียนนวมชนิดน้ีใหกับนักดนตรคีลารเินท็ในประเทศไทยหลายทาน ทาํใหเกิดคาํถามวา “ทาํไมถึงตองเปนนวมดํา” “นวมดําแตกตางและดีกวานวมปกติอยางไร” มิสเตอรมาย ขอใหขอมูลเพื่อตอบขอของใจดังนี้ครับ

วัสดุที่ใชผลิตนวมจริงๆแลวมีดวยกันหลายชนิดเชน หนัง ไมกอก ผนังลําไสของวัวหรือแกะ กระเพาะหรือหนังของปลา วัสดุสังเคราะหตางๆเปนตน และนวมดําเปนหน่ึงในวัสดุสังเคราะหที่พสิจูนไดวามปีระสทิธภิาพ และตอบสนองการใชงานไดดทีีส่ดุอยางหนึ่งในทุกวันนี้ครับ

ศูนยซอมและบริการทางดานอะไหล สําหรับเคร่ืองดนตรีวงโยธวาทิตครบวงจร

ใหคําปรึกษาในการดูแลรักษา ซื้อ – ขายเครื่องดนตรีโยธวาทิต

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการทางดนตรี (Workshop & Master class)

ที่ปรึกษาและผูรวมจัดมหกรรมวงโยธวาทิตทางในและตางประเทศ ( Festival Artistic Coordinator)

ขอแตกตางขอนวมดํา (Silence Pad) กับนวมปกติ

1. นวมดํามีความเงียบมากกวาเวลากดคียและเงียบลดแรงกระแทกขณะเลน

2. นวมดาํมคีวามเสถยีรมากกวา หลงัจากปรบัจนูแลว จะมีความคงท่ีและมีการทรุดตัวของนวมนอย

3. นวมดํามีความคงทนมากกวา โดยนวมปกติจะมีอายุการใชงาน 2-3 ป แตนวมดําจะมีอายุการใชงานนาน 3-5 ป ในสภาพการใชงานปกติ

4. นวมดํามีการปดของหนานวมสนิทกวา ทําใหเครื่องตอบสนองไดดีขึ้น เปาสบายข้ึน ซึ่งนวมปกติจะมีระดับการรั่วของลมในแตละจุดมากกวา ทําใหนักดนตรีตองพยายามมากขึ้นเพื่อใหไดเสียงที่ตองการ เชน การกัด Mouthpiece มากขึ้น การดันลมมากกวาที่ควรจะเปน อาจสงผลเสียแกการควบคุม Intonation ซึ่งนวมดําชวยทานได

นี่เปนเพียงขอแนะนําเล็กๆนอยๆเทานั้น หากทานยังมีขอสงสัยเพิม่เตมิ หรอืตองการทดสอบคุณภาพของนวมดํา สามารถติดตอ มิสเตอรมาย ไดที่ มาย มิวสิค โปรดักชั่น 3331/56 ซ.แฉลมนิมติร ถ.สดุประเสริฐ แขวงบางโคล เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 Tel: 02 688 4228 Fax: 02 688 4227 E-mail: [email protected]

CALENDAR DECEMBER 2011

ครัง้แรกในเอเชยีกบัการเดนิทางมาเยอืนของวงดรมัคอรประดบัโลก The Blue Devils แชมปโลก 14 สมัยจากการแขงขัน Drum Corps International โดยในคร้ังน้ีเปนการฝกอบรมใหกับนักเรียน นักศึกษา ผูสนใจทั่วไปที่ตองการความรูและการปฏิบัติเครื่องดนตรีจากมืออาชีพ ประกอบดวย Battery Percussion , Color Guard , Bass Brass , Middle Brass , Soprano Brass และ Wood wind ประสบการณที่พลาดไมไดครั้งนี้ตองเดนิทางไปสัมผัสถึง กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซียเลยทีเดียว เริ่มตั้งแตวันที่ 15- 18 ธันวาคม 2554 หรือ ติดตอสอบถามไดที่ [email protected]

selected bands and teams from elementary schools, junior high schools, high schools and community groups.

Admission: General/Reserved (5,000 yen), non-reserved (3,500 yen)

Nutcracker, A Christmas Story Band Camp by The Blue Devils

The 39th Japan Marching Band Baton Twirling Contest

โรงเรยีนรสัเซยีบลัเลต รวมกบั เพลยเฮาส เอน็เตอรเทนเมนทคอมเพล็กซ จัดการแสดงบัลเลตเรื่องเยี่ยม Nutcracker 2011 ออกแบบทาเตนและกํากับการแสดงโดย Mr.Ramon P.Vizmanos ระหวางวนัที ่18-20 ธนัวาคม 2554 ณ โรงละครเพลยเฮาสเธยีเตอ สนบัสนนุโดย Makador, Black Moss, Manathai Village สอบถามขอมลูเพิม่เติม โทร.053 801375 , 053 410671

รอบที ่1 วนัอาทติยที ่18 ธนัวาคม 2554 เวลา 18.30 น.รอบที ่2 วนัจนัทที ่19 ธนัวาคม 2554 เวลา 19.30 น.รอบที ่3 วนัองัคารที ่20 ธนัวาคม 2554 เวลา 19.30 น.

T he A l l J apan Marching Band and Ba-ton Twirling Contest will feature the participa-tion of more than 100

Date: December 17 (Sat),2011 Primary and Junior High School / Color Guard

December 18 (Sun),2011 High School and Community Bands The Venue is Saitama Super Arena, Saitama City for both daysFor more Information http://www.japan-mba.org

On 18 December, we are inviting all musicians who would like to spend an afternoon playing and singing great music to come to Henry Luce Chapel at Payap University to participate in an impromptu performance of the choruses from Handel’s “Messiah.” Musicians are invited to gather at 2 PM. We will begin playing and singing the choruses at 3 PM. It will be an informal gathering of musi-cians to play and sing together just for the joy of playing and singing together. More information is available at this website www.doityourselfmessiah.org

Do It Yourself Messiahมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ 2554

อกีครัง้ของเมอืงไทยกบัมหกรรมพชืสวนโลกเฉลมิพระเกยีรตฯิ ราชพฤกษ 2554 ระหวางวนัท่ี 14 ธนัวาคม 2554 ถงึ 14 มนีาคม 2555 พบกบั อทุยานแหงจนิตนาการ 3 ความย่ิงใหญ สวนแสงแหงจนิตนาการ กระเชาราชพฤกษลอยฟา และสวนเยาวชนรักษโลก พรอมกับอกี 10 รายการความย่ิงใหญทีท่กุคนไมควรพลาด สอบถามรายละเอียดไดที ่ศนูยบรกิารทีพ่กัและการทองเทีย่วอยางเปนทางการ กรงุเทพฯ 02 6102011 เชยีงใหม 053 820773-5

“วางแผนอยางรอบคอบ คุมครองอยางครอบคลุม”เกราะคุมครองความมั่นคงของครอบครัวเกราะคุมครองความม่ันคงของครอบครัว

“เกราะปองกันความเสียหาย ตอสุขภาพและเงินออม” เกราะคุมครองอนาคตบุตรหลาน เกราะคุมครองอนาคตบุตรหลาน มั่นคงดวยกองทุนการศึกษา มั่นคงดวยกองทุนการศึกษา

“เกราะคุ มครองชีวิตหลงัเกษียณม่ันคงดวยกองทุนเกษียณอายุ”

สอบถามผลิตภัณฑ 084-3654527 085-5498533สมัครตัวแทน 084-6159115

EVENT NEWS

สําหรับงานคอนเสิรต International Friendship เมื่อวันที่ 29 ตลุาคม 2554 จงัหวัดเชยีงรายทีผ่านมา ถอืไดวา เปนคอนเสิรตทีด่ทีีส่ดุคอนเสิรตหนึ่งของ CYO เลยทีเดียว ซึ่งงานนี้ตองมีคุณริชารดและทีมงาน (4 สาว sixteen wires string quartet) ที่มาใหความรูและรวมเลนคอนเสิรต และคุณ Bill Connor ที่มาเปน conductor ไดรับการ

นับเปนความโชคดีของคอละครเวทีชาวไทยท่ีจะไดมีโอกาสชมบันทึกการแสดงสด The Phan-tom of the Opera ละครเวทีที่ถือเปนตนฉบับและแรงบันดาลใจใหกับวงการละครเวทีทั่วทุกมุมโลก ถึงแมวา “The Phantom of the Opera ฉบับฉลองครบ 25 ป” นี้จะเปนเพียงเทปบันทึกจาก Royal Albert Hall แตจากหลายเสียงที่

เมือ่วนัที ่5 พฤศจิกายน 2554 ทีผ่านมา วงดุรยิางคซมิโฟนีแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TUSO) ไดเดินทางมาแสดงคอนเสริต ณ หองประชมุอาคาร 100 ป โรงเรยีนปรนิสรอยแยลสวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม เพื่อเผยแพรดนตรีคลาสสิกใหเปนท่ีรูจกัและชวยหาเงินบรจิาคผูประสบภัยนํา้ทวมทีก่รงุเทพมหานครดวย ซึ่งไดรับการตอบรับอยางมากจากกลุมนักดนตรีคลาสสิกในเชียงใหมและกลุมคนผูรักดนตรี อํานวยเพลงและวาทยากรโดย อ.วชิรวิชญ ปญญาลักษณ และบรรเลงเดี่ยวไวโอลินโดย สืบบุญ ไชยสิทธิ์

International Friendship Concert

The Phantom of the Opera คอนเสริต วงดรุยิางคซมิโฟนี (TUSO)

ตอบรับจากคนดูเปนอยางมาก ขนาดที่นั่งที่เตรียมไว 600 กวาที่ไมพอกันเลยทีเดียว ตองขอบอกวาเหมือน Sound tract หนัง Hollywood มาก !! และจะจัดขึ้นกันอีกทีในปหนาอีกแนนอน ตองคอยติดตามกันดวยนะครับ

เขาไปชมกอนหนานี้กลับพูดตรงกันวา “คุมมาก!”ซึ่งกระแสตอบรับดีเกินคาดจนเต็มจํานวนทุกรอบการฉาย เนื่องจาก The Phantom of the Opera จดัฉายนอยรอบและฉายเพยีงสปัดาหเดยีว ดวยกระแสที่แฟนๆเรยีกรองทาํใหทาง United International Pictures Thailand และ Paragon Cineplex ตัดสินใจเพิ่มรอบฉาย The Phantom of the Opera ออกไปอกี และเพิม่รอบพเิศษถึงวนัพธุที ่7 ธนัวาคม 2554 นี้เทานั้น แตตองรีบๆตัดสินใจกันหนอยนะคะเพราะเต็มเร็วจริงๆ!!!

RHYTHM12

MarcatoSaxophone Pro Shop

สําหรับผูที่รักแซกโซโฟนเรามีแซกโซโฟนใหทานเลือกมากมาย

ตั้งแตระดับนักเรียนถึงระดับมืออาชีพพรอมทั้งอุปกรณและการรับประกัน

เชิญทดลองYanagisawa Saxophone A-992

นวัตกรรมตัวเครื่องบรอนซพรอมการตอบสนองท่ีชัดเจน

ดวยชวงกวางของไดนามิคที่ใหเสียงอันอบอุนและไพเราะ

Marcato Music Co.,Ltd. บริษัท มารคาโต มิวสิค จํากัด 3 ซอยรามคําแหง 12 หัวหมาก บางกะป กรุงเทพฯ 10240โทร. 02-7173976-77, 086-7990077 แฟกซ 02-7173975 www.marcato.co.th Email: [email protected]

ตัวแทนจําหนาย Yamaha, kenneth, Yanagisawa, Hoffner String, Meyer Mouthpiece, Jody Jazz Mouthpiece,Otto Link Mouthpiece, Claude Lakey Mouthpiece, Best Brass, Sibelius Software, Bam Case

PHRANAKORNPHRANAKORNDRUM DRUM && BUGLE CORPS BUGLE CORPS´ÃÑÁ¤Íà �»ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ ǧáá¢Í§»ÃÐà·È´ÃÑÁ¤Íà �»ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ ǧáá¢Í§»ÃÐà·È

Cover Story

เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี

ราชภัฎ แปลวาคนของพระราชา เราเลนเพลงใหแผนดินเราเลนเพ่ือพระราชา

RHYTHM14

RHYTHM 15

พระนคร ดรัมแอนดบูเกิลคอรป (Phranakorn Drum & Bugle Corps) กอตั้งขึ้นภายใตการอํานวยการของ รศ.ดร.เปร่ือง กิจรัตนภร มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหนกัศกึษามีความรูและประสบการณทางดานดนตรี มีสวนรวมในการพัฒนาวงดนตรีใหมีมาตรฐานเทียบเทาสากล อีกทั้งยังเปนสื่อทางวัฒนธรรมใหเห็นถึงเกียรติภูมิและศักยภาพ ของมหาวิทยาลัย โดยมี อาจารยธรรมนูญ จติตรีบตุร อาจารยประจําสาขาวิชาดนตรีตะวันตก เปนผูดูแล และควบคุมการฝกซอม หลังจากอาจารยธรรมนูญไดบรรจุเขามาเปนพอพิมพอยางเต็มตัว จึงไดพัฒนาหลักสูตรหลายดาน อนัดบัแรกไดแยกดนตรีไทยกับดนตรีตะวันตกออกจากกันเพื่อความเปนเอกเทศ ตอนนั้นมีนักศึกษาไมถึง 10 คน จึงทําเปนวง Ensemble เปนพื้นฐาน จากน้ันขอใหพี่นองพองพี่จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมาชวยเพราะเสมือนเปนบานพี่เมืองนองกัน ประกอบกับมหาวิทยาลัยมหิดลมีการแขงขัน Asian ครั้งที่ 4 จึงตัดสินใจสงวงเขาประกวด โดยมีแนวคิดวาเพียงคอนเสิรตที่ เล นเพียงขอมีคนนั่งดูคอนเสิร ตแลวปรบมอืใหในความกลาท่ีไดเลนและไดแสดงตอสายตาผูชมก็ถือเปนสิ่งที่ดียิ่งแลว

จากการพัฒนารูปแบบวง เริ่มตนจาก Phranakorn Wind Band มาเปน Phranakorn Drum line Phrana-korn Percussion Ensemble จึงมาถึง Phranakorn Drum & Bugle Corpsวงมหาลัยวงแรกของประเทศไทย โดยไดรับความกรุณาและชวยเหลือเปนอยางยิ่งจากทานอธิการบดี รศ.ดร.เปล้ือง กิจรัตนภร สนามแรกของการเดินทางแสดงคือการไดรับเชิญจากสมาคม Hong Kong Marching Band Association ใหเขารวมการประกวดวงโยธวาทติ ในรายการ Hong Kong Marching Band Festival-Marching Band Contest 2009 การจดัการแขงขนัในครัง้นี ้แบงการแขงขนั ออกเปน 2 ประเภท ไดแก การแขงขันภายในสมาคม Hong Kong Marching Band Associations จํานวน 3 ทีม และ ประเภท Open Class จํานวน 4 ทีม ผลการแขงขันไดรางวัลชนะเลิศ รางวัล The Best Marching Band และรางวัล Gold Prize หลังจากนั้นไดเดินทางแสดงท้ังในประเทศและตางประเทศหลายสนามอยางมากมายและลาสุดคือ Nanchang International Tattoo 2011, China

คนทั่วไปจะทราบหรือไมว าคําวา “ราชภัฏ” แปลวา คนของแผนดิน คนของพระราชา คือการสรางบัณฑิตเพื่อใหกลับไปพัฒนาทองถิ่น เพราะฉะนั้นในฐานะท่ีนี่เปนแหลงบมเพาะทางปญญาดานดนตรีอกีแหงหนึง่ของประเทศ สิง่ทีด่ทีีส่ดุคอืการนาํบทเพลงของในหลวงมาสรางการถายทอดผานการบรรเลงและการแสดงของวง ซึ่งเพลงพระราชนิพนธสะทอนใหเห็นถึงพระปรีชาสามารถของในหลวง เพลงพระราชนิพนธเปนเพลงสูงสุดในชีวิตของคนไทย โลกจะตองไดรับรู โดยทั่วกันวาพระมหากษัตริยไทยมีพระอัจฉริยภาพทางดนตรี บทเพลง 40 กวาเพลงแทนความรูสึกของพอมตีอลกูทุกคน เพ่ือนพ่ีนองคนดนตรีทีม่ารวมสรางวงดวยกันลวนมีแนวคิดเดียวกัน คือตองการสรางวง Drum Corps ระดับมหาวิทยาลัยวงแรกของประเทศไทย และเพื่อเปนตนแบบใหกับผูคน ผลงานที่เกิดขึ้นและผานสายตาผูคนมาแลวนับไมถวนน้ี ใชชื่อวา The Sweat of KING แปลไดวา “หยาดเหงื่อของพระเจาแผนดิน”

PHRANAKORN

“ผมมีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนตองไดรับการเรียนการสอนจากคนที่มีประสบการณจริง ไมใชแคตําราแตตองเลนจริง บรรเลงจริง เดินจริง เพราะหลังจากจบมหาวิทยาลัยออกไปเปนบัณฑิต ก็ตองกลับไปพัฒนาพื้นแผนดินที่ เขาจากมา ทั้งหมดที่พวกเราทําลวนเปนการสรางเมล็ดพันธใหมทางดนตรีใหเกิดขึ้น ผมยังมองอีกวา วงตองใชความเสียสละเปนอยางมากนะเพราะเราเปรียบเสมือนกุญแจสําคัญดอกหนึ่งที่จะไขใหรู วา เด็กมหาวิทยาลัยไมใชแคเรียนเสร็จแลวเท่ียวหาง เรามีวุฒิทางปญญาที่ไมไดแตกตางจากฝรั่ง นัน่คอื “ความเปนไทย” สิง่ทีท่าํใหเขาเห็นวา “คณุคา” คอืเอกลักษณเฉพาะทีม่อียูบนพืน้แผนดนิบานพอหลวงเรา” อ.ธรรมนูญกลาว ... และกอนจบ เพิ่มเติมวา

RHYTHM16

DRUM DRUM && BUGLE CORPS BUGLE CORPS

คน ไ ทย โ ชค ดี ที่ มี พ ร ะ มห ากษัตริย ที่มีพระอัจฉริยภาพทางดนตรี เพราะดนตรีเปนศาสตรที่ขัดเกลาจิตใจมนุษยใหมีความเปนมนษุย ผลงานทีม่หาวทิยาลยัราชภฎัพระนครสราง ไดรับแรงบันดาลใจจากในหลวงครับ ทุกครั้งที่เราเหนื่อย ออนลา เราคิดวาเราทําเพื่อทาน ทําเพ่ือพระเจาแผนดิน เราจะเสียแรงกาย แรงใจ หรือเสียเงินมากกวาน้ีเราก็ตองเสยี แลวทาํไมเราตองเลนเพลงนี้ ? เพราะเพลงน้ีคือเพลงของ..คนไทย

ผูปดทองหลังพระรศ.ดร.เปรื่อง กิจรัตนภร

อาจารยธรรมนูญ จิตตรีบุตร

อาจารยจิณณวัตร มั่นทรัพย

อาจารยเผาพันธุ อํานาจธรรม

อาจารยสุรเชษฐ ชานกสกุล

อาจารยวุฒิพงศ ไตรรัตนวนิช

อาจารยรัชตะ จันทรพิศ

อาจารยครองยศ ศรีเพชร

RHYTHM 17

ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ

ขาพระพุทธเจา คณะที่ปรึกษา บรรณาธิการ และทีมงาน

บริษัท ริธมิคส จํากัด

ลายพระหัตถในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวIn His Majesty’s own hand.

ที่มา : หนังสือประมวลบทเพลงพระราชนิพนธ ธ สถิตในดวงใจนิรันดร

The Musical Compositions of His Majesty King Bhumibol Adulyadej of Thailand

¹Õè¤×Íà¾Å§¢Í§¾‹Íà¾Å§·ÕèàÃÒ¡íÒÅѧàÅ‹¹´Ã.ªÑÂ¾Ä¡É � àÁ¦ÃÒ

DIRECTOR

คนไทยโชคดีที่มีพระมหากษัตริยที่ทรงชื่นชอบดนตรีเปนชีวิตจิตใจ เมื่อพอชอบในสิ่งใด จะเปนบุญของลูกๆ ที่ไดรับแบบอยางและการถายทอดท่ีดมีาจากพอ

เรื่อง : วสวัตติ์ วะดีภาพ: วิทยาลัยดุริยศิลป มหาวิทยาพายัพ

ครอบครัวผมมีสมาชิกประมาณ 15 คนเปนนกัดนตรีกนัทัง้ครอบครัว เรามีคณะนักรองครอบครัวท่ีรองประสานเสียงกันครบฮารโมน่ีสี่แนวท่ีโบสถ เปนเพราะวาคุณลุงคุณปาสอนดนตรีและทํากิจกรรมดานดนตรีอยูทุกๆวัน เมื่อรุนเด็กๆ โตขึ้นอยากเรียนดนตรี อยากทําอะไรที่เก่ียวกับดนตรีเปนอาชีพก็ไดรับการสนับสนุนอยางเต็มที่จากสมาชิกในครอบครัว ถอืวาเปนสิง่ทีโ่ชคดีอยางยิง่ทีไ่ดทาํในส่ิงทีต่นเองรักและถนัด

ปจจุบันประเทศไทยผลิตนักดนตรีนักประพันธ เพลงระดับนานาชาติหลายคน ไมวาจะเปนการประพันธเพลงและการนาํเสนอผลงานในระดับนานาชาตกิม็อียูไมนอย อาทิเชน รศ.ดร.ณรงคฤทธิ์ ธรรมบุตร มีผลงานเพลงที่ไดรับการแสดงโดยวงดนตรีชัน้นาํ อาท ิThe Civic Orchestra of Chicago, The Japan Shinsei Symphony

Orchestra, Hiroshima Symphony Orchestra, Melbourne Symphony Orchestra, Verdehr Trio (USA), IRCAM Ensemble (Paris), Ensemble Stella Nova (Tokyo), En-semble Kochi, New York New Music Ensemble เปนตน ทานยังไดรับการประกาศเกียรติคุณเปนศิลปนศิลปาธร (ศิลปนรวมสมัยดีเดน) สาขาดนตรี ประจําป พ.ศ.2551 จากกระทรวงวัฒนธรรม และนักประพันธเพลงอีก

RHYTHM20

ทานหนึ่งคือ ดร.ณรงค ปรางคเจริญ ไดรับรางวัลการประพันธเพลงในระดับนานาชาติหลายรางวัล อาทิ รางวัล Alexander Zemlinsky International Composition Competition Prize, รางวัล ACL Yoshiro Irino Memorial Composition Award, รางวัล Pacific Symphony’s American Composer Competition Prize, รางวัล Toru Takemitsu Composition Award และที่ผ านมานี้ได รับรางวัลชมเชยของ Music Teacher National Association Distinguished Composer of the Year ที่สหรัฐอเมริกา และรางวัลชนะเลิศจาก The Annapolis Charter 300 International Composers Competition Prize รวมถึงรางวัลศิลปาธร จากกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งเปนรางวัลที่ทรงเกียรติรางวัลหน่ึงของประเทศไทย

สําหรับผมแลวในหลวงทานทรงเปนแรงบันดาลใจ ทรงเปนแบบอยาง ใหกับนักดนตรีรุนหลังๆ ทั้งในทางตรงและทางออม เพราะในหลวงทานทรงดนตรีทําใหการดนตรีในประเทศไทยมีการพัฒนาอยางมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งดนตรีตะวันตกไมวาจะเปนดนตรีแจส คลาสิก ปอป และอ่ืนๆ รวมถึงดนตรีประเภทวงดุริยางคที่เราเรียกกันติดปากวาวงแบนด และวงออรเคสตรา

บทเพลงของพระราชาอาจไมใชบทเพลงที่พอทานทรงประพันธโดยตรง แตทานไดหวานเมล็ดพันธดนตรี เมล็ดพันธแหงเสียงเพลงที่ไดทรงเปดทางถนนดนตรีใหกบัปวงชนชาวไทยทกุคน คนไทยโชคดทีีม่พีระมหากษตัรยิที่ทรงช่ืนชอบดนตรีเปนชีวิตจิตใจ เมื่อพอชอบในส่ิงใด จะเปนบุญของลูกๆ ที่ไดรับแบบอยางและการถายทอดที่ดีมาจากพอ …. ขอจงทรงพระเจริญ

ดนตรีเปนสวนหนึ่งของขาพเจา จะเปนแจสหรือไมแจสก็ตาม

ดนตรีลวนอยูในตัวคนทุกคน เปนสวนที่ยิ่งใหญในชีวิตคนเรา

สําหรับขาพเจา..ดนตรีคือส่ิงประณีตงดงาม

และทุกคนควรนิยมในคุณคาของดนตรีทุกประเภท

เพราะวาดนตรีแตละประเภทตางก็มีความเหมาะสม

ตามแตโอกาส และอารมณที่แตกตางกันไป...

พระราชดํารัสแกนักขาวชาวอเมริกันในรายการเสียงแหงวิทยุอเมริกาเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๐๓

สําหรับในจังหวัดเชียงใหม ก็มีนักดนตรีที่มีความเปนศิลปนในดานดนตรีอยูไมนอย ถึงแมจะอยูไกลจากกรุงเทพมหานครแตดนตรีตะวันตกก็ไดมีการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง ตัวอยางเชน มูลนิธิวงดุริยางคเยาวชนเชียงใหม (The Chiang Mai Youth Philharmonic Band and Sym-phony Orchestra Foundation) กอตั้งขึ้นโดยมีแกนนําคือ วิทยาลัยดุริยศิลป มหาวิทยาลัยพายัพ มูลนิธินี้เกิดจากการรวมตัวของนักดนตรี 10 กวาสถาบันการศึกษาในจังหวัดเชียงใหม มีการคัดเลือกนักดนตรีที่มีฝมือจากสถาบันตาง ๆ เพื่อใหมีโอกาสไดเขามารวมเลนดนตรีดวยกัน ไดใชเวลาวางใหเกิดประโยชน มีวาทยากรฝมือเย่ียมมาชวยฝกสอนและรวมแสดงดวยหลายทาน อาทิเชน Dr. Daniel Pittman วาทยากรจาก Georgia Southern Uniersity, USA และ คุณ Wojciech Czepiel วาทยากรชาวโปแลนดทาํใหนกัดนตรีทีม่ารวมแสดงไดรบัความรูและทักษะดานการบรรเลงบทเพลงในลักษณะการรวมวง และนาํความรูนัน้กลับไปใชยังโรงเรียนตนสังกัดไดอยางดีทีเดียว

RHYTHM 21

Did you know ?เร่ือง : James Campbellแปล : จตุรภัทร อัสดรชัยกุล

การเลือกใชจํานวนเพอรคัสชั่นใหเหมาะสมกับจํานวนเครือ่งเปากด็จูะไมใชเรือ่งงายสําหรบัหลายๆวง ผูควบคุมวงแตละคนมักจะมีการตัดสินใจในการเลือกใชจํานวนเพอรคัสช่ันกับเครื่องเปาแตกตางกันออกไป สิ่งหนึ่งที่สําคัญมากๆ สําหรับประกอบการตัดสินใจก็คือการเลือกใชเพลง ควรจะตองเลือกใหสอดคลองเหมาะสมกับระดับความสามารถของผูเลนในวงเพ่ือใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

ถึงแมวาการเรียบเรียงเพลงของแตละวงจะสะทอนถึงความเปนเอกลักษณของตัวเองก็ตาม แตก็ตองอยาลืมวาการตัดสินใจใชจํานวนคนใหเหมาะสมเพ่ือควบคุม Ensemble ใหอยูใน Balance ที่เหมาะสม โดยไมดังจนกลบวงเปนเรื่องที่มองขามไมได ตารางน้ีจะแนะนําใหเห็นถึงความเหมาะสนในการเลือกใชจํานวนเพอรคัสชั่นและเครื่องเปา เพื่อความสมดุลอยางเหมาะสม

Woodwind Snare Marching Bass& Brasswind Percussion Drums Toms Drums Cymbals Pit

35 11 2 or 3 1 or 2 2 2 250 15 3 or 4 2 3 2 or 3 2 or 365 20 5 or 6 2 or 3 4 3 3 or 480 22 6 3 4 4 4 or 5100 27 8 4 5 4 5 or 6150 32 10+ 5+ 6 5+ 6+

การพัฒนาเปล่ียนแปลงท่ีเห็นไดชัดมากข้ึน ณ ปจจุบัน สําหรับดนตรีสนาม คือ กลองใหญ (Bass Drum) ปจจุบันการตั้งเสียงกลองใหญใหเปนคู 3 ไมเนอรดูจะไดรับความนิยมมากขึ้น กลองใหญสนามในปจจุบันสามารถเลนใหสอดคลองไดทั้งทํานองหรือแนวประสาน ซึ่งสามารถทําใหประโยคเพลงมีความชดัเจนและเพลงฟงแขง็แรงขึน้ ดวยบทบาทของกลองใหญทกุวนันีค้อนขางมีบทบาทตอบทเพลงพอสมควร ดงันัน้คณุสมบตัขิองผูเลนกลองใหญจงึควรจาํเปนจะตองมไีหวพรบิในการเลนสวนโนตทีแ่ยกสวนยากๆ ไดดีดวยเชนกัน

Jam

es C

ampb

ell

R

Yamaha Coperation of America Band & Orchestra Division

RHYTHM22

คําเหลาน้ี คงเปนท่ีคุนหูกันดีในแวดวงดนตรีบานเรานะครับ เพราะไมวาเวลาจะวอรมอัพ หรือซาวดเชค็เคร่ืองดนตรีตางๆ สิง่ทีน่กัดนตรีจะหยบิออกมาจากกระเปาตอจากเครือ่งดนตรนีัน้กค็งจะหนไีมพนเครือ่งจนูเสยีงนัน่เอง แตถาวันนีเ้ราจะมาพดูกนัวาตองใชเครื่องจูนยังไงนั้น ก็คงเปนเรื่องที่ไมนาสนใจ เพราะหลายๆทานคงใชกนัเปนอยูแลว แตวนันีเ้ราจะมาบอกขอมลูทีห่ลายๆ คน ยงัอาจจะไมทราบหรือยงัสงสัยกนัอยูนั่นคือเรื่อง “ความถี่” ของการจูนเสียงนั่นเอง วาทําไมบางวงถึงใช A=440 Hz หรือบางวงใช A=442 Hz มันแตกตางกันอยางไร ??

Music Technologyสนุกกับเทคโนโลยี ดนตรีงายนิดเดียว

โดยปกติแลวการจูนวงไมวาจะเปน Wind Band หรือ Orchestra โดยสวนใหญจะมีมาตรฐานต้ังอยู ที่ A=440Hz ซึ่งเจา A ตัวนี้ก็คือ A ที่อยูบน Octave ที่ 4 บนเปยโนนั่นเอง ซึ่งมาตรฐานน้ีไดมีการกําหนดมาตั้งแตปชวงกลางศตวรรษที่ 19 โดยกอนหนาที่จะมีการกําหนดนั้น ทั่วโลกจะใชการจูนอยู ในชวงความถ่ีประมาณ A=380 - 480 Hz แลวในทางยุโรปมีการตั้งมาตรฐานครัง้แรกเปน A=435 Hz แลวคอยมาเปน A=440 Hz อยางทุกวันนี้นี่เองครับ

แตจะวาไปแลวหลายคนก็คงสงสัยวา “อาวทําไมวงเราอาจารยใหจูน A=442 Hz ละ?” คําตอบมนัอยูตรงนีค้รบั การจูนสามารถท่ีจะเปล่ียนแปลงดวยหลายปจจัย เชน อากาศ, ความกวางของ Hall Con-cert ทีจ่ะเลน, เครือ่งดนตรทีีจ่ะเลน(เชนกรณนีาํเครือ่งดนตรีสากลไปเลนกับเครื่องดนตรีพื้นบานหรืออื่นๆ) ซึง่โดยปกตแิลวการจูนใหสงูขึน้ จะทาํใหเสยีงโดยรวมมีความสวางขึ้นและจะใหความรูสึกดังขึ้น มักจะใชใน Concert Hall ขนาดใหญกันเปนประจํา ตัวอยางวง Orchestra หลายๆวงจะจูนกับเครื่องดนตรีโอโบ (Oboe) จูนท่ี A=442Hz เชนกัน สวนการจูนตํ่าลงจะทําใหเสียงดูหมนหมองลง สวนมากใชกับนักรอง อาจจะมีการ Drop ลงบางเพือ่ความสบายของนักรอง สวนวงทีจ่นูตํา่ลงตลอดกเ็หน็จะมแีต Baroque Chamber ทีจ่ะจนูที ่A=415 Hz ซึง่เปนการ Drop ลงมา 1 semi-tone เต็มๆเลยทีเดียว หลายคนคงสงสัยวา “อาว? แลวทําไมไม Transpose ลงมาเลยละ” ผมจะขอลอง

ยกตัวอยางแทนคําตอบนะครับ สมมติวาเพลงหนูมาลี ตองเลนที่คีย A แลวมีวงอยูสองวง Conductor ของทั้งสองวงตองการ Drop คียของเพลงลงมาท่ี Ab ใชวิธีการจูน A=440Hz กบัอกีหน่ึงวงท่ีตองเลนคยี A แตใชวิธีการจูนที่ A=415Hz วงที่ใชการจูนที่ A= 415 Hz เสียงที่ออกมา tone เสียงจะไมเหมอืนกบัวงแรกในหลักของทาง Physic อยางส้ินเชิง เพราะวงที่จูน A= 415 hz จะทิง้สายใหหยอนลง หรอืดงึขนาดทอจนูของเคร่ืองเปาออกใหมากขึ้น ทําใหเสียงจะตางกบัวงแรกไดอยางชัดเจนถึงแมจะเลนในคียเดียวกันตามทฤษฎีก็ตาม ฉะน้ันบางทีการจูนตํ่าก็ตองขึ้นอยูกับลักษณะของบทเพลงดวย เพราะการจูนตํ่าน้ันจะได tone เสียงที่อบอุน และไมฉูดฉาดเกินไปครับ

Beating

Frequency

à·¤â¹âÅÂÕ¡Òà Ù̈¹ (Tuning Technology)Heading : # ªÒÃ�», b á¿Åμ, A=440, A=442

KGOT120-xl

RHYTHM24

หจก.นพดลเฟอรนิเจอร193 หมู 6 ต.ศรีบัวงาม อ.เมือง จ.ลําพูน 51000

โทร.053-553587 แฟกซ.053-553139www.nop-furniture.com

E-mail:[email protected]

Bespoke FurnitureBespoke FurnitureCabinets & InteriorsCabinets & Interiors

Inspire

Design

Imagery

หรืออีกกรณีหน่ึงคือการจูนตามเครื่อง Pitch Percussion หรือ Piano ที่ไมสามารถเปลี่ยน Pitch ได

โดย Pitch percussion บางเครือ่งกจ็ะมกีารกาํหนดมาเปน A=442 Hz หรือ A=440 Hz ซึ่งจะมีการเขียนกํากับเอาไว ทําใหวงเลือกจูนตามเคร่ือง Pitch Percussion หรือ Piano

สุดทายนี้ฝากบอกวา การจูนน้ันไมจําเปนตองตรง 100% เลยทีเดียวนะครับ การเบ้ียวไปมาของความถ่ีอาจอยูระหวาง 0 -5 cents ถึงจะเปนธรรมชาติของดนตรีครับ โดยสวนตัวแลวไมแนะนาํใหพึง่การจนูดวยเครือ่งจนูเพยีงอยางเดยีวเพราะมนัคือการจูนดวยตามอง จรงิแลวเราควรจะจนูดวยหขูองเราเองดวยการฟงคนขางๆ หรือ Concertmaster ดวย “อากาศเย็นจะทําใหเสยีงเพ้ียนตํา่ สวนอากาศรอนจะทาํใหเสยีงเพีย้นสงู” ขอใหสนกุกับการเลือกจูนเนอรนะครับ สวัสดีครับ

รายละเอียดเพิ่มเติม:http://members.aon.at/fnistl/page2.htmlhttp://en.wikipedia.org/wiki/Concert_pitch

เรื่อง : ปยทัศน เหมสถาปตย

BOSS TU-80

¡ÔμμÔ à¤Ã×ÍÁ³ÕASK EXPERT

การที่ใครสักคนมีความฝนอยากจะมีเพลงเปนของตัวเองนั้น อาจตองฝกเลนดนตรีใหเปน รองเพลงใหได เขียนกลอนใหไพเราะ หรือตองอยูในภวังคความฝนและจินตนาการอยางสูงสง แตก็เปนการยากที่จะบอกวาตองทําอะไรกอนหลัง เพราะไมนอยเลยทีเดียวที่นักแตงเพลงหลายคนก็ไมไดเรียนดนตรีมาโดยตรง ถาถามวา ! รูจักเพลงประกอบภาพยนตรเหลานี้หรือไม คน ผี ปศาจ ? 13 เกมสยอง? ฝน หวาน อาย จบู ? กอ็าจจะพอคุน!! แลว รกัแหงสยาม ?* ละครับ ใบหนานองโตงกับนองมิวคงลอยมาพรอมกับ .. ถาบอกวาเพลงนี้ แตงใหเธอ เธอจะเชื่อไหม... กันเลยทีเดียว ภาพยนตทัง้หมดท่ีพดูถงึไดรบัการแตงเพลงประกอบโดย กิตติ เครือมณี ทั้งหมดครับ

การเปนนักแตงเพลงถาเราหมดความต่ืนเตนกับเพลงของเรา หรือไมมีความจริงใจกับงานเพลงที่ออกมา ก็คงไมตางกับหนังสือที่ไมนาอาน

เรื่อง: กองบรรณาธิการ

º·à¾Å§áË‹§ Ô̈¹μ¹Ò¡ÒÃ

การเริ่มตนชีวิตนักดนตรี?กิตติ เครือมณี หรือเอมม่ี

เ กิดเ ม่ือป พ .ศ . 2521 ที่จังหวัดเชียงใหม เปนนักดนตรี นักประพันธเพลง ผูควบคุมวง และนักออกแบบภาพแปรขบวน ได เข าศึกษาระดับประถมและมัธยมที่โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย โดยเริ่มเลนดนตรี ในตําแหนง French Horn โดยศึกษากับ Bro. Antonio Maria, ม. พินัย ปรีชาภรณ และ ม. ชุมพล ชาญณรงค จากนั้นเขาศึกษาตอระดับปริญญาตรีที่ คณะศลิปกรรมศาสตร จฬุาลงกรณมหาวทิยาลยั ในวิชาเอกการประพันธเพลง กับ ศ.ดร. วีระชาติ เปรมานนท และ ศ.ดร.ณรงฤทธิ์ ธรรมบุตร และศึกษาตอระดับปริญญาโทจากทีเ่ดยีวกนั ในวชิาเอกการประพันธเพลง

RHYTHM26

วันไหนที่คุณดูถูกหรือเหยียดหยามดนตรีหรือนักดนตรีสักคน วันนั้นจะเปนจุดเริ่มตนของการไมมีความสุขในดนตรีของคุณ จงอยูกับดนตรีอยางมคีวามสุข แลวดนตรจีะทาํใหคณุมคีวามสขุตลอดกาล

ในขณะที่เรียนที่โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัยไดมีโอกาสแขงกับวงดุริยางคและไดเดินทางไปเลนดนตรีทั้งในและตางประเทศ จึงเปนจุดเริ่มในการสนใจในการเรียนดนตรีอยางจริงจังเพราะมีความรูสึกวาอยากพิสจูนตวัเองในถนนของการเปนนกัดนตรีและจะมีความรูสึกทุกครั้งเวลาที่เลนเพลงวงดุริยางควา “สักวันหนึ่ง”จะตองมีเพลงทีเ่ราแตง แลวมคีนมาเลนคงจะมคีวามสขุไมนอย ในสมัยนัน้มีเพยีงคณะศลิปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่เปดสอนดานนี้จึงตั้งใจเขาเรียนตอที่สถาบันน้ีอยางจริงจัง ในขณะเรียนไดมีโอกาสเขารวมชมรมดนตรีสากลของมหาวิทยาลัย ในนาม CU Band ที่ชมรมน้ีไดเปดโลกทัศน และเปลี่ยนมุมมองโลกของดนตรีเปนอยางมาก โดยเปลี่ยนวิธีการมองดนตรี ทําใหเกิดความคิดและทัศนคติที่เปดรับและคนพบตัวเองมากขึ้น ระหวางที่เรียนก็ไดเริ่มตนสอนวงโยธวาทติทีโ่รงเรยีนบดนิทรเดชา สิงห สิงหเสนี และยังสอนตอมาจนปจจุบัน

ประสบการณและผลงานการประพันธเพลง

ผลงานที่ผานมีทั้งการแตงเพลง การเรียบเรียงเสียงประสานใหกับวงโยธวาทิต วงซิมโฟนีออรเคสตรา วงแจซบิกแบนด และวงอองซอมเบิลหลายๆประเภท รวมถงึรางวัลสตารพกิสไทยฟลมสอวอรดส ครัง้ที่ 5 สาขาดนตรีประกอบยอดเย่ียม จากภาพยนตรเร่ือง รักแหงสยาม

ในป 2003 เปนสมาชิกวง Aimachi Marching Band, Nagoya, Japan ในตาํแหนง French Horn จนถงึป 2007 และในป 2010 ไดศกึษาตอในระดบั Post grad-uate ที่ Royal Conservatoire of Ant-werp เมือง Antwerp ประเทศเบลเย่ียม โดยศึกษาการประพันธเพลงกับ Wim Henderickx และ Band Conducting กับ Dirk De Caluwe ปจจุบันเปนอาจารยประจาํที ่ภาควชิาดนตร ีคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อาจารยพเิศษท่ี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร โดยสอนทางดาน ทฤษฏีดนตรี การเรียบเรียงเสียงประสาน และการประพันธเพลง มคีอนเสริต

แสดงผลงานการประพันธเพลงใหกับวงดนตรีชั้นนําตางๆ อาทิ Kasetsart wind symphony, Nontri wind orchestra, Chulalongkorn symphony orchestra, Bangkok symphony orchestra, Tan-jong Katong symphonic band (Singa-pore), North Texas symphonic band (USA), UCLA wind ensemble (USA), Royal conservatoire of Antwerp wind symphony (Belgium), Harmonierotem wind ensemble (Belgium), Philhar-monic winds (Singapore). เปนตน

มุมมอง ทัศนะและจิตวิญญาณ“นักแตงเพลงทุกคนมีจุดออนแตก

ตางกันไป การท่ีสามารถรับรูถึงจุดนั้นและพยามแกไขเปนสิ่งที่ผมรู สึกคุมคาและมีความสุขกับการเปนนักแตงเพลงมาก ทุกครั้งท่ีผมไดยินเสียงในหัวแลวจับมันออกมาจนกลายเปนเพลง เปนความรู สึกที่ทําใหผมตื่นเตนทุกครั้งที่มันเกิดขึ้น แตในกระบวนการนั้น ความรูทางดานออรเคสเตรช่ัน ฮารโมน่ี เคานทเตอรพอยท ประวัติศาสตร จะยิ่งทําให เสียงในหัวของผมออกมาไดสมบูรณแบบมากท่ีสุด และอีกสิ่งหน่ึงที่สําคัญกับผมมากท่ีสุดนั้น คือ ดนตรีไมมีประเภท จงอยาพยามแบงประเภทใหมัน หรือ ตัดสินวาดนตรีแบบใดดีกวาแบบใด ประสบการณทั้งชีวิตของผมทําใหผมรูวาคนที่มีทัศนคติทางดนตรีที่ปด จะไมมีทางมีความสุขกับดนตรีไดเลย ดนตรทีกุประเภทลวนมวีตัถปุระสงคทีแ่ตกตางกันไป ไมมีสูงและต่ํากวากัน ผมยึดถือทัศนคตินี้มาตลอดและมันทําให โลกดนตรีของผมมีความหลากหลาย และทําใหผมมีความสุขมาก”

“การเปนนักแตงเพลงถาเราหมดความต่ืนเตนกับเพลงของเรา หรือ ไมมีความจริงใจกับงานเพลงที่ออกมาก็คงไมตางกับหนังสือท่ีไมนาอานเลมหน่ึง จึงเปนเหตุผลใหผมตองไปเรียนตอในระดับปรญิญาโท ในขณะท่ีรอศึกษาตอทีป่ระเทศอเมรกิาในป 2012 ผมมเีวลาวาง 1 ปเตม็ จงึเลือกไปเก็บเกี่ยวประสบการณที่ยุโรป การเรียนดนตรีที่ยุโรปทําใหผมรูสึกวา ดนตรีเปนสวนหนึ่งของชีวิตโดยแทจริง โดยไม

สามารถตัดขาดซ่ึงกันและกันได อาจจะเปรียบเทียบกับคนในวัฒนธรรมใกลกับเราได อยางเชน คนไทยเราไปดูคอนเสิรตเพลงคลาสสิคหรือโอเปรา เพราะใหความรูสกึวาอยูบนสังคมช้ันสูง หรือดูดี แตคนยุโรปไปดูดนตรีเหมือนเปนสวนหนึ่งของชีวิต โดยไมไดแบงแยกใดๆ และท่ีสําคัญการใหเกียรตินักดนตรีเปนส่ิงสําคัญมากสําหรับคนยุโรป ในมุมกลับกัน นักดนตรีเองก็ทํางานหนักมากเพื่อใหความไววางใจของผูฟงไมสูญเปลา ในประเทศของเราบางทีนักดนตรีเรยีกรองสิง่ตางๆเหลานีแ้ตลมืมองตวัเองไปเหมอืนกนัวากไ็มไดทาํงานหนกัดเีพยีงพอที่จะไดรับเกียรติเหลานั้นจากผูฟง ผมคิดวายังคงตองใชเวลาสักพักสําหรับศิลปะแขนงนี้ในบานเรา มิใชเฉพาะดนตรีสากลอยางเดยีวแตยงัรวมไปถึงดนตรีไทยดวย อาจารยสอนแตงเพลงผมบอกกับผมในช้ันเรียนแรกวา อยาลืมวาคุณมาจากที่ใด เพราะสิ่งนั้นจะเปนส่ิงที่สะทอนถึงเพลงของคุณออกมา ในโลกของนักแตงเพลงปจจุบันดนตรีไทยถือเปนสิ่งแปลกใหมเปนอยางยิ่ง โดยท่ีคนไทยเองไมไดใหความสําคัญกับรากเหงาของเราเองเลย

สิ่ งที่ อยากจะฝากถึงผู อ าน คือ พยายามมีความสุขกับดนตรี ไมวาคุณจะเปนคนเลน หรอืคนฟงกต็าม เปดใจใหกวางกับโลกของดนตรีเพราะมันกวางใหญมาก และท่ีสาํคญัอยาตดัสินวาใครเกงหรือไมเกง วินตัน มาซาลิส นักเปาทรัมเปตระดับโลกกลาววา คนทกุคนมคีวามเชีย่วชาญในดนตรีแตกตางกันไป บางคนเปนนักเลน บางคนเปนนักแตง บางคนเปนผูเสพ จงชื่นชมในสิ่งที่แตละคนทําไดดี และชวยเหลือในสิ่งท่ีเขาทําไมได”

R

RHYTHM 27

NEW WAVE

¾§È¡Ã¾§È¡ÃàÅÔÈÈÑ¡´ÔìÇáØÅàÅÔÈÈÑ¡´ÔìÇáØÅ

ẺÍ‹ҧ¢Í§¤¹¡ÅŒÒ½̃¹àÅ×Í¡·íÒãËŒÊÔ觷Õèã¨ÃÑ¡ áÅÐäÁ‹à¤ÂËÂØ´¾Ñ¡μ ‹Í໇ÒËÁÒÂ

เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี

การรูจักและเริ่มตนเลนดนตรีตนเองเริ่มเลนดนตรีครั้งแรกตอนอยูชั้น ป. 5 อายุ

8 ขวบได โดยเลือกเรียนอิเล็กโทนที่โรงเรียนดนตรีสยามกลการเรียนจนจบเกรด 6 เลย (อายุประมาณ 14 ป) หลังจากนั้นไดเขาเปนนักดนตรีวงโยธวาฑิตของโรงเรียนเซนตคาเบรียลตอนอายุ 11 ป เพราะก็อยากเลนดนตรีอยูแลวนอกเหนือจากเรียนอิเล็กโทน โดยไดเลือกเครื่อง Percussion และกลองชุดกับมาสเตอรเลิศศักดิ์ รักสุจริต ผานประสบการณการประกวดก็มากมาย อาทิ Yamaha Marching Band พ.ศ.2545, ชนะเลศิถวยพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหัวฯ Rungsit Chamber Competition และ Hotwave Music Award เปนตน

เกิดวันท่ี 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2531 อายุ 23 ป ปจจุบันศึกษาอยู ระดับชั้นปที่ 3คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและเปนสมาชิกวง Anton Bruckner Symphony Orchestra Linz ประเทศออสเตรีย

SiamythDrum & Bugle Corps

2008

The Conrad Young Musician Competition of Thailand 2008

Anton Bruckner Symphony Orchestra,Linz, Austria

RHYTHM28

จุดเปลี่ยนและเสนทางการเปนนักดนตรี

ตอนทีเ่รยีนอยู ม.5 เริม่มคีวามคดิท่ีเปนตวัของตวัเองมาก จงึตดัสนิใจเลอืกเรยีน Marimba อยางจริงจังกับอาจารยเจษฎา เลิศภัทรสกุล จนถึงเวลาท่ีจะตองเรียนตอในมหาวิทยาลัย (นิ่งสักพัก) ทั้ง ๆ ที่ตนเองตั้งใจอยากจะเปนหมอ เพราะทางบานเปนเภสัช พยาบาล หมอกันท้ังนั้น แตผมฟงเสียงในหัวใจของผม ใหทําในสิ่งที่รัก ผมตองเปนนักดนตรี ผมขยันซอมมากครับจนสามารถเขาศึกษาตอในโครงการศิลปะดีเดนจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จนมา ณ เวลาหนึ่งผมไดมีโอกาสไปศึกษาตอท่ีประเทศออสเตรียที่ Anton Bruckner University in Linz กับนักมาริมบาระดับโลก Prof. Bogdan Bacanu และเครื่อง Percussion Prof.Leonard Sch-midingger ตรงจุดนี้ทําใหผมไดเรียนรูความหมายของชีวิตเปนอยางมาก เพราะการไปในคร้ังนี้เปนการไปเริ่มตนเรียนปริญญาตรีใหมที่ประเทศออสเตรีย จากระยะเวลา 4 ปที่กําหนดผมใชเวลา 2 ปครับ ขยัน เรียนรูและอดทน จนรูตนเองวาขีดจํากัดและพ้ืนฐานของตนเองยังไมพรอมที่จะเดินตอ จึงตัดสินใจกลบัมาเรียนตอท่ีสถาบันเดิมที่ประเทศไทยครับ

ผลงานและประสบการณการรวมแสดงคอนเสิรต

• South East Asian Orchestra and Wind Ensemble 2006 – 2007 (SAYOWE)

• Thailand Drumline Contest 2007 (Marimba Solo) ประเภท Individual, ชนะเลิศ

• Thailand Drumline Contest 2008 และ 2009

• The Conrad Young Musician Competition 2008, ชนะเลิศถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ

• Siamyth Drum and Bugle Corps 2007 2008 และ 2009

• การแสดงเดี่ยว Marimba ที่ Royal Albert Hall, London ประเทศอังกฤษ 2008

• การแสดงเดี่ยว Marimba & Vibraphone ที่ Gulf Convention Center ประเทศบาเรนท 2008

• การแสดงเดี่ยว Marimba ,The Project Unity โดย คุณบัณฑิต อึ้งรังสี

• Chulalongkorn University Symphony Orchestra

• Bangkok Symphony Orchestra (BSO)

• World Music Contest, Kerkrade, Netherlands 2009

อยากบอกอะไรกับผูคนวันนี้ถาเราอยากทําอะไรสักอยางโดยเฉพาะการเปนนักดนตรี ผมวาเราจะตอง

ดิ้นรน แสวงหา ถาอยากรูอะไรตองหาเอาเองใหได กวาที่ตัวผมจะเดินทางมายืนอยูตรงนีไ้ดตองผานผูคนมาเยอะมากครบั เริม่ตัง้แตอาจารยคนแรกทีส่อนใหเรารูจกัดนตรี เครือ่งดนตร ีชีแ้นะใหเราไปหาใคร เรยีนกับใคร จนกระทัง่ประสบการณมากมายทีผ่มไดรบัมาตองอาศัยผูคนรอบตัวผมทุกคน ผมเปนหนีบ้ญุคุณคนมากมายครับ และอีกอยางที่สําคัญผมเช่ือวาถาตัวเราอยากเกงตอง “อยาหยุด” การไมหยุดทําใหเราไดทํางาน ไดซอม ไดเดนิทางและไดรูอะไรมีมากมายท่ีเราไมเคยรูครบั ผมอยากใหทกุคนท่ีมคีวามฝน ดิ้นรนและไขวควาหามันใหเจอ ผมก็มีความฝน ความฝนในอนาคตอยากเปนอาจารยสอนเพื่อถายทอดความรูใหเด็กไทยครับ

Anton Bruckner Symphony Orchestra,Wels,Austria

Concert กับวงSaulzburg JungePhillamonic,Italy

RHYTHM 29

Art & Acting

จ ะ มี ใ ค รทราบมากนอยหรือไมวา โรงเรียนดนตรีสยามกลการนครพงิค ภายใตการ

บริหารองคกรโดย คุณทัต สัจจะวาที ไดผลิตนักดนตรีในสังกัดโรงเรยีนฟาดฟนกบัเหลาบรรดาโรงเรยีนในเครือจนสามารควารางวัลชนะเลิศเปนตัวแทนเยาวชนประเทศไทยเขารวมการแขงขันที่ยิ่งใหญเชนนี้ถึง 3 ปซอน

โรงเรียนดนตรี สยามกลการ นครพิงค กอตั้งและดําเนินกิจการโดยกลุมคณะผูบริหารที่มีประสบการณในการบริหารจัดการทางดานการเรียนการสอนดนตรีมากวา 30 ป สรางสรรคเยาวชนท่ีมีคุณภาพสนับสนุนใหเด็กและเยาวชนไทยไดใชเวลาวางใหเปนประโยชนชวยเพ่ิมพูนทกัษะในการเรียนรู สรางจนิตนาการและความคิดสรางสรรค

สงเสริมบุคลิกภาพและจิตใจที่ออนโยนพัฒนาความฉลาดทางสติปญญา (IQ) และความฉลาดทางอารมณ (EQ) ซึ่งเปนปจจัยสําคัญท่ีผลักดันใหประสบความสําเร็จทั้งในชีวิตครอบครัวและการงานโดยปรารถนาท่ีจะเห็นเยาวชนของชาติเติบใหญเปนบุคคลท่ีมีคุณคาตอครอบครัวและตอสังคม ดวยปณิธานที่แนวแนทั้งหมดนี้ สงผลใหผลผลิตนักเรียนของโรงเรียนไดแสดงศักยภาพอันเดนชัดออกมาตอผู คนทั้งประเทศ เพราะนักดนตรีที่รวมกันเลนเปนวงไดนั้นมาจากสถาบันการศึกษาที่ตางกันในจังหวัดเชียงใหม แตตางก็มาแสวงหาความรูทางดนตรีที่ถูกตองซึ่งตองอาศัยความเช่ือและความศรัทธาอยางสูงเพราะการเรียนการสอนคือหัวใจหลักของการนําพาพวกเขาเหลานีไ้ปสูการเปนนกัดนตรีที่มีมาตรฐาน ทั้งนี้การไดรับความ

ไววางใจเพียงอยางเดียวคงไมเพียงพอ สิง่ทีว่ดัมาตรฐานและบงบอกถงึการจบัตองไดทางดานดนตรีก็คือเวทีการประกวดนั้นเอง

“Asian Beat” คือหนึ่งในการประกวดวงดนตรีสมัครเลนที่ยิ่งใหญที่สุดซึ่งจัดขึ้นในหลายภูมิภาคของเอเชีย เริ่มจากรอบคัดเลือกในประเทศและภมูภิาคทีเ่ขารวมกจิกรรม โดยผูชนะรอบสดุทายในแตละประเทศหรือภมูภิาคจะผานเขาสู รอบสุดทาย ซึ่งบรรดาผู แขงขันจะไดร วมแสดงฝไมลายมือบนเวทีเดียวกันและแขงขันสูความเปนหนึ่งแหงวงดนตรีสมัครเลนในเอเชีย ยามาฮา คอรเปอเรชั่น ไดริเริ่มโครงการ “Band Alert” ในป 1998 ตอมาไดเปลีย่นช่ือเปน “Asian Beat” ในป 2001

ผมคดิวา อจัฉรยิะ ประกอบดวยความพยายาม 99 เปอรเซนต กับพรสวรรค 1 เปอรเซนต” โทมัส อัลวา เอดิสัน กลาวไวกอนจะเสียชีวิตในป 1931 ซึ่งตอนที่เสียชีวิต “ไฟ” ในหองเขาก็ยังเปดอยู

เร่ือง: วสวัตติ์ วะดี

RHYTHM30

ทั้งนี้รางวัลหรือความสําเร็จที่ไดรับเปนผลลัพธปลายทางท่ีจับตองไดเพียงแคครูหน่ึง แตตลอดระยะทางที่ เขาไดฝกซอมเรียนรู ซึ่งกันและกัน คุณพอคุณแมและผูปกครองที่ใหการผลักดันเชิดชูและใหเกียรติพวกเขาไมวาเขาจะเหน็ดเหนื่อยและทอถอย รวมทั้งโรงเรียนสยามกลการนครพิงคสถาบนัดนตรทีีป่ระสทิธิประสาทพรแสวงของเขา สิ่งเหลานี้ตางหากที่ควรคาแกการยกยองและบมเพาะใหพวกเขาเปนคนอยางสมบูรณในอนาคตอยางแทจริง

การแขงขนัดนตรีอนัยิง่ใหญในภาคพ้ืนเอเซียแปซฟิก โดยมกีารรวมพลคนรักดนตรีเขารวมการแขงขนัและรวมเชื่อมความสัมพันธทําใหมิตรภาพงอกงามขึ้นมาจากผูที่รักดนตรีดวยกัน 10 ประเทศ สําหรับเยาวชนที่เปนตัวแทนของประเทศไทย เปนผลงาน 3 ปซอนในนามของนักเรียนจาก โรงเรียนดนตรีสยามกลการนครพิงค ที่ไดรวมโชวพลังเสียงบนเวทีไดแก

R

วง Zaitan งาน Tokyo Band Summit VS Asian Beat Grand Final Band Competition 2009 เมือง YOKOHAMA ประเทศญ่ีปุน

วง Winning Plus งาน Asian Beat Grand Final Band Competition 2011 in SEOUL ประเทศเกาหลีใต

วง Zaitan สมาชกิ1. นายตอพงศ เยาวพานนท ...กลอง2. นายภูนที ทาคํา ..................กีตารไฟฟา3. นายเพียว วาตานาเบะ .......กีตารเบส4. นายทัตพงศ สัจจะวาท ี.....คียบอรด5. นายธนาวุฒิ ศรีวัฒนะ ........ เปยโน

วง Metal Zone สมาชกิ1. นายพรรษา ศรีศฤงคาร ..... กลอง2. นายณัฏฐนันทน ปนทิม ..... กตีารไฟฟา3. นายพดุงพงศ สาธร ............. กีตารเบส4. นายจิตรพัชร แสงบุญ ......... คียบอรด5. น.ส.ณัฐกานต ลิมปไพบูลย .. เปยโน

วง Metal Zone งาน Asian Beat Grand Final Band Competition 2010 ณ โรงละครอักษรา ประเทศไทย

วง Winning Plus สมาชกิ1. นายพิสิฐ สุจริตธรรม ..............กลอง2. นายชยปญญ จันทรานุสนธิ์ ....กีตารเบส3. นายศุภปญญ จันทรานุสนธิ์ ..กีตาร4. นายรัฐนันท มีจันทร .............กีตาร5. นายเมธาสิทธิ์ เปงมัชยา ........ เปยโน,คียบอรด6. นายศุภกฤต วานิชกูล ...........คียบอรด7. น.ส.ธัญพิชชา อรินตะ ...........รองนํา

RHYTHM 31

SECTIONALSW

OO

DWIN

D

BRAS

Sเคร่ืองลิน้เด่ียว โดย เสริมศักดิ์ แกวกัน

เสียงกับทาทางโดย จักรพันธ ชัยยะ

ฉบั บ น้ี ข อแนะ นํ าเรื่องลิ้นสําหรับเครื่องดนตรีประเภทล้ินเดี่ยว (Single Reed) กันกอนนะครับ เครื่องประเภทน้ีในวงโยธวาทิตก็จะเป นเครื่องใน

ท าทางในการเป า เปนสิ่งสําคัญรองลงมาตอจากเรื่องการใชลมหายใจ ถื อ เป นสิ่ งที่ ช ว ยทํ า ให เสียงเราดีขึ้นอยางแนนอน ลักษณะทาทางในการเปา หรือของการเลนในแทบจะ

ตระกูล Clarinet และ Saxophone ทั้งหมด

ลิ้นมีใหเลือกมากมายหลายยี่หอซึ่งแตละยี่หอก็จะมีลักษณะเดนและดอยตางกันไปไมมากนัก ที่เห็นนิยมใชในบานเราก็จะมีอยู 2 ยี่หอหลักๆ คือ Rico จากประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนยี่หอยอดนิยมสําหรับนัก

ทุกเครื่อง โดยหลักแลวถูกแบงเปน 2 ประเภท คือ ทาทางขณะนั่งเปา และทาทางขณะยืนเปา (ไมรวมขณะเดินสวนสนามนะครับ)

หากสังเกตดีๆ ทัง้สองแบบมีจดุทีเ่หมือนกันอยูสองจุดใหญๆ คือลักษณะของกระดูกสันหลัง ตองต้ังตรงไมคุมงอ หรือไมเอนไปทางดานหลังเยอะจนเกินไป และฝาเทาทั้งสองขางวางแนบสนิทชิดพื้น กางขากวางเสมอไหลลงมา ความรูสึกที่ตองสัมผัสใหไดก็คือตองรูสึกเหมือนกับมีเชือกหนึ่งเสนผูกติดอยูที่กลางศีรษะ ดึงขึ้นไปดานบน สวนความแตกตางอยูที่ทาทางในขณะที่นั่งเปาจะมีจุดสัมผัสเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งจุด คือ กนที่สัมผัสบนเกาอี้แคนั้นเอง สวนที่เหลือจะมีลักษณะเหมือนกับทายืน

สําหรับเกาอี้ที่มีพนักพิง โดยการนั่งตามปกติสามารถพิงไดตามสะดวก แตในขณะที่เปาไมควรพิงเปนอยางยิ่ง เน่ืองจากแผนหลงัทีพ่งิเกาอีจ้ะทําใหการขยายตัวของปอดและประสิทธภิาพการทํางานของกระบังลมลดลง อยาลืมวากระบังลมของคนเราอยูใตปอดไปทางดานหลังนะครับ

เมื่อลักษณะทาทางเราถูกตองแลวส่ิงที่จะตามมาคืออยาทําใหรางกายเกิดอาการเกร็งจนเกินไปในขณะท่ีเปา เม่ือเริ่มทุกอยางถูกตองรางกายจะผอนคลายเองตามธรรมชาติ ตามความเปนจริงแลวในขณะท่ีเราเปารางกายของเราอาจมีสวนท่ีตองเกร็งบางเปนบางสวนเปนเรื่องธรรมดาอยูแลว แตหากเราซอมเปนประจํา และเรียนรูจักรางกายตัวเองอยางดี รวมกับการใชลมอยางถูกตอง อาการเกร็งจะลดนอยลงไป และเสียงที่เปาออกมาก็จะดีขึ้นตามลําดับครับ

อาจารยเลิศเกียรติ จงจิรจิต เคยสอนผมวา บางคร้ังเวลาเราเลนผิดบอยๆ สาเหตุอาจเกิดจากเรื่องแรกสุด คือ ทาทาง และการหายใจ เม่ือแกไขสองสวนน้ีดีแลว จนรางกายเกิดความเคยชินจนสามารถทําไดอยางเปนธรรมชาติ เราก็ไมตองนําเร่ืองน้ีมาคิดในขณะเปาไดอกีตอไป จงึทาํใหเสียงและการเลนเรามคีณุภาพมากขึน้

เกี่ยวกับผูเขียน

จักรพันธ ชัยยะ สมาชิกวง The Chiangmai Youth Philharmonic Band and Symphony Orhcestra (CPO) ตําแหนงทรัมเปต ปจจุบันเปนอาจารยประจําสอนทรัมเปตที่ วิทยาลัยดุริยศิลป มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม

ดนตรีมือใหมเนื่องจากราคาไมสูงนัก อีกย่ีหอหนึ่งคือ Vandoren จากประเทศฝร่ังเศสเปนท่ีนิยมสําหรับมืออาชีพ ราคาคอนขางสูง

การเลือกซือ้ลิน้สาํหรบัมอืใหม อนัดบัแรกเราตองทราบวาลิน้ทั้งหลายจะมีตัวเลข (เบอร) ที่แสดงความบางและหนาอยู ตั้งแตเลข 1 – 5 (สําหรับบางยี่หอ) ซึ่งแบงไดดังนี้

• บาง (soft) เบอร 1, 1.5, 2, 2.5• ปานกลาง (Medium) เบอร 3, 3.5• หนา (Hard) เบอร 4, 4.5, 5

ลิ้นบาง จะเปางายใชลมนอย ใหเสียงสดใสแตขึ้นเสียงสูงยากเหมาะสาํหรบัผูเริม่ตนหดั ลิน้หนา ใหเสยีงท่ีเตม็หนาและหนกัแนน ขึน้เสยีงสงูไดดแีตตองใชลมเยอะและบังคบัลมยาก สวนใหญผูเริม่ตนมักจะเริม่ทีเ่บอร 2 หรอื 2.5 ถากลามเนือ้ปากและใบหนาพัฒนามีความแข็งแรงขึ้นคอยขยับไปใชเบอรที่หนาขึ้นไป แตก็ไมถือเปนกฎเกณฑตายตัวนะครับวาใครควรจะตองใชลิ้นยี่หอหรือเบอรอะไร ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับปจจัยตัวแปรอื่นๆประกอบดวย เชนปาก และลมของผูเปาเปนตน

เนื่องจะล้ินเปนวัสดุที่ทํามาจากไมมีลักษณะท่ีบอบบางมาก ผูผลิตบางยี่หอจึงผลิตลิ้นที่ทําจากพลาสติกข้ึนมาซึ่งมีลักษณะเดนเรื่องความทนทาน ก็อาจเปนอีกทางเลือกหน่ึงสําหรับนองๆ ที่เริ่มตนนะครับ

เกี่ยวกับผูเขียน

เสริมศักดิ์ แกวกัน ผูเลนและปฏิบัติเครื่องดนตรี Wood-wind มานานกวา 20 ป เปนผูควบคุมวง ผูอํานวยเพลงและเปนผูฝกสอนใหกบัวงดุรยิางคชัน้นาํในประเทศไทยพรอมรางวัลมากมายทั้งระดับประเทศและนานาชาติ ปจจุบันเปนอาจารยประจําแผนการเรียนศิลปดนตรี และเปนผูฝกสอนวงโยธวาทิตโรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย จงัหวัดเชียงใหม

Provide practical tips with the leading Instructors

RHYTHM32

PERC

USSI

ON

GUA

RD

การสรางคณุภาพเสยีงทีด่ี โดย อนุสรณ พรเนรมิต

การเลนให Cleanโดย ประพันธศักดิ์ ปานเสียง

สวัสดีครับ Sound Quality หรือวิธีการสรางคุณภาพเสียงท่ีดีนั้นมีองค ประกอบอยู 3 อยาง คือ

ส วั ส ดี ค รั บ น อ ง ๆหลายคนอาจจะเคยเจอกับปญหา เก็บทาเทาไรก็ไม Clean ซักทีวันนี้ผมเลยมีวิธีง ายๆ และไมนาเบื่อดวยครับ

1. Rebound (การเดงของกลอง)อันดับแรกในเวลาที่เราตองจะตีกลองแลวใหไดคุณภาพเสียงที่ดี ก็คือการตีลงไปแลวไมมันเดงกลับขึ้นมาเองโดยธรรมชาติ ลกัษณะจะคลายกับเดงของลูกบอล เพราะเสียงทีเ่กดิจากการ

มีขั้นตอนงายๆ 4 ขั้นตอน ดังนี้1.การเลนทาที่ถูกตองและเหมือนกัน ทั้งการจับอุปกรณ

ตาํแหนงทีจ่บั การโบก ควง โยน ตองแนใจกอนวา ไมมคีนไหนเลนทาอุปกรณผิด ตอนที่ผูฝกสอนตอทาใหเด็กๆในทีมตองมั่นใจวาเด็กๆทําถูกตองตามที่เราสอน เพราะถาปลอยใหเลนแบบผิดๆไปจนชิน แลวเวลาที่เรามาตามแกจะลําบากและเสียเวลามาก

2.จังหวะในการเลนตองเหมือนกัน เราไมไดพูดถึงเรื่องความเร็ว-ชา แตพูดถึงจังหวะในการเลน เชน จับดามจังหวะที่ 1 เปล่ียนมือจังหวะที่ 5 โยนจังหวะที่ 7 รับธงจังหวะที่ 1 ควรระวังในทาที่ตองการความล่ืนไหลตอเน่ืองและทาที่ตองใชความแข็งแรงล็อกในจังหวะตางๆ ซึ่งทุกคนในทีมตองเขาใจตรงกัน

ผูฝกสอนควรบอกอารมณและความรูสึก ของทอนนั้นๆที่เลน เพ่ือใหเด็กๆในทีม แสดงออกมาดวยอารมณตรงกัน

3.การใชกลามเน้ือที่ถูกตอง ตองรูวาใชกลามเน้ือสวนไหนใชในการเลนทาน้ันๆ เชน ทาน้ีใหยืดแขนใหสุดและใชขอมือ ทาตอไปใหใชไหลขยบัขึน้ลง การเลนแบบน้ีจะทาํใหไดเรยีนรูเทคนคิการใชแรงในการเลนทาตางๆ ไดถูกตอง ทําใหเวลาเลนอุปกรณดูมีมิติ และได Effect มากขึ้น ผลพลอยไดอีกอยางหนึ่งจะทําใหการเจ็บปวดกลามเน้ือนอยลง จากการใชกลามเนื้อผิดสวนอีกดวย

4.การเลนแบบ Ensemble เปนการเลนแบบ ชําเรืองดู และ เรียนแบบกัน สมัยกอนเราอาจจะไดยินอาจารยบางทานดุวา “ทําไมนักแสดงไมมั่นใจเลย” “ทําไมเวลาเลนตองดูเพ่ือนตลอดเวลา จําทาไมไดเหรอ” ??? เราตองบอกวาสมัยนี้มันไมใชอยางน้ันแลว เพราะเวลาเราแสดง พื้นที่สนามใหญมาก เสียงเพลงที่มาอาจจะมีดีเลยบางมาไมพรอมกันบาง นอกจากการนับแลว เราควรจะมีการชําเรืองดูกนัและปรับทาใหเทากัน

เปนเหมือนการฝกใหเชื่อใจเพื่อนๆในทีมอีกดวย

*สิง่สาํคญั เราควรรูถงึท่ีมาท่ีไปของทา การใชแรงตางๆใหครบถวน อยาเลนทาแลวทาํตามกันอยางเดียวเพราะจะไมไดรบัเทคนิคทีด่ี และไมสามารถพัฒนาใหเกงขึ้นได ดวยวิธีงายๆแคนี้ก็จะ Clean และพรอมเพียงกันอยางสวยงามครับ

เกี่ยวกับผูเขียนประพันธศักดิ์ ปานเสียง ผูฝกสอนและออกแบบการแสดงการ

ใชอุปกรณ Color Guard ใหกับวงดุริยางคชั้นนําของเมืองไทยทั้งในระดับประเทศและระดบันานาชาตอิาทเิชน รายการการแขงขนัดนตรีโลก และวงดรัมคอรปภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต

Rebound นั้นจะทําไดคุณภาพเสียงที่ดีในการตี

2. The Stroke (การใชขอมือ)ถาเราจับไมแบบ Tradition Grip สําหรับมือขวาน้ันเราจะใชวิธี

การใชขอมือแบบเคาะ (Knock) ลักษณะเหมือนกับการเคาะประตู และสาํหรบัมอืซายเราจะใชวธิกีารขอมอืแบบหมนุ (Rotate)หรอืบดิลกัษณะเหมือนกับการบิดลูกบิดประตู เวลาท่ีใชขอมือในการตีกลองใหรูสึกวาเราสะบัดขอมือ โดยที่ใหเราออกแรงในการสะบัดขอมือใหเต็มที่ และใหสะบัดขอมือใหเร็วตอการตีหนึ่งครั้ง เพราะการสะบัดขอมือที่เร็วตอจะทําเสียงมีนํ้าหนักที่เต็ม เวลาที่เราเลนโนตที่ตอเนื่องกันเราจะตองใชความเร็วของการสะบัดขอมือและการออกแรงของทุกตัวโนตนั้นเทากัน ตองระวังวาหามเกร็งขอมือ แขน ขอศอก และหัวไหลในเวลาที่ตีโดยเด็ดขาดเพราะการเกรง็ขอมอืจะสงผลใหเวลาทีเ่ราตนีัน้ไมจะไมสามารถ Rebound ใหเรารูสึก Relax เวลาที่เราตี

3. Griping (การจับไม)เราจะตองไมจับไมหรือบีบไมแนนมากจนเกินไป การบีบแนน

จนเกินจะเปนการขัดขวางไมใหมันสามารถ Rebound ได จะทําใหเสียงแข็งกระดาง และในทางกลับกันก็ไมควรจับหลวมจนเกินไป จะทําใหเสียงไมเต็ม เสียงบาง เราควรจับไมใหรูสึกกระชับคือไมแนนหรือหลวมมากจนเกินไป ใหรูสึกวาไมสามารถขยับในมือเราได แลวอีกสิ่งที่สําคัญคือตําแหนงของจับไม แบงเปน 3 สวนใหจับสวนที่ 3 จากปลาย ตําแหนงตรงน้ีเรียกวา Balancing Point เปนตําแหนงที่ไมตอบสนองและ Reboundไดดีที่สุด ถาจับไมลึกจนเกินไปการ Rebound จะไมดี หรือถาเราจบัปลายจนเกินเราก็ควบคุมไมไดยาก

ถาทําไดดังนี้แลว การตีของเราจะมีคุณเสียงที่ดีขึ้น อยาลืมเอาไปฝกกันนะครับ

เกี่ยวกับผูเขียน

อนุสรณ พรเนรมิต ผูเชี่ยวชาญพิเศษทางดาน Percus-sion บริษัท สยามดนตรียามาฮา จํากัด ผูควมคุมและฝกสอนวง Max Percussionหัวหนาผูฝกสอนกลุมเครื่อง Battery Siamyth Drum and Bugle Corps

RHYTHM 33

สมัครสมาชิกนิตยสาร

วิธีการชําระเงิน (ระยะเวลา 1 ป จํานวน 12 ฉบับ)

ที่อยูในการออกใบเสร็จ

ที่อยูในการจัดสง

ขอมูลผูสมัครสมาชิก

ตองการสมัครสมาชิกนิตยสาร Rhythm Magazine จํานวน 12 ฉบับ (12 เดือน)

เริ่มตั้งแตเดือน....................................... โดยยินดีเสียคาใชจายในการจัดสงเปนจํานวนเงิน 450 บาท

เหมือนที่อยูในการจัดสง

บรษิทั/หนวยงาน..................................................หมูบาน..........................................

เลขที.่...............................ซอย.............................ถนน...............................................

ตาํบล/แขวง.................................................อาํเภอ/เขต............................................

จงัหวดั.........................................................รหสัไปรษณยี.........................................

บริษัท/หนวยงาน.....................................................หมูบาน.........................................เลขที่................................ซอย............................

ถนน............................ตาํบล/แขวง...........................อาํเภอ/เขต...................................จงัหวัด.............................รหสัไปรษณีย..................

ชื่อ........................................................นามสกุล............................................ เพศ ชาย หญิง

อายุ............ป อีเมล........................................................... โทรศัพทบาน..............................................................................................

โทรศัพทที่ทํางาน.............................................โทรสาร........................................โทรศัพทมือถือ..........................................................

เช็คสั่งจายนาม บริษัท ริธมิคส จํากัด

โอนเงินเขาบัญชี ออมทรัพย ชื่อ บริษัท ริธมิคส จํากัดธนาคารกรุงเทพ สาขาสันปาขอย เลขที่บัญชี 253-4-41407-9

สงใบสมัครสมาชิกพรอมสําเนาการโอนเงินมาท่ี ฝายสมาชิก บริษัท ริธมิคส จํากัด159/71 หมู 1 หมูบานอนุสารวิลลา ตาํบลปาแดด อาํเภอเมือง จงัหวดัเชียงใหม 50100โทร. 0-5327-3600 แฟกซ.0-5327-3601E-mail:[email protected]สอบถามขอมูลเพิ่มเติม โทร.088-1380507

RHYTHMMAGAZINE

FREE COPYRHYTHMRHYTHM

MAGAZINEMAGAZINE

live as your life

Volume 1 Issue 1 November 2011

www.RhythmMagazine.net

THAILAND INTERNATIONAL

WIND ENSEMBLE COMPETITION 2011

10

NONTRI ORCHESTRA WIND 9

ASK EXPERT

FREE COPY

FREE COPYRHYTHMRHYTHM

MAGAZINEMAGAZINE

livelive as your lifeas your life

Volume 1 Issue 2 December 2011Volume 1 Issue 2 December 2011

www.RhythmMagazine.net

PHRANAKORN DRUM & BUGLE CORPS

ASK EXPERT

DIRECTOR

EducateEntertainInspire

www.RhythmMagazine.netwww.RhythmMagazine.net