rsu

1
เรืองแสงทองไล้โลมท้องทุ่ง แผ่วลมรินหอมกลิ่นฟางฟุ้ง ดั่งจันทน์ปรุงไล้กลิ่นปรางหอม ดอกแก้วเจ้าจอมพะยอมรังสิต “เนื้อเพลงด้านบนเป็นเนื้อเพลง “ตะวันรุ่งทุ่งรังสิต” ซึ่งเป็นบทเพลง ประจำามหาวิทยาลัยรังสิตของเรานี่เอง บทเพลงที่กล่าวถึงความงามของธรรมชาติ หลังจากที่ก้าวเข้ามาในรั้วแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต หลายคนในมหาวิทยาลัยรังสิต รู้จักแค่ว่า ต้นพะยอมเป็นต้นไม้ประจำา มหาวิทยาลัย แต่จะมีสักกี่คนที่รู้กับต้นไม้อีกต้น ที่มีความสำาคัญต่อมหาวิทยา รังสิต จนกระทั่งได้มาอยู่ในเนื้อเพลง อย่างต้น “แก้วเจ้าจอม” แท้จริงแล้วหากจะดูจากเนื้อเพลงแล้ว ดอกแก้วเจ้าจอม นั้นถูกกล่าว ถึงก่อนดอกพะยอมเสียอีก แต่เหตุที่นักศึกษาหลายคนไม่รู้ว่า ต้นแก้วเจ้าจอม เป็นต้นไม้ประจำามหาวิทยาลัยอีกต้นหนึ่งคงเป็นเพราะ ในมหาวิทยาลัยเรา มีลานพะยอม ไม่มีลานแก้วเจ้าจอมก็เป็นได้ หรืออีกสาเหตุหนึ่งที่หลายคนลืมต้นแก้วเจ้าจอม อาจเป็นเพราะ ต้นแก้ว เจ้าจอมเองก็เป็นไม้ประจำามหาวิทยาลัยอื่นด้วย เหตุนี้ก็สามารถทำาให้หลายคนคง คิดว่า “ไม่ใช่ของเรา” หากใครเคยเดินผ่าน ตรงป้ายมหาวิทยาลัยรังสิต ทางด้านหน้า ก็คงจะ เห็น ต้นไม้ขนาดไม่ใหญ่มากสองต้น ปลูกอยู่ระหว่างป้าย และนานๆที ก็จะ ออกดอกชูช่อสีม่วงอมฟ้า ให้เราได้เห็นกัน แต่ “จะมีสักกี่คนที่เคยเห็นมัน” กลาย เป็นต้นไม้ที่ไม่มีคนเหลียวแลก็ว่าได้ หากนับตามความสำาคัญในการจัดองค์ประกอบของสวนด้านหนา ตึก 1 หรือ ตึกอาทิตย์อุไรรัตน์ จะมีการจัดสวนอย่างสวยงาม เต็มไปด้วยต้นไม้ นานาพรรณ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป และเป็นส่วนที่มีการบำารุงรักษาอย่างดี ที่สุด หนึ่งในนั้นมีต้นไม้ที่เรากำาลังจะกล่าวถึง นั่นคือ ต้นแก้วเจ้าจอม แก้วเจ้าจอมคู่นั้น มีอายุประมาณ 15 ปี เนื่องด้วย แก้วเจ้าจอมเป็นต้น ไม้ที่ค่อนข้างจะโตช้า เชื่อว่า ช่วงที่ปลูก แก้วเจ้าจอมและพะยอม คงปลูกในช่วง เวลาเดียวกัน แต่ แก้วเจ้าจอมมีอัตราการเจริญเติบโตที่ค่อนข้างช้ากว่า ต้นพะยอม หลายเท่านัก ดังที่เห็นในปัจจุบัน ต้นพะยอมในมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่สูงประมาณ 5-7 เมตรแล้ว ส่วน แก้วเจ้าจอมหน้ามหาวิทยาลัยของเรานั้นกลับต้นเล็กมาก ประมาณ 2-3 เมตรเท่านั้น ที่มาของต้นแก้วเจ้าจอมนี้มาจาก หมู่เกาะอินดีสตะวันออกเลยทีเดียว เนื่อง ด้วยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดดอก แก้วเจ้าจอมมาก จึงนำามาจากประเทศชวา (อินโดนีเซีย) ครั้ง เสด็จประพาส แล้วทรงนำามาปลูกใน เขตพระราชอุทยานวัง สวนสุนันทา ปัจจุบันมีเพียงต้นเดียวเท่านั้นที่เป็นต้นดั้งเดิม บริเวณด้านหลังเนินพระนาง หรือ พระบรมราชานุสรณ์สมเด็จ พระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี และภายหลัง ได้กลายมาเป็นดอกไม้สัญลักษณ์ประจำา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา และพระราชทานนามว่า “ต้นแก้วเจ้าจอม” แม้แก้วเจ้าจอมจะเป็นไม้ที่นำาเข้ามาจากต่างประเทศ แต่เนื่อง ด้วยสภาพภูมิอากาศเอเชียอาคเนย์ ซึ่งไม่แตกต่างกันมากนัก ทำาให้แก้วเจ้าจอม สามารถเจริญเติบโตได้ดีในประเทศไทย แต่แก้วเจ้าจอม ก็มีคุณลักษณะเฉพาะ นั่นคือ โตช้า แต่ก็เป็นพันธุ์ไม้ที่มีทรงพุ่มสวยงามโดยธรรมชาติ ไม่มีความจำาเป็น ในเรื่องการตัดแต่งทรงพุ่ม เรียกว่าเป็นเป็นพันธุ์ไม้ประดับที่มีมนต์เสน่ห์ที่ทรงพุ่ม สวยงามตลอดปีเลยก็ว่าได้ เนื่อจากพุ่มจะกลมอยู่เสมอ โดยไม่ต้องตัดแต่งแต่ อย่างใด เหตุที่ตำาแหน่งในการปลูกต้นแก้วเจ้าจอม อยู่ในบริเวณนั้นเนื่อง จากเป็นพันธุ์ไม้ ที่มีทรงพุ่มกลม การเจริญเติบโตค่อนข้างช้า และต้องการแสงแดดเต็มวัน จึงไม่ ควรปลูกใกล้กับพันธุ์ไม้ชนิดอื่น เพราะจะทำาให้ต้นสูงชะลูดไม่ได้รูปทรง ความหนา แน่นของใบจะลดลงมาก แก้วเจ้าจอมมีความต้องการน้ำาในระดับปานกลางเท่านั้น การรดน้ำามากหรือน้อยเกินไปจะไม่มีผลดีกับแก้วเจ้าจอม พาลใบจะร่วงเอาถ้า หากดูแลมากหรือน้อยเกินไป ส่วนดอกนั้น จะออกเป็นช่วงๆตลอดปี แต่ช่วงฤดุหนาว ตั้งแต่ พฤศจิกายน –กุมภาพันธ์ จะออกดอกมากกว่าปกติ ดอกจะ เป็นช่อดอก กลีบดอก สีม่วง -คราม จำานวน 5-6 กลีบ เกสรสีเหลือง ดอกเท่าขนาดมะลิลา หรือเล็กกว่า ส่วนช่อนั้นจะใหญ่ตามระดับความเจริญงอกงามของลำาต้น ต้นที่งามดี อาจจะช่อ ละประมาณ 30-50 ดอก เวลาบาน จะค่อยๆบาน และบานยาวนานจนกว่าจะบาน ครบทั้งดอก จึงทำาให้มองเห็นว่ากลีบดอกของต้นแก้วเจ้าจอมนั้นมีหลายสี เช่น สี ม่วง สีคาม สีฟ้า เป็นเพราะระยะเวลาในการบานไม่เทากัน ทำาให้ดอกที่บานมา ก่อน บานมานานกว่า เริ่มที่จะมีสีที่ซีดจาง แต่ก็ดีดูกลมกลืน ไปอีกแบบ ถือว่าตรง นี้กลายเป็นเสน่ห์ของต้นแก้วเจ้าจอมก็ว่าได้ นอกจากลักษณะของดอกที่มีเอกลักษณ์แล้ว สิ่ง หนึงที่เด่นชัดของต้นแก้วเจ้าจอม คือ มีอีกหลาย สายพันธุ์นั่นคือ พันธุ์ 4 ใบ 6 ใบ และ 8ใบ แต่ ที่นิยมปลูกกันมากคงเป็น 4 และ 6 ใบ มากกว่า เนื่องจาก 8 ใบนั้นเจริญ เติบโตชากว่ามาก ส่วนดอกนั้นก็ เช่นกัน เมื่อครบเวลา 5 ปี ต้อน แก้วเจ้าจอม 4 ใบ และ 6 ใบ ก็ จะออกดอก แต่ 8 ใบ อาจจะ มากกกว่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับ ความสมบูรณ์ของต้นไม้ด้วย ส่วนแก้วเจ้าจอมที่อยู่ในรั้ว รังสิตนั้นเป็นแก้วเจ้าจอมพันธุ6 ใบ ซึ่งถือว่าเป็นที่นิยมมากใน ท้องตลาด เนื่องจาก ค่อนข้างโต เร็วที่สุดในบรรดาต้นแก้วเจ้าจอม ด้วยกัน แต่ก็ยังจัดว่าช้ามาก หากไป เปรียบเทียบกับต้นพะยอม จุดเด่นที่สำาคัญของต้นแก้วเจาจอม คงไม่ใช่ดอกที่สวยงาม แต่คงเป็นทรงพุ่งที่ดูมีเสน่ห์ โดยไม่ต้องแต่งกิ่ง ไม่ว่าต้นแก้วเจ้าจอมสายพันธุ์ใดก็ยัง คงลักษณะเด่นอันนี้ไว้ คือ ต้นจะเป็นพุ่มกลมอยู่เสมอ ส่วนการขยายพันธุ์นั้น นิยมเพาะเมล็ดเพียงอย่างเดียว เพราะพันธุ์ไม้ต้นนี้ คนจะต้องการที่พุ่มสวย การ ขยายพันธุ์ทางการตอน การต่อกิ่ ก็ติดได้ยากมาก เพาะเมล็ดจึงเป็นทางเลือกที่ดี ที่สุด แต่อาจจะต้องใช้เวลานานถึง 5 ปี กว่าจะได้ชมดอกสีครามสวยๆ ประโยชน์อย่างหนึ่งที่คนทั่วไปไม่รู้นั่นคือ เนื้อไม้เป็นไม้ที่หนักที่สุดในโลก แก่นไม้มีลักษณะสีน้ำาตาลอมเขียวถึงดำา กระพี้ มีสีเหลืออ่อน เนื้อไม้แข็งมาก เป็นมัน คุณสมบัติของเนื้อไม้มีลักษณะเป็นเส้นประสานกันแน่น และหนักมาก ไม้ชนิดนี้จมน้ำา ทนต่อแรงอัด และน้ำาเค็ม จึงนิยมนำามาใช้ทำากรอบประกับเพลา เรือเดินทะเล หรือกรอบประกับเพลาเครื่องจักรในโรงงานต่างๆ ทำาสิ่ว และนำามา กลึงทำาของใช้ต่างๆ เช่น ทำาลูกโบว์ลิ่ง ทำารอก เป็นต้น นอกจากนั้นยังใช้เป็นยารักษาโรคได้โดยใช้เป็นยาสมุนไพรจากทุกส่วน ของลำาต้น โดยเฉพาะยางจากเนื้อไม้ในธรรมชาติซึ่งยางไม้นี้มีสีน้ำาตาลอมเขียว ประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิดในปริมาณค่อนข้างสูง ซึ่งมีคุณสมบัติในการ “แก้วเจ้าจอมต้นไม้ที่ถูกลืมในรั้วรังสิต” รักษาโรค ได้แก่ แก่นไม้ ยางไม้ธรรมชาติ แก้วเจ้าจอมที่ขายในตลาดต้นไม้ทั่วไปมี 2 แบบด้วยกัน คือ แบบเพาะ เมล็ดและย้ายปลูกในภาชนะปลูกขณะที่ต้นยังเล็กอยู่ และอีกแบบหนึ่งก็คือ เป็น แก้วเจ้าจอมที่ปลูกลงพื้นดินเมื่อได้ขนาดตามต้องการจะใช้วิธีการขุด ล้อมออก จากพื้นที่ (การบอน) ทั้งสองชนิด มีข้อดีแตกต่างกันออกไปคือ แบบเพาะเมล็ดและย้ายปลูก จะได้แก้วเจ้าจอมที่ค่อนข้างแข็งแรง ทรง พุ่มได้สัดส่วน ดูแลรักษาภายหลังปลูกง่าย การเจริญเติบโตภายหลังปลูกรวดเร็ว แต่ก็มีข้อจำากัดที่ขนาดของต้นจะค่อนข้างเล็ก เหมาะกับผู้ที่ยังไม่มีความรู้เกี่ยวกับ การดูแลรักษาพันธุ์ไม้ชนิดนีแบบปลูกลงพื้นดินและทำาการบอนขึ้นมาปลูก วิธีนี้จะได้แก้วเจ้าจอมที่มี ขนาดใหญ่ตามจำานวนเงินที่ท่านมี วิธีนี้เหมาะกับผู้ที่มีความต้องการต้นไม้ขนาด ใหญ่ในทันที การดูแลรักษาแก้วเจ้าจอมภายหลังปลูกจะต้องดูแลรักษาอย่างดีใน ช่วง 1 ปีหลังการย้ายปลูก คุณสุจิตร สุธาธรรม เกษตรกรผู้เพาะปลูกต้นแก้วเจ้าจอม ได้พูดถึงต้น แก้วเจ้าจอมว่า เหตุที่ต้นแก้วเจ้าจอมไม่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคงเป็นเพราะราคา ของต้นแก้วเจ้าจอมเองที่ค่อนข้างสูง เช่น ขนาดกระถางดินเผา 1 ปิ๊บราคาตกอยู่ที2000 บาท ส่วน 2 ปิ๊บ ราคาอยู่ที่ 3500 บาท ทั้งพันธุ์ 4 ใบ และ 6 ใบ แต่ที่นิยมปลูก กันมากคงเป็นพันธุ์ 6 ใบ เพราะโตเร็วกว่ามาก 3 ปี ก็จะสูงประมาณ 1.5-2 เมตร “ส่วนอื่นนั้นค่อนข้างไม่แตกต่างกัน จะมีอยู่ที่พันธุ์ 8 ใบ จะมีขนาดลำาต้น ที่เลกกว่า พันธุ์อื่นหลายเท่าและโตช้ากว่ามากดอกเล็ก จึงไม่เป็นที่นิยมของผู้ปลูก ต้นไม้ และส่วนใหญ่ลูกค้าที่ซื้อ ซื้อไปเพราะทรงพุ่ม และชื่นชอบในชื่อ มากกว่า ชมดอก เพราะหลายช่วงที่ขายได้ ก็ไม่มีดอก แต่คงเป็นเพราะ แก้วเจ้าจอมเป้นต้นไม้ที่มีเสน่ห์ทางด้านลักษณะทรงพุ่ม” นางสุจิตรกล่าว ดอกแก้วเจ้าจอมพะยอมรังสิต ย้อนกลับมาที่เพลง หลายคนก็คงยัง เก็บความสงสัย ว่าทำาไมถึงมาอยู่ในเพลงได้ แก้วเจ้าจอมมีความสำาคัญ อย่างไร ? คงต้องย้อนกลับไป เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 นาย ประสิทธิ์ อุไรรัตน์ ประธานกรรมการ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำากัด ผูดำาเนินกิจการโรงพยาบาลพญาไทในขณะนั้น พร้อมด้วย พลเอกพร ธนะ ภูมิ และ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ได้ยื่นความประสงค์ เพื่อขอรับใบอนุญาต จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา ระดับวิทยาลัย ต่อทบวงมหาวิทยาลัย คณะผู้ก่อตั้งวิทยาลัย ได้เลือกที่ดินบริเวณตำาบลคูคตในขณะนั้น อำาเภอ เมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทุ่งรังสิต เป็นสถาน ที่ก่อตั้ง จึงได้นำามงคลนาม รังสิต อันเนื่องมาจากพระนามของ สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทน เรนทร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มาตั้ง เป็นชื่อของวิทยาลัย และเนื่องด้วยต้นแก้วเจ้าจอมเป็นพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าฯทรงโปรดฯนี่เอง หลังจากนั้นไม่นาน เพลงตะวันรุ่งทุ่งรังสิต ก็ถือกำาเนิดขึ้น ราวๆ ปี พ.ศ. 2529 เป็นปีที่มหาวิทยาลัยรังสิตได้ถือกำาเนิดขึ้น ณ ท้องทุ่งธัญญาอันกว้างใหญ่ และมีความสำาคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์การ เกษตรกรรมของไทย เพลง ตะวันรุ่งทุ่งรังสิต ก้ได้ถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อให้เห็นถึงพัฒนาการของมหาวิทยาลัย จาก “อู่ข้าวอู่น้ำา” ที่สำาคัญ มาสู่สถาบันการศึกษาเพื่อเมล็ดพันธ์แห่งปัญญาในการ พัฒนาประเทศชาติ อาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ กวีเอกผู้สร้างสรรค์ผลงานเพลงตะวันรุ่งทุ่งรังสิต ได้เข้ามาซึมซับบรรยากาศของธรรมชาติแห่งท้องทุ่ง ณ มหาวิทยาลัยรังสิตเมื่อแรก เริ่มก่อตั้ง ท่านได้มองทอดสายตาผ่านไปยังท้องทุ่งอันกว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตา เป็นผืนนาที่เรียบเสมอกัน ยามอาทิตย์อุทัยดูราวกับว่ารังสีของพระอาทิตย์ได้ส่อง สว่างๆอาบแสงสีทองให้ กับยอดข้าวที่พลิ้วลู่ไปตามลม ด้วยภาพอันงดงามนี้เองทีได้จุดประกายแรงบันดาลใจให้กับกวีเอกอย่างอาจารย์เนาวรัตน์ ถ่ายทอดออกมา * ต่อหน้า 2

description

rsu keaw jao jom

Transcript of rsu

Page 1: rsu

เรืองแสงทองไล้โลมท้องทุ่ง แผ่วลมรินหอมกลิ่นฟางฟุ้ง

ดั่งจันทน์ปรุงไล้กลิ่นปรางหอม ดอกแก้วเจ้าจอมพะยอมรังสิต

“เนื้อเพลงด้านบนเป็นเนื้อเพลง “ตะวันรุ่งทุ่งรังสิต” ซึ่งเป็นบทเพลง

ประจำามหาวิทยาลัยรังสิตของเรานี่เอง บทเพลงที่กล่าวถึงความงามของธรรมชาติ

หลังจากที่ก้าวเข้ามาในรั้วแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต

หลายคนในมหาวิทยาลัยรังสิต รู้จักแค่ว่า ต้นพะยอมเป็นต้นไม้ประจำา

มหาวิทยาลัย แต่จะมีสักกี่คนที่รู้กับต้นไม้อีกต้น ที่มีความสำาคัญต่อมหาวิทยา

รังสิตจนกระทั่งได้มาอยู่ในเนื้อเพลงอย่างต้น“แก้วเจ้าจอม”

แท้จริงแล้วหากจะดูจากเนื้อเพลงแล้ว ดอกแก้วเจ้าจอม นั้นถูกกล่าว

ถึงก่อนดอกพะยอมเสียอีก แต่เหตุที่นักศึกษาหลายคนไม่รู้ว่า ต้นแก้วเจ้าจอม

เป็นต้นไม้ประจำามหาวิทยาลัยอีกต้นหนึ่งคงเป็นเพราะ ในมหาวิทยาลัยเรา

มีลานพะยอมไม่มีลานแก้วเจ้าจอมก็เป็นได้

หรืออีกสาเหตุหนึ่งที่หลายคนลืมต้นแก้วเจ้าจอมอาจเป็นเพราะต้นแก้ว

เจ้าจอมเองก็เป็นไม้ประจำามหาวิทยาลัยอื่นด้วย เหตุนี้ก็สามารถทำาให้หลายคนคง

คิดว่า“ไม่ใช่ของเรา”

หากใครเคยเดินผ่าน ตรงป้ายมหาวิทยาลัยรังสิต ทางด้านหน้า ก็คงจะ

เห็น ต้นไม้ขนาดไม่ใหญ่มากสองต้น ปลูกอยู่ระหว่างป้าย และนานๆที ก็จะ

ออกดอกชูช่อสีม่วงอมฟ้า ให้เราได้เห็นกัน แต่ “จะมีสักกี่คนที่เคยเห็นมัน” กลาย

เป็นต้นไม้ที่ไม่มีคนเหลียวแลก็ว่าได้

หากนับตามความสำาคัญในการจัดองค์ประกอบของสวนด้านหนา

ตึก 1 หรือ ตึกอาทิตย์อุไรรัตน์ จะมีการจัดสวนอย่างสวยงาม เต็มไปด้วยต้นไม้

นานาพรรณ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป และเป็นส่วนที่มีการบำารุงรักษาอย่างดี

ที่สุดหนึ่งในนั้นมีต้นไม้ที่เรากำาลังจะกล่าวถึงนั่นคือต้นแก้วเจ้าจอม

แก้วเจ้าจอมคู่นั้น มีอายุประมาณ 15 ปี เนื่องด้วย แก้วเจ้าจอมเป็นต้น

ไม้ที่ค่อนข้างจะโตช้า เชื่อว่า ช่วงที่ปลูก แก้วเจ้าจอมและพะยอม คงปลูกในช่วง

เวลาเดียวกันแต่แก้วเจ้าจอมมีอัตราการเจริญเติบโตที่ค่อนข้างช้ากว่าต้นพะยอม

หลายเท่านักดังที่เห็นในปัจจุบันต้นพะยอมในมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่สูงประมาณ

5-7 เมตรแล้ว ส่วน แก้วเจ้าจอมหน้ามหาวิทยาลัยของเรานั้นกลับต้นเล็กมาก

ประมาณ2-3เมตรเท่านั้น

ที่มาของต้นแก้วเจ้าจอมนี้มาจาก หมู่เกาะอินดีสตะวันออกเลยทีเดียว เนื่อง

ด้วยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดดอก

แก้วเจ้าจอมมาก จึงนำามาจากประเทศชวา (อินโดนีเซีย) ครั้ง

เสด็จประพาส แล้วทรงนำามาปลูกใน เขตพระราชอุทยานวัง

สวนสุนันทา ปัจจุบันมีเพียงต้นเดียวเท่านั้นที่เป็นต้นดั้งเดิม

บริเวณด้านหลังเนินพระนาง หรือ พระบรมราชานุสรณ์สมเด็จ

พระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี และภายหลัง

ได้กลายมาเป็นดอกไม้สัญลักษณ์ประจำา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนสุนันทา และพระราชทานนามว่า “ต้นแก้วเจ้าจอม”

แม้แก้วเจ้าจอมจะเป็นไม้ที่นำาเข้ามาจากต่างประเทศ แต่เนื่อง

ด้วยสภาพภูมิอากาศเอเชียอาคเนย์ ซึ่งไม่แตกต่างกันมากนัก ทำาให้แก้วเจ้าจอม

สามารถเจริญเติบโตได้ดีในประเทศไทย แต่แก้วเจ้าจอม ก็มีคุณลักษณะเฉพาะ

นั่นคือ โตช้า แต่ก็เป็นพันธุ์ไม้ที่มีทรงพุ่มสวยงามโดยธรรมชาติ ไม่มีความจำาเป็น

ในเรื่องการตัดแต่งทรงพุ่ม เรียกว่าเป็นเป็นพันธุ์ไม้ประดับที่มีมนต์เสน่ห์ที่ทรงพุ่ม

สวยงามตลอดปีเลยก็ว่าได้ เนื่อจากพุ่มจะกลมอยู่เสมอ โดยไม่ต้องตัดแต่งแต่

อย่างใด

เหตุที่ตำาแหน่งในการปลูกต้นแก้วเจ้าจอม อยู่ในบริเวณนั้นเนื่อง จากเป็นพันธุ์ไม้

ที่มีทรงพุ่มกลม การเจริญเติบโตค่อนข้างช้า และต้องการแสงแดดเต็มวัน จึงไม่

ควรปลูกใกล้กับพันธุ์ไม้ชนิดอื่น เพราะจะทำาให้ต้นสูงชะลูดไม่ได้รูปทรง ความหนา

แน่นของใบจะลดลงมาก แก้วเจ้าจอมมีความต้องการน้ำาในระดับปานกลางเท่านั้น

การรดน้ำามากหรือน้อยเกินไปจะไม่มีผลดีกับแก้วเจ้าจอม พาลใบจะร่วงเอาถ้า

หากดูแลมากหรือน้อยเกินไป

ส่วนดอกนั้น จะออกเป็นช่วงๆตลอดปี แต่ช่วงฤดุหนาว ตั้งแต่

พฤศจิกายน –กุมภาพันธ์ จะออกดอกมากกว่าปกติ ดอกจะ เป็นช่อดอก กลีบดอก

สีม่วง -คราม จำานวน 5-6 กลีบ เกสรสีเหลือง ดอกเท่าขนาดมะลิลา หรือเล็กกว่า

ส่วนช่อนั้นจะใหญ่ตามระดับความเจริญงอกงามของลำาต้น ต้นที่งามดี อาจจะช่อ

ละประมาณ 30-50 ดอก เวลาบาน จะค่อยๆบาน และบานยาวนานจนกว่าจะบาน

ครบทั้งดอก จึงทำาให้มองเห็นว่ากลีบดอกของต้นแก้วเจ้าจอมนั้นมีหลายสี เช่น สี

ม่วง สีคาม สีฟ้า เป็นเพราะระยะเวลาในการบานไม่เทากัน ทำาให้ดอกที่บานมา

ก่อน บานมานานกว่า เริ่มที่จะมีสีที่ซีดจาง แต่ก็ดีดูกลมกลืน ไปอีกแบบ ถือว่าตรง

นี้กลายเป็นเสน่ห์ของต้นแก้วเจ้าจอมก็ว่าได้

นอกจากลักษณะของดอกที่มีเอกลักษณ์แล้ว สิ่ง

หนึงที่เด่นชัดของต้นแก้วเจ้าจอม คือ มีอีกหลาย

สายพันธุ์นั่นคือ พันธุ์ 4 ใบ 6 ใบ และ 8ใบ แต่

ที่นิยมปลูกกันมากคงเป็น 4 และ 6 ใบ

มากกว่า เนื่องจาก 8 ใบนั้นเจริญ

เติบโตชากว่ามาก ส่วนดอกนั้นก็

เช่นกัน เมื่อครบเวลา 5 ปี ต้อน

แก้วเจ้าจอม 4 ใบ และ 6 ใบ ก็

จะออกดอก แต่ 8 ใบ อาจจะ

มากกกว่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับ

ความสมบูรณ์ของต้นไม้ด้วย

ส่วนแก้วเจ้าจอมที่อยู่ในรั้ว

รังสิตนั้นเป็นแก้วเจ้าจอมพันธุ์

6 ใบ ซึ่งถือว่าเป็นที่นิยมมากใน

ท้องตลาด เนื่องจาก ค่อนข้างโต

เร็วที่สุดในบรรดาต้นแก้วเจ้าจอม

ด้วยกัน แต่ก็ยังจัดว่าช้ามาก หากไป

เปรียบเทียบกับต้นพะยอม

จุดเด่นที่สำาคัญของต้นแก้วเจาจอม

คงไม่ใช่ดอกที่สวยงาม แต่คงเป็นทรงพุ่งที่ดูมีเสน่ห์

โดยไม่ต้องแต่งกิ่ง ไม่ว่าต้นแก้วเจ้าจอมสายพันธุ์ใดก็ยัง

คงลักษณะเด่นอันนี้ไว้ คือ ต้นจะเป็นพุ่มกลมอยู่เสมอ ส่วนการขยายพันธุ์นั้น

นิยมเพาะเมล็ดเพียงอย่างเดียว เพราะพันธุ์ไม้ต้นนี้ คนจะต้องการที่พุ่มสวย การ

ขยายพันธุ์ทางการตอน การต่อกิ่ ก็ติดได้ยากมาก เพาะเมล็ดจึงเป็นทางเลือกที่ดี

ที่สุด แต่อาจจะต้องใช้เวลานานถึง 5 ปี กว่าจะได้ชมดอกสีครามสวยๆ

ประโยชน์อย่างหนึ่งที่คนทั่วไปไม่รู้นั่นคือ เนื้อไม้เป็นไม้ที่หนักที่สุดในโลก

แก่นไม้มีลักษณะสีน้ำาตาลอมเขียวถึงดำา กระพี้ มีสีเหลืออ่อน เนื้อไม้แข็งมาก

เป็นมัน คุณสมบัติของเนื้อไม้มีลักษณะเป็นเส้นประสานกันแน่น และหนักมาก

ไม้ชนิดนี้จมน้ำา ทนต่อแรงอัด และน้ำาเค็ม จึงนิยมนำามาใช้ทำากรอบประกับเพลา

เรือเดินทะเล หรือกรอบประกับเพลาเครื่องจักรในโรงงานต่างๆ ทำาสิ่ว และนำามา

กลึงทำาของใช้ต่างๆ เช่น ทำาลูกโบว์ลิ่ง ทำารอก เป็นต้น

นอกจากนั้นยังใช้เป็นยารักษาโรคได้โดยใช้เป็นยาสมุนไพรจากทุกส่วน

ของลำาต้น โดยเฉพาะยางจากเนื้อไม้ในธรรมชาติซึ่งยางไม้นี้มีสีน้ำาตาลอมเขียว

ประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิดในปริมาณค่อนข้างสูง ซึ่งมีคุณสมบัติในการ

“แก้วเจ้าจอมต้นไม้ที่ถูกลืมในรั้วรังสิต” รักษาโรค ได้แก่ แก่นไม้ ยางไม้ธรรมชาติ

แก้วเจ้าจอมที่ขายในตลาดต้นไม้ทั่วไปมี 2 แบบด้วยกัน คือ แบบเพาะ

เมล็ดและย้ายปลูกในภาชนะปลูกขณะที่ต้นยังเล็กอยู่ และอีกแบบหนึ่งก็คือ เป็น

แก้วเจ้าจอมที่ปลูกลงพื้นดินเมื่อได้ขนาดตามต้องการจะใช้วิธีการขุด ล้อมออก

จากพื้นที่ (การบอน) ทั้งสองชนิด มีข้อดีแตกต่างกันออกไปคือ

แบบเพาะเมล็ดและย้ายปลูก จะได้แก้วเจ้าจอมที่ค่อนข้างแข็งแรง ทรง

พุ่มได้สัดส่วน ดูแลรักษาภายหลังปลูกง่าย การเจริญเติบโตภายหลังปลูกรวดเร็ว

แต่ก็มีข้อจำากัดที่ขนาดของต้นจะค่อนข้างเล็ก เหมาะกับผู้ที่ยังไม่มีความรู้เกี่ยวกับ

การดูแลรักษาพันธุ์ไม้ชนิดนี้

แบบปลูกลงพื้นดินและทำาการบอนขึ้นมาปลูก วิธีนี้จะได้แก้วเจ้าจอมที่มี

ขนาดใหญ่ตามจำานวนเงินที่ท่านมี วิธีนี้เหมาะกับผู้ที่มีความต้องการต้นไม้ขนาด

ใหญ่ในทันที การดูแลรักษาแก้วเจ้าจอมภายหลังปลูกจะต้องดูแลรักษาอย่างดีใน

ช่วง 1 ปีหลังการย้ายปลูก

คุณสุจิตร สุธาธรรม เกษตรกรผู้เพาะปลูกต้นแก้วเจ้าจอม ได้พูดถึงต้น

แก้วเจ้าจอมว่า เหตุที่ต้นแก้วเจ้าจอมไม่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคงเป็นเพราะราคา

ของต้นแก้วเจ้าจอมเองที่ค่อนข้างสูง เช่น ขนาดกระถางดินเผา 1 ปิ๊บราคาตกอยู่ที่

2000 บาท ส่วน 2 ปิ๊บ ราคาอยู่ที่ 3500 บาท ทั้งพันธุ์ 4 ใบ และ 6 ใบ แต่ที่นิยมปลูก

กันมากคงเป็นพันธุ์ 6 ใบ เพราะโตเร็วกว่ามาก 3 ปี ก็จะสูงประมาณ 1.5-2 เมตร

“ส่วนอื่นนั้นค่อนข้างไม่แตกต่างกัน จะมีอยู่ที่พันธุ์ 8 ใบ จะมีขนาดลำาต้น

ที่เลกกว่า พันธุ์อื่นหลายเท่าและโตช้ากว่ามากดอกเล็ก จึงไม่เป็นที่นิยมของผู้ปลูก

ต้นไม้ และส่วนใหญ่ลูกค้าที่ซื้อ ซื้อไปเพราะทรงพุ่ม และชื่นชอบในชื่อ

มากกว่า ชมดอก เพราะหลายช่วงที่ขายได้ ก็ไม่มีดอก แต่คงเป็นเพราะ

แก้วเจ้าจอมเป้นต้นไม้ที่มีเสน่ห์ทางด้านลักษณะทรงพุ่ม” นางสุจิตรกล่าว

ดอกแก้วเจ้าจอมพะยอมรังสิต ย้อนกลับมาที่เพลง หลายคนก็คงยัง

เก็บความสงสัย ว่าทำาไมถึงมาอยู่ในเพลงได้ แก้วเจ้าจอมมีความสำาคัญ

อย่างไร ? คงต้องย้อนกลับไป เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 นาย

ประสิทธิ์ อุไรรัตน์ ประธานกรรมการ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำากัด ผู้

ดำาเนินกิจการโรงพยาบาลพญาไทในขณะนั้น พร้อมด้วย พลเอกพร ธนะ

ภูมิ และ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ได้ยื่นความประสงค์ เพื่อขอรับใบอนุญาต

จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา ระดับวิทยาลัย ต่อทบวงมหาวิทยาลัย

คณะผู้ก่อตั้งวิทยาลัย ได้เลือกที่ดินบริเวณตำาบลคูคตในขณะนั้น อำาเภอ

เมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทุ่งรังสิต เป็นสถาน

ที่ก่อตั้ง จึงได้นำามงคลนาม รังสิต อันเนื่องมาจากพระนามของ สมเด็จ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทน

เรนทร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มาตั้ง

เป็นชื่อของวิทยาลัย และเนื่องด้วยต้นแก้วเจ้าจอมเป็นพระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกล้าฯทรงโปรดฯนี่เอง

หลังจากนั้นไม่นาน เพลงตะวันรุ่งทุ่งรังสิต ก็ถือกำาเนิดขึ้น ราวๆ ปี พ.ศ.

2529 เป็นปีที่มหาวิทยาลัยรังสิตได้ถือกำาเนิดขึ้น ณ ท้องทุ่งธัญญาอันกว้างใหญ่

และมีความสำาคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์การ เกษตรกรรมของไทย เพลง

ตะวันรุ่งทุ่งรังสิต ก้ได้ถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อให้เห็นถึงพัฒนาการของมหาวิทยาลัย

จาก “อู่ข้าวอู่น้ำา” ที่สำาคัญ มาสู่สถาบันการศึกษาเพื่อเมล็ดพันธ์แห่งปัญญาในการ

พัฒนาประเทศชาติ

อาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ กวีเอกผู้สร้างสรรค์ผลงานเพลงตะวันรุ่งทุ่งรังสิต

ได้เข้ามาซึมซับบรรยากาศของธรรมชาติแห่งท้องทุ่ง ณ มหาวิทยาลัยรังสิตเมื่อแรก

เริ่มก่อตั้ง ท่านได้มองทอดสายตาผ่านไปยังท้องทุ่งอันกว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตา

เป็นผืนนาที่เรียบเสมอกัน ยามอาทิตย์อุทัยดูราวกับว่ารังสีของพระอาทิตย์ได้ส่อง

สว่างๆอาบแสงสีทองให้ กับยอดข้าวที่พลิ้วลู่ไปตามลม ด้วยภาพอันงดงามนี้เองท่ี

ได้จุดประกายแรงบันดาลใจให้กับกวีเอกอย่างอาจารย์เนาวรัตน์ ถ่ายทอดออกมา

*ต่อหน้า 2