Professional practices for interior deisgner

73
1 Professional Practices INT 470

description

Professional practices for interior deisgner

Transcript of Professional practices for interior deisgner

Page 1: Professional practices for interior deisgner

1

Professional Practices INT 470

Page 2: Professional practices for interior deisgner

2

Professional Practices INT 470

สารบัญ ตอนท่ี 1 เอกสารทางธุรกิจ (งานท่ีปรึกษาโครงการ) ศึกษาความเปนไปได Feasibility Study...................................................................................................................................................................4 วิธีจัดทําแผนธุรกิจ.................................................................. ............................................. ..................................................................................................................5

ตอนท่ี 2 เอกสารเพื่อใชประกอบวิชาชีพ (งานบริหารจัดการโครงการออกแบบ) ตัวอยางแบบฟอรมการเสนองานโครงการออกแบบงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป................................18 ตัวอยางแบบฟอรมการเสนองานโครงการออกแบบ ภาษาอังกฤษ..... ........................................................... .....................................24

สัญญาจางเหมางานตกแตงภายในและเฟอรนิเจอร......................................................................... ............................................................... 28 สัญญาบริหารการกอสรางลักษณะตัวแทนเจาของ............................................................................................................................................34 สัญญาจางเขียนแบบกอสรางหรือตกแตง Working Drawing....................................................................................................................38

สัญญาจางทํา PERSPECTIVE.................................................... ........................................................................................................................................40 สัญญาจางทําแบบจําลอง Model Making.................................................... ........................................... ..................................................................42

ตอนท่ี 3 กฎหมายและพระราชบัญญัต ิ พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543.................................. ........................................................................................................................................42

ใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิก.................................. ........................................................................... ....................................................................................64 หนังสือรับรองของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม.................................. ...................................................................................... 72

Page 3: Professional practices for interior deisgner

3

Professional Practices INT 470

เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือรวบรวมเอกสารสัญญา สําคัญๆสําหรับการปฏิบัติวิชาชีพงาน

ออกแบบภายในและมัณฑนศลิปในอนาคต รวมทั้งแบบฟอรม การทําขอเสนอและขั้นตอนการออกแบบ รวมทั้งรายละเอียดกฎหมายพระราชบัญญัติ กฎกระทรวงตางๆที่เก่ียวของกับการประกอบวิชาชีพสถาปนิกภายในหรือมัณฑนากรตามความเหมาะสมที่นักศึกษาหรือผูที่สนใจ รวมทั้งบริษัท องคกรที่เก่ียวของกับวิชาชีพมัณฑนศิลปและสถาปตยกรรมภายในตางๆ นําไปประยุกตใชไดไมมากก็นอย อีกทั้งเปนประโยชนกับระบบการบริหารและการจัดการ สํานักงานหรือบริษัทที่ปรึกษางานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ซึ่งในปจจุบันวิชาชีพนี้เปนสวนหนึ่งในสาขาสถาปตยกรรมควบคุมตางๆ 4 สาขา ไดแก สาขาสถาปตยกรรมหลัก สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิสถาปตยกรรมและสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป โดยไดมีการประกาศใหใชพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปนิก พ.ศ. 2543

ตัวอยางและแบบฟอรมในเอกสารประกอบการสอนนี ้ จะชวยใหนักศึกษาและผูที่ประกอบวิชาชีพงานออกแบบภายในและมัณฑนศิลป เปนมาตรฐานรูปแบบการทําเอกสารอยางมืออาชีพที่สามารถใชงานไดตามกระบวนการขั้นตอนในการประกอบวิชาชีพไดจริง สามารถใชการประกอบธุรกิจในเบื้องตนจนถึงระดับสากล อีกทั้งเปนประโยชนตอระบบการบริหารและการจัดการในรูปการดําเนินงานตางๆของสํานักงานออกแบบอีกดวย

อาจารยคงรัฐ สุนทรโรจนพัฒนา สาขาวิชาออกแบบภายใน

คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต

คํานํา

Page 4: Professional practices for interior deisgner

4

Professional Practices INT 470

Business Document

การศึกษาความเปนไปได การศึกษาความเปนไปได การพัฒนาโครงการการพัฒนาโครงการ

FFEEAASSIIBBIILLIITTYY SSTTUUDDYY

Page 5: Professional practices for interior deisgner

5

Professional Practices INT 470

FEASIBILITY STUDY การศึกษาความเปนไปได การพัฒนาโครงการ

รายงานศึกษาความเปนไปได Feasibility Study เปนเครื่องมือสําหรับการวิเคราะหโครงการที่จะพัฒนา เชน อพารทเมนตใหเชา เปนการศึกษา เพ่ือใหรูถึงปญหาจุดเดนจุดดอยของโครงการทีจ่ะทํา เพ่ือใหทราบวาอพารทเมนตที่จะพัฒนามีโอกาสทางธุรกิจ ที่จะสามารถกาวไปขางหนาไดอยางมั่นคง และมีผลตอบแทนที่นาพอใจเพียงใดกิจการที่จะจัดต้ังขึ้นใหมหรือพัฒนาใหกาวหนาตอไปในอนาคตจําเปนตองถูกวิเคราะหปจจัยตางๆ อยางละเอียดและถูกตอง เพื่อนําไปสูการกําหนดกลยุทธการดําเนินงานใหเกิดความ ไดเปรียบในการแขงขันไปจนถึงการวางแผนในดานการ บริหาร การตลาด และการเงินอยางเปนรูปธรรม นอกจากนั้นยังถูกนําไปใช ในการประเมินความสามารถในการชําระหนี้ สําหรับผูที่ตองการกูเงินจากสถาบันการเงิน ซ่ึงมีความสําคัญไมนอยกวาหลักทรัพยที่ใช ค้ําประกัน

การวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการ : Project Feasibility Analysis

การวิเคราะหความเปนไปไดของการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย เชน อพารทเมนต จะทําการวิเคราะหในหลายๆดาน เชน

- ที่ดิน ทําเลที่ตั้ง ทางเขาออก สภาพแวดลอม - การกอสราง .- กลุมเปาหมาย (Demand)

.- คูแขง (Supply) วิเคราะห อัตราการเขาพัก คาเชา คาบริการตางๆที่เรียกเก็บจากผูเชา

.- SWOT Analysis คือการวิเคราะหปจจัยภายใน เปนการตรวจสอบความสามารถ ความพรอมของกิจการในดานตาง ๆ โดยมุงเนนในสวนตางๆ ดังนี้

จุดแข็ง (Strengths)

จุดออน ( Weaknesses)

โอกาส ( Opportunities)

อุปสรรค ( Threats)

.- การเงิน สวนสําคัญที่สุดอยูที่การวิเคราะหทางดานการเงิน หรือเรียกอีกอยางวาการวิเคราะหความคุมคาการลงทุนซึ่งเปนปจจัยหลักที่กําหนด การตัดสินใจลงทุนหรือไมลงทุนในโครงการนั้นๆ

ดัชนีที่ใชในการวิเคราะหความคุมคาของการลงทุนมี 3 ดัชนีหลักคือ

1. ระยะเวลาคืนทุน (Payback period) คือระยะเวลาที่โครงการจะใหผลตอบแทนสุทธิสะสมเทากับเงินลงทุน 2. มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net present value) คือมูลคาสุทธิของรายไดและคาใชจายรวมตลอดโครงการ 3. อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal rate of return) คืออัตราผลตอบแทนที่โครงการใหกับผูลงทุนกรณีถาตัดสินใจลงทุนโครงการ เมื่อทราบคาของทั้ง 3 ดัชนี เจาของเงินทุนก็จะทราบทันทีวาโครงการจะใหผลกําไรหรือไม มากหรือนอยอยางไร เพื่อนําไปสูการตัดสินใจ

นับเนื่องจากธรรมชาติไดสรางใหมนุษยไดวิวัฒนาการ

Page 6: Professional practices for interior deisgner

6

Professional Practices INT 470

วิธีจัดทําแผนธุรกิจ (Writing a Business Plan) แผนธุรกิจ (Business Plan) เปนเครื่องมือที่มีความสําคัญย่ิงสําหรับผูประกอบการที่ริเริ่มจะกอต้ังกิจการ แผนนี้เปนผลสรุปหรือผลรวมแหงกระบวนการคิดพิจารณา และการตัดสินใจที่จะเปลี่ยนความคิดของผูประกอบการออกมาเปนโอกาสทางธุรกิจ มีผูเปรียบเทียบวาแผนธุรกิจเปรียบเหมือนแผนที่ในการเดินทาง ที่จะชี้แนะขั้นตอนตางๆ ทีละขั้นตอนในกระบวนการกอตั้งกิจการ แผนจะใหรายละเอียดตางๆ ทั้งเรื่องของการตลาดการแขงขันกลยุทธในการดําเนินธุรกิจ การคาดคะเนทางการเงิน ที่จะชี้นําผูประกอบการไปสูความสําเร็จหรือช้ีใหเห็นถึงจุดออนและขอควรระวังดวยเชนกัน

ถาเปรียบวาแผนที่ที่ดียอมจะใหรายละเอียดถนนหนทาง และทิศทางที่ชัดเจนแลว แผนธุรกิจก็ไมตางกันในการที่จะใหรายละเอียดอยางเพียงพอที่จะทําใหผูรวมลงทุนตัดสินใจไดวาธุรกิจนั้นควรจะรวมลงทุนดวยหรือไมจากแผนธุรกิจจะทําใหผูรวมลงทุนเขาใจวัตถุประสงคของธุรกิจอยางชัดเจน เขาใจแนวคิดและปรัชญาของธุรกิจแผนปฏิบัติการ ปญหาอุปสรรค และหนทางที่เตรียมการเพื่อไปสูความสําเร็จถงึแมวาผูประกอบการจะใชเงินลงทุนของตัวเองไมตองการผูรวมลงทุน หรือเงินกูจากสถาบันการเงินแผนธุรกิจก็ยังจําเปนอยูดีเพื่อใหผูประกอบการมีแผนที่ในการบอกทิศทางของการดําเนินกิจการในอนาคต แผนธุรกิจสําคัญอยางไร สําหรับผูประกอบการแลว แผนธุรกิจเปนเอกสารที่มีความสําคัญยิ่งกวาเอกสารใดๆ ที่เคยมีการรวบรวมมาความสําคัญเหลานี้ไดแก

1. แผนธุรกิจสําคัญในฐานะที่จะใหรายละเอียดของการเริ่มตนธุรกิจ แผนธุรกิจทําใหผูประกอบการมีเปาหมายที่ชัดเจน กําหนดแนวทางของความคิด และชวยใหผูประกอบการแนวแนตอการใชทรัพยากรและกําลังความพยายามเพ่ือไปสูเปาหมาย

2. แผนธุรกิจสําคัญในฐานะเปนเครื่องมือที่จะแสวงหาเงินทุนจากผูรวมลงทุน จากกองทุนรวมลงทุน และจากสถาบันการเงินตางๆ

3. แผนธุรกิจสําคัญในฐานะที่เปนเสมือนพิมพเขียวที่ใหรายละเอียดของกิจกรรมตางๆ ทั้งกิจกรรมในการจัดหาเงินทุน กิจกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ กิจกรรมการตลาด และอื่นๆ ในการบริหารกิจการใหม แผนธุรกิจยังใชเพื่อกําหนดการปฏิบัติงานที่ตอเนื่องในอนาคตของกิจการอีกดวย แผนธุรกิจควรมีอะไรบาง เนื่องจากแผนธุรกิจที่ดียอมชวยในการวัดถึงความเปนไปไดของกิจการที่จะลงทุนแผนจึงควรประกอบดวยการวิเคราะหอยางละเอียดในตัวแปรหรือปจจัยดังตอไปนี ้

1. สินคาหรือบริการที่จะขาย 2. กลุมลูกคาที่คาดหวัง 3. จุดแข็งและจุดออนของกิจการที่จะทํา 4. นโยบายการตลาด เชน นโยบายดานราคา การสงเสริมการตลาด การกระจายสินคา 5. วิธีการหรือกระบวนการในการผลิต รวมถึงเครื่องจักร อุปกรณที่ตองใช

Page 7: Professional practices for interior deisgner

7

Professional Practices INT 470

6. ตัวเลขทางการเงิน นับตั้งแตรายไดที่คาดวาจะได คาใชจาย กําไร ขาดทุน จํานวนเงินลงทุนที่ตองการ และกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดมาหรือใชไป แผนธุรกิจที่ดี เมื่ออานแลวควรจะตองตอบคําถามเหลานี้ได

1. การกอต้ังธุรกิจเปนรูปรางชัดเจนขนาดไหน เสร็จสมบูรณแลวหรือยัง 2. ธุรกิจนี้นาลงทุนไหม 3. ธุรกิจมีแนวโนมหรือโอกาสที่จะประสบความสําเร็จตั้งแตเมื่อแรกต้ังมากนอยขนาดไหน 4. ธุรกิจนี้มีความไดเปรียบหรือความสามารถในการแขงขันในระยะยาวมากนอยเพียงใด 5. สินคาที่จะผลิตมีวิธีการผลิตที่มปีระสิทธิภาพเพียงใด 6. สินคาที่ผลิตสามารถวางตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพเพียงใด 7. วิธีการผลิตและการวางตลาดสินคานั้น มีทางเลือกอื่นๆ ที่ประหยัดไดมากกวาหรือไม 8. หนาที่ตางๆ เชนการผลิต การจําหนาย การจัดการทางการเงิน การจัดการคน มีการจัดการที่ดีและเหมาะสม

เพียงใด 9. จํานวนและคุณภาพของพนักงานที่ตองการมีเพียงพอหรือไม โดยสรุปแลวแผนธุรกิจที่มีการรวบรวมและเขียนขึ้นอยางดีนั้น ไมเพียงแตใหขอมูลที่เปนขอเท็จจริงเทานั้น ตัว

แผนตองสามารถเปนเครื่องมือสื่อสารที่ดีที่จะสงผานความคิด ผลการวิจัยและแผนที่จะนําเสนอใหกับผูอาน โดยเฉพาะอยางย่ิงเจาของเงินตองเปนพ้ืนฐานสําคัญของการบริหารและดําเนินกิจการที่จะจัดตั้งข้ึนนอกจากนี้ยังตองเปนเครื่องมือในการวัดผลความกาวหนาของกิจการ รวมถึงการประเมินถึงความเปลี่ยนแปลงที่จําเปน ดังนั้นนับไดวาการวางแผนธุรกิจเปนเรื่องที่ตองพิถีพิถัน ใชเวลาใชความพยายามเสียคาใชจายแตผลลัพธที่ไดกลับมาคือความแตกตางระหวางความสําเร็จและความลมเหลวของกิจการทีเดียว องคประกอบของแผนธุรกิจ

แมวาองคประกอบของแผนธุรกิจจะไมไดมีกําหนดไวตายตัว หากแตองคประกอบหลัก ซ่ึงนักลงทุนพิจารณาวาเปนส่ิงสําคัญและตองการรูจะประกอบดวยส่ิงเหลานี้ คือ

1. บทสรุปสําหรับผูบริหาร 2. ประวัติโดยยอของกิจการ 3. การวิเคราะหสถานการณ 4. วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจ 5. แผนการตลาด 6. แผนการจัดการและแผนกําลังคน 7. แผนการผลิต/ปฏิบัติการ 8. แผนการเงิน 9. แผนการดําเนินงาน 10. แผนฉุกเฉิน

Page 8: Professional practices for interior deisgner

8

Professional Practices INT 470

หมายเหตุ : คูมือการจัดทําแผนธุรกิจ (Business Plan) ฉบับนี้ ยอจากเอกสารประกอบการบรรยายในโครงการอบรมวิทยากร หลักสูตร "การวางแผนธุรกิจ" ซึ่งสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมไดจัดทําข้ึน เพื่ออบรมคณะจารยในระดับอุดมศึกษาสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ

คูมือการจัดทําแผนธุรกิจฉบับยอนี้จะแสดงใหเห็นความสําคัญของแผนธุรกิจ แนวทางการเขียนแผนธุรกิจและองคประกอบที่สําคัญของแผนธุรกิจพอสังเขป ผูประกอบการที่ริเริ่มประกอบกิจการหรือสิตนักศึกษา เยาวชนและบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในการดําเนินธุรกิจสวนตัวสามารถนําไปศึกษาเพ่ือเปนแนว ทางในการทําแผนธุรกิจตอไปได องคประกอบท่ี 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร

เปนสวนที่จะสรุปใจความสําคัญๆ ของแผนธุรกิจทั้งหมดใหอยูในความยาวไมเกิน 1-2 หนา สวนนี้มีความสําคัญ เพราะเปนสวนแรกที่ผูรวมลงทุนจะอานและจะตองตัดสินใจจากสวนนี้วาจะอานรายละเอียดในตัวแผนตอหรือไม ดังนั้น บทสรุปผูบริหารจึงตองชี้ใหเห็นประเด็นสําคัญสองประการคือ หนึ่งชี้ใหเห็นวามีโอกาสจริงๆ เกิดขึ้นในตลาดสําหรับธุรกิจที่กําลังคิดจะทํา สองตองชี้ใหเห็นวาสินคาหรือบริการที่จะทํานั้นจะสามารถใชโอกาสใชโอกาสในตลาดที่วานั้นใหเปนประโยชนไดอยางไร บทสรุปผูบริหารจึงตองเขียนใหเกิดความนาเชื่อถือ หนักแนน และชวนใหติดตามรายละเอียดที่อยูในแผนตอไป ผูเขียนแผนควรระลึกไวเสมอวาคุณภาพของบทสรุปผูบริหารจะสะทอนถึงคุณภาพของแผนโดยรวม จึงควรใหเวลากับการเขียนสวนนี้อยางพิถีพิถัน เนื้อหาในบทสรุปผูบริหารควรจะกลาวถึงส่ิงตอไปนี ้

1.1 อธิบายวาจะทําธุรกิจอะไรและแนวคิดของธุรกิจนั้นเปนอยางไร พยายามอธิบายใหเห็นวาสินคาหรือบริการที่จะทํานั้นจะเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต หรือวิถีการใชสินคาหรือบรกิารไปจากเดิมอยางไร บอกดวยวาธุรกิจจะกอต้ังเมื่อไรสินคา/บริการมีคุณสมบัติพิเศษอะไรในแงรูปลักษณ ประโยชนใชสอยเทคโนโลยี ฯลฯ ที่จะไดเปรียบเหนือคูแขง หากธุรกิจดําเนินการมาเปนระยะเวลาหนึ่งแลว บอกดวยวาขนาดของธุรกิจใหญขนาดไหนมีความเติบโตกาวหนาในชวงที่ผานมาอยางไร

1.2 โอกาสและกลยุทธ สรุปวาอะไรคือโอกาสทําไมจึงนาในใจ และจะใชโอกาสนั้นดวยวิธีอยางไร ขอมูลสวนนี้อาจนําเสนอในรูปขอเท็จจริงของตลาดเงื่อนไขตลาด สภาพของคูแขง (เชนคูแขงขันไมปรับปรุงสินคามานานแลว คูแขงขันกําลังเพลี่ยงพลํ้าแนวโนมของอุตสาหกรรมและอื่นๆ ที่แสดงวาโอกาสทางการคากําลังเปดให

1.3 กลุมลูกคาเปาหมายและการคะเนลูกคาเปาหมาย ระบุและอธิบายยอๆ ถึงลักษณะตลาด ใครเปนกลุมลูกคาหลัก จะจัดวางตําแหนงผลิตภัณฑอยางไรจะวาง แผนการเขาถึงลูกคาอยางไร รวมถึงขอมูลที่เก่ียวของกับโครงสรางของตลาด ขนาด และอัตราการเติบโตของกลุมลูกคา ยอดขาย และสวนแบงตลาดที่คาดหมาย

1.4 ความไดเปรียบเชิงแขงขันของธุรกิจ ระบุถึงความไดเปรียบและความเหนือกวาในการแขงขัน เชนความไดเปรียบจากตัวผลิตภัณฑ การไดเปรียบจากการเขาตลาดกอน ความไดเปรียบจากการที่คูแขงขันอยูในภาวะออนแอ ตลอดจนเงื่อนไขอื่นๆ ของอุตสาหกรรมนั้น ๆ

Page 9: Professional practices for interior deisgner

9

Professional Practices INT 470

1.5 ความคุมคาเชิงเศรษฐกิจและความสามารถในการทํากําไร บทสรุปใหเห็นถึงความคุมคาของการลงทุน เชน กําไรขั้นตน กําไรจากการดําเนินงานระยะเวลาของการทํากําไร ระยะเวลาการคุมทุน ระยะเวลาที่กระแสเงินสดจะเปนบวก การคาดหมายอัตราผลตอบแทนจาการลงทุน และการคาดคะเนผลตอบแทนทางการเงินอื่น ๆ

1.6 ทีมผูบริหาร สรุปความรูความสามารถ ประสบการณ และทักษะของผูที่เปนตัวหลักในการกอตั้งและบริหาร พรอมสมาชิกในทีม บอกยอๆ ถึงความสําเร็จในอดีตโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการทํากําไร การบริหารงานและคน

1.7 ขอเสนอผลตอบแทน ระบุส้ันๆ ถึงเงินลงทุนหรือเงินกูที่ตองการจะเอาเงินไปทําอะไร จะตอบแทนเจาของเงินอยางไร ผลตอบแทนของการลงทุนของเจาหนาที่หรือผูรวมลงทุนจะเปนเทาใด องคประกอบท่ี 2 ประวัติยอของกิจการ

สวนนี้คือ การใหขอมูลเบื้อตนเกี่ยวกบัประวัติความเปนมาของการกอการทั้งในดานรูปแบบการจัดตั้งหรือจดทะเบียน ตลอดจนแนวคิดและที่มาของการเล็งเห็นโอกาสทางการตลาด การคิดคนและพัฒนาสินคา/บริการ ที่ตองการนําเสนอใหกับลูกคากลุมเปาหมาย นอกจากนี้ควรใหขอมูลเก่ียวกับเปาหมายระยะที่ตองการใหเปนในอนาคต องคประกอบท่ี 3 การวิเคราะหสถานการ

ข้ันตอนแรกของการจัดทําแผนธุรกิจคือ การพยายามทําความเขาใจถึงสภาพแวดลอมของการดําเนินธุรกิจในปจจุบันและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของปจจัยสําคัญๆที่สงผลกระทบตอสถานการณการแขงขัน ความนาสนใจโดยรวมของอุตสาหกรรม ตลอดจนความสามารถในการทํากําไรและความพรอมในดานตางๆ ของกิจการ ดังนั้นการวิเคราะหสถานการณจึงเปนงานอันดับแรกที่สําคัญที่ผูประกอบการควรกระทําเพื่อใชเปนขอมูลในการกําหนดทิศทาง กลยุทธ และแผนการดําเนินงานของกิจการ

การวิเคราะหสถานการณหรือเรียกอยางยอๆ วา SWOT ANALYSIS 1) การวิเคราะหปจจัยภายใน หมายถึง การตรวจสอบความสามารถและความพรอมของกิจการในดานตางๆ

ทั้งนี้โดยมุงเนนการวิเคราะหในสวนที่เปนจุดแข็ง (Strengths) และจุดออน (Weaknesses) ของกิจการ 2) การวิเคราะหปจจัยภายนอก หมายถึง การประเมินสภาพแวดลอมในการดําเนินธุรกิจที่ผูประกอบการไม

สามารถควบคุม หรือเปล่ียนแปลงได ดังนั้นจึงตองพยายามเขาใจในสถานการณปจจุบันและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของสภาพแ;ดลอมดังกลาว เปนไปในลักษณะที่เปนโอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค (Threats) ในการดําเนินธุรกิจ

ผลลัพธจากข้ันตอนของการวิเคราะหสถานการณคือ บทวิเคราะหความเปนไปและแนวโนมการเปล่ียนแปลงของการดําเนินธุรกิจที่เปนประโยชนในการกําหนดกลยุทธดานตางๆ ของกิจการ องคประกอบท่ี 4 วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจ

Page 10: Professional practices for interior deisgner

10

Professional Practices INT 470

วัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจ หมายถึง ผลลัพธทางธุรกิจที่กิจการตองการไดรับในชวงระยะเวลาของแผนซึ่งโดยทั่วไปเปาหมายทางธุรกิจอาจเปนเปาหมายโดยรวมของกิจการและเปาหมายเฉพาะดานในแตละแผนกหรือลักษณะงาน เชน เปาหมายทางการตลาด เปาหมายทางการจัดการ เปาหมายทางการผลิต และเปาหมายทางการเงิน เปนตน นอกจากนี้เปาหมายทางธุรกิจอาจแบงเปนเปาหมายระยะส้ันคือ ภายใน 1 ป เปาหมายระยะกลางประมาณ 3-5 ป และเปาหมายระยะยาวที่นานกวา 5 ป ลักษณะของเปาหมายของธุรกิจที่ดีมี 3 ประการคือ

1) มีความเปนไปได หมายความวา กิจการมีโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายได หากไดมีการดําเนินงานอยางเต็มที่ตามแผนธุรกิจที่วางไว การกําหนดเปาหมายทางธุรกิจควรประเมินจากสภาพแลดลอมในการดําเนินธุรกิจทั้งภายนอกและภายใจกิจการ กลาวคือ ไมควรตั้งเปาหมายที่เลื่อนลอยเกินความจริงจนทําไมได และกอใหเกิดความทอแทแตก็ไมควรต้ังเปาหมายที่งายจนเกินไปจนไมตองทุมเทความพยายามใดๆ ก็สามารถที่จะบรรลุเปาหมายไดโดยงาย เปาหมายที่ดีจึงควรเปนผลลัพธที่ทําไดยากแตมีความเปนไปได

2) สามารถวัดผลไดอยางเปนรูปธรรม หมายถึงมีความชัดเจนที่สามารถประเมินไดวากิจการบรรลุตามเปาหมายนั้นหรือไม ทั้งนี้โดยทั่วไป ควรจะตองกําหนดระยะเวลาใหชัดเจนวาจะตองบรรลุถึงเปาหมายนั้นภายในระยะเวลาเทาใด

3) เปนไปในทิศทางเดียวกัน หมายถึง เปาหมายยอยๆ ในแตละฝายควรมีความสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกัน พรอมทั้งในแนใจวาเปาหมายระยะสั้นๆเปนไปเพ่ือสนับสนุนและสงเสริมเปาหมายในระยะปานกลางและระยะยาว กลาวคือ ไมมุงหวังเพียงกําไรหรือผลลัพธในระยะส้ันมากจนเกินไป โดยเฉพาะหากผลในระยะส้ันนั้นจะกอใหเกิดผลเสียไดในระยะปานกลางและระยะยาว องคประกอบท่ี 5 แผนการตลาด

แผนการตลาด คือ การกําหนดทิศทางและแนวทางในการทุมเทความพยายามทางการตลาด ตลอดจนกลไกในการตรวจสอบและประเมินผลกิจกรรมการตลาดไวลวงหนาโดยใชประโยชนจากความเขาใจที่ไดรับจากการวิเคราะหสถานการณในองคประกอบที่ 3 มาพิจารณารวมกับวัตถุประสงคและเปาหมายทางธุรกิจที่กําหนดไวในองคประกอบที่ 4

ดังนั้น การวางแผนการตลาดจึงเปนการกําหนดกลยุทธและวิธีในการดําเนินกิจกรรมทางการตลาดเพื่อใหกิจการสามารถบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายที่มุงหวัง โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากรทางการตลาดใหเกิดประโยชนสูงสุดในการตอบรับกับความเปนไปและแนวโนมการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอมในดําเนินธุรกิจทั้งภายนอกและภายในกิจการ เนื้อหาของแผนการตลาดตองตอบคําถามหลักๆ ใหกับผูประกอบการอยางตอนอยดังตอไปนี้ คือ เปาหมายทางการตลาดที่ตองทําใหไดในระยะเวลาของแผนคือเรื่องอะไรบาง ใครคือลูกคากลุมเปาหมาย ทั้งกลุมเปาหมายหลักและกลุมเปาหมายรอง จะนําเสนอสินคา/บริการอะไรใหกลุมเปาหมาย ในราคาเทาใด และดวยวิธีการใด จะสรางและรักษาความพึงพอใจใหกับกลุมเปาหมายเหลานั้นไดดวยวิธีการใดบาง ถาสถานการณไมเปนไปตามที่คาดหวังไวจะปรับตัวหรือแกไขอยางไร

Page 11: Professional practices for interior deisgner

11

Professional Practices INT 470

ในการตอบคําถามดังกลาวขางตน ผูประกอบการจําเปนตองใชความรู ความสามารถ ตลอดจนประสบการณและความวิจารณญาณที่ดี ในการกําหนดเปาหมาย กลยุทธ และวิธีการทางการตลาดสําหรับกิจการตามองคประกอบที่สําคัญของแผนการตลาดซึ่งมีเนื้อหาหลัก 4 สวน ดังตอไปนี้ คือ เปาหมายทางการตลาด การวิเคราะหกลุมเปาหมาย กลยุทธและกิจกรรมทางการตลาด กลยุทธการตลาดเพ่ือความไดเปรียบในการแขงขัน กลยุทธเพ่ือการเติบโตทางการตลาด กลยุทธสวนประสมทางการตลาด การควบคุมและประเมินผลทางการตลาด

องคประกอบท่ี 6 แผนการจัดการและแผนคน

ในสวนนี้ผูจัดทําแผนจะตองระบุโครงสรางขององคการใหชัดเจน โดยแสดงแผนผังโครงสรางขององคกรวาประกอบไปดวยหนวยงานอะไรบาง หนวยงานแตละหนวยมีความรับผิดชอบอะไร รวมถึงตําแหนงผูบริหารหลักๆ ขององคการโครงสรางของคณะกรรมการและการถือหุน การเขียนในสวนนี้ควรจะทําใหผูอานเห็นวาคณะผูบริหารรวมตัวกันในลักษณะเปนทีมที่ดีในการบริหาร มีความสมดุลในดานความรู ความสามารถที่ครบถวน ทั้งดานเทคนิคและการบริหาร มีความชํานาญและประสบการณในกิจการที่ทํา รายละเอียดในสวนนี้ประกอบดวยหัวขอดังตอไปนี้ คือ

1) โครงสรางองคกร 1.1 ตําแหนงงานหลักๆ ขององคการ คนที่จะมาดํารงตําแหนงพรอมทั้งแผนผังองคการ1.2 หากผูบริหารคนใดคนหนึ่ง ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดเต็มเวลา ตองระบุวาใครจะเปนผูชวยในงานนั้น เพื่อทําใหงานสมบูรณ 1.3 หากทีมงานผูบริหารเคยทํางานรวมกันมากอนใหระบุวาเคยทํางานอะไร มีความสําเร็จในฐานะทีมที่ดีอะไรบาง

2) ตําแหนงบริหารหลัก 2.1 ระบุวาตําแหนงบริหารหลักๆ มีความรู ความชํานาญอะไรบางและมีความเหมาะสมในตําแหนง

งานนั้นอยางไร 2.2 ระบุบทบาท ภาระความรับผิดชอบของแตละตําแหนงในทีมบริหาร 2.3 อาจใสประวัติส้ันๆ ของทีมบริหารเอาไวในสวนนี้ดวยก็ได หรือมิฉะนั้นอาจนําไปใสไวรวมกันใน

ภาคผนวก

Page 12: Professional practices for interior deisgner

12

Professional Practices INT 470

3) ผลประโยชนตอบแทนแกผูบริหาร ระบุเงินเดือนที่จายแกผูบริหาร ตลอดจนผลประโยชนในรูปแบบอื่นๆ และสัดสวนการถือหุน ของผูบริหารแตละคน

4) ผูรวมลงทุน ระบุผูรวมลงทุนอ่ืนๆ และเปอรเซ็นตการถือหุน 5) คณะกรรมการบริษัท ระบุคุณสมบัติของกรรมการบริษัท องคประกอบและภูมิหลังของกรรมการแตละคนวาจะเปนประโยชนตอกิจการอยางไร

องคประกอบท่ี 7 แผนการผลิต การจัดทําแผนการผลิต/ปฏิบัติการ

หลังจากที่ผูประกอบการ ไดทําการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกของกิจการ ตลอดจนกําหนดวัตถุประสงคทางธุรกิจและแผนกลยุทธของกิจการในภาพรวม เพื่อสรางความไดเปรียบเชิงแขงขันแลว ผูประกอบการจําเปนตองถายทอดสิ่งเหลานั้นใหออกมาเปนแผนการผลิต/ปฏิบัติที่สอดคลองและเชื่อมโยงกับแผนธุรกิจสวนอื่นๆ ของบริษัท อันไดแก แผนการตลาด แผนการบริหารและจัดการบุคลากรและแผนการเงิน เพ่ือสนับสนุนและสงเสริมใหองคกรมีศักยภาพในการบรรลุเปาหมายตามแผนนั้น ๆ

แผนการผลิต/ปฏิบัติการที่ดีจะตองสะทอนความสามารถของกิจการในการจัดการกระบวนการผลิตและปฏิบัติการใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการแขงขันใหกับธุรกิจ โดยมุงเนนประเด็นการจัดการไปยังระบบการแปลงสภาพวัตถุดิบและทรัพยากรในการผลิตใหเปนผลผลิตซ่ึงสามารถแสดงความสัมพันธไดดังแผนภาพที่ 1 โดยวัตถุดิบและทรัพยากรนั้น หมายถึง ปริมาณวัตถุดิบที่ใช ชั่วโมงแรงงานที่ทําการผลิต หรือคาใชจายรวมของทรัพยากรทุกอยางที่ใชไดแก คาวัตถุดิบ คาแรงงาน เงินลงทุน และอื่นๆ สําหรับกระบวนการผลิตและปฏิบัตกิาร หมายถึง กระบวนการในการแปลงสภาพวัตถุดิบและทรัพยากรการผลิตใหเปนผลผลิต และผลผลิตนั้น หมายความถึง จํานวนหรือมูลคาของสินคาและบริการที่ผลิตได

Page 13: Professional practices for interior deisgner

13

Professional Practices INT 470

ในการวางแผนการผลิต/ปฏิบัตินั้น ผูประกอบการตองพิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวของกับการผลิตและ

ปฏิบัติการภายในกิจการตามประเด็นที่สําคัญๆ รวม 10 ประเด็นดังตอไปนี้ คือ 1. คุณภาพ 2. การออกแบบสินคาและบริหาร 3. การออกแบบกระบวนการผลิตและปฏิบัติการ และการตัดสินใจเรื่องกําลังการผลิต 4. การเลือกสถานที่ตั้ง 5. การออกแบบผังของสถานประกอบการ 6. การออกแบบระบบงานและการวางแผนกําลังคน 7. การจัดกระบวนการจัดสงวัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูป (Supply-Chain Management)

8. ระบบสินคาคงคลัง 9. กําหนดการผลิตและปฏิบัติการ 10. การดํารงรักษาเครื่องมือและเครื่องจักร

องคประกอบท่ี 8 แผนการเงิน

ในการจัดทําแผนธุรกิจนั้น กิจการตองทราบใหไดวาแผนที่จะจัดทําขึ้นนั้น เปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม การที่จะบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว จะตองใชเงินลงทุนจํานวนเทาใด จะไดมาจากแหลงใดบางจากแหลงเงินทุนภายใน

Page 14: Professional practices for interior deisgner

14

Professional Practices INT 470

ในรูปของเจาของกิจการ หรือแหลงเงินทุนภายนอกในรูปของการกูยืมจากเจาหนี้ เรียกวา กิจกรรมจัดหาเงิน (Financing Activities) จากนั้นจะเปนเรื่องของการตัดสินใจนําเงินไปลงทุน กิจกรรมนี้เรียกวา กิจกรรมลงทุน (Investing Activities) ซึ่งจะแตกตางไปตามประเภทของธุรกิจ กิจกรรมที่สําคัญตอเนื่องจากกิจกรรมดังกลาวขางตนคือ กิจกรรมดําเนินงาน (Operating Activities) ซึ่งจะประกอบไปดวยการผลิต การซื้อ การขาย และการจายคาใชจายตางๆ

การตัดสินใจเกี่ยวกับกิจกรรมหลักทั้งสาม คือ กิจกรรมจัดหาเงิน กิจกรรมลงทุน และกิจกรรมดําเนินงานจะเปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จของการดําเนินธุรกิจ นักบัญชีจะเปนผูนําเสนอผลของกิจกรรมทั้งสาม และสรุปออกมาเปน งบการเงิน (Financial Statements)ซ่ึงเปนรายงานสรุปขั้นสุดทายของขบวนการจัดทําบัญชี ที่แสดงใหเห็นถึงขอมูลทางการเงินของธุรกิจหรืออาจจะเปนงบการเงินที่ครอบคลุมการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ทั้งนี้เพ่ือใหทราบวาในรอบระยะเวลาที่ผานมานั้น ธุรกิจมีฐานะการเงินอยางไร กําไรหรือขาดทุน มีการเปล่ียนแปลงในเงินสดอยางไรบาง เพิ่มขึ้นหรือลดลง และสาเหตุเกิดจากอะไร งบการเงินประกอบดวย

(1) งบดุล เปนรายงานที่แสดงถึงฐานะของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง ในงบดุลจะประกอบไปดวยขอมูลทางการเงินที่แสดงถึงฐานะของกิจการ คือ ขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูเปนเจาของ

(2) งบกําไรขาดทุน เปนงบที่แสดงถึงผลการดําเนินงานของกิจการโดยแสดงรายได คาใชจายและกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ในชวงระยะเวลาหนึ่ง

(3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของสวนของผูเปนเจาของหรือสวนของผูถือหุนประกอบไปดวย 2 สวนดวยกัน คือ ทุนเรือนหุน กําไรสะสม

งบนี้จึงแสดงใหเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของทุนเรือนหุนและกําไรสะสม (4) งบกระแสเงินสด เปนงบการเงินที่ใหขอมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินใดในรอบระยะเวลาใด

เวลาหนึ่ง จะรายงานใหทราบวา เงินสดในปปจจุบันที่เพ่ิมขึ้นหรือลดลงนั้น มีสาเหตุจากอะไรในกิจกรรม 3 ประเภท ดังตอไปนี ้

1. กิจกรรมดําเนินงาน 2. กิจกรรมลงทนุ 3. กิจกรรมจัดหาเงิน (5) นโยบายบัญชี หมายถึง หลักการบัญชีหรือวิธีปฏิบัติที่กิจการใชในการจัดทําและนําเสนอ งบ

การเงิน เนื่องจากหลักการบัญชีที่กิจการเลือกใชมีไดหลายวิธี วิธีการบัญชีที่กิจการเลือกใชจะมีผลกระทบตองบการเงินไมเหมือนกัน กิจการจึงตองบอกขอมูลดงักลาวใหผูใชในงบการเงินทราบ โดยทั่วไปแลวกิจการควรเปดเผยนโยบายบัญชีในเรื่องตอไปนี้ไวในงบการเงิน

วิธีการรับรูรายได การตีราคาสินคาคงเหลือ

Page 15: Professional practices for interior deisgner

15

Professional Practices INT 470

การตีราคาเงินทุน คาเผ่ือหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ วิธีการคิดคาเส่ือมราคา และการตัดบัญชีสินทรัพยไมมีตัวตน การแปลงคาเงินตราตางประเทศ การจัดทํางบการเงินรวม

องคประกอบท่ี 9 แผนการดําเนินงาน

หลังจากผูประกอบการกําหนดกลยุทธในดานตางๆ ของกิจการอยางรอบคอบและครบถวนแลวขั้นตอนตอมาก็คือ การจัดทํารายละเอียดของกลยุทธดังกลาว โดยการกําหนดกิจกรรมของกลยุทธแตละดานใหเปนรูปธรรมที่ชัดเจน

ในทางปฏิบัติ ผูประกอบการอาจจะทําแผนการดําเนินงานในลักษณะของตารางที่มีรายละเอียดของเปาหมาย กลยุทธ วิธีการ งบประมาณ และระยะเวลาดําเนินการ โดยจัดทํารายละเอียดเปนรายเดือนหรือรายสัปดาห ตามที่ผูประกอบการเห็นสมควร

Page 16: Professional practices for interior deisgner

16

Professional Practices INT 470

องคประกอบท่ี 10 แผนฉุกเฉิน

แผนฉุกเฉินเปนการเตรียมแนวทางการดําเนินงานไวลวงหนาในกรณีที่สถานการณ หรือผลลัพธจากการดําเนินงานไมเปนไปตามที่คาดไว หรือมีเหตุการณที่ไมคาดฝนเกิดข้ึนจนเปนผลกระทบในทางลบกับกิจการ ซึ่งโดยทั่วไปผูประกอบการควรอธิบายลักษณะความเส่ียงทางธุรกิจที่อาจสงผลใหการดําเนินธุรกิจไมเปนไปอยางราบรื่นตามแผนธุรกิจที่ไดกําหนดไว

ตัวอยางของประเด็นความเสี่ยงทางธุรกิจและการเตรียมพรอมทีค่วรระบุไวในแผนฉุกเฉินไดแกกรณีดังตอไปนี ้

ยอดขายหรือการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมเปนไปตามคาดหมายจนทําใหเงินสดหมุนเวียนขาดสภาพคลอง

Page 17: Professional practices for interior deisgner

17

Professional Practices INT 470

ธนาคารไมใหเงินกูหรือลดวงเงินกู คูแขงตัดราคาหรือจัดกิจกรรมสงเสริมการขายอยางตอเนื่องระยะยาว มีคูแขงรายใหมที่มีขนาดใหญกวา ทันสมัยกวา มีสินคาครบถวนกวา ราคาถูกกวา เขาสูอุตสาหกรรม

หรือมาต้ังอยูในบริเวณใกลเคียง สินคาถูกลอกเลียนแบบและขายในราคาที่ถูกกวา มีปญหากับหุนสวนจนไมสามารถรวมงานกันได สินคาผลิตไมทันตามคําสั่งซื้อเนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ สินคาผลิตมากจนเกินไป ทําใหมีสินคาในมือเหลือมาก เกิดการชะงักการเติบโตของทั้งอุตสาหกรรม ตนทุนการผลิต/การจัดการสูงกวาที่คาดไว ฯลฯ

คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต

หมูบานเมืองเอก ถนนพหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธาน ีโทร 02-9972222 ext. 3435 Fax. 3435 E-mail : [email protected] www.rsu.ac.th/arts

Page 18: Professional practices for interior deisgner

18

Professional Practices INT 470

(งานบริหารจัดการโครงการออกแบบ)

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

การเสนองานโครงการออกแบบการเสนองานโครงการออกแบบ งานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

Page 19: Professional practices for interior deisgner

19

Professional Practices INT 470

ตราสัญลักษณ บริษัท

รายละเอียดการบริการวิชาการงานออกแบบภายใน

โครงการ…………………………………………………………….

1.รายละเอียดของโครงการ Area 50 m2

- …………………………………………………………….

- …………………………………………………………….

- …………………………………………………………….

- …………………………………………………………….

- …………………………………………………………….

- …………………………………………………………….

- …………………………………………………………….

- …………………………………………………………….

ทั้งนี้โดยรวมประมาณราคาคากอสรางงานตกแตงภายในทั้งหมด โดยคิดประมาณตารางเมตรละ ……………………

บาท เปนจํานวนเงินโดยประมาณทั้งสิ้น…………………………………………………………….บาท (…………………………………………………………….) โดยไมรวมอุปกรณพิเศษที่ใชในการบริการดานความงามและของประกอบการตกแตง , งานระบบไฟฟา, ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ , ระบบสุขาภิบาล ระบบโสตทัศนและระบบควบคุมตาง ๆ

2.ขอบเขตของงานออกแบบภายใน

2.1 งานออกแบบ เขียนแบบและรายการการกอสรางงานออกแบบภายใน

2.1.1 การแบงเนื้อที่การใชสอยและการจัดวางผังเพ่ิมเติมตามความเหมาะสม

2.1.2 การจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกอาคารใหสัมพันธกัน

2.1.3 การงวางผังเฟอรนิเจอร ออกแบบเฟอรนิเจอรทั้งชนิดเคลื่อนที่และติดต้ังกับโครงการ รวมทั้งเฟอรนิเจอรสั่งซื้อสําเร็จรปู

2.1.4 จัดทําตัวอยางการทําสีการใชวัสดุพ้ืนผิวและวัสดุประกอบการตกแตง

2.1.5 การนําเสนอและควบคุมการตกแตงงานศิลปวัตถุและของประกอบการตกแตง เชน งานศิลปะและอุปกรณประกอบการตกแตง ฯลฯ

2.1.6 การนําเสนองานทําปายสัญลักษณและปายบอกทิศทาง

Page 20: Professional practices for interior deisgner

20

Professional Practices INT 470

3. ขั้นตอนของงานออกแบบภายใน

งานออกแบบภายในแบงออกเปน 6 ขั้นตอน ดังตอไปนี้คือ

3.1 การศึกษาขอมูล วางแผนงานออกแบบโครงการและจัดวางแบบแปลน (Programming & Planning)

3.1.1 ทางผูออกแบบจะประสานงานกับผูรับผิดชอบโครงการ และผูเช่ียวชาญของสถานบริการซึ่งไดรับมอบหมายจากเจาของโครงการ เพ่ือเปนขอมูลในการจัดวางขอบเขตของงานออกแบบภายใน กําหนดงบประมาณในการใชจายและกําหนดหลักเกณฑในการออกแบบเบื้องตน เพ่ือใหไดตรงกับจุดประสงคการออกแบบทั้งโครงการ

3.1.2 ทางผูออกแบบจะทํานําเสนอการออกแบบผังการจัดวางบริเวณทั้งหมด (Furniture Lay-

Out) โดยเสนอแบบรางขั้นตน ซ่ึงระบุไวในขอบเขตงานออกแบบในมาตราสวน 1:50

3.2 การออกแบบรางและนําเสนอแนวความคิดในการออกแบบเบื้องตน (Pre-design & Conceptual)

3.2.1 ทางผูออกแบบ จะเสนอแบบรางแนวความคิดเบื้องตน ซึ่งประกอบดวย

แบบแปลนการจัดวางเฟอรนิเจอร 1:100 หรือ 1:50

แบบรางทัศนียภาพแนวทางการออกแบบ (Perspective)

แบบรางโครงสีและวัสดุ (Material & Color Scheme)

3.3 การออกแบบรายละเอียดการกอสรางงานตกแตงภายใน

(Construction document)

3.3.1ทางผูออกแบบจะจัดทําแบบรายละเอียดตางๆ เพื่อจัดเตรียมสําหรับ การกอสรางรับเหมางานตกแตงภายใน ซึ่งเอกสารชุดนี้ประกอบดวย

แบบแปลนการจัดวางพื้น ผนัง เพดาน แสดงตําแหนงงานระบบไฟฟา ปรับอากาศ สุขาภิบาลและรายละเอียดงานตกแตทั้งหมด

รายการประกอบแบบ รายละเอียดตางๆในงานตกแตงรวมถึงรายละเอียดของวัสดุและอุปกรณ

แบบเฟอรนิเจอรลอยตวัประกอบดวยรายละเอียดและขอกําหนดตางๆของการจัดทํารายการจํานวน ขนาด และวัสดุอุปกรณที่ใชในการแตละช้ิน รวมถึงรายการเฟอรนิเจอรสําเร็จรูปที่จะตองจัดซ้ือทั้งหมด

Page 21: Professional practices for interior deisgner

21

Professional Practices INT 470

3.3.2 ทางผูออกแบบจะทําการย่ืนเอกสาร ดังกลาวตอเจาของโครงการเพ่ือพิจารณา - 1 ชุด เพ่ือพิจารณากอนทําการประกวดราคาหาผูรับเหมา

- 5 ชุด เพ่ือเซ็นสัญญาจางเหมาและใชงานในระยะเวลาดําเนินงาน - ถามีการจัดการ ประกวดราคา เพื่อคัดเลือกผูรับเหมาตกแตงภายใน

ผูเขาประกวดราคาหรอืผูรับเหมา 3.3.3 ขั้นตอนนี้จะสมบูรณไดโดยทางทํางาน เพ่ือให แนใจวาทําถูกตองตามแนวคิดที่ไดกําหนดไว ไดจัดสงเอกสารทั้งหมดใน ขอ 3.3.1 แกผูรับผิดชอบโครงการ ซึ่งไดรับมอบหมายจากเจาของโครงการ

3.4 การตรวจงานระหวางการการติดต้ัง (Site Inspection & Installat ion)

3.4.1 เพ่ือใหแนใจวาผูรับเหมาไดปฏิบัติตามแบบและรายละเอียดที่ไดระบุไว ในสัญญาจางเหมา ทางศูนยบริการการออกแบบจะติดตามผลการ

ทํางาน เพื่อให แนใจวาทําถูกตองตามแนวคิดที่ไดกําหนดไว

3.4.2 ทางผูออกแบบ มีสิทธ์ิที่จะปองกันการเสียหายอันเกิดข้ึนจากการทํางานของผูรับเหมา และมีสิทธิ์ที่จะแนะนําหรือส่ังหยุดงานชั่วคราว ซึ่งทางทางศูนยบริการการออกแบบ เห็นวางานที่ทําอยูนั้นดําเนินงานไมถูกตองตามแบบที่ระบุไว

3.4.3 ทางผูออกแบบ ไมอาจรับผิดชอบในฝมือชางของผูรับเหมาหรือชางเทคนิคอื่นๆ การประกอบงานตกแตงอันเกิดจากความไมชํานาญการ หรือปญหาอันเกิดจากวัสดุตกแตง

3.4.4 งานข้ันตอนนี้จะสมบูรณเมื่อโครงการไดเปดดําเนินกิจการ โดยทาง

ผูออกแบบ จะแสดงขอแกไขในงานตางๆที่อาจไมเหมาะสมและตรงกับที่ไดระบุไวในแบบ พรอมใหคําแนะนําในการแกไขปรับปรุงของพ้ืนที่นั้น ๆ

4. งานที่ไมรวมในการออกแบบตกแตงภายใน

เพ่ือเปนแนวทางในการกําหนดขอบเขตของการออกแบบภายในกับผูเก่ียวของอ่ืนๆ งานตอไปนี้จะไมรวมอยูในขอบเขตของงานออกแบบ

4.1 งานออกแบบดานวิศวกรรมไฟฟา ปรับอากาศและการกําหนดชนิดของอุปกรณในงานดานดังกลาว

4.2 รายละเอียดของงานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม ยกเวนการตรวจสอบงานที่เกี่ยวของ ซึ่งทางทางศูนยบริการการออกแบบ ไดใหขอมูลเพื่อสะดวกในการจัดทําแบบดังกลาว

4.3 การเจรจากับเจาหนาที่ของรัฐหรือทําแบบพิเศษ เพื่อใชในการเจรจาหรือขออนุญาต หรือเพ่ือขออนุญาต ฯลฯ

4.4 งานออกแบบพิเศษ เชน อุปกรณพิเศษที่ใชในการบริการดานความงาม ซึ่งตองใชผูชํานาญพิเศษเฉพาะดาน

6. คาบริการวิชาชีพ

6.1 คาบริการวิชาชีพงานออกแบบตกแตงภายใน

Page 22: Professional practices for interior deisgner

22

Professional Practices INT 470

คาบริการวิชาชีพออกแบบ …………………………………………………. (เจาของโครงการ) ทางศูนยบริการการออกแบบใครคิด คาบริการวิชาชีพแบบเหมาจาย 5 % จากงบประมาณการตกแตง เปนจํานวนเงินทั้งส้ิน ……………………………………บาท (…………………………………………………………)

โดยแบงการชําระออกเปน 3 งวด ดังนี ้งวดที่ 1 คิดเปนรอยละ 20 % ของคาบริการการออกแบบทั้งหมด จํานวน………………………………………………….

บาท(…………………………………………………….) เมื่อเจาของโครงการและอนุมัติใหผูออกแบบ ดําเนินการออกแบบภายใน ตามที่ไดเรียนเสนองานดังกลาว งวดที่ 2 คิดเปนรอยละ 30 % ของคาบริการการออกแบบทั้งหมด จํานวน

จํานวน…………………………………………………….บา(…………………………………………………….) เมื่อทางผูออกแบบดําเนินการในขอ 3.1 และในขอ 3.2 แลวเสร็จ และไดเรียนเสนองานดังกลาว งวดที่ 3 คิดเปนรอยละ 50% ของคาบริการการออกแบบทั้งหมด จํานวน………………………………………….บาท (…………………………………………………….) บาท เมื่อผูออกแบบ ดําเนินการในขอ 3.3 และในขอ 3.4 แลวเสร็จ และไดเรียนเสนองานดังกลาว

6.2 คาบริการวิชาชีพการตรวจงานกอสรางตกแตงภายใน หลังจากทางผูออกแบบ ไดรับมอบหมายใหทําการออกแบบภายใน และไดเซ็นอนุมัติใหออกแบบแลว

นั้น ทางผูออกแบบ จะเร่ิมดําเนินการออกแบบจนครบขั้นตอน หลังจากนั้นผูรับเหมางานตกแตงภายในเขาดําเนินการ ทางผูออกแบบ เขาไปทําการตรวจความคืบหนาของงาน สัปดาหละ 2 ครั้ง ตามความเหมาะสมและหรือไดรับการรองขอจากผูรับผิดชอบโครงการหรือผูไดรับมอบอํานาจจาก……………………………………………………การจนกระทั่งงานตกแตงภายในของโครงการที่อยูในขอบเขตของคาบริการการออกแบบทั้งหมดแลวเสร็จ

…………………………………………………… (มัณฑนากรผูรับผิดชอบโครงการ)

Page 23: Professional practices for interior deisgner

23

Professional Practices INT 470

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

การเสนอการเสนองานโครงการออกแบบงานโครงการออกแบบ งานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

((ฉบับภาษาอังกฤษฉบับภาษาอังกฤษ))

Page 24: Professional practices for interior deisgner

24

Professional Practices INT 470

INTERIOR DESIGN SERVICES AND CONSULTANT AGREEMENT This agreement is made this day the date……ใสวันที่ที่จะเซ็นสัญญาเลย…… between ……………..ใสชื่อลูกคาหรือผูวาจางเลย………………………………..……… ( The client ) with registered house located at…….….ใสที่อยูลูกคาหรือผูวาจางเลย…… And Open Hub Co., Ltd. By Mr. Annop Sriwanut ( The interior design services) being a limited company registered under the law of Thailand , with its registered office located at 67/59 Soi Happy land 1 Khlongchan Bangkapi Bangkok 10240 Thailand This agreement is required to inform the Client of the scope and nature of the project involved the interior design services to be performed , and the method or remuneration for those services The interior Design Service shall not materially change the scope of a project without the Client’s consent In Consideration of the interior Design Services undertaking all reasonable steps towards achieving the work of interior design the Client here by agrees as follows; The title and address of the project ;

The name , address , and name of the designer and the name and address of the client

Description of interior design Services The scope of interior design services will be as follows;

1) Interior Design Service 2) Specify materials that will be used for the interior design ;

Floor , wall , Ceiling , Surface finishing , built- in Furniture and moveable furniture. ( follows as detail bill of quantity BOQ in this contract ) Interior design services for The interior Design System Sanitary Work , Electric system and other ( follows as detail bill of quantity BOQ attention this contract )

3) Consultancy services in selecting materials that involve with interior design

Page 25: Professional practices for interior deisgner

25

Professional Practices INT 470

The time frame and method of Payment The time frame and in which the design services must be complete including method of payment

Interior design service is price 1,790,000 Baht

May 2, 2008 Project start.. The first payment for a professional fee is 720,000 Baht On date sign contact May 25 , 2008 The second payment for professional fee is 800,000 Baht on date that Interior design fee / sent perspective 3 D and first interior working drawing detail. Interior design installation / Electric ,Ceiling ,Wall ,Painting , and Sanitary work is finished about 70 %, Furniture Built- in is finished about 60 %. June 30, 2008 The Third payment for professional fee is 270,000 Baht on date that Interior design fee / sent interior working drawing detail complete and specification detail. Interior design installation / interior design work complete or finished. Remark : Timing of Payment no more than 5 days after the owner got the invoice. Service not included

Architecture design , Engineering design , Landscape Design , Art design , Model work

Vat and Tax ELECTIC SUCH AS TV , REFRIGERTOR, HOOD, OVEN , SINK AND OTHER OUT OF THIS B.O.Q ITEM TO REVICE FOLLOW SITE INSTALLATION CHANDELIER , ART OBJECT AND ART PICTURE

Page 26: Professional practices for interior deisgner

26

Professional Practices INT 470

This agreement shall become effective as of the date first written here in . In witness here of , the authorized representatives of the parties hereto duly affix their respective signatures Signed …………………………………………………….. The Cilent Mrs………………………………………………… Signed ………………………………………………………. Mr.Annop Sriwanut The Interior Design Service and Consultant OPEN HUB COMPANY LIMITED.

Page 27: Professional practices for interior deisgner

27

Professional Practices INT 470

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

สัญญาจางเหมาสัญญาจางเหมา งานตกแตงภายในและเฟอรนิเจอรงานตกแตงภายในและเฟอรนิเจอร

Page 28: Professional practices for interior deisgner

28

Professional Practices INT 470

สัญญาจางเหมา

งานตกแตงภายในและเฟอรนิเจอร

สัญญาจางเหมา งานตกแตงภายใน และ ทําเฟอรนิเจอร

โครงการ _________________________________

หนังสือสัญญาวาจางเหมางานตกแตงภายใน และทําเฟอรนิเจอรฉบับนี้ทําขึ้น เม่ือวันที่ __________ ณ ___________________________________________________________________________________ ระหวาง ____________________________________ โดย ______________________________________ กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทน สํานกังานตั้งอยูเลขที ่___________________________________________

_____________________________________________ ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ ________________________________________ โดย ______________________________________ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม สํานักงานตั้งอยูเลขที่ _______________________________________________

__________________________________________ ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง

คูสัญญาทั้งสองตกลงทําสัญญาโดยมีขอความดังตอไปนี ้

ขอ 1. ผูวาจางตกลงวาจาง และผูรับจางตกลงรับจางทําการ _____________________________________

โครงการ _______________________________________________________________________ ณ เลขที่ ________________________________________________________________________

ขอ 2. ผูรับจางตกลงรับทําการตามที่กําหนดดังกลาวในสัญญาขอ 1 โดยสัญญาวาจะจัดหาสิ่งของชนิดดี เครื่องมือดี และชางฝมือดี เพื่อประกอบการตามสัญญานี้จนแลวเสร็จ

ขอ 3. การจางรายนี้ผูวาจางและผูรับจางไดตกลงราคากันรวมทั้งคาวัสดุสิ่งของสัมภาระและคาแรงทั้งสิ้นเปนเงิน _______________________ บาท (___________________________________________) และผูวาจางจะแบงจายเปนงวดๆ ดังนี้ :-

- งวดที่ 1 เม่ือ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________

- งวดที่ 2 เม่ือ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________

- งวดที่ 3 เม่ือ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________

- งวดที่ 4 เม่ือ ____________________________________________________________

________________________________________________________________________

Page 29: Professional practices for interior deisgner

29

Professional Practices INT 470

หมายเหตุ ราคาในสัญญานี้ ไมรวมถึง

1. _____________________________________________________________

2. _____________________________________________________________

3. _____________________________________________________________

ขอ 4. การยื่นใบเบิกเงิน จะตองยื่นตอผูวาจางโดยมีมัณฑนากรผูออกแบบลงชื่อรับรองวาไดทําถูกตองตามสัญญาแลว ผูวาจางจึงจะจายเงินใหและผูวาจางจะจายเงินใหภายในกําหนดไมเกิน ______________ หลังจากที่ผูรับจางยื่นใบเบิกเงินแลว

ขอ 5. ผูรับจางสัญญาวา จะเริ่มลงมือทํางานจาง ณ สถานที่ที่กําหนดภายในวันที่ ________________ เดือน ______________ พ.ศ. _________ และใหแลวเสร็จบริบูรณภายในวันที่ ________________ เดือน ______________

พ.ศ. _________ ถาผูรับจางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาดังกลาวก็ดีหรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวาผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จบริบูรณไปแลวก็ดี หรือผูรับจางทําผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดก็ดี ผูวาจางมีสิทธิจะบอกเลิกสัญญานี้ได และมีอํานาจจางผูอ่ืนทํางานจางนี้ตอจากผูรับจางไดดวย

การที่ผูวาจางบอกเลิกสัญญาตามความในวรรคหนึ่งนั้น ไมเปนเหตุใหผูรับจางพนจากความผิดตามสัญญานี ้

ขอ 6. เมื่องานแลวเสร็จเรียบรอยและผูวาจางไดรับมอบงานจากผูรับจางหรือจากผูรับจางคนใหมในกรณีผูรับจางผิดสัญญาและผูวาจางใชสิทธิเลิกสัญญาตามขอ 5 ถามีเหตุชํารุดเสียหายเกิดข้ึนแกงานนี้ภายในกําหนด ______________ นับแตวันที่ไดรับมอบงานเปนวันเริ่มตน ซึ่งเหตุชํารุดเสียหายนั้นเกิดจากความบกพรองของผูรับจาง จะเปนโดยทําไวไมเรียบรอยหรือใชสิ่งของที่ไมดี หรือไมถูกตองตามหลักวิชาก็ตาม ผูรับจางตองรีบทาํการแกไขใหเปนที่เรียบรอยภายในระยะเวลาที่ผูวาจางกําหนด โดยไมคิดเอาสิ่งของคาแรงงานหรือคาใชจายอ่ืนใดจากผูวาจางอีก ถาผูรับจางบิดพร้ิวไมแกไขซอมแซมภายในกําหนด ______________ นับแตวันที่ไดรับแจงเปนวันเริ่มตน หรือแกไขซอมแซมไมแลวเสร็จเรียบรอยภายในเวลาที่ผูวาจางกําหนด ผูวาจางมีสิทธิจางผูอ่ืนใหทํางานนั้นแทนผูรับจางได

ถางานที่จางใชสิทธิจางผูอ่ืนทํางานจางแทนผูรับจางตามสัญญาขอ 5 และขอ 6 วรรคหนึ่ง ผูรับจางยอมจายเงินคาจาง คาสิ่งของ คาคุมงาน และคาใชจายอื่นใด (ถามี) ตามจํานวนที่ผูวาจางตองเสียไปโดยสิ้นเชิงและผูรับจางยังคงตองรับผิดชอบตามสัญญาขอ 13 เสมือนหนึ่งงานที่ผูรับจางคนใหมที่ทํานั้นเปนงานจางของตน

ขอ 7. เนื่องจากพันธะซึ่งจะมีตอกันตามสัญญานี้ ผูรับจางยินยอมใหบรรดางานที่ผูรับจางไดทําขึ้นรวมทั้งโรงงาน สิ่งปลูกสราง และสิ่งของตางๆ ที่ไดนํามาไว ณ สถานที่ทํางานจาง โดยเฉพาะเพื่องานดังกลาวในสัญญาขอ 1

ใหกรรมสิทธิตกเปนของผูวาจางทั้งสิ้น แตถามีอันตรายหรือความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นแกสิ่งเหลานั้น แมจะเกิดข้ึนเพราะเหตุสุดวิสัยประการใดก็ตาม ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดในความเสียหายเหลานั้น และจัดหามาใหมหรือแกไขใหคืนดี ทั้งนี้ ภายในพันธะที่มีอยูในสัญญาอันยังไมถึงที่สุด เวนแตภายหลังเวลาสงมอบซึ่งผูรับจางจําตองรับผิดเพียงความบกพรองและเพียงในความเสียหายที่มีขึ้นภายในระยะเวลาตามที่กลาวในสัญญาขอ 6

ในกรณีที่ผูรับจางทํางานแลวเสร็จบริบูรณตามสัญญา ถามีสิ่งของเหลืออยูเทาใด ผูวาจางยอมใหผูรับจางนําเอากลับคืนไปได

ขอ 8. สัญญานี้มีแบบรูปและรายการละเอียดดังตอไปนี ้ 1. _____________________________________________________________________________

Page 30: Professional practices for interior deisgner

30

Professional Practices INT 470

2. _____________________________________________________________________________

3. _____________________________________________________________________________

และใหถือวาแบบรูปและรายการละเอียดดังกลาวเปนสวนหนึ่งของสัญญา

ขอ 9. ผูรับจางสัญญาวา จะไมทํางานจางนี้โดยไมมีแบบรูปและรายการละเอียดที่ถูกตองเปนอันขาดทั้งจะรักษาแบบรูปและรายการละเอียดไว ณ สถานที่ทํางานใหเรียบรอย และโดยเปดเผยเพื่อใหผูวาจางหรือกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานตรวจดูไดทุกเวลา

ขอ 10. ผูรับจางสัญญาวา จะไมเอางานทั้งหมดหรือสวนใดสวนหนึ่งแหงสัญญานี้ไปใหผูอ่ืนรับจางชวงอีกทอดหนึ่งโดยมิไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจาง แตทั้งนี้ ผูรับจางยังตองรับผิดชอบงานที่ใหชวงไปนั้นทุกประการ

ขอ 11. ผูรับจางจะตองควบคุมงานที่รับจางนี้อยูตลอดเวลาที่งานยังไมแลวเสร็จ หรือมอบหมายใหผูอื่นเปนผูควบคุมงานแทนก็ได ในกรณีเชนนี้ใหผูรับจางแจงชือ่ผูไดรับมอบหมายใหผูวาจางทราบเปนหนังสือและผูควบคุมงานแทนผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบแทนผูวาจาง คําสั่งตางๆ ซึ่งไดแจงแกผูแทนของผูรับจางถือไดวาไดแจงแกผูรับจางแลว

ขอ 12. ในกรณีที่ผูรับจางตั้งตัวแทนไปควบคุมงานตามขอ 11 ถาผูวาจางขอใหเปลี่ยนตัวแทนใหม ผูรับจางยินยอมเปลี่ยนตัวใหทันทีโดยจะไมเรียกรองคาเสียหายหรือถือเปนเหตุยืดวันทําการออกไป ถาผูรับจางจะเปลี่ยนผูควบคุมงาน ตองแจงชื่อผูนั้นใหผูวาจางทราบเปนหนังสือทุกครั้งดวย

ขอ 13. ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตออุปทวเหตุ หรือภยันตราย ความเสียหายใดๆ ที่เกิดข้ึนจากการงานของผูรับจางเอง และตองรับผิดชอบในเหตุที่เสียหายอันเกิดแกทรัพยสินของผูวาจางซึ่งมีอยูในบริเวณที่ทําการจางนี้โดยการกระทําของคนงาน ชาง หรือบริวารของผูรับจางดวย

ขอ 14. ผูรับจางจะจายเงินคาจางใหแกลูกจางของตนตามอัตราคาจาง และกําหนดเวลาที่ผูรับจางและลูกจางไดตกลงหรือสัญญากันไว

ถาผูรับจางไมจายเงินคาจางใหแกลูกจางตามวรรคหนึ่ง ผูรับจางยอมใหผูวาจางเอาเงินคาจางทีผู่วาจางจะจายใหแกผูรับจาง จายใหแกลูกจางของผูรับจางได และใหถือวาเงินจํานวนที่จายไปนี้เปนเงินคาจางที่ผูรับจางไดรับไปจากผูวาจางแลว

การที่ผูรับจางไมจายเงินคาจางใหแกลูกจางของตนตามวรรคสอง นอกจากยอมใหผูวาจางจายเงินคาจางใหแกลูกจางของผูรับจางแลว ยังใหถือวาผูรับจางผิดสัญญานี้ดวย และผูวาจางจะบอกเลิกสัญญาเสียทั้งหมดก็ได

ขอ 15. ถาผูวาจางแตงต้ังกรรมการตรวจการจางหรือควบคุมงานไวประจํา ณ ที่ทําการจางนี้ในเวลาที่ผูรับจางเตรียมการหรือกําลังทํางานจางนี้อยูก็ดี กรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานมีสิทธิจะเขาไปตรวจการงานไดทุกเวลา ผูรับจางหรือตัวแทนของผูรับจางจักตองใหความสะดวกและชวยเหลือตามสมควร

การที่มีคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจางหาทําใหผูรับจางพนความรับผิดชอบตามสัญญาขอหนึ่งขอใดไม

ขอ 16. กอนหรือระหวางทํางานจางอยู ถาปรากฎวาแบบรูปหรือรายละเอียดตอทายสัญญานี้คลาดเคลื่อนผิดไปอยางหนึ่งอยางใด ผูรับจางสัญญาวาจะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจางและถาคําวินิจฉัยนี้ถูกตองกับรายการอันใดอันหนึ่งที่ปรากฏในแบบรูปแลว ผูรับจางตอง

Page 31: Professional practices for interior deisgner

31

Professional Practices INT 470

ถือวาเปนอันเด็ดขาด ถาอันหนึ่งอันใดมิไดระบุไวในรายละเอียด แตเปนการจําเปนตองทําเพื่อใหงานแลวเสร็จบริบูรณถูกตองตามแบบรูป ผูรับจางสัญญาวาจะจัดการทําการนั้นๆ ใหโดยไมคิดคาใชจายใดๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้ รายการที่คลาดเคลื่อนหรือมิไดระบุไวดังกลาวจะตองมิใชสวนที่เปนสาระสําคัญ

ขอ 17. กรณีที่ผูวาจางแตงต้ังคระกรรมการตรวจการจาง หรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจางผูรับจางยอมใหกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงาน มีอํานาจตรวจและควบคุมงานใหเปนไปตามขอกําหนดในสัญญาแบบรูปและรายละเอียด โดยใหมีอํานาจสั่งเปล่ียนแปลง แกไข เพิ่มเติม หรือตัดทอนกิจการจางนี้ได เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในสัญญา แบบรูปและรายละเอียด และถาผูรับจางขัดขืนก็ใหคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงานแทนคณะกรรมการตรวจการจางมีอํานาจสั่งหยุดกิจการนั้นไวชั่วคราวได และความลาชาในกรณีเชนนี้ ผูรับจางจะถือเปนเหตุขอยืดวันทําการออกไปมิได

ขอ 18. ผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการแกไขหรือเพิ่มเติมหรือลดงานจากแบบรูปและรายการละเอียดตามสัญญาไดทุกอยางโดยไมตองเลิกสัญญานี ้การเพิ่มเติมหรือลดงานจะตองคิดราคากันใหม และถาตองเพิ่มหรือลดเงินหรือยืดเวลาออกไปอีกก็จะตกลงกัน ณ บัดนั้น

ขอ 19. ถาผูรับจางสงมอบงานลาชากวาวันแลวเสร็จตามสัญญา ผูรับจางยอมใหผูวาจางปรับเปนรายวันวันละ ____________________________ บาท (__________________________________________)

ขอ 20. ถาผูวาจางบอกเลิกสญัญาแลว ผูรับจางยอมใหผูวาจางดําเนินการดังตอไปนี ้

(1) ยินยอมใหผูวาจางเรียกเอาคาจางที่เพิ่มขึ้นเพราะจางบุคคลอื่นทําการนี้ตอไปจนงานแลวเสร็จบริบูรณ (2) เรียกเอาคาใชจายในการควบคุมงานในเมื่อผูวาจางตองจางผูควบคุมงานนั้นอีกตอหนึ่งจนงานแลวเสร็จ

สมบูรณ (3) เรียกคาเสียหายอันพึงมีจากผูรับจาง

ขอ 21. เมื่อผูวาจางบอกเลิกสัญญาแลว บรรดางานที่ผูรับจางไดทําข้ึนและสิ่งของตางๆ ที่นํามาไว ณ สถานที่ทํางานจางนั้น โดยเฉพาะเพื่องานจางดังกลาว ผูรับจางยอมใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูวาจาง โดยผูรับจางจะเรียกรองคาตอบแทนและคาเสียหายใดๆ ไมไดเลย และผูรับจางยอมใหผูวาจางมีสิทธิระงับการจายคาจางที่คางชําระสําหรับงานที่ทําไปแลว เพื่อเปนการประกันการชําระหนี ้

ในกรณีที่ตองจางบุคคลอื่นทํางานที่คางอยูใหแลวเสร็จบริบูรณ หากปรากฎวาเงินคางานที่เหลือจายไมพอสําหรับการทํางานรายนี้เปนจํานวนเทาใด ผูรับจางยอมใหผูวาจางหักเงินจํานวนนั้นจากคาจางที่คางชําระตามวรรคหนึ่ง และยอมรับผิดชดใชเงินจํานวนที่ยังขาดอยูนั้นจนครบถวน

หากมีเงินคาจางตามสัญญาที่หักไวจายเปนคาปรับและคาเสียหายแลวยังเหลืออยูอีกเทาใด ผูวาจางจะคืนใหแกผูรับจางทั้งหมด

ขอ 22. ผูรับจางหรือบริวารผูรับจางไดกอสรางโรงงาน หรือสิ่งปลูกสรางใด ๆลงในบริเวณที่รับจางก็ดีหรือทําใหเปนหลุมเปนบอก็ดี ผูรับจางสัญญาวาจะจัดการรักษาความสะอาดตลอดเวลาที่ทํางานจาง และเม่ืองานจางแลวเสร็จจะตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางและกลบเกล่ียพื้นดินใหเรียบรอย และขนเศษอิฐเศษไมและสิ่งที่รกรุงรังออกไปใหพนบริเวณที่รับจาง พรอมทั้งทําความสะอาดบริเวณที่รับจางและสิ่งปลูกสรางใหเรียบรอยอยูในสภาพที่ผูวาจางจะใชการไดทันท ี

Page 32: Professional practices for interior deisgner

32

Professional Practices INT 470

ขอ 23. ระยะเวลาการเริ่มงานและการแลวเสร็จของงานที่อางอิงนี้ จะไมมีผลหากเกิดปญหาในเร่ืองกฎหมายการกอสรางขึ้น เชน การขออนุญาตกอสราง การขออนุญาตไฟฟา เปนตน

สัญญานี้ทําขึ้นสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาตางเก็บไวฝายละฉบับเพื่อเปนหลักฐาน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยละเอียดตลอดแลว จึงไดลงลายมือช่ือและประทับตรา (ถาม)ี ไวเปนสําคัญตอหนาพยาน

ลงชื่อ___________________________ ผูวาจาง

(___________________________) บริษัท __________________ จํากัด

ลงชื่อ___________________________ ผูรับจาง (___________________________)

บริษัท __________________ จํากัด

ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

Page 33: Professional practices for interior deisgner

33

Professional Practices INT 470

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

สัญญาบริหารการกอสรางสัญญาบริหารการกอสราง ลักษณะตัวแทนเจาของลักษณะตัวแทนเจาของ

Page 34: Professional practices for interior deisgner

34

Professional Practices INT 470

สัญญาบริหารการกอสรางลักษณะตัวแทนเจาของ (OWNER REPRESENTATIVE)

C B. M. : CONSTRUCTION BUSINESS MANAGEMENT ลักษณะของการบริการและสัญญา เปนลักษณะการครองคลุมความรับผิดชอบทุกประการที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการกอสราง จะใชสัญญานี้เมื่อผูลงทุนเริ่มตนโครงการกอนที่จะมีผูออกแบบทุกประเภท (อาจจะกอนการศึกษาความเปนไปไดก็ได) หรือมิเชนนั้นจะใชเมื่อโครงการมีปญหาสะดุดและไมมมีผูใดเขามารับผิดชอบในการแกปญหาในภาพรวม (MACRO SCALE) เพราะตางเห็นวาไมใชหนาที ่ สัญญาบริหารโครงการกอสราง โครงการ : งานกอสรางปรับปรุงภูมิทัศนบานคุณวัฒนา หมูบานเมืองเอก จ.ปทุมธาน ีหนังสือสัญญาจางบริหารโครงการฉบับนี้ทําขึ้น เมื่อวันที่ _________

ณ__________________________________________________ ระหวาง _____________________________________ โดย _____________________________________ กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทน สํานักงานต้ังอยูเลขที่ __________________________________________

____________________________________________ ซ่ึงตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ _________________________________________ โดย _____________________________________ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม สํานักงานต้ังอยูเลขที่ _______________________________________________ __________________________________________ ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง คูสัญญาทั้งสองตกลงทําสัญญาโดยมีขอความดังตอไปนี ้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงจางผูรับจางใหดําเนินการบริหารโครงการกอสราง เพื่อกอสรางโครงการ ___________________________________________ บนที่ดินโฉนดเลขที่ ___________________ อยูที่ ___________________________________________________________________________ ขอ 2. ผูรับจาง จะทําหนาที่ประสานงานดานการออกแบบและการกอสราง ในฐานะตัวแทนผูวาจาง เพ่ือใหงานโครงการนีด้ําเนินการไปไดดวยความราบรื่น หากมีงานสวนใดที่ไมมีหนวยงานใดรับผิดชอบ และเปนงานที่ผูรับจางสามารถทําไดสําเร็จตามเวลาที่กําหนดผูรับจางจะเปนผูเขาทําการแทน แตหากงานสวนนั้นผูรับจางไมสามารถจะทําเองได หรือหากทําไดแตไมทันตอเวลาที่ตองการผูรับจางจะตองหาทางแกปญหา และแจงตอผูวาจางโดยเร็วที่สุดเพ่ือหาวิธีการดําเนินการตอไป ขอ 3. ผูวาจางตกลงชําระเงินคาจาง เปนการตอบแทนการปฏิบัติงานของผูรับจาง ตามรายละเอียดดังตอไปนี ้ ชําระเปนเงินเหมารวมทั้งสิ้น ___________________ บาท (______________________________) โดยแบงการจายเงินออกเปน ____________ งวดทุกส้ินเดือนต้ังแตวันที่ _____________________ ถึง วันที่ _______________

เปนเงินเดือนละ ______________ บาท (_______________________)

Page 35: Professional practices for interior deisgner

35

Professional Practices INT 470

ขอ 4. ผูรับจาง จะไมรับเงิน-สินจาง-ผลประโยชนอืน่ใดอันเกี่ยวเนื่องกับโครงการนี้ทั้งทางตรงหรือทางออม นอกเหนือจากที่แสดงอยูในเอกสารนี้เทานั้น เงิน หรือสินจางนี้รวมถึงคา COMMISSION คา SPECIFICATION

จากการสั่งซ้ือวัสดุอุปกรณการกอสราง และ/หรือจากผูรับจาง (ผลประโยชนที่เอยถึงนี้ทั้งหมด ผูรับจาง จะนําสงคืนใหผูวาจาง) หากพิสูจนไดวาผูรับจาง รับเงินหรือสินจางอื่นใดใหถือวาผูรับจาง มีความผิดทางอาญาฐานฉอโกงไดทันท ี ขอ 5. ผูรับจางสัญญาวาจะดําเนินการบริหารโครงการนี้ ดวยความรูความสามารถและดวยความซื่อสัตย เพ่ือใหโครงการประสพความสําเรจ็สูงสุด หากผูรับจางมิไดกระทําตามขอบเขตความรับผิดชอบงานใหแลวเสร็จตามที่กําหนดให หรือกระทําการอื่นใดอันเปนการจงใจเปนเหตุใหผูวาจางไดรับความเสียหาย ผูรับจางยินยอมใหผูวาจางบอกเลิกสัญญานี้ และผูรับจางยินยอมคืนคาจางที่ไดรับแลวทั้งหมดใหผูวาจาง ขอ 6. หากเมื่อฝายใดฝายหนึ่งดําเนินการผิดจากสัญญานี้ หรือไมปฏิบัติตามสัญญานี้ อีกฝายหนึ่งอาจจะแจงเพื่อเลิกสัญญาได หรือแมไมมีฝายหนึ่งฝายใดกระทําผิดสัญญา แตคูสัญญาทั้งสองฝายตกกันเพ่ือที่จะเลิกสัญญานี้ ก็ใหเลิกสัญญานี้เปนลายลักษณอักษรตามเวลาสมควร สัญญาจางฉบับนี้ทําขึ้นสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาตางเก็บไวคนละฉบับ เพื่อเปนหลักฐาน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยตลอดแลว จึงไดลงลายมือช่ือ และประทับตราไวเปนสําคัญตอหนาพยาน

ลงชื่อ___________________________ ผูวาจาง (___________________________) บริษัท __________________ จํากัด

ลงชื่อ___________________________ ผูรับจาง (___________________________)

บริษัท __________________ จํากัด

ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

ลงชื่อ___________________________ พยาน (___________________________)

Page 36: Professional practices for interior deisgner

36

Professional Practices INT 470

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

สัญญาจางเขียนแบบกอสรางหรือตกแตง สัญญาจางเขียนแบบกอสรางหรือตกแตง WWoorrkkiinngg DDrraawwiinngg

Page 37: Professional practices for interior deisgner

37

Professional Practices INT 470

สัญญาจางเขียนแบบกอสรางหรือตกแตง (สําหรับแปลนบานเรือน, ตึก, คฤหาสน, หองแถว, ตึกแถว, แฟลต, อพาทเมนท, ทาวเฮาส, และอาคารที่ทํา

การ ฯลฯ)

สัญญาทําที…่…………………………………………….. วันที่………….เดือน……………………พ.ศ. 25……….. เวลา…………….น.

สัญญานี้ทําขึ้นระหวาง ….……………………….………………….………อาย…ุ…………ป

บัตรประจําตัว….…………………เลขที…่.…………………ออกบัตรที…่.…………………………… วันออกบัตร…………/………../………..วันหมดอายุบัตร………./…..…../………/ อาชีพ…………… ภูมิลําเนาอยูเลขท…ี.…………………ถนน….…………………ตําบล….…………………………….. เขต/อําเภอ….…………………….…………………จังหวัด….…………………เขตไปรษณียที…่…… พักอยูที…่.…………………….…………………ทํางานอยูที…่.………………… โทร. …………….. ซึ่งในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ….…………………….…………………….………… อายุ……………ป ซึ่งเปนสถาปนิกตามใบอนุญาตเลขที่….…………………ถือบัตรประจําตัว………. เลขที…่.…………ออกบัตรที…่.…………………ตําบล………….……………เขต/อําเภอ…………… จังหวัด….…………………เขตไปรษณียที…่.…………………ขณะนี้พักที…่.……………………….. ทํางานที…่.…………………….……………ตําแหนง……….…………………โทร….……………… ซึ่งในสัญญานี้เรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง ทั้งสองฝายไดตกลงกันทําสัญญาขึ้นเปนสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน เพื่อยึดถือไวเปนหลักฐานฝายละฉบับ ตามขอตกลงดังใจความตอไปนี ้ (1) ผูวาจาง ขอวาจางใหผูรับจางเปนผูออกแบบเขียนแปลนเพ่ือใชในการกอสราง…………… ….…………………ซึ่งจะทําการสรางขึ้น ณ บริเวณที ่….…………………มีขนาดเนื้อที่ทําการกอสราง ….…………………ตารางเมตร ตามรูปแบบแผนผังหรือแผนที่ดานหลังของสัญญานี้ ซึ่งสถานที่สําหรับกอสรางดังกลาวนี ้อยูที่ถนน….…………………ตําบล….…………………เขต/อําเภอ….…… (2) แบบกอสรางดังกลาวจะตองมีขนาดกวาง….…………เมตร ยาว……………เมตร และสูง ทั้งสิ้น………….เมตร โดยไมนับสวนสูงที่เลยจากฝาของเพดานชั้นบนสุด แบงออกเปน ……..ชั้น ทุกชั้นมีขนาดความกวางยาวและสูงเทากับชั้นลางสุดซึ่งสูง….………………เมตร รวมทั้งสิ้นม…ี…หอง คิดเปนเนื้อที่ภายในหองทั้งหมด ……………ลูกบาศกเมตร โดยผูออกแบบจะตองระบุขนาดและชนิดหรือคุณภาพของวัสดุที่ใชในการกอสราง ณ จุดตาง ๆ ใหละเอียดและเหมาะกับขนาดของแบบที่วาจางให

Page 38: Professional practices for interior deisgner

38

Professional Practices INT 470

เขียนนั้นใหเหมาะสมที่สุด ทั้งจะตองคํานึงถึงความสวางภายในอาคารและทิศทางความรอนจากแสงอาทิตยหรือแสงแดด ทิศทางของกระแสลมตาง ๆ ไมวาจะเปนพายุลมรอน-หนาว หรือพายุใตฝุน และพายุฝนดวย

(3) ผูรับจางตกลงที่จะเขียนแบบแปลนการกอสรางหรือตกแตง…………………………….. ดังกลาวขางตนใหแลวเสร็จภายใน……….วันนับจากวันทําสัญญานี ้ หากไมแลวเสร็จตามกําหนด ผูรับจางยินดีใหปรับเปนจํานวน…………บาท ตอวันจนกวาจะสงมอบงานเขียนแบบที่สมบูรณนี้ไดและถาไมสามารถสงแบบที่จางใหเขียนไดภายในกําหนด…………..วัน ยินยอมใหผูวาจางเลิกสัญญาไดทันท ี (4) ผูวาจางตกลงที่จะจายคาจางในการเขียนแบบแปลนดังกลาวใหแกผูรับจางในวันที่ไดรับมอบแบบแปลนทันทีในจํานวนเงิน….…………………บาท (….…………………….………………..……) (5) ….…………………….…………………….…………………….………………………….. ทุกฝายในสัญญานี้ไดอานและเขาใจขอความทั้งหมดนี้ดีแลว จึงลงชื่อเปนหลักฐานตอหนากันและตอหนาพยานทุกคนดวย ลงชื่อ………………………………….ผูวาจาง ลงชื่อ……………………………………..พยาน (………………………………….) (……………………………………..) ลงชื่อ………………………………….ผูรับจาง ลงชื่อ……………………………………..พยาน/ (………………………………….) (……………………………………..)เขียน/พิมพ

Page 39: Professional practices for interior deisgner

39

Professional Practices INT 470

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

สัญญาจางทํา สัญญาจางทํา PPEERRSSPPEECCTTIIVVEE

Page 40: Professional practices for interior deisgner

40

Professional Practices INT 470

สัญญาจางทํา PERSPECTIVE

สัญญาฉบับนี้ทําข้ึนที…่…………………………………..เมื่อวันที…่……..เดือน…………………...

พ.ศ. ………… ระหวาง…………………………………………..อยูเลขที่…………………………………

ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล……………………………..

เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูวาจาง" ฝายหนึ่ง

กับ………………………………………………………….อยูเลขที…่………………………………

ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล……………………………..

เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูรับจาง" ฝายหนึ่ง

โดยมีขอตกลงกันดังนี ้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงผูรับจาง และผูรับจางตกลงทํา PERSPECTIVE โครงการ……………………..

ที่อําเภอ……………………….จังหวัด………………………ตามแบบ………………………………………….

ที่ทางบริษัท……………………………………ไดใหแนบมา เพ่ือเปน………………………………………….

โดยผูรับจางไดตกลงรับจางเปนราคารวมทั้งสิ้น……………..บาท (…………………………………………….)

ซ่ึงเปนราคาที่ไมรวมภาษีมูลคาเพ่ิม

ขอ 2. ในวันที่ทําสัญญานี ้ผูวาจางไดชําระเงินคาจางที่กลาวมาในสัญญาขอ 1 เปนบางสวน วน

จํานวน…………….…………บาท (……………………………………………) ใหแกผูรับจาง สวนที่เหลือซึ่ง ยังคางชําระอีก จํานวน………………………….บาท (…………………………………………………)

ผูวาจางตกลงจายคาจางและผูรับจางตกลงรับคาจางเปนงวด ๆ ดังนี้ งวดที ่1. จํานวนเงิน…………………………..บาท (……………………………………………………...)

จายเมื่อ………………………………………………………………………………………………..

งวดที ่2. จํานวนเงิน…………………………..บาท (……………………………………………………...)

จายเมื่อ………………………………………………………………………………………………..

งวดที ่3. จํานวนเงิน…………………………..บาท (……………………………………………………...)

จายเมื่อ………………………………………………………………………………………………..

ขอ 3. ผูรับจางสัญญาวาจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณ ภายในกําหนดเวลา…………….วัน โดยเริ่ม

ลงมือทํา PERSPECTIVE ภายในวันที่……….เดือน………………………พ.ศ………….. และใหงานที่วาจาง

นี้เสร็จสมบูรณภายในวันที…่……เดือน……………………….. พ.ศ………………..

ถาผูรับจางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาดังกลาวก็ดี หรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวา ผูรับจาง

ไมสามารถจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณภายในกําหนดเวลากด็ีหรือลวงกําหนดเวลาแลวเสร็จ ผูวาจางมีสิทธ ิ

บอกเลิกสัญญานี้ได และมีอํานาจจางผูอื่นทํางานนี้ตอจากผูรับจางไดทันท ี

ถาผูรับจางทํางานไมเสร็จ หรือไมสามารถสงงานที่วาจางในสภาพเรียบรอย และถูกตองตามวัตถุ

ประสงคแหงสัญญานี้ ผูรับจางยินยอมใหผูวาจางหักเงินคาจางที่ยังเหลืออยูเปนคาปรับ โดยคิดเปน…………..

บาท (………………………………………………….)

ในกรณีตามวรรค 2 ขอ 3 หากผูวาจางไดวาจางบริษัท หรือบุคคลอื่นใดทํางานที่รับจาง ผูวาจางตอง

Page 41: Professional practices for interior deisgner

41

Professional Practices INT 470

รับผิดตอผลตางของจํานวนที่ผูวาจางตองเสียใหกับผูรับจางรายใหมที่เขามารับตามสัญญานี ้ โดยผูวาจางมีสิทธ ิ

หักเงินจํานวนดังกลาวจากเงินคาจางที่ผูวาจางยังคางชําระอยูตอ

ขอ 4. ผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการแกไข หรือเพ่ิมเติม หรือลดงานจากแบบและรายละเอียดในสัญญา

ไดทุกอยาง โดยไมตองบอกเลิกสัญญา การเพ่ิมเติมงาน PERSPECTIVE หรือลดงานนี้ตองคิดและตกลง

เปลี่ยนใหม ถามีการเพ่ิมหรือลดเงิน หรือตองการยืดเวลาออกไปอีกก็จะไดตกลงกัน ณ บัดนี ้ การแกไข เปลี่ยน

แปลงตาง ๆ ใหทําเปนลายลักษณอักษร ลงชื่อทั้งฝายเปนสําคัญ

ขอ 5. ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใด ๆ ที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได และเปนเหตุใหการทํา PERSPECTIVE

ตองหยุดชะงักลงโดยมิใชความผิดของผูรับจาง หรือมีพฤติการณที่ฝายผูรับจางไมตองรับผิดชอบระยะเวลาแลว

เสร็จตามสัญญาออกไปเทากับเวลาที่เสียไปเพราะเหตุดังกลาว โดยผูรับจางจะแจงเหตุดังกลาวพรอมหลักฐาน

เปนหนังสือใหผูวาจางทราบ เพื่อขอขยายระยะเวลาการทํางานตามออกไปโดยพลัน นับแตเกิดเหตุการณ ดังกลาว และตองไดรับการอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางดวย

สัญญานี้ทําขึ้นเปนสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยตลอดแลว จึงลงลายมือช่ือพรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยานและเก็บไวฝายละหนึ่งฉบับ

ลงชื่อ ……………………………………………….. ผูวาจาง

(……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. ผูรับจาง

(……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. พยาน

(……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. พยาน

(……………………………………………………)

Page 42: Professional practices for interior deisgner

42

Professional Practices INT 470

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

สัญญาจางทําสัญญาจางทําแบบจําลองแบบจําลอง MMooddeell MMaakkiinngg

Page 43: Professional practices for interior deisgner

43

Professional Practices INT 470

สัญญาจางทํา MODEL (หุนจําลอง)

สัญญาฉบับนี้ทําข้ึนที…่…………………………………..เมื่อวันที…่……..เดือน…………………... พ.ศ. ………… ระหวาง………………………………………………..อยูเลขที…่………………………………………

ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล…………………………………….. เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูวาจาง" ฝายหนึ่ง กับ………………………………………………………….อยูเลขที่……………………………………… ตรอก/ซอย……………………..ถนน…………………………………แขวง/ตําบล…………………………………….. เขต/อําเภอ……………………จังหวัด………………………..ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา "ผูรับจาง" ฝายหนึ่ง โดยมีขอตกลงกันดังนี ้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงผูรับจาง และผูรับจางตกลงทํา MODEL โครงการ MASTER PLAY LAY-OUT

ที่อําเภอ……………………….จังหวัด………………………ตามแบบ……………………………………………………………. และแบบ CONTOUR ที่ทางบริษัท……………………………………ไดใหแนบมา เพ่ือเปน แมบทในการจัดทํา MODEL โดยผูรับจางไดตกลงรับจางเปนราคารวมทั้งสิ้น………………………………………………….บาท (…………………………………) ซ่ึงเปนราคาที่ไมรวมภาษีมูลคาเพ่ิม ขอ 2. ในวันที่ทําสัญญานี้ ผูวาจางไดชําระเงินคาจางที่กลาวมาในสัญญาขอ 1 เปนบางสวน จํานวน…………….…………………..………บาท (……………………………………………) ใหแกผูรับจาง สวนที่เหลือซึ่ง ยังคางชําระอีก จํานวน………………………………………..………….บาท (…………………………………………………) ผูวาจางตกลงจายคาจางและผูรับจางตกลงรับคาจางเปนงวด ๆ ดังนี ้งวดที ่1. จํานวนเงิน…………………………….…………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ………………………………………………………………………………………………………………….. งวดที ่2. จํานวนเงิน……………………………….………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ………………………………….……………………………………………………………………………….. งวดที ่3. จํานวนเงิน……………………………….………………..บาท (……………………………………………………...) จายเมื่อ……………………………….………………………………………………………………………………….. ขอ 3. ผูรับจางสัญญาวาจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณ ภายในกําหนดเวลา…………….วัน โดยจะเริ่มลงมือทํา MODEL ภายในวันที…่…….เดือน………………………พ.ศ………………….. และใหงานที่วาจาง นี้เสร็จสมบูรณภายในวันที…่………เดือน……………………….. พ.ศ……………….. ถาผูรับจางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาดังกลาวก็ดี หรือมีเหตุใหผูวาจางเชื่อไดวา ผูรับจาง ไมสามารถจะทํางานใหแลวเสร็จสมบูรณภายในกําหนดเวลาก็ดีหรือลวงกําหนดเวลาแลวเสร็จ ผูวาจางมีสิทธิ บอกเลิกสัญญานี้ได และมีอํานาจจางผูอ่ืนทํางานนี้ตอจากผูรับจางไดทันท ี ถาผูรับจางทํางานไมเสร็จ หรือไมสามารถสงงานที่วาจางในสภาพเรียบรอย และถูกตองตามวัตถุ ประสงคแหงสัญญานี้ ผูรับจางยินยอมใหผูวาจางหักเงินคาจางที่ยังเหลืออยูเปนคาปรับ โดยคิดเปนรายวัน วันละ …………………..บาท (………………………………………………….)

Page 44: Professional practices for interior deisgner

44

Professional Practices INT 470

ในกรณีตามวรรค 2 ขอ 3 หากผูวาจางไดวาจางบริษัท หรือบุคคลอื่นใดทํางานที่รับจาง ผูวาจางตอง รับผิดตอผลตางของจํานวนที่ผูวาจางตองเสียใหกับผูรับจางรายใหมที่เขามารับตามสัญญานี ้ โดยผูวาจางมีสิทธ ิหักเงินจํานวนดังกลาวจากเงินคาจางที่ผูวาจางยังคางชําระอยูตอ ขอ 4. ผูวาจางมีสิทธิที่จะทําการแกไข หรือเพิ่มเติม หรือลดงานจากแบบและรายละเอียดในสัญญา ไดทุกอยาง โดยไมตองบอกเลิกสัญญา การเพ่ิมเติม MODEL หรือลดงานนี้ตองคิดและตกลงเปลี่ยนใหม ถามีการเพ่ิมหรือลดเงิน หรือตองการยืดเวลาออกไปอีกก็จะไดตกลงกัน ณ บัดนี้ การแกไข เปลี่ยนแปลงตาง ๆ ใหทําเปนลายลักษณอักษร ลงชื่อทั้งฝายเปนสําคัญ ขอ 5. ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใด ๆ ที่ไมอาจหลีกเล่ียงได และเปนเหตุใหการทํา MODEL ตองหยุดชะงักลงโดยมิใชความผิดของผูรับจาง หรือมีพฤติการณที่ฝายผูรับจางไมตองรับผิดชอบระยะเวลาแลวเสร็จตามสัญญาออกไปเทากับเวลาที่เสียไปเพราะเหตุดังกลาว โดยผูรับจางจะแจงเหตุดังกลาวพรอมหลักฐานเปนหนังสือใหผูวาจางทราบ เพ่ือขอขยายระยะเวลาการทํางานตามออกไปโดยพลัน นับแตเกิดเหตุการณดังกลาว และตองไดรับการอนุญาตเปนหนังสือจากผูวาจางดวย สัญญานี้ทําขึ้นเปนสองฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาไดอานและเขาใจขอความโดยตลอด แลว จึงลงลายมือช่ือพรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยานและเก็บไวฝายละหนึ่งฉบับ ลงชื่อ ……………………………………………….. ผูวาจาง (……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. ผูรับจาง (……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. พยาน (……………………………………………………)

ลงชื่อ ……………………………………………….. พยาน (……………………………………………………)

Page 45: Professional practices for interior deisgner

45

Professional Practices INT 470

ท่ีเก่ียวกับงานท่ีเกี่ยวกับงานออกแบบออกแบบ งานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

Page 46: Professional practices for interior deisgner

46

Professional Practices INT 470

พระราชบัญญัต ิสถาปนิก พ.ศ. 2543

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2543

เปนปที่ 55 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยวิชาชีพสถาปตยกรรม

พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 39 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี ้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

(ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 10 ก วันที่ 20 กุมภาพันธ 2543)

มาตรา 3 ใหยกเลิกพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้ “วิชาชีพสถาปตยกรรม” หมายความวา วิชาชีพสถาปตยกรรมที่ใชศาสตรและศิลปสรางสรรคสถาปตยกรรมและส่ิงแวดลอมในสาขาสถาปตยกรรมหลัก สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิสถาปตยกรรม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป และสาขาสถาปตยกรรมอ่ืน ๆ ที่กําหนดในกฎกระทรวง

“วิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม” หมายความวา วิชาชีพสถาปตยกรรมที่กําหนดในกฎกระทรวง

“ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมตามพระราชบัญญัตินี ้ “ผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมจากสภาสถาปนิก

“สมาชิก” หมายความวา สมาชิกสภาสถาปนิก

“กรรมการ” หมายความวา กรรมการสถาปนิก

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสภาสถาปนิก

“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการสภาสถาปนิก

“พนักงานเจาหนาที”่ หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏบิัติการตามพระราชบัญญัตินี ้

Page 47: Professional practices for interior deisgner

47

Professional Practices INT 470

“รัฐมนตร”ี หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี ้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

หมวด 1 สภาสถาปนิก

มาตรา 6 ใหมีสภาสถาปนิก มีวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี ้ ใหสภาสถาปนิกเปนนิติบุคคล

มาตรา 7 สภาสถาปนิกมีวัตถุประสงคดังตอไปนี ้(1) สงเสริมการศึกษา การวิจัย และการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม

(2) สงเสริมความสามัคคีและไกลเกล่ียขอพิพาทของสมาชิก

(3) สงเสริมสวัสดิการและผดุงเกียรติของสมาชิก

(4) ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมใหถูกตองตามมาตรฐานและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรม

(5) ชวยเหลือ แนะนํา เผยแพร และใหบริการทางดานวิชาการตาง ๆ แกประชาชน และองคกรอ่ืนในเรื่องที่เกี่ยวกับวิทยาการและเทคโนโลยีทางสถาปตยกรรม

(6) ใหคําปรึกษา หรือขอเสนอแนะตอรัฐบาลเก่ียวกับนโยบายและปญหาดานสถาปตยกรรม รวมทั้งดานเทคโนโลยี

Page 48: Professional practices for interior deisgner

48

Professional Practices INT 470

(7) เปนตัวแทนของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมของประเทศไทย

(8) ดําเนินการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 8 สภาสถาปนิกมีอํานาจและหนาที่ดังตอไปนี ้(1) ออกใบอนุญาตใหแกผูขอประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(2) พักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต

(3) รับรองปริญญา อนุปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(4) รับรองความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(5) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกําหนดและการเลิกสาขาวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(6) ออกขอบังคับสภาสถาปนิกวาดวย

(ก) การกําหนดลักษณะตองหามตามมาตรา 12 (6)

(ข) การรับสมัครเปนสมาชิก คาจดทะเบียนสมาชิก คาบํารุง และคาธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอก

(ค) การเลือกและการเลือกต้ังกรรมการตามมาตรา 32

(ง) การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใชใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต และการรับรองความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(จ) คุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของผูตรวจการตามมาตรา 20 วรรคสอง

(ฉ) หลักเกณฑและคุณสมบัติของผูขอรับใบอนุญาตแตละระดับตามมาตรา 46

(ช) คุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูขอรับใบอนุญาตตามมาตรา 49

(ซ) จรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรม และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ

(ฌ) มาตรฐานในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(ญ) การประชุมของที่ประชุมใหญสภาสถาปนกิ

(ฎ) การใด ๆ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี ้ขอบังคับสภาสถาปนิกนั้น ตองไดรับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ และเมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

(7) ดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของสภาสถาปนิก

มาตรา 9 สภาสถาปนิกอาจมีรายไดดังนี ้(1) คาจดทะเบียนสมาชิก คาบํารุง และคาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี ้(2) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผนดิน

(3) ผลประโยชนจากการจัดการทรัพยสินและการดําเนินกิจการของสภาสมาชิก

(4) เงินและทรัพยสินซึ่งมีผูใหแกสภาสถาปนิก

(5) ดอกผลของเงินและทรัพยสินตาม (1) (2) (3) และ (4)

Page 49: Professional practices for interior deisgner

49

Professional Practices INT 470

มาตรา 10 ใหรัฐมนตรีดํารงตําแหนงสภานายกพิเศษแหงสภาสถาปนิกและมีอํานาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี ้

หมวด 2 สมาชิก

มาตรา 11 สมาชิกสภาสถาปนิกมีสามประเภทดังนี ้(1) สมาชิกสามัญ

(2) สมาชิกวิสามัญ

(3) สมาชิกกิตติมศักด์ิ

มาตรา 12 สมาชิกสามัญตองเปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี ้(1) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ (2) มีสัญชาติไทย

(3) มีความรูในวิชาชีพสถาปตยกรรมโดยไดรับปริญญา อนุปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในวิชาสถาปตยกรรมศาสตรที่สภาสถาปนิกรับรอง

(4) ไมเปนผูประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซ่ึงความเส่ือมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

(5) ไมเคยตองโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกในคดีที่เปนการประพฤติผิดจรรยาบรรณ อันจะนํามาซึ่งความเส่ือมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

(6) ไมเปนผูมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือไมเปนโรคที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

สมาชิกวิสามัญตองเปนผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับวิชาชีพสถาปตยกรรม และมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

สมาชิกกิตติมศักดิ์ ไดแก ผูทรงคุณวุฒิซึ่งที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกแตงตั้ง

มาตรา 13 สิทธิและหนาที่ของสมาชิกสามัญมีดังตอไปนี ้(1) แสดงความคิดเห็นในการประชุมใหญสภาสถาปนิก

(2) ออกเสียงลงคะแนนในการประชุมใหญสภาสถาปนิก

(3) แสดงความเห็นและซักถามเปนหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาสถาปนิกตอคณะกรรมการเพ่ือพิจารณา และในกรณีที่สมาชิกรวมกนัต้ังแตหาสิบคนข้ึนไป เสนอใหคณะกรรมการพิจารณาเรื่องใดที่เกี่ยวกับกิจการของสภาสถาปนิก คณะกรรมการตองพิจารณา และแจงผลการพิจารณาใหผูเสนอทราบโดยมิชักชา

(4) เลือก รับเลือกตั้ง หรือรับแตงตั้งเปนกรรมการ

(5) ชําระคาจดทะเบียนสมาชิกและคาบํารุงตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

(6) ผดุงไวซึ่งเกียรติศักด์ิแหงวิชาชีพและปฏิบัติตนตามพระราชบัญญัตินี ้สมาชิกวิสามัญ หรือสมาชิกกิตติมศักดิ์ใหมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับสมาชิกสามัญ เวนแตสิทธิและหนาที่

ตาม (2) และ (4)

มาตรา 14 สมาชิกภาพของสมาชิกยอมสิ้นสุดเมื่อ

Page 50: Professional practices for interior deisgner

50

Professional Practices INT 470

(1) ตาย

(2) ลาออก

(3) คณะกรรมการมีมติใหพนจากสมาชิกภาพ เพราะขาดคณะสมบัติตามมาตรา 12 สําหรับกรณีสมาชิกสามัญและสมาชิกวิสามัญ แลวแตกรณี

(4) ที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกมีมติเพิกถอนการแตงต้ังใหเปนสมาชิกกิตติมศักดิ ์(5) ไมชําระคาจดทะเบียนสมาชิกหรือคาบํารุง โดยไมมีเหตุผลอันสมควรตามที่กําหนดในขอบังคับสภา

สถาปนิก

(6) สภาสถาปนิกมีมติเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา 64

มาตรา 15 ใหมีการประชุมสมาชิกเปนการประชุมใหญสามัญปละหนึ่งครั้ง

การประชุมใหญคราวอ่ืนนอกจากนี้เรียกวา การประชุมใหญวิสามัญ

มาตรา 16 ใหคณะกรรมการจัดใหมีการประชุมใหญตามที่จําเปน

สมาชิกสามัญอาจขอใหประชุมใหญวิสามัญไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก ในการนี้คณะกรรมการตองเรียกประชุมใหญวิสามัญภายในสามสิบวันนับแตวันรับคํารองขอ

มาตรา 17 ในการประชุมใหญสภาสถาปนิก ถาสมาชิกสามัญมาประชุมไมครบจํานวนหนึ่งรอยคนและการประชุมใหญนั้นไดเรียกตามคํารองขอของสมาชิกก็ใหงดประชุม แตถาเปนการประชุมใหญที่สมาชิกมิไดเปนผูรองขอ ใหเลื่อนการประชุมนั้นออกไป โดยใหนายกสภาสถาปนิกเรียกประชุมใหญอีกครั้งภายในสี่สิบหาวัน

มาตรา 18 ในการประชุมใหญสภาสถาปนิก ใหนายกสภาสถาปนิกเปนประธานในที่ประชุม ในกรณีที่นายกสภาสถาปนิกไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหอุปนายกสภาสถาปนิกผูทําการแทนตามมาตรา 34 เปนประธานในที่ประชุม ถานายกสภาสถาปนิกและอุปนายกสภาสถาปนิกไมอยูในที่ประชุม หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหสมาชิกที่มาประชุมเลือกสมาชิกคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม

มาตรา 19 ในการประชุมใหญสามัญประจําป กิจการอันพึงกระทําไดแก (1) ใหความเห็นชอบแผนการดําเนินงานประจําปของคณะกรรมการ

(2) พิจารณาและอนุมัติงบดุลประจําปของสภาสถาปนิก

(3) ต้ังผูสอบบัญชีและกําหนดคาตอบแทนผูสอบบัญช ี

มาตรา 20 ใหมีผูตรวจคนหนึ่งหรือหลายคนตามที่ที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกแตงต้ังจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอก

คุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากการดํารงตําแหนงใหเปนไปตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

ผูตรวจมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรมการแลวทํารายงานเสนอตอที่ประชุมใหญสภาสถาปนิก

Page 51: Professional practices for interior deisgner

51

Professional Practices INT 470

มาตรา 21 ในการตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรทมการ ใหผูตรวจมีอํานาจเขาไปตรวจในสถานที่ทําการงานตาง ๆ ของสภาสถาปนิกในระหวางเวลาทํางานได และใหผูซ่ึงเก่ียวของอํานวยความสะดวก ชวยเหลือ หรือใหคําชี้แจงแกผูตรวจตามควรแกกรณี

มาตรา 22 กรรมการ อนุกรรมการ เจาหนาที่สภาสถาปนิก ลูกจาง และตัวแทนของสภาสถาปนิกมีหนาที่สงเอกสารหลักฐานตาง ๆ ซึ่งตนเก็บรักษาหรืออยูในอํานาจของตนใหแกผูตรวจ และใหคําชี้แจงเกี่ยวกับการดําเนินงานตาง ๆ ในกิจการของสภาสถาปนิก ทั้งนี้ เมื่อผูตรวจรองขอ

มาตรา 23 ในกรณีที่พบวาคณะกรรมการมิไดดําเนินการตามแผนการดําเนินงานประจําป หรือดําเนินงานไปในทางที่อาจกอใหเกิดความเสียหาย หรือขัดตอวัตถุประสงคของสภาสถาปนิก ใหผูตรวจแจงใหที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกหรือสมาชิกสามัญตามที่ตนเห็นสมควรเพื่อพิจารณาดําเนินการตอไป

หมวด 3 คณะกรรมการ

มาตรา 24 ใหมีคณะกรรมการสภาสถาปนิกประกอบดวย

(1) กรรมการซึ่งสมาชิกสามัญเลือกต้ังขึ้นจากสมาชิกสามัญ และมิไดดํารงตําแหนงอาจารยในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาจํานวนสบิคน

(2) กรรมการซึ่งสมาชิกสามัญเลือกตั้งขึ้นจากสมาชิกสามัญ และดํารงตําแหนงคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาจํานวนหาคน

(3) กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจากสมาชิกสามัญโดยการเสนอช่ือของรัฐมนตรี จํานวนหาคน

ในการเลือกต้ังและแตงตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงสัดสวนของสมาชิกสามัญจากสาขาสถาปตยกรรมควบคุมคาง ๆ ในสัดสวนที่เหมาะสม

มาตรา 25 เมื่อไดมีการแตงต้ังกรรมการและทราบผลการเลือกต้ังกรรมการตามมาตรา 24 แลว ใหสภานายกพิเศษกําหนดใหมีการประชุมคณะกรรมการภายในสามสิบวัน และใหถือวาวันประชุมดังกลาวเปนวันเริ่มวาระของการอยูในตําแหนงกรรมการ

มาตรา 26 ใหคณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหนงนายกสภาสถาปนิก อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สองตําแหนงละหนึ่งคน

ใหนายกสภาสถาปนิกเลือกกรรมการเพ่ือดํารงตําแหนงเลขาธิการ เหรัญญิก ตําแหนงละหนึ่งคน และอาจเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหนงอื่นไดตามความจําเปน ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ใหนายกสภาสถาปนิกมีอํานาจถอดถอนเลขาธิการ เหรัญญิก และตําแหนงอื่นตามวรรคสองออกจากตําแหนงได ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

นายกสภาสถาปนิก อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สองใหดํารงตําแหนงตามวาระของกรรมการซึ่งไดรับเลือกต้ัง

เมื่อผูดํารงตําแหนงนายกสภาสมาชิกพนจากหนาที่ ใหเลขาธิการ เหรัญญิก และผุดํารงตําแหนงอื่นตามวรรคสองพนจากตําแหนงดวย

Page 52: Professional practices for interior deisgner

52

Professional Practices INT 470

มาตรา 27 กรรมการตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี ้ (1) เปนผูไดรับใบอนุญาตระดับสามัญสถาปนิกแลวไมนอยกวาสิบปหรือระดับวุฒิสถาปนิก

(2) ไมเคยถูกส่ังพักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต

(3) ไมเปนบุคคลลมละลาย

มาตรา 28 กรรมการใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป กรรมการซึ่งไดรับเลือกตั้งจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได ใหกรรมการที่พนจากตําแหนงตามวาระปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะมีการเลือกต้ังหรือแตงตั้งกรรมการใหม

มาตรา 29 นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ

(1) สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา 14

(2) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 27

(3) ลาออก

(4) สภาสถาปนิกมีมติใหออกดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกที่มาประชุม

(5) ตําแหนงกรรมการซ่ึงไดรับเลือกตั้งวางลงรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการซ่ึงไดรับเลือกตั้งทั้งหมดและวาระของกรรมการเหลืออยูไมถึงเกาสิบวัน

(6) รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีสั่งใหพนจากตําแหนงตามมาตรา 69

มาตรา 30 เมื่อตําแหนงกรรมการซึ่งไดรับเลือกตั้งวางลงกอนครบวาระใหคณะกรรมการเลือกสมาชิกผูมีคุณสมบัติตามมาตรา 27 และมาตรา 24 (1) หรือ (2) แลวแตกรณี เปนกรรมการแทนภายในสามสิบวันนับแตวันที่ตําแหนงกรรมการนั้นวางลง แตถาวาระของกรรมการเหลืออยูไมถึงเกาสิบวันคณะกรรมการจะใหมีการเลือกกรรมการแทนหรือไมก็ได

ในกรณีตําแหนงกรรมการตามวรรคหนึ่งวางลงรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการซ่ึงไดรับเลือกต้ังทั้งหมดและวาระของกรรมการเหลืออยูต้ังแตเกาสิบวันขึ้นไปใหมีการประชุมใหญเพ่ือเลือกตั้งกรรมการข้ึนแทนตําแหนงกรรมการที่วางใหผูซ่ึงไดรับเลือกหรือเลือกต้ังใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน

มาตรา 31 เมื่อตําแหนงกรรมการซ่ึงไดรับการแตงต้ังตามมาตรา 24 (3) วางลงกอนครบวาระใหดําเนินการแตงต้ังกรรมการแทนตําแหนงที่วางภายในสามสิบวันนับแตวันที่ตําแหนงกรรมการนั้นวางลง แตถาวาระของกรรมการเหลืออยูไมถึงเกาสิบวันจะมีการแตงตั้งแทนหรือไมก็ได ใหผูซ่ึงไดรับการแตงต้ังแทนอยูในตําแหนงเพียงวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน

มาตรา 32 การเลือกต้ังกรรมการตามมาตรา 24 (1) และ (2) การเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหนงตาง ๆ ตามมาตรา 26 และการเลือกหรือการเลือกต้ังกรรมการตามมาตรา 30 ใหเปนไปตามขอบังคับสภาสถาปนิก

มาตรา 33 ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) บริหารและดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคและขอบังคับของสภาสถาปนิก

(2) สอดสองดูแลและดําเนินการทางกฎหมายกับผูกระทําการฝาฝนพระราชบัญญัตินี้

Page 53: Professional practices for interior deisgner

53

Professional Practices INT 470

(3) ออกระเบียบคณะกรรมการวาดวยการใด ๆ ตามที่กําหนดใหเปนหนาที่ของคณะกรรมการในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกมอบหมาย

(4) กําหนดแผนการดําเนินงานและงบประมาณของสภาสถาปนิก

(5) วินิจฉัยช้ีขาดอุทธรณ ซ่ึงผูไดรับใบอนุญาตอุทธรณคําวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณตามมาตรา 62

มาตรา 34 นายกสภาสถาปนิก อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่ง อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สอง

เลขาธิการ และเหรัญญิก มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี ้

(1) นายกสภาสถาปนิกมีอํานาจหนาที่ (ก) เปนผูแทนสภาสถาปนิกในกิจการที่เก่ียวกับบุคคล

(ข) เปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมใหญสภาสถาปนิก

(ค) ดําเนินกิจการของสภาสถาปนิกใหเปนไปตามมติของคณะกรรมการ

(2) อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่งเปนผูชวยนายกสภาสถาปนิกในกิจการอันอยูในอํานาจหนาที่ของนายกสภาสถาปนิกตามี่นายกสภาสถาปนิกมอบหมาย และเปนผูทําการแทนนายกสภาสถาปนิกเมื่อนายกสภาสถาปนิกไมอยู หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได (3) อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สองเปนผูชวยนายกสภาสถาปนิกในกิจการอันอยูในอํานาจหนาที่ของนายกสภาสถาปนิกตามที่นายกสภาสถาปนิกมอบหมาย และเปนผูทําการแทนนายกสภาสถาปนิกเมื่อนายกสภาสถาปนิก และอุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่งไมอยู หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได

(4) เลขาธิการมีอํานาจหนาที่ (ก) ควบคุมบังคับบัญชาเจาหนาที่สภาสถาปนิกทุกระดับ

(ข) เปนเลขานุการในที่ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมใหญสภาสถาปนิก

(ค) ดําเนินการตามที่นายกสภาสถาปนิกมอบหมาย

(5) เหรัญญิกมีอํานาจหนาที่ควบคุม ดูแล รับผิดชอบการบัญชี การเงิน และการงบประมาณของสภาสถาปนิก

นายกสภาสถาปนิกอาจมอบหมายใหอุปนายก กรรมการ เลขาธิการ เหรัญญิก หรือเจาหนาที่ของสภาสถาปนิกกระทําการอยางหนึ่งอยางใดแทนไดตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

หมวด 4 การดําเนินการของคณะกรรมการ

มาตรา 35 การประชุมคระกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม

ใหนายกสภาสถาปนิกเปนประธานในที่ประชุม ในกรณีที่นายกสภาสถาปนิกไมอยูในที่ประชุมหรคือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหอุปนายกสภาสถาปนิกผูทําการแทนตามมาตรา 34 เปนประธานในที่ประชุม ถานายกสภาสถาปนิก

Page 54: Professional practices for interior deisgner

54

Professional Practices INT 470

และอุปนายกสภาสถาปนิกไมอยูในทีป่ระชุม หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม

มติของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทกัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพ่ิมขึ้นอีกเสียงหนี่งเปนเสียงช้ีขาด

ในกรณีใหสมาชิกพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา 14 (3) มติของที่ประชุมใหถือคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการที่มาประชุม

มาตรา 36 สภานายกพิเศษจะเขารวมการประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ หรือจะสงความเห็นเปนหนังสือปงสภาสถาปนิกในเรื่องใด ๆ ก็ได

มาตรา 37 ในการดําเนินงานของคณะกรรมการ ใหคระกรรมการจัดทําแผนการดําเนินงานและงบประมาณประจําปเสนอตอที่ประชุมใหญสภาสถาปนิก เมื่อที่ประชุมมีมติเห็นชอบแลวจึงจะดําเนินงานได ใหคณะกรรมการจัดทํารายงานประจําปแสดงผลงานของคณะกรรมการในปที่ลวงมา คําชี้แจงเกี่ยวกับนโยบาย พรอมดวยงบดุลและบัญชีรายไดและรายจายประจําปซ่ึงผูสอบบัญชีตามกฎหมายวาดวยผูสอบบัญชีรับรองเสนอตอที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปปฏิทิน

มาตรา 38 คณะกรรมการจะแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ีอพิจารณาหือปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดแทนคระกรรมการได การประชุมของคณะอนุกรรมการใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบคณะกรรมการ

มาตรา 39 ใหมีสํานักงานสภาสถาปนิกทําหนาที่ธุรการตาง ๆ ใหแกคณะกรรมการและสภาสถาปนิก

มาตรา 40 ใหนายกสภาสถาปนิกแตงตั้งหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกตามมติของคณะกรรมการจากบุคคลซ่ึงมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี ้

(1) มีสัญชาติไทย

(2) มีอายุไมต่ํากวาสามสิบปบริบูรณ (3) ไมเปนบุคคลลมละลาย บุคคลวิกลจริต หรือคนไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ

(4) ไมเคยตองโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(5) คุณสมบัติอ่ืนๆ ตามที่คณะกรรมการกําหนด

มาตรา 41 การดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง การกําหนดคาจาง และเงื่อนไขอ่ืนในการทํางานในหนาที่หัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกใหเปนไปตามแบบสัญญาจางที่สภาสถาปนิกกําหนด

มาตรา 42 หัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกมีอํานาจหนาที่ดังนี ้(1) ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไปของสภาสถาปนิก

(2) ดูแลรักษาทะเบียนสมาชิก ทะเบียนผูไดรับใบอนุญาต และทะเบียนอ่ืนๆ ของสภาสถาปนิก

(3) ควบคุมดูแลทรัพยสินของสภาสถาปนิก

(4) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการหรือเลขาธิการมอบหมาย

Page 55: Professional practices for interior deisgner

55

Professional Practices INT 470

หมวด 5 ขอบังคับสภาสถาปนิก

มาตรา 43 รางขอบังคับสภาสถาปนิกจะเสนอไดก็แตโดยคณะกรรมการหรือสมาชิกสามัญ

การเสนอรางขอบังคับสภาสถาปนิกของสมาชิกสามัญจะกระทําไดเมื่อมีสมาชิกสามัญจํานวนไมนอยกวาหนึ่งรอยคนรับรอง

ใหคณะกรรมการจัดใหมีการประชุมใหญสภาสถาปนิกเพื่อพิจารณารางขอบังคับสภาสถาปนิกที่มีการเสนอตามความเหมาะสมแกกรณี การพิจารณารางขอบังคับสภาสถาปนิกจะเสนอเปนวาระจรไมได แตตองกําหนดเปนวาระในหนังสือนัดประชุมใหชัดเจน และแนบรางขอบังคับสภาสถาปนิกที่เสนอไปพรอมกันดวย

มาตรา 44 เมื่อที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกมีมติใหความเห็นชอบรางขอบังคับสภาสถาปนิกดวยคะแนนเสียงไมนอยกวากึ่งหนึ่งของสมาชิกสามัญที่เขาประชุมใหนายกสภาสถาปนิกเสนอรางขอบังคับสภาสถาปนิกตอสภานายกพิเศษโดยไมชักชา สภานายกพิเศษอาจยับยั้งรางขอบังคับนั้นไดแตตองแสดงเหตุผลโดยแจงชัด ในกรณีที่มิไดยับยั้งภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับรางขอบังคับที่นายกสภาสถาปนิกเสนอใหถือวาสภานายกพิเศษใหความเห็นชอบรางขอบังคับนั้น

ถาสภานายกพิเศษยับยั้งรางขอบังคับใด ใหคณะกรรมการประชุมอีกครั้งหนึ่งภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับการยับยั้ง ในการประชุมครั้งหลังนี้ถามีเสียงยืนยันมติไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งคณะ ใหถือวารางขอบังคับนั้นไดรับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษแลว

หมวด 6 การควบคุมการประอบวิชาชีพสถาปตยกรรม

มาตรา 45 หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมหรือแสดงดวยวิธีใด ๆ ใหผูอื่นเขาใจวาตนพรอมจะประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมสาขาใด เวนแตจะไดรับใบอนุญาตในสาขานั้นจากสภาสถาปนิก

มาตรา 46 ผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมแตละสาขามี 4 ระดับคือ

(1) วุฒิสถาปนิก

(2) สามัญสมาชิก

(3) ภาคีสถาปนิก

(4) ภาคีสถาปนิกพิเศษ

หลักเกณฑและคุณสมบัติของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมแตละระดับ ใหเปนไปตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

มาตรา 47 หามมิใหผูใดใชคําหรือขอความที่แสดงใหผูอื่นเขาใจวาตนเปนผูมีความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ทั้งนี้ รวมถึง การใช จางวาน หรือยินยอมใหผูอื่นกระทําดังกลาวใหแกตน เวนแตผูไดรับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติเปนผูมีความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมสาขานัน้ ๆ จากสภาสถาปนิกหรือสถาบันที่สภาสถาปนิกรับรอง หรือผูไดรับใบอนุญาต ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

Page 56: Professional practices for interior deisgner

56

Professional Practices INT 470

มาตรา 48 การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใชใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต และการรับรองความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ใหเปนไปตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

มาตรา 49 ผูขอรับใบอนุญาตตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

ผูขอรับใบอนุญาตที่เปนบุคคลธรรมดาตองเปนสมาชิกสามัญหรือสมาชิกวิสามัญของสภาสถาปนิก และถาขาดจากสมาชิกภาพเมื่อใดใหใบอนุญาตของผูนั้นสิ้นสุด

ผูขอรับใบอนุญาตที่เปนนิติบุคคลไมวาจะเปนนิติบุคคลซ่ึงมีทุนเปนของคนตางดาวจํานวนเทาใด นิติบุคคลนัน้อยางนอยตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี ้ (1) มีสํานักงานใหญตั้งอยูในราชอาณาจักร

(2) ผูเปนหุนสวนของหางหุนสวน กรรมการของบริษัทหรือสมาชิกในคณะผูบริหารของนิติบุคคลจํานวนไมนอยกวาก่ึงหนึ่ง หรือหุนสวนผูจัดการของหางหุนสวน กรรมการผูจัดการของบริษัท หรือผูมีอํานาจบริหารแตผูเดียวของนิติบุคคลเปนผูซ่ึงไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา 50 ผูไดรับใบอนุญาตตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมตามที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

มาตรา 51 บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายหรือพบการประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมของผูไดรับใบอนุญาต มีสิทธิกลาวหาผูไดรับใบอนุญาตผูนั้น โดยทําเรื่องย่ืนตอสภาสถาปนิก

กรรมการหรือบุคคลอื่นมีสิทธิกลาวโทษผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม วาผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมโดยแจงเรื่องตอสภาสถาปนิก

สิทธิการกลาวหาตามวรรคหนึ่งหรือสิทธิการกลาวโทษตามวรรคสองสิ้นสุดลงเมื่อพนหนึ่งปนับแตวันที่ผูไดรับความเสียหาย หรือผูกลาวโทษรูเรื่องการประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมดังกลาวและรูตัวผูประพฤติผิด

การถอนเรื่องการกลาวหาหรือการกลาวโทษที่ไดยื่นไวแลวนั้น ไมเปนเหตุใหระงับการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา 52 เมื่อสภาสถาปนิกไดรับเรื่องการกลาวหาหรือการกลาวโทษ ตามมาตรา 51 ใหเลขาธิการเสนอเรื่องดังกลาวตอคณะกรรมการจรรยาบรรณโดยไมชักชา

มาตรา 53 ใหมีคณะกรรมการจรรยาบรรณ ประกอบดวยประธานกรรมการจรรยาบรรณคนหนึ่งและกรรมการจรรยาบรรณตามจํานวนที่คณะกรรมการกําหนด แตไมนอยกวาสามคน

ใหคณะกรรมการแตงต้ังกรรมการจรรยาบรรณตามมติของที่ประชุมใหญสภาสถาปนิกจากสมาชิกซึ่งมีคุณสมบัติดังตอไปนี ้ (1) เปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมมาแลวไมนอยกวาสิบป (2) ไมเคยถูกลงโทษฐานประพฤติผิดจรรยาบรรณ

Page 57: Professional practices for interior deisgner

57

Professional Practices INT 470

มาตรา 54 กรรมการจรรยาบรรณใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป และอาจไดรับแตงตั้งใหมได แตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได ใหกรรมการจรรยาบรรณที่พนจากตําแหนงตามวาระปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะมีการแตงต้ังกรรมการจรรยาบรรณใหม

มาตรา 55 นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการจรรยาบรรณพนจากตําแหนงเมื่อ

(1) ลาออก

(2) สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา 14

(3) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 53 วรรคสอง

(4) สภาสถาปนิกมีมติใหออกดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกที่มาประชุม

มาตรา 56 เมื่อตําแหนงกรรมการจรรยาบรรณวางลงกอนครบวาระ ใหคณะกรรมการดําเนินการแตงตั้งแทนตําแหนงที่วาง เวนแตวาระของกรรมการจรรยาบรรณเหลืออยูไมถึงเกาสิบวัน คณะกรรมการจะดําเนินการแตงตั้งแทนตําแหนงที่วาง หรือไมก็ได ใหกรรมการจรรยาบรรณซ่ึงไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซ่ึงตนแทน

มาตรา 57 คณะกรรมการจรรยาบรรณมีอํานาจหนาที่พิจารณาวินิจฉัย กรณีที่มีการกลาวหาวาผูไดรับใบอนุญาตประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรม

วิธีพิจารณาและวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณ ใหเปนไปตามระเบียบของคณะกรรมการ

มาตรา 58 คระกรรมการจรรยาบรรณจะแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการจรรยาบรรณได การปฏิบัติการของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบของคณะกรรมการ

มาตรา 59 ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการจรรยาบรรณ และคณะอนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการจรรยาบรรณแตงต้ัง ใหกรรมการจรรยาบรรณและอนุกรรมการ มีอํานาจออกคําส่ังเปนหนังสือใหบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาใหถอยคําหรือสงเอกสารหรือวัตถุใด ๆ เพ่ือประโยชนแกการพิจารณา แตถาเปนการมีคําสั่งตอบุคคลซึ่งมิใชผูไดรับใบอนุญาตจะตองไดรับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษหรือผูซึ่งสภานายกพิเศษมอบหมาย

ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการจรรยาบรรณหรืออนุกรรมการเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 60 ใหประธานกรรมการจรรยาบรรณมีหนังสือแจงขอกลาวหาหรือขอกลาวโทษ พรอมทั้งสงสําเนาเรื่องที่กลาวหาหรือกลาวโทษใหผูไดรับใบอนุญาตซ่ึงถูกกลาวหาหรือถูกกลาวโทษลวงหนาไมนอยกวาสิบหาวันกอนเริ่มพิจารณา

ผูถูกกลาวหาหรือถูกกลาวโทษมีสิทธิทําคําชี้แจงหรือนําพยานหลักฐานใด ๆ สงใหคณะกรรมการจรรยาบรรณหรือคณะอนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการจรรยาบรรณแตงต้ังภายในสิบหาวันนับแตวันไดรับแจงจากประธานกรรมการจรรยาบรร หรือภายในเวลาที่คณะกรรมการจรรยาบรรณกําหนด

Page 58: Professional practices for interior deisgner

58

Professional Practices INT 470

มาตรา 61 คณะกรรมการจรรยาบรรณมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี ้(1) ยกขอกลาวหา

(2) ตักเตือน

(3) ภาคทัณฑ (4) พักใชใบอนุญาตมีกําหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แตไมเกินหาป (5) เพิกถอนใบอนุญาต

มาตรา 62 ผูไดรับใบอนุญาตซ่ึงคณะกรรมการจรรยาบรรณวินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา 61 (2) (3) (4) หรือ (5) อาจอุทธรณคําวินิจฉัยชี้ขาดตอคณะกรรมการไดภายในสามสิบวันนับแตวันไดรับแจงคําวินิจฉัย

การอุทธรณใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในขอบังคับสภาสถาปนิก

คําวนิิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการใหทําเปนคําส่ังสภาสถาปนิก พรอมดวยเหตุผลของการวินิจฉัยชี้ขาดและใหถือเปนที่สุด

มาตรา 63 หามมิใหผูไดรับใบอนุญาตซึ่งอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตผูใดประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมหรือแสดงดวยวิธีใด ๆ ใหผูอ่ืนเขาใจวาตนมีสิทธิหรือพรอมจะประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมนับแตวันที่ทราบคําสั่งสภาสถาปนิกที่ส่ังพักใชใบอนุญาตนั้น

มาตรา 64 ผูไดรับใบอนุญาตซึ่งอยูในระหวางถูกส่ังพักใชใบอนุญาตผูใดกระทําการฝาฝนตามมาตรา 63 ใหสภาสถาปนิกมีมติเพิกถอนใบอนุญาตของผูนั้นนับแตวันที่ศาลพิพากษาถึงที่สุด

มาตรา 65 ผูไดรับใบอนุญาตซึ่งถูกส่ังเพิกถอนใบอนุญาตจะยื่นขอรับใบอนุญาตอีกไมไดจนกวาจะพนหาปนับแตวันที่ถูกส่ังเพิกถอนใบอนุญาต

ในกรณีที่ผูถูกส่ังเพิกถอนใบอนุญาตเปนนิติบุคคล ใหมีผลเปนการเพิกถอนใบอนุญาตของผูเปนหุนสวนของหางหุนสวนกรรมการของบริษัท ผูบริหารของนิติบุคคลและพนักงานหรือลูกจางของหางหุนสวนหรือบริษัทหรอืนิติบุคคลที่มีสวนรวมในการกระทําอันเปนเหตุใหหางหุนสวนหรือบริษัทหรือนิติบุคคลนั้นถูกเพิกถอนใบอนุญาต และหามมิใหบุคคลดังกลาวเปนหุนสวนของหางหุนสวน กรรมการของบริษัท ผูบริหารของนิติบุคคล ซึ่งไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้จนกวาจะพนหาปคนับแตวันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต

หมวด 7 การกํากับดูแล

มาตรา 66 ใหรัฐมนตรีมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี ้(1) กํากับดูแลการดําเนินงานของสภาสถาปนิกและการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(2) สั่งใหพนักงานเจาหนาที่สอบสวนขอเท็จจริงเก่ียวกับการดําเนินงานของสภาสถาปนิกและการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

(3) สั่งเปนหนังสือใหกรรมการช้ีแจงขอเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของสภาสถาปนิก และจะใหสงเอกสารเก่ียวกับการดําเนินงานหรือรายงานการประชุมของคณะกรรมการก็ได

Page 59: Professional practices for interior deisgner

59

Professional Practices INT 470

(4) สั่งเปนหนังสือใหสภาสถาปนิกระงับหรือแกไขการกระทําใด ๆ ที่ปรากฏวาขัดตอวัตถุประสงคของสภาสถาปนิก กฎหมาย หรือขอบังคับสภาสถาปนิก

มาตรา 67 เพ่ือปฏิบัติการตามคําสั่งของรัฐมนตรีตามมาตรา 66 ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหบุคคลซ่ึงเก่ียวของมาใหถอยคํา หรือสงเอกสารหรือวัตถุใด ๆ เพ่ือประโยชนแกการพิจารณา และมีอํานาจเขาไปตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานในสํานักงานของสภาสถาปนิก หรือในสถานที่ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมไดในระหวางเวลาทําการ หรือใหบุคคลซ่ึงเก่ียวของชี้แจงแกพนักงานเจาหนาที่ตามที่รองขอ ทั้งนี้ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

ในการปฏิบัติการของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหบุคคลซึ่งเก่ียวของอํานวยความสะดวกตามสมควร

มาตรา 68 ในการปฏิบัติงานของพนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลที่เก่ียวของ

บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีกําหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 69 เมื่อปรากฏวาสภาสถาปนิกไมปฏิบัติตามคําสั่งของรัฐมนตรีตามมาตรา 66 หรือมีพฤติการณแสดงใหเห็นวาคณะกรรมการ นายกสภาสถาปนิก หรือกรรมการคนหนึ่งคนใดกระทําการอันผิดวัตถุประสงคของสภาสถาปนิก หรือกระทําการอันเปนการเส่ือมเสียอยางรายแรงแกสภาสถาปนิก ใหรัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหคณะกรรมการ นายกสภาสถาปนิก หรือกรรมการคนนั้นพนจากตําแหนง

ในกรณีที่รัฐมนตรีจะมีคําสั่งตามวรรคหนึ่ง ใหรัฐมนตรีแตงตั้งสมาชิกสามัญจํานวนหาคนเปนคณะกรรมการสอบสวน คณะกรรมการสอบสวนตองรีบทําการสอบสวนใหแลวเสร็จโดยเร็ว แลวเสนอสํานวนการสอบสวนพรอมทั้งความเห็นตอรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาสั่งการ

คําสั่งของรัฐมนตรีใหถือเปนที่สดุ

มาตรา 70 ในกรณีที่รัฐมนตรีมีคําส่ังตามมาตรา 69 ใหกรรมการทั้งคณะของสภาสถาปนิกพนจากตําแหนง ใหรัฐมนตรีแตงตั้งบุคคลจากสมาชิกสามัญของสภาสถาปนิกเทากับจํานวนกรรมการที่จะมีไดตามมาตรา 24 เปนกรรมการชั่วคราวแทนกรรมการที่พนจากตําแหนงในวันเดียวกันกับวันที่รัฐมนตรีมีคําส่ังใหกรรมการพนจากตําแหนง

ใหกรรมการชั่วคราวตามวรรคหนึ่ง มีอํานาจหนาที่ปฏิบัติการเพียงเทาที่จําเปน และดําเนินการภายในสามสิบวันนับแตวันที่รัฐมนตรีมีคําส่ังแตงตั้งกรรมการชั่วคราว เพ่ือใหมีการเลือกตั้ง และแตงตั้งกรรมการใหมตามมาตรา 24

เมื่อกรรมการใหมเขารับหนาที่แลว ใหกรรมการชั่วคราวซึ่งรัฐมนตรีแตงต้ังพนจากตําแหนง

หมวด 8 บทกําหนดโทษ

มาตรา 71 ผูใดฝาฝนมาตรา 45 หรือมาตรา 63 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 72 ผูใดฝาฝนมาตรา 47 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 60: Professional practices for interior deisgner

60

Professional Practices INT 470

มาตรา 73 ผูใดไมปฏิบัติตามคําส่ังของคณะกรรมการจรรยาบรรณหรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา 59 หรือพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา 67 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทังปรับ

มาตรา 74 ในกรณีที่ผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนนิติบุคคลใหหุนสวนของหางหุนสวน กรรมการของบริษัท ผูแทนของนิติบุคคล หรือผูซึ่งมีสวนในการกระทําความผิดดังกลาว มีความผิดในฐานะเปนผูรวมกระทําความผิด ผูใชใหกระทําความผิดหรือผูสนับสนุนในการกระทําความผิด แลวแตกรณี ตองระวางโทษตามที่กําหนดไวในการกระทําความผิดนั้น และสําหรับนิติบุคคลตองระวางโทษปรับไมเกินสิบเทาของอัตราโทษปรับสําหรับความผิดนั้นดวย

บทเฉพาะกาล

มาตรา 75 ใหคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางกอนจนกวาจะมีคณะกรรมการตามมาตรา 24 และใหมีอํานาจออกขอบังคับสภาสถาปนิกตามมาตรา 8 (6) เทาที่จําเปน เพ่ือใชเปนการชั่วคราว ขอบังคับดังกลาวใหมีผลใชบังคับจนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงขอบังคับนั้น ทั้งนี้ โดยไมใหนํามาตรา 43 และมาตรา 44 มาใชบังคับ

ใหสํานักงาน ก.ส. ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ปฏิบัติหนาที่สํานักงานสภาสถาปนิกตามมาตรา 39 และใหนายทะเบียน ก.ส. ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ปฏิบัติหนาที่หัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิกตามมาตรา 42 เปนการชั่วคราวไปจนกวาสํานักงานสภาสถาปนิกจะมีบุคลากรปฏิบัติหนาที่ แตทั้งนี้ตองไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันเริ่มวาระของการอยูในตําแหนงคณะกรรมการตามมาตรา 25

ในวาระแรกมิใหนําความในมาตรา 27 (1) มาใชบังคับแกสถาปนิกสาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิสถาปตยกรรม และสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ที่มีวุฒิและผลงานไมนอยกวา 10 ป ตามเงื่อนไขที่ ก.ส. ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 กําหนด

การเลือกตั้งและแตงต้ังกรรมการตามมาตรา 29 ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหนึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

มาตรา 76 ใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ประเภทภาคีสถาปนิก สามัญสถาปนิก และวุฒิสถาปนิกตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 อยูแลวในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนสมาชิกสามัญของสภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัตินี ้ ใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมประเภทใบอนุญาตพิเศษตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 อยูแลว ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนสมาชิกวิสามัญของสภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อพนกําหนดเวลาตามใบอนุญาตหรือพนกําหนดสองปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับแลวแตกําหนดระยะเวลาใดจะยาวกวา ใหสมาชิกภาพของสมาชิกตามวรรคหนึ่งและวรรคสองเปนอันสิ้นสุดลง เวนแตจะสมัครและไดเปนสมาชิกของสภาสถาปนิกตามพระราชบัญญัตินี้

Page 61: Professional practices for interior deisgner

61

Professional Practices INT 470

ใหถือวาปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรที่คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ไดรับรองแลวเปนปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรที่สภาสถาปนิกใหการรับรองตามมาตรา 8 (3)

มาตรา 77 ใหผูซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมประเภทวุฒิสถาปนิก สามัญสถาปนิก ภาคีสถาปนิก หรือใบอนุญาตพิเศษตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 และใบอนุญาตนั้นยังคงใชไดในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมระดับวุฒิสถาปนิก สามัญสถาปนิก ภาคีสถาปนิก หรือภาคีสถาปนิกพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ แลวแตกรณี

เพ่ือประโยชนตามมาตรา 27 (1) ใหถือวากําหนดเวลาที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมประเภทสามัญสถาปนิก ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 เปนกําหนดเวลาที่ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญสถาปนิกตมพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 78 คําขอรับใบอนุญาตซึ่งไดยื่นไวกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับใหดําเนินการตอไปจนกวาจะแลวเสร็จ โดยใหถือวาเปนการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสองรอยยี่สิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ หากพนกําหนดเวลาดังกลาว ใหพิจารณาดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหถือวาผูที่ไดรับใบอนุญาตตามความในวรรคกอนเปนสมาชิกสามัญหรือสมาชิกวิสามัญของสภาสถาปนิกตามความในมาตรา 76 โดยอนุโลม

มาตรา 79 ในระหวางที่ยังมิไดออกกฎกระทรวง ขอบังคับ ระเบียบ หรือประกาศเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนํากฎกระทรวง ขอบังคับ ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา 80 ใหถือวาการกระทําผิดมรรยาทหรือขอกําหนดและเงื่อนไข ในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ซ่ึงไดกระทํากอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับและยังไมมีการดําเนินการตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 เปนการประพฤติผิดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพสถาปตยกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ และการดําเนินการตอไปใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่มีการดําเนินการกับผูกระทําผิดมรรยาท หรือขอกําหนดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหถือวา การดําเนินการดังกลาวเปนการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ และการดําเนินการตอไปใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

ชวน หลีกภัย

นายกรัฐมนตรี

อัตราคาธรรมเนียม

(1) คาใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

บุคคลธรรมดา

(ก) ระดับวุฒิสถาปนิก 10,000 บาท

Page 62: Professional practices for interior deisgner

62

Professional Practices INT 470

(ข) ระดับสามัญสถาปนิก 7,500 บาท

(ค) ระดับภาคีสถาปนิก 5,000 บาท

(ง) ระดับภาคีสถาปนิกพิเศษ 5,000 บาท

นิติบุคคล

คาใบอนุญาตนิติบุคคล 100,000 บาท

(2) คาตออายุใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม ที่ขอตออายุใบอนุญาตกอนใบอนุญาตหมดอายุ

บุคคลธรรมดา

(ก) ระดับวุฒิสถาปนิก 3,000 บาท

(ข) ระดับสามัญสถาปนิก 2,000 บาท

(ค) ระดับภาคีสถาปนิก 1,000 บาท

(ง) ระดับภาคีสถาปนิกพิเศษ 1,000 บาท

สําหรับผูที่ขอตออายุใบอนุญาตหลังจากใบอนุญาต

หมดอายุใหเพ่ิมอัตราคาธรรมเนียม 2,000 บาท

นิติบุคคล (ก) คาตอใบอนุญาตนิติบุคคลที่ขอตออายุใบอนุญาต

กอนใบอนุญาตหมดอายุ 30,000 บาท

(ข) คาตอใบอนุญาตนิติบุคคลที่ขอตออายุใบอนุญาต

หลังจากใบอนุญาตหมดอายุ 50,000 บาท

(3) คาหนังสือรับรองความรูความชํานาญในการประกอบ

วิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม 10,000 บาท

(4) คาใบแทนใบอนุญาตหรือหลักฐานรับรองการไดรับใบอนุญาต

บุคคลธรรมดา 500 บาท

นิติบุคคล 5,000 บาท

(5) คาทดสอบความรูในการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม

ควบคุมครั้งละ 2,000 บาท

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่วิทยาการดานสถาปตยกรรมมีการพัฒนาในเนื้อหาและวัตถุประสงคแตกตางจากเดิมจนครอบคลุมการสรางสรรคสถาปตยกรรมและสิ่งแวดลอมใหมีประโยชนใชสอย ความงาม และมั่นคง เพื่อสนองความตองการทางเศรษฐกิจ เอกลักษณ วัฒนธรรม และคุณภาพชีวิตความเปนอยู ทําใหมีภาระที่ตองควบคุมดูแลมากกวาเดิม และการรวมตัวของสถาปนิกในการจัดตั้งองคกรวิชาชีพก็ไดดําเนินการมาจนมั่นคงเปนที่ประจักษในผลงานแลว สมควรใหผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมรวมตัวกันตั้งองคกรวิชาชีพเพ่ือชวยรัฐในการควบคุมดูแลมาตรฐานความรูและการประกอบวิชาชีพใหสามารถดําเนินการควบคุมไดใกลชิดย่ิงขึ้น และจากนโยบายเปดเสรีในการคาและบริการในความสัมพันธระหวางประเทศทําใหตองเรงการรวมมือกันระหวางภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ือสงเสริมคุณภาพการประกอบวิชาชีพใหพรอมกับการแขงขันกับตางประเทศ สมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยวิชาชีพสถาปตยกรรม จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

Page 63: Professional practices for interior deisgner

63

Professional Practices INT 470

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

ใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิกใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิก

Page 64: Professional practices for interior deisgner

64

Professional Practices INT 470

ใบสมัครสมาชิกสภาสถาปนิก (โปรดทําเครื่องหมาย X ลงใน ใหตรงกับความประสงค)

เขียนที ่………...…….…..…………… รหัสบุคคล

วันที่……...……….....…….…………. ทะเบียนสมาชิก

(โดยเจาหนาที่) ประเภท

สมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ (สัญชาติไทย) สมาชิกวิสามัญ (ไมมีสัญชาติไทย)

สาขา สถาปตยกรรมหลัก สถาปตยกรรมภายในและมัณฑณศิลป ภูมิสถาปตยกรรม สถาปตยกรรมผังเมือง

สวนที ่1 ขอมูลประวัติสวนตัว

1. ชื่อ-นามสกุล นาย นางสาว นาง ยศฯลฯ

………………………………….………………..……...………..

2. ชื่อ-นามสกุลเปน

ภาษาอังกฤษ……………………..……………….………………….…………………………………

3 ชื่อเดิม………………………………….. (กรณีเปลี่ยนภายหลังไดใบประกอบวิชาชีพ / สําเร็จการศึกษา)

นามสกุลเดิม…………………………… (กรณีเปลี่ยนภายหลังไดใบประกอบวิชาชีพ / สําเร็จการศึกษา)

4. เกิดที่จังหวัด……………………..…..…ประเทศ ..…………….วัน/เดือน/ปเกิด……………………….….

5. เช้ือชาติ………………..…… สัญชาติ ………….…………………ศาสนา ……….………………………

6. บัตรประจําตัวประชาชน บัตรขาราชการ หนังสือเดินทาง อื่นๆ(ระบ)ุ………………………… เลขที…่……………………………..…………………ออกโดย…………..…………………….…..……

วันหมดอายุ………………………………………….. 7. ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ประเภท

ภาคี สาขาสถาปตยกรรมหลัก เลขที…่…………...เมื่อ วันที…่…..เดือน…….……….ป……...…. สามัญ สาขาสถาปตยกรรมหลัก เลขที…่………….. เมื่อ วันที…่…..เดือน…….…….…ป……...…. วุฒิ สาขาสถาปตยกรรมหลัก เลขที…่……………เมื่อ วันที…่.….เดือน……..………ป……...….

8. หลักฐานประกอบ กรณีเปนผูไมมีสัญชาติไทย หนังสืออนุญาตใหทํางานในราชอาณาจักร

รูปถาย 2.5 ซม.

Page 65: Professional practices for interior deisgner

65

Professional Practices INT 470

อื่นๆ ………………………………………

สวนที่ 2 ขอมูลสถานที่ติดตอ

2.1 ที่อยูปจจุบัน (ที่สามารถติดตอได) บานเลขที…่…………………...หมูที.่.............ซอย............................................ถนน…………......…..............…..แขวง/ตําบล…………...…..............…….เขต/อําเภอ….........…………… จังหวัด………......…………………… รหัสไปรษณีย ….…….โทรศัพท …………….………โทรสาร …………..………EMAIL…………………………

2.2 ที่ทํางาน (สถานที่ทํางานประจํา) บริษัท หาง หางหุนสวน

อื่นๆ…...……………….………………………………………………….. เลขที…่………..อาคาร……..………………………………………………………………ถนน…………………...…….แขวง/ตําบล…………………………..เขต/อําเภอ…………………..……..…จังหวัด ...….………….……………….รหัสไปรษณีย…………………..โทรศัพท …………………………...…โทรสาร ………………………………..….…

2.3 สถานที่ที่ตองการใหติดตอ ที่บาน ที่ทํางาน

สวนที่ 3 ขอมูลประวัติการศึกษา อบรม 3.1 การศึกษา 1. ระดับป.ว.ส / อนุปริญญา.…………..………….……………………….. สาขา …….….……………....…………..…….. สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จปการศึกษา...………………….. 2. ระดับปริญญาตร…ี……………….………….….……………………….สาขา…………….……….………………..….. สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จปการศึกษา…...……………….. 3. ปริญญาโท………………………...…………………………...…….…. สาขา…………………..………..……..……… สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จปการศึกษา…...……………….. 4. ปริญญาเอก………………..………………….…………………………สาขา….………………….…………………….. สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จปการศึกษา….………………….

Page 66: Professional practices for interior deisgner

66

Professional Practices INT 470

5. หลักสูตรอื่นๆ……………………………………………………….…….สาขา…….……………………………………… สถานศึกษา…………………………………………………………………………สําเร็จปการศึกษา……….……………. 3.2 การอบรม / สัมมนา ดานวิชาการ หรือ วิชาชีพ 1. หลักสูตร/เรื่อง………………………………..……………..……สาขา………….……...……………………….…………. สถาบัน/สถานศึกษา…………………..………………………...ป พ.ศ.…..…… ระยะเวลาของการอบรม……………….. 2. หลักสูตร/เรื่อง……………………………..…..…………………สาขา……………………………..…….……..………… สถาบัน/สถานศึกษา……………..……………………….……..ป พ.ศ.……..….ระยะเวลาของการอบรม…………….…. 3. หลักสูตร/เรื่อง………………………………..………………….. สาขา…………………..……………….….………….… สถาบัน/สถานศึกษา…………………….….…………………...ป พ.ศ.…..…… ระยะเวลาของการอบรม……......……… 4. หลักสูตร/เร่ือง…………………………………………….… …..สาขา……………………………..……………………… สถาบัน/สถานศึกษา…………………………………………….ป พ.ศ.…..…… ระยะเวลาของการอบรม……………..… 5. หลักสูตร/เรื่อง……………………………………………….…...สาขา……………………….………….………………… สถาบัน/สถานศึกษา…………………………………………….ป พ.ศ.…………ระยะเวลาของการอบรม……………….. ขาพเจา ขอยื่นใบสมัครตอหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิก พรอมเอกสารและหลักฐานตามขอบังคับสภาสถาปนิก ดังตอไปนี้ สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน บัตรขาราชการ หนังสือเดินทาง อื่นๆ……………

จํานวน….…. รายการ สําเนาทะเบียนบาน จํานวน…….. รายการ สําเนาหลักฐานการศึกษา จํานวน……..

รายการ ใบรับรองแพทย

…..……………………………………………………………… จํานวน…….. รายการ

รูปถายหนาตรงไมสวมหมวก ขนาด 2.5 เซนติเมตร ถายไวไมเกิน 1 ป จํานวน 2 รูป

ขาพเจาขอรับรองวาขอความที่ใหไวนี้เปนความจริงทุกประการ

(ลายมือชื่อ)..………………...........……………….…

ผูสมัคร

(…….……………….…………………….)

เอกสารประกอบ

Page 67: Professional practices for interior deisgner

67

Professional Practices INT 470

ขอมูลเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม

1. ปจจุบันประกอบอาชีพหลัก (FULL TIME) คือ 1. หนวยงานราชการ 2. รัฐวิสาหกิจ 3. บริษัทเอกชน 4. องคกรอิสระ 5. ปฏิบัติงานอิสระ 6. เกษียณแลว 7.

อื่นๆ….…………………………………….…….. กรณี1- 4 โปรดระบุสถานที…่……………………………………………………………….……………….

2. ประเภทของการปฏิบัตงิานวิชาชีพที่ทานทําหนาที่อยูในปจจุบัน(ระบุไดมากกวา1 ประเภท) 1. บริหารการพัฒนาอสังหาริมทรัพย 2. บริหารโครงการ 3. บริหารการกอสราง 4. ผูชวยบริหารการกอสราง 5. ออกแบบสถาปตยกรรม 6. ผูชวยออกแบบสถาปตยกรรม 7. ออกแบบสถาปตยกรรมภายใน 8. ผูชวยออกแบบตกแตงภายใน 9. ออกแบบภูมิสถาปตยกรรม 10. ผูชวยออกแบบภูมิสถาปตยกรรม 11. ออกแบบวางผังชุมชนหรือเมือง 12. ผูชวยออกแบบวางผังชุมชนหรือเมือง 13. นักวิจัยสถาปตยกรรม 14. ผูเช่ียวชาญออกแบบดานพลังงาน 15. ผูเชี่ยวชาญเทคนิควัสดุกอสราง 16. ผูรับเหมางานกอสราง 17. อาจารยสถาบันระดับอุดมศึกษา 18. อาจารยสถาบันเทคนิคระดับอาชีวศึกษา 19. ผูบริหารหนวยงานราชการ 20. อ่ืนๆ(ระบ)ุ……………………………………..

3. ประวัติ ผลงานที่ผานมา (กรุณากรอกขอมูลอยางนอย 5 ปที่ผานมา ปละ 2 ผลงาน) โครงการ / ที่ตั้ง ปแลวเสร็จ ภาระหนาท่ี 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. ภาระหนาที ่ 1. ใหคําปรึกษาโครงการ 2. ออกแบบ 3.ผูชวยออกแบบ

4. พิจารณาตรวจสอบ 5. อํานวยการกอสราง 6. อื่นๆ (ระบ)ุ………………… 4. การประกอบอาชีพรอง (PART TIME )

1. ประกอบอาชีพรอง (นอกเวลา / PART TIME) ทํา ไมทํา 2. สถานที่ทํางานอาชีพรอง (นอกเวลา / PART TIME) บริษัทเอกชน ปฏิบัติงานอิสระ 3. ทํางานอาชีพรอง(นอกเวลา / PART TIME) ประมาณสัปดาหละ……………ชั่วโมง 4. ลักษณะงานของอาชีพ

รอง…………………………………...………………………………………………………. 5. สถานที่ทํางานอาชีพรอง (PART TIME )

ชื่อหนวยงาน/บริษัท…………………………………………………………..…………………...……………………… ที่ต้ังเลขที…่………………………..อาคาร………………………..ถนน………………………..…….………………… แขวง/ตําบล ………………………………เขต/อําเภอ ……………..……………จังหวัด………………………………

Page 68: Professional practices for interior deisgner

68

Professional Practices INT 470

รหัสไปรษณีย ……………โทรศัพท ……………..…..โทรสาร……………………EMAIL………………………………

เอกสารประกอบคํารับรอง คุณสมบัติของผูรับรอง

สมาชิกสามัญสภาสถาปนิกซึ่งจดทะเบียนและรับใบอนุญาตฯ มาแลว ไมนอยกวา 10 ป 1 ทาน หรือ สมาชิกสามัญสภาสถาปนิกซึ่งจดทะเบียนและรับใบอนุญาตฯ มาแลว ไมนอยกวา 5 ป 2 ทาน

1. ขาพเจา นาย/นางสาว/นาง/ยศฯลฯ………………………………………………นามสกุล…………………….... ……สมาชิกสามัญเลขที่………………ใบอนุญาตประเภท…………………เลขที่…………………ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมมาแลว……….ป สถานที่ทํางาน………………………………………………………………..เลขที…่……………... หมูที…่……… ตรอก/ซอย……………………...……ถนน……..…………….………….…แขวง/ตําบล……………………. เขต/อําเภอ……………………..…...จังหวัด……………………….……………รหัสไปรษณีย………………………………หมายเลขโทรศัพท…………………………………………………………….โทรสาร……………………………………….. EMAIL…………………………………….……………………. ขอรับรองวานาย/นางสาว/นาง/ยศ ฯลฯ………………………..……….นามสกุล…….……..…………………………ไมเปนผูมีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดี และไมเปนผูมีประวัติหรือไดกระทําการอันใด ซึ่งแสดงใหเห็นวาไมนาไววางใจในความซ่ือสัตยสุจริต และเปนผูมีความเหมาะสมที่จะเปนสมาชิกสภาสถาปนิกประเภท…………….. …………………………………………………………. ได

(ลายมือชื่อ)…….……………………..……….ผูรับรอง (....………………………………..)

….……/…….……./…….…… 2. ขาพเจา นาย/นางสาว/นาง/ยศฯลฯ………………………นามสกุล………………………สมาชิกสามัญเลขที…่……..……ใบอนุญาตประเภท…………………เลขที่…………………ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมมาแลว……….ป สถานที่ทํางาน……………………………….เลขที…่………. หมูที…่……… ตรอก/ซอย…………………ถนน……..………………….…แขวง/ตําบล……………………. เขต/อําเภอ……………………..…...จังหวัด……………………รหัสไปรษณีย………………………………หมายเลขโทรศัพท……………………โทรสาร………….EMAIL………………… ขอรับรองวานาย/นางสาว/นาง/ยศ ฯลฯ……………………นามสกุล…….……..……………ไมเปนผูมีความประพฤติเส่ือมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดี และไมเปนผูมีประวัติหรือไดกระทําการอันใด ซึ่งแสดงใหเห็นวาไมนาไววางใจในความซ่ือสัตยสุจริต และเปนผูมีความเหมาะสมที่จะเปนสมาชิกสภาสถาปนิกประเภท…………………………………. ได

(ลายมือชื่อ)…………………...……….……….ผูรับรอง

Page 69: Professional practices for interior deisgner

69

Professional Practices INT 470

(…………………………..………..) ……../…….…./….…… สําหรับเจาหนาที่สภาสถาปนิก 1. เจาหนาที่ตรวจสอบ

ไดรับเอกสารและหลักฐานครบถวน (ตามหนา 2) ไดตรวจสอบเอกสารและหลักฐานแลวมีคุณสมบัติครบถวนตามขอบังคับสภาสถาปนิก ไดตรวจสอบเอกสารและหลักฐานแลวขาดคุณสมบัติ

เนื่องจาก .......................................…………………………………..………………… (ลายมือชื่อ).……………………........……เจาหนาที่ตรวจสอบ

(………………………….……….) 2. บันทึกหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิก เห็นควรใหติดประกาศไว ณ สํานักงานสภาสถาปนิก เปนเวลาไมนอยกวา 15 วัน เพ่ือใหโอกาสบุคคล อื่นคัดคาน (ถามี) ประกาศ ณ วันที…่………………….…………ถึง………...………………….…… เสนอเลขาธิการสภาสถาปนิกนําเสนอตอคณะกรรมการสภาสถาปนิกเพื่อพิจารณา (พรอมคําคัดคานถามี)

(ลายมือชื่อ)………......….………….…….หัวหนาสํานักงานสถาปนิก

(…………………...........…….….) 3. มติของคณะกรรมการสภาสถาปนิก ใหจดทะเบียนเปนสมาชิกได ไมรับจดทะเบียน

เนื่องจาก………………………………………………………… สงคืนหัวหนาสํานักงานสภาสถาปนิก

(ลายมือชื่อ)……………………………….เลขาธิการสภาสถาปนิก

(……………..…………….……..)

4. งานทะเบียน / ประวัต ิ ใหออกบัตรสมาชิกสภาสถาปนิกประเภท สามัญ วิสามัญ (สัญชาติไทย) วิสามัญ (ไมใชสัญชาติไทย)

(ลายมือชื่อ)....………………………….……….…….นายทะเบียน

(…..……....…….....……….……..)

ทะเบียนสมาชิกเลขที ่…………………………….ตั้งแตวันที่……………………………………… รับบัตรสมาชิกไดในวันที่……………………………………………………………………….…….

Page 70: Professional practices for interior deisgner

70

Professional Practices INT 470

(ลายมือช่ือ)....…………………….…….หัวหนางานทะเบียน/ประวัต ิ

(…..……....…….....……….……..)

คําขอชําระคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสมาชิกและคาบํารุง

สําหรับผูที่สมัครเปนสมาชิกใหมใหยื่นแบบ ส.ภ.ส.2/1 นี้พรอมกับใบสมัครเปนสมาชิกสภาสถาปนิกแบบ ส.ภ.ส.1 ( โปรดทําเครื่องหมาย X ลงใน � ใหตรงกับความประสงค ) ขาพเจามีความประสงคขอชําระเงินคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสมาชิกและคาบํารุง ดังนี ้

คาจดทะเบียนสมาชิก ประเภทสามัญ / วิสามัญ ฉบับละ 500

บาท คาบํารุงราย 2 ป ประเภทสามัญ อัตรา 500

บาท ประเภทวิสามัญ (ผูมีสัญชาติไทย) อัตรา 300 บาท ประเภทวิสามัญ (ผูไมมีสัญชาติไทย) อัตรา 3,000 บาท

คาบํารุงราย 5 ป ประเภทสามัญ อัตรา 1,000 บาท

ประเภทวิสามัญ (ผูมีสัญชาติไทย) อัตรา 600 บาท ประเภทวิสามัญ (ผูไมมีสญัชาติไทย) อัตรา 6,000 บาท

คาทําบัตรสมาชิกสภาสถาปนิก ฉบับละ 200 บาท

รวมเปนเงินทั้งสิ้น บาท

(ลายมือช่ือ)…..........................……..........................

(.……….....................................................) วันที่............/..................../.............………

สําหรับเจาหนาที ่

แบบ ส.ภ.ส.2/1 รหัสบุคคล………….…….

Page 71: Professional practices for interior deisgner

71

Professional Practices INT 470

ไดรับเงินตามใบเสร็จรับเงิน เลมที…่.……………………เลขที…่…………………ลงวันที…่………………………

(ลายมือชื่อ)…..……......….......................……........…....เจาหนาทีก่ารเงิน

ตัวอยางแบบฟอรมตัวอยางแบบฟอรม

หนังสือรับรองของหนังสือรับรองของ ผูประกอบวิชาชีพผูประกอบวิชาชีพ

สถาปตยกรรมควบคุมสถาปตยกรรมควบคุม

Page 72: Professional practices for interior deisgner

72

Professional Practices INT 470

หนังสือรับรอง ของ

ผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม

เขียนที่ ...........................................

วันที่ .......... เดือน ......................... พ.ศ. ................

โดยหนังสือฉบับนี้ ขาพเจา ...................................................................... อายุ .....................ป เชื้อชาติ ................. สัญชาติ ................. อยูบานเลขที่ ..................... หมูที่ .............. ถนน ...............................

ตรอก/ซอย ................................ ตําบล/แขวง ....................................... อําเภอ/เขต ......................................... จังหวัด ......................... ที่ทํางาน ....................... โทรศัพทที่บาน ....................... โทรศัพทที่ทํางาน..................

ไดรับใบอนุญาตใหประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมประเภท .............................. สาขา ............................

แขนง ................................. ตามใบอนุญาตเลขทะเบียนที่ ..................................... และขณะนี้ไมไดถูกเพิกถอน

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

ขอรับรองวาขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. ๒๕๐๘

โดยขาพเจาเปนผูควบคุมการกอสราง , วางผัง , ออกแบบ ทํารายการกอสราง

เปนส่ิงกอสรางชนิด ........................................... จํานวน ....................................... เพ่ือใช ...............................

เปนส่ิงกอสรางชนิด ........................................... จํานวน ....................................... เพ่ือใช ...............................

เปนส่ิงกอสรางชนิด ........................................... จํานวน ....................................... เพ่ือใช ...............................

ของ ..................................................................................................................................................................

กอสรางในโฉนดที่ ...................... หมูที่ .................. ถนน ........................ ตรอก/ซอย .......................................

ตําบล/แขวง ............................. อําเภอ/เขต ................................... จังหวัด .....................................................

ตามผังบริเวณ , แบบกอสราง , รายการกอสราง ที่ขาพเจาไดลงนามรับรองไวแลว ซ่ึงแนบมาพรอมเรื่องราว ขอ

อนุญาตปลูกสรางอาคาร

เพ่ือเปนหลักฐานขาพเจาไดลงลายมือช่ือไวเปนสําคัญ

( ลงชื่อ ) ...................................... สถาปนิก

( ลงชื่อ ) ...................................... ผูขออนุญาตกอสราง ,ดัดแปลง , ตอเติม

( ลงชื่อ ) ...................................... พยาน

( ลงชื่อ ) ...................................... พยาน

คําเตือน

๑. ใหขีดฆาขอความที่ไมใชออก

๒. ใหสถาปนิกแนบภาพถายใบประกอบวิชาชีพ หรือภาพถายประจําตัว แสดงวา

ไดรับอนุญาตใหประกอบวิชาชีพไปดวย ( พรอมทั้งลงนามรับรองในภาพถาย )

๓. หากมีการเปลี่ยนแปลงสถาปนิกตามหนังสือรับรองฉบับนี้ ใหสถาปนิกรีบแจง

ใหกรุงเทพมหานครทราบเปนลายลักษณอักษร

Page 73: Professional practices for interior deisgner

73

Professional Practices INT 470

บรรณานุกรม

1. เอกสารหลักการประกอบวิชาชีพงานสถาปตยกรรม สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย ป 2552 2. พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ.2543 ; ธีระพล อรุณะกสิกร 3. พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2552 วิเคราะหฎีกาคําพรอมคําอธิบาย ; สนิท สนั่นศิลป 4. การบริหารงานกอสราง (CONSTRUCTION MANAGEMENT) โดย วิสูตร จิระดําเกิง ; 2552 5. การบริหารสํานักงานสมัยใหม ; รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน 6. ธุรกิจเบื้องตน (Business : A Changing World) ; พรพรหม พรหมเพศ 2548 สํานักพิมพทอป

เว็บไซดอางอิง

1. http://www.act.or.th/about08.html 2. http://www.tida.or.th/ 3. www.ncidq.org 4. www.idec.org 5. www.accredit-id.org