One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ...

104
One Vision, One Identity, One Community $(& &7 %22. ヲ、チヲオオヲoオヲウョェnオヲウチォ ヲウヲェ。オキ・r

Transcript of One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ...

Page 1: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

One Vision, One Identity, One Community

Page 2: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม
Page 3: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

3AEC FACT BOOK

ผูนำอาเซียนมีเจตนารมยมุงม่ันสรางประชาคมอาเซียน ภายในป 2558 ภายใตกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งมีผลใชบังคับแลวเมื่อเดือน

ธันวาคม 2552 เอกสารเรื่องประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Factbook) นี้จัดทำขึ้นโดยสำนักเลขาธิการอาเซียน เปนการรวบรวมขอมูลองคประกอบสำคัญๆ 4 ดานหลัก ของการกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 ตามแผนงานใน AEC Blueprint เปรียบเสมือนการสรางบานโดยมีพิมพเขียวเปนกรอบ และมีเสาคานหลัก 4 ดานที่จะทำใหบาน

มีความแข็งแกรงมั่นคง ทั้งนี้ เสาคานแตละดานลวนเปนพันธสัญญาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไดตกลงประสานการดำเนินงานใหเปนหนึ่งเดียว (Concerted) และไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในดานการเปดเสร ี การอำนวยความสะดวก และความรวมมือตางๆ ดานแนวลึกและแนวกวาง ภายในอาเซียนรวมทั้งกับภายนอกอาเซียน ตลอดจนการปรับปรุงกลไกดานสถาบันของการหารือ

ในระดับสูงของรัฐมนตรีทุกสาขาที่เกี่ยวของ รวมทั้งการหารือรวมระหวางภาครัฐและภาคเอกชน

ของอาเซียน นอกจากนี้ยังไดประมวลคำถามและคำตอบในประเด็นท่ีพบบอยไวในตอนทายดวย

กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิขย ในฐานะสำนักประสานงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแหงชาติ (National AEC Coordinating Agency) เปนหนวยกลางของไทย

ในการขับเคลื่อนบูรณาการงานที่เกี่ยวกับ AEC ทั้งระบบใหเปนไปตามแผนงานสูการรวมตัวเปน

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ไดสรุปคำแปลเปนภาษาไทยขึ้น เพื่อใหประชาชน

ทุกภาคสวนสามารถเขาถึงขอมูลความเปนมาและความเปนไปของการกอต้ัง AEC ไดอยางท่ัวถึง

กรมฯ จึงหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้จะชวยเสริมสรางความเขาใจ และชวยพัฒนา ตอยอดความรูความสามารถในการติดตามเรื่องตางๆ เพื่อเตรียมพรอมในการแสวงหาโอกาสของ ผลประโยชน และปรับตัวรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ในป 2558 ไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนประโยชนตอประเทศโดยรวมตอไป

กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กันยายน 2554

คำนำ

Page 4: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

4 ASEAN Economic Community

หนา

บทนำกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน i

1.ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 1• การอำนวยความสะดวกทางการคาในอาเซียน 1• ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) 3• การพัฒนาศุลกากรอาเซียนใหทันสมัย 4• ระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASW) 6• การตรวจสอบและรับรองในอาเซียน (MRAs) 7• การปรับประสานมาตรฐาน และกฎระเบียบดวยเทคนิค 9• ความปลอดภัยของสินคาเภสัชกรรมในอาเซียน (GMP) 11• ความตกลงการคาบริการของอาเซียน (AFAS) 12• การจัดทำขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาบริการ (MRA) 14• ความตกลงการลงทุนของอาเซียน (ACIA) 16• การรวมตัวทางการเงินในอาเซียน 18• ความริเร่ิมเชียงใหมพหุพาคี (CMIM) 20• ความรวมมือดานอาหาร เกษตรและปาไมของอาเซียน 22• กรอบแผนงานบูรณาการความม่ันคงดานอาหารของอาเซียน (AIFS) 24

และแผนกลยุทธความม่ันคงดานอาหารของอาเซียน (SPAFS)• ความปลอดภัยของอาหาร 26• กรอบแผนงานรายสาขาเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ 28

ความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (AFCC)• การจัดการปาไมอยางย่ังยืน 30

สารบัญ

Page 5: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

5AEC FACT BOOK

หนา

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแขงขันสูง 32 • นโยบายการแขงขัน 32 • การคุมครองผูบริโภค (ACCP) 33 • ความรวมมือดานสิทธิทางทรัพยสินทางปญญาของอาเซียน (IPRs) 34 • ความรวมมือดานการขนสงของอาเซียน 36 • เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) 38 • ความม่ันคงดานพลังงานในอาเซียน 40

3. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เทาเทียมกัน 42 • วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) 42 • ความคิดริเร่ิมในการรวมกลุมอาเซียน (IAI) และการลดชองวางการพัฒนา 44 • การมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนในอาเซียน (PPE) 46

4. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคที่มีการบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก 48 • เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน (ACFTA) 48 • ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญ่ีปุน (AJCEP) 51 • เขตการคาเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (AKFTA) 53 • เขตการคาเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด (AANZFTA) 55

คำถาม/คำตอบ (Q&A) 80

Page 6: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

6

บทนำกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ASEAN Economic Community

Page 7: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

7AEC FACT BOOK

บทนำกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เม่ือป 2546 ผูนำประเทศสมาชิกอาเซียนไดตกลงกันท่ีจะจัดต้ังประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและ

วัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมความม่ันคง เดิมกำหนดเปาหมายท่ีจะต้ังข้ึนในป 2563 แตตอมา ไดตกลงกันเลื่อนกำหนดใหเร็วขึ้นเปนป 2558 และกาวสำคัญตอมาคือการจัดทำปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งมีผลใชบังคับแลวตั้งแตเดือนธันวาคม ป 2552 นับเปนการยกระดับความ

รวมมือของอาเซียนเขาสูมิติใหมในการสรางประชาคม โดยมีพื้นฐานที่แข็งแกรงทางกฎหมายและมี องคกรรองรับการดำเนินการเขาสูเปาหมายดังกลาวภายในป 2558

สำหรับเสาหลักการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) ภายในป 2558 เพื่อใหอาเซียนมีการเคล่ือนยายสินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมือ อยางเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้น ตอมาในป 2550 อาเซียนไดจัดทำพิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เปนแผนบูรณาการงานดานเศรษฐกิจใหเห็นภาพรวมในการ

มุงไปสู AEC ซึ่งประกอบดวย แผนงานเศรษฐกิจในดานตางๆ พรอมกรอบระยะเวลาท่ีชัดเจนในการดำเนินมาตรการตางๆ จนบรรลุเปาหมายในป 2558 รวมทั้งการใหความยืดหยุนตามที่ประเทศ

สมาชิกไดตกลงกันลวงหนา

เพ่ือสรางพันธสัญญาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน อาเซียนไดกำหนดยุทธศาสตรการกาว

ไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนท่ีสำคัญ ดังน้ี 1. การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2. การเปน

ภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแขงขันสูง 3. การเปนภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที ่เทาเทียมกัน และ 4. การเปนภูมิภาคที่มีการบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

บทนำกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Page 8: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

8

บทนำกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ASEAN Economic Community

1. การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน

การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน เปนยุทธศาสตรสำคัญของการจัดตั้งประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะทำใหอาเซียนมีความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น โดยอาเซียนไดกำหนด

กลไกและมาตรการใหมๆ ที่จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินมาตรการดานเศรษฐกิจที่มีอยูแลว เรงรัดการรวมกลุมเศรษฐกิจในสาขาที่มีความสำคัญลำดับแรก อำนวยความสะดวกการเคลื่อนยายบุคคล แรงงานฝมือและผูเช่ียวชาญ และเสริมสรางความเขมแข็งของกลไกสถาบันในอาเซียน

การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียน มี 5 องคประกอบหลัก คือ (1) การเคลื่อนยายสินคาเสรี (2) การเคลื่อนยายบริการเสรี (3) การเคลื่อนยายการลงทุนเสรี (4) การเคลื่อนยายเงินทุนเสรีขึ้น และ (5) การเคล่ือนยายแรงงานฝมือเสรี ทั้งนี้ อาเซียนไดกำหนด 12 สาขาอุตสาหกรรมสำคัญลำดับแรกอยูภายใตตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียน ไดแก เกษตร ประมง ผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑไม สิ่งทอและเครื่องนุงหม อิเล็กทรอนิกส ยานยนต การขนสงทางอากาศ สุขภาพ e-ASEAN ทองเที่ยว และโลจิสติกส รวมทั้งความรวมมือในสาขา อาหาร เกษตร และปาไม

การเปนตลาดสินคาและบริการเดียวจะชวยสนับสนุนการพัฒนาเครือขายการผลิตใน

ภูมิภาค และเสริมสรางศักยภาพของอาเซียนในการเปนศูนยกลางการผลิตของโลก และเปนสวนหน่ึง ของหวงโซอุปทานโลก โดยประเทศสมาชิกไดรวมกันดำเนินมาตรการตางๆ ที่จะชวยเพิ่มขีดความ

สามารถแขงขันของอาเซียน ไดแก ยกเลิกภาษีศุลกากรใหหมดไป ทยอยยกเลิกอุปสรรคทางการคา ท่ีมิใชภาษี ปรับประสานพิธีการดานศุลกากรใหเปนมาตรฐานเดียวกันและงายข้ึน ซ่ึงจะชวยลดตนทุนทางธุรกรรม เคลื่อนยายแรงงานฝมือเสรี นักลงทุนอาเซียนสามารถลงทุนไดอยางเสรีในสาขา อุตสาหกรรมและบริการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเปดให เปนตน

Page 9: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

9AEC FACT BOOK

2. การเปนภูมิภาคที่มีความสามารถในการแขงขัน

เปาหมายสำคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน คือ การสรางภูมิภาคท่ีมีความ

สามารถในการแขงขันสูง มีความเจริญรุงเรือง และมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

ภูมิภาคท่ีมีความสามารถในการแขงขันมี 6 องคประกอบหลัก ไดแก (1) นโยบายการแขงขัน (2) การคุมครองผูบริโภค (3) สิทธิในทรัพยสินทางปญญา (IPR) (4) การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน (5) มาตรการดานภาษี (6) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส

ประเทศสมาชิกอาเซียนมีขอผูกพันที่จะนำกฎหมายและนโยบายการแขงขันมาบังคับใช ภายในประเทศ เพื่อทำใหเกิดการแขงขันที่เทาเทียมกันและสรางวัฒนธรรมการแขงขันของภาค

ธุรกิจที่เปนธรรม นำไปสูการเสริมสรางการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคในระยะยาว

3. การเปนภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เทาเทียมกัน

การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เทาเทียมกัน มี 2 องคประกอบ คือ (1) การพัฒนาวิสาหกิจ

ขนาดกลางและขนาดยอม (SME) (2) ความริเร่ิมในการรวมกลุมของอาเซียน (Initiatives for ASEAN Integration: IAI) ความริเร่ิมดังกลาวมีจุดมุงหมายเพ่ือลดชองวางการพัฒนา ทั้งในระดับ SME และเสริมสรางการรวมกลุมของกัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม ใหสามารถดำเนินการตามพันธกรณี

และเสริมสรางความสามารถในการแขงขันของอาเซียน รวมทั้งเพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนทุก

ประเทศไดรับประโยชนจากการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

4. การเปนภูมิภาคที่มีการบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

อาเซียนอยูในทามกลางสภาพแวดลอมท่ีมีการเช่ือมตอระหวางกันและมีเครือขายกับโลกสูงโดยมีตลาดที่พึ่งพากันและอุตสาหกรรมระดับโลก ดังนั้น เพื่อใหภาคธุรกิจของอาเซียนสามารถ

แขงขันไดในตลาดระหวางประเทศ ทำใหอาเซียนมีพลวัตรเพิ่มขึ้นและเปนผูผลิตของโลก รวมทั้ง ทำใหตลาดภายในยังคงรักษาความนาดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศอาเซียนจึงตองมองออกไป

นอกภูมิภาค

อาเซียนบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก โดยดำเนิน 2 มาตรการ คือ (1) การจัดทำเขตการคาเสรี (FTA) และความเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจอยางใกลชิด (CEP) กับประเทศนอกอาเซียน (2) การมี

สวนรวมในเครือขายหวงโซอุปทานโลก

Page 10: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน10 ASEAN Economic Community

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน

• การอำนวยความสะดวกทางการคาในอาเซียน

อาเซียนไดใหความสำคัญตอการเสริมสรางการคาระหวางกัน เพ่ืออำนวยความสะดวกการ

เคลื่อนยายสินคาเสรีและสงเสริมเครือขายการผลิตในอาเซียน โดยประเทศสมาชิกอาเซียนไดใหการรับรองแผนงานดานการอำนวยความสะดวกทางการคา ในป 2551 และตอมาไดใหการรับรองตัว

ชี้วัดการอำนวยความสะดวกทางการคา ในป 2552 เพ่ือรองรับการเปดเสรีการคาสินคาของอาเซียนนับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 อาเซียน (6 ประเทศ) ไดแก บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย ไดยกเลิกภาษีนำเขาสินคารอยละ 99.65 ของจำนวนรายการสินคา ขณะที่อาเซียน (4 ประเทศ) ไดแก กัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม ไดลดภาษีนำเขาสินคา รอยละ 98.86 ของจำนวยรายการสินคา ลงเหลือรอยละ 0-5

การลด/ยกเลิกภาษีศุลกากรในอาเซียน

เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2553 อาเซียน (6 ประเทศ) ไดยกเลิกภาษีนำเขาสินคาเพ่ิมเติมจำนวน 7,881 รายการ ทำใหรายการสินคาที่มีอัตราภาษีนำเขาเปนรอยละ 0 มีจำนวนรวมท้ังส้ิน 54,467 รายการหรือคิดเปนรอยละ 99.65 ของจำนวนรายการสินคาภายใตความตกลงเขตการคาเสร ี

อาเซียน (CEPT-AFTA) การยกเลิกภาษีนำเขาสินคาเพิ่มเติมดังกลาว ทำใหอัตราภาษีนำเขาเฉลี่ย

ของอาเซียน (6 ประเทศ) ลดลงจากรอยละ 0.79 ในป 2552 เหลือรอยละ 0.05 ในป 2553 สำหรับกัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม ไดลดภาษีนำเขาเพ่ิมเติมเหลือรอยละ 0-5 จำนวน 2,003 รายการ ทำใหจำนวนรายการสินคาท่ีมีอัตราภาษีนำเขารอยละ 0-5 มีจำนวนรวมท้ังส้ิน 34,691 รายการ หรือคิดเปนรอยละ 98.96 ของจำนวนรายการสินคา นอกจากน้ี สินคา เชน อาหารสำเร็จรูป เฟอรนิเจอร พลาสติก กระดาษ ซีเมนต เซรามิค แกว และอะลูมิเนียมที่มีถิ่นกำเนิดสินคาในอาเซียนยังไดรับการยกเวนภาษีนำเขาไปยังบรูไนฯ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย

การปรับปรุงเรื่องความโปรงใสทางการคา

อาเซียนอยูระหวางการจัดตั้งฐานขอมูลทางการคา (ASEAN Trade Repository: ATR) ภายในป 2558 ซึ่งจะเปนประตูเขาถึงขอมูลกฎระเบียบตางๆ ของอาเซียน ทั้งในระดับภูมิภาคและ

ระดับประเทศ ตัวอยางขอมูลที่จะบรรจุไวใน ATR เชน การจำแนกพิกัดอัตราภาษีศุลกากร (tariff nomenclature) สิทธิประโยชนทางภาษีศุลกากรภายใตความตกลงการคาสินคาของอาเซียน

Page 11: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

11AEC FACT BOOK

(ATIGA) กฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคา (ROO) มาตรการการคาที่มิใชภาษี กฎหมายและกฎระเบียบ

ทางการคาและศุลกากร ขอกำหนดดานเอกสาร และรายช่ือผูทำการคาที่ไดรับอนุญาตของประเทศสมาชิกอาเซียน เปนตน ปจจุบันอาเซียนอยูระหวางการพัฒนารูปแบบและกลไกการบริหารจัดการ ATR เมื่อการจัดตั้ง ATR ทำไดสมบูรณแลว ผูประกอบธุรกิจ เชน ผูสงออก ผูนำเขา รวมถึง หนวยงานภาครัฐ สาธารณชนที่สนใจ และนักวิชาการ จะสามารถเขาถึง ATR และขอมูลที่บรรจุอยูไดผานทางเว็บไซต

การปฏิรูปกฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคาอยางตอเนื่อง

อาเซียนอยูระหวางการพัฒนาระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Single Window: ASW) ซึ่งเปนการบูรณาการเช่ือมโยงระหวางหนวยงานภาครัฐในการเคล่ือนยายสินคาระหวางกันในอาเซียน เพื่อเรงรัดกระบวนการตรวจปลอยสินคาของศุลกากรใหเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ อาเซียนไดดำเนินการปฏิรูปกฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคาอยางตอเนื่อง เพื่อตอบสนองตอ

การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตของโลก โดยมีวัตถุประสงคเพื่ออำนวยความสะดวกทางการคา ใหมากขึ้น และอยางนอยใหเสรีเทียบเทากับกฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคาในความตกลงเขตการคาเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจา การทบทวนกฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคาจนถึงปจจุบันอาเซียนไดนำ เกณฑการไดถิ่นกำเนิดสินคาอื่นมาใชเปนทางเลือกแทนเกณฑเดิมของอาเซียน คือ เกณฑสัดสวน

มูลคาการผลิตในภูมิภาค (Regional Value Content: RVC) รอยละ 40 ทำใหผูทำการคามีทาง เลือกเพิ่มขึ้นในการไดถิ่นกำเนิดสินคาของอาเซียนสำหรับสินคาที่มีการซื้อขายในภูมิภาคดวยวิธี co-equal นอกจากนี ้อาเซียนยังอยูระหวางการพัฒนาระบบการรับรองถ่ินกำเนิดสินคาดวยตนเอง(Self Certification) ซึ่งระบบดังกลาวจะอนุญาตใหผูประกอบธุรกรรมทางเศรษฐกิจท่ีจดทะเบียน (certified economic operator) เชน ผูสงออก ผูทำการคา และผูผลิต ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ ที่กำหนดสามารถรับรองการไดถิ่นกำเนิดสินคาดวยตนเอง แทนการยื่นใบรับรองถิ่นกำเนิดสินคาที่ ออกโดยหนวยงานภาครัฐ นับเปนความพยายามสำคัญลำดับแรกในการไปสูประชาคมเศรษฐกิจ

อาเซียน

Page 12: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน12 ASEAN Economic Community

• ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods: ATIGA)

ในการบรรลุเปาหมายการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 อาเซียนจึงกำหนด

ใหมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน เพื่อใหเกิดการเคลื่อนยายสินคาเสรี ซึ่งจำเปนตองบูรณาการ

องครวม โดยการรวมมาตรการท่ีมีอยูเดิมและมาตรการใหมๆ ท่ีเก่ียวของกับการคาสินคามาไวภายใต ความตกลงเดียว ในเดือนสิงหาคม 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนจึงไดตกลงใหมีปรับปรุงความ

ตกลงวาดวยอัตราภาษีพิเศษที่เทากันสำหรับเขตการคาเสรีอาเซียน (The Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area: CEPT-AFTA) เปนความตกลงที่มีเนื้อหาครอบคลุมกวางขวางขึ้น และตอมารัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดลงนามความตกลง การคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2552

องคประกอบหลักของ ATIGA

(1) เปนความตกลงที่รวมทุกขอบทใน CEPT-AFTA และนำมาปรับใหชัดเจนและรัดกุม

มากขึ้น ทำให ATIGA เปนความตกลงของภาครัฐที่มีผลบังคับใชทางกฎหมาย และเปนประโยชน ตอภาคเอกชน

(2) ภาคผนวกแนบทายความตกลง ATIGA แสดงตารางการลดภาษีของสมาชิกอาเซียน

แตละประเทศ โดยแจกแจงรายละเอียดอัตราภาษีนำเขาสำหรับสินคาแตละรายการในแตละปจนถึงป 2558 เพื่อความโปรงใสและภาคธุรกิจคาดการณได

(3) ประกอบดวย มาตรการตางๆ ที่นำไปสูการบรรลุเปาหมายการเคล่ือนยายสินคาเสรีใน

อาเซียน ไดแก การลด/ยกเลิกภาษี การยกเลิกอุปสรรคทางการคาท่ีมิใชภาษี กฎวาดวยถ่ินกำเนิด

สินคา การอำนวยความสะดวกทางการคา ศุลกากร มาตรฐานและความสอดคลอง และมาตรการ สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ATIGA จึงเปนความตกลงท่ีครอบคลุมพันธกรณีท่ีเก่ียวของกับการคา สินคาท้ังหมด มีกลไกการดำเนินงาน และการจัดโครงสรางองคกรท่ีชัดเจน เพ่ือชวยใหการดำเนินงาน

ของคณะทำงานรายสาขาของอาเซียนสอดคลองกัน

(4) ไดปรับปรุงขอบทเร่ืองมาตรการทางการคาท่ีมิใชภาษี (Non-tariff measures: NTMs) โดยการจัดประเภท NTMs และจัดตั้งกลไกการติดตามการปฏิบัติตามพันธกรณีการยกเลิกอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษี (Non-tariff barriers: NTBs)

Page 13: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

13AEC FACT BOOK

(5) ใหความสำคัญมาตรการดานอำนวยความสะดวกทางการคา โดยรวมกรอบงานการ

อำนวยความสะดวกทางการคาไวภายใตความตกลง ATIGA โดยอาเซียนไดจัดทำแผนงานดานการ อำนวยความสะดวกทางการคาสำหรับป 2552-2558

การบังคับใช ATIGA

ATIGA มีผลบังคับใชเม่ือวันท่ี 17 พฤษภาคม 2553 โดยมีชวงระยะเวลาเปล่ียนผาน 180 วัน เพื่อใหเกิดความราบรื่นในการเปลี่ยนจาก CEPT scheme ไปเปน ATIGA ภายหลังจากชวงเปล่ียนผานไปแลว จะไมมีการออก CEPT Form D อีกตอไป โดยเปลี่ยนมาใช ATIGA Form D แทน

ภายหลังจากการบังคับใช ATIGA แลว จะมีผลแทนที่ความตกลงตางๆ ของอาเซียนเดิม

ที่เกี่ยวของกับการคาสินคา เชน ความตกลง CEPT และพิธีสารตางๆ ที่เกี่ยวของ

• การพัฒนาศุลกากรอาเซียนใหทันสมัย (ASEAN Customs Modernisation)

ศุลกากรของอาเซียนไดเรงรัดปรับปรุงดานเทคนิคและพัฒนาพิธีการทางศุลกากรให ทันสมัยโดยยึดหลักการเสริมสรางการอำนวยความสะดวกทางการคา และการคุมครองสังคม และ

ระบุเปาหมายที่ชัดเจนไวภายใตแผนยุทธศาสตรการพัฒนาศุลกากร (Strategic Program of Customs Development: SPCD) คือ การใชเวลาในการตรวจปลอยสินคาภายใน 30 นาท ีเพ่ือให บรรลุเปาหมายดังกลาว ศุลกากรอาเซียนไดนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในกระบวนการ

ตรวจปลอยสินคาใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล ซึ่งจะชวยลดทั้งเวลาและตนทุนในการตรวจ

ปลอยสินคาออกจากดานศุลกากร นอกจากนี้ ศุลกากรอาเซียนยังทำงานรวมกับกลุมอุตสาหกรรม

และภาคธุรกิจเพื่อพัฒนาและยกระดับการใหบริการและการปฏิบัติตามกฎระเบียบตางๆ

โดยท่ีจำนวนสินคารอยละ 99.65 ของอาเซียน-6 ประเทศ (บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย) มีภาษีนำเขาท่ีลดลงเปนรอยละ 0 และจำนวนรายการสินคารอยละ 98.86 ของอาเซียน 4 ประเทศ (กัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม) มีภาษีลดลงเหลือ

รอยละ 0-5 ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 ศุลกากรอาเซียนจึงไดเรงรัดเสริมสรางการอำนวย

ความสะดวกทางการคาดวยการรนระยะเวลาในการตรวจปลอยสินคาใหเร็วข้ึน

Page 14: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน14 ASEAN Economic Community

ความคืบหนาและผลสำเร็จ

¡ ศุลกากรอาเซียนไดใหการรับรองวิสัยทัศนศุลกากรอาเซียน ป 2558 (ASEAN Customs Vision 2015) ในการประชุมอธิบดีกรมศุลกากรอาเซียน ครั้งที ่ 17 ณ กรุงเวียงจันทน สปป.ลาว เมื่อเดือนมิถุนายน 2551

¡ มีความกาวหนาในการทบทวนความตกลงอาเซียนวาดวยศุลกากร (ป ค.ศ. 1997) เพ่ือสนับสนุนการบรรลุเปาหมายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ขอบทใหมชวยใหการปฏิบัติงานของ ศุลกากรอาเซียนสอดคลองกับสนธิสัญญาและมาตรฐานระหวางประเทศ เชน Revised Kyoto Convention, WTO Agreement on Customs Valuation และการดำเนินงานตาม World Customs Organization SAFE Framework of Standards

¡ ประเทศสมาชิกอาเซียนอยู ระหวางทบทวนการจำแนกพิกัดอัตราภาษีศุลกากร ฮารโมไนซของอาเซียน (ASEAN Harmonized Tariff Nomenclature: AHTN) ป 2007 เปน AHTN ป 2012 ซ่ึงจะทำใหระบบการจำแนกพิกัดศุลกากรของอาเซียนมีความสอดคลองย่ิงข้ึนกับขององคการศุลกากรโลก (Harmonized Commodity Description and Coding System: HS) ป 1997 ที่แกไขแลวเปน HS ป 2012 นอกจากนี้ ศุลกากรอาเซียนยังไดใหการรับรอง ขอบทการใหบริการ

ดานศุลกากร (Client Service Charters) ซ่ึงเปนพันธกรณีในการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล

¡ ศุลกากรอาเซียนไดใหการรับรองพิมพเขียวการบูรณาการระบบศุลกากร (Customs Integrity Blueprint) และแผนงานดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปนสัญญาณที่ชัดเจนของ การใหบริการที่ดีขึ้นตอสาธารณะ

¡ มีการจัดทำแนวปฏิบัติการประเมินราคาศุลกากรของอาเซียน (ASEAN Customs Valuation Guide), และการทำคูมือตางๆ ไดแก ASEAN Cargo Processing Model และ Customs Post Clearance Audit Manual เพื่อใหศุลกากรของประเทศอาเซียนสามารถนำไปใชเปนคูมือในการปฏิบัติงาน

¡ ศุลกากรอาเซียนไดเรงรัดการอำนวยความสะดวกการเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน

และการทำใหระบบศุลกากรผานแดนอาเซียนดำเนินงานได ภายใตกรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอำนวยความสะดวกในการขนสงสินคาผานแดน โดยคาดวาอธิบดีกรมศุลกากรอาเซียนจะ

สามารถลงนามในพิธีสาร 7 แนบทายความตกลงดังกลาว ภายในป 2553

Page 15: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

15AEC FACT BOOK

¡ ศุลกากรอาเซียนมีบทบาทหลักในการพัฒนาระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว

ของอาเซียน (National Single Window และ ASEAN Single Window) ซ่ึงเปนการบูรณาการ การเชื่อมโยงระบบขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐและผูประกอบธุรกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อเรงรัด

กระบวนการตรวจปลอยสินคาของศุลกากรใหเร็วย่ิงข้ึน

¡ ศุลกากรอาเซียนไดใหการรับรองคูมือการบริหารจัดการความเสี่ยงดานศุลกากรของ อาเซียน (ASEAN Customs Risk Management Guide) ในการประชุมอธิบดีกรมศุลกากร อาเซียน ครั้งที่ 19 เพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนใชเปนคูมือการทำงานเพื่อเรงรัดกระบวนการ ตรวจปลอยสินคา ขณะเดียวกันยังสงเสริมการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ

¡ ศุลกากรอาเซียนประสบความสำเร็จในการนำใบขนสินคาของอาเซียน (ASEAN Customs Declaration Document) มาใชในการตรวจปลอยสินคา

ทิศทางในอนาคต

อาเซียนจะยังคงปรับปรุงเทคนิคดานศุลกากรใหทันสมัยข้ึน และยกระดับการใหบริการดานศุลกากรแกสาธารณะตามแนวทางที่ระบุไวในแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) โดยมีเปาหมายคือ ดำเนินการตามขอบทเรื่องศุลกากรและการอำนวยความสะดวก

ทางการคาภายใตความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) เพื่อมุงไปสูการจัดตั้งประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน

• ระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASW)

อาเซียนอยูระหวางการพัฒนาระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว (ASEAN Single Window: ASW) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการอำนวยความสะดวกทางการคาและการ

เคล่ือนยายสินคา โดยการเช่ือมโยงระบบขอมูลแบบบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐและผูใช อาทิ ผูประกอบธุรกรรมทางเศรษฐกิจ และผูใหบริการดานขนสงและโลจิสติกส

ประเทศสมาชิกอาเซียนไดใชความพยายามอยางมากในการพัฒนา ASW โดยการวาง รากฐานเพ่ือทำใหเกิดการเช่ือมโยงระหวางระบบการปฏิบัติงาน และระหวางระบบขอมูลสารสนเทศ (inter-operability และ inter-connectivity)

Page 16: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน16 ASEAN Economic Community

ปจจุบัน บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย ไดเร่ิมดำเนินงาน National Single Window (NSW) แลว และอยูระหวางการพัฒนาในระดับท่ีตางกัน สำหรับกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม ไดเริ่มวางแผนการพัฒนา NSW ในประเทศ

ในระดับประเทศ หนวยงานภาครัฐหลายหนวยงานไดทำการเชื่อมโยงระบบขอมูลระหวาง กันภายใต NSW โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเรงรัดกระบวนการตรวจปลอยสินคา

ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมของอาเซียนไดใชงาน NSW ในการตรวจปลอยสินคาออกจาก

ดานศุลกากรเพ่ิมข้ึน สวนในกัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม เร่ิมมีการประยุกตใช e-Customs

อาเซียนไดใหการรับรอง ASEAN Data Model (Work base 1.0) ในเดือนเมษายน 2551 และอยูระหวางยกระดับเปน ASEAN Data Model (Version 2.0) โดยสอดคลองกับมาตรฐาน

ระหวางประเทศขององคกรระหวางประเทศที่เกี่ยวของ ไดแก World Customs Organization (WCO), International Organization for Standardization (ISO) และ The United Nations Economic Commission for Europe (UNECE) รูปแบบขอมูลดังกลาวจะทำใหมีการใชภาษา เดียวกันภายในและระหวาง NSW และระบบการคาระหวางประเทศ

ในระดับภูมิภาค เริ่มดำเนินโครงการนำรอง ASW ในป 2553 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

ออกแบบ ASW Technical Prototype อาเซียนไดสรุปผลการจัดทำบันทึกความเขาใจในการ

ดำเนินโครงการนำรอง ASW แลว เปนการวางรากฐานทางกฎหมายในการดำเนินกิจกรรมภายใต โครงการนำรอง ASW ที่ผานมา บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟลิปปนส ประสบ

ความสำเร็จในการแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกสของ CEPT Form D โดยใชเวทีระดับภูมิภาค

อาเซียนยังไดใหการรับรองแนวคิดการทำธุรกิจเพื่อมุงไปสูการพัฒนาการประมวลผลทาง อิเล็กทรอนิกสของ ASEAN Customs Declaration Document ประเด็นหลักบางประการที่ ประเทศสมาชิกอาเซียนพิจารณาในการจัดต้ัง ASW เชน ข้ันตอนการทำธุรกิจ การปรับประสานขอมูล รูปแบบการติดตอสื่อสาร กรอบกฎหมายและความม่ันคง

ในทายที่สุดการมีสวนรวมของภาคเอกชนและผูดำเนินธุรกรรมทางเศรษฐกิจจะมีบทบาท

สำคัญตอการบรรลุเปาหมายการจัดตั้ง ASW ตามที่ระบุไวชัดเจนในความตกลงวาดวยการอำนวย

ความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (Agreement to Establish and Implement the ASEAN Single Window) และพิธีสารท่ีเก่ียวของ

Page 17: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

17AEC FACT BOOK

• การตรวจสอบและรับรองในอาเซียน (MRAs)

การจัดทำความตกลงยอมรับรวม (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) เปน

ความตกลงระหวางประเทศภาค ี 2 ประเทศหรือมากกวา เพื่อใหมีการยอมรับรวมบางสวน หรือ

ทั้งหมดของผลการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินคาของแตละฝาย

การจัดทำ MRAs ในสาขาการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานของอาเซียนดังกลาว จะชวยลดความจำเปนในการทดสอบสินคาหลายครั้งกอนที่จะนำมาวางจำหนายหรือใชงานในประเทศ

สมาชิกอาเซียนอื่น ดังนั้น MRAs จึงชวยลดตนทุนทางธุรกิจในการจัดทำรายงานผลการทดสอบ และเพิ่มความแนนอนในการเขาตลาดของสินคา ขณะเดียวกัน ผูบริโภคยังมีความเชื่อมั่นตอ

คุณภาพของสินคาในตลาด ซึ่งไดผานการทดสอบแลวตามขอกำหนดของ MRAs

MRAs ของอาเซียนเปนความตกลงระหวางภาครัฐกับภาครัฐ สำหรับกลุมสินคาที่อยูภาย

ใตการกำกับดูแลของรัฐ โดยอาเซียนไดลงนามกรอบความตกลงอาเซียนวาดวยความตกลงยอมรับ

รวม (The ASEAN Framework Agreement on Mutual Recognition Agreement) เม่ือป 2541 เพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงานสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดทำ MRAs ในสาขาตางๆ

การสรุปผล MRAs ใน 2 สาขา

จนถึงปจจุบัน อาเซียนไดสรุปผลการจัดทำ MRAs ใน 2 สาขา ไดแก สาขาไฟฟาและ

อิเล็กทรอนิกส และสาขาเครื่องสำอาง โดยอาเซียนไดลงนามความตกลงวาดวยการยอมรับรวม

สำหรับผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (The ASEAN Electrical and Electronic MRA: EEE) ในเดือนเมษายน 2545 และความตกลงยอมรับรวมของการอนุมัติการจดทะเบียนสำหรับสินคา

เครื่องสำอาง (The ASEAN MRA of Product Registration Approvals for Cosmetics) ในเดือนกันยายน 2546

Page 18: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน18 ASEAN Economic Community

MRAs สาขาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ครอบคลุมผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสที ่เชื่อมตอกับแหลงจายไฟแรงดันต่ำ หรือใชพลังงานจากแบตเตอรี่ ปจจุบันมีหองปฏิบัติการทดสอบ 13 แหง และหนวยรับรองมาตรฐาน 2 แหง ตามรายชื่อแนบทาย EEE MRA โดยสินคา EEE ท่ีผานการทดสอบ และ/หรือ ไดรับการรับรองจากหองปฏิบัติการทดสอบ หรือ หนวยรับรองมาตรฐาน

ตามรายชื่อดังกลาว จะไดรับการยอมรับวาเปนไปตามขอกำหนดของประเทศสมาชิกอาเซียนทุก

ประเทศ

MRA สาขาเครื่องสำอาง ความตกลงยอมรับรวมของการอนุมัติการจดทะเบียนสำหรับ

สินคาเครื่องสำอาง เปนไปตามความสมัครใจของประเทศสมาชิกอาเซียน อยางไรก็ตาม การเขารวมและดำเนินการตามความตกลงดังกลาว ถือวาเปนขั้นตอนในการเตรียมการกอนที่ประเทศสมาชิก

อาเซียนจะเขารวมใน ASEAN Cosmetics Directive ซ่ึงไดเร่ิมบังคับใชตั้งแตวันท่ี 1 มกราคม 2551 เพื่อใชเปนกรอบกฎระเบียบในการกำกับดูแลสินคาเคร่ืองสำอางในอาเซียน

ปจจุบัน อาเซียนอยูระหวางการจัดทำ MRA สำหรับสินคาอาหารแปรรูปและยานยนต คาดวาจะสรุปผลไดภายในป 2553

ขั้นตอนในอนาคต

อาเซียนอยูระหวางการพัฒนาเคร่ืองหมายอาเซียน (Marking Scheme) เพ่ือระบุวาสินคาน้ันมี

มาตรฐานสอดคลองกับกฎระเบียบ/ขอกำหนดดานเทคนิคของอาเซียนตามความตกลงอาเซียนที ่เก่ียวของ กลาวอีกนัยหน่ึง คือ เคร่ืองหมายอาเซียนแสดงใหเห็นวา สินคาน้ันมีคุณลักษณะสอดคลอง กับขอกำหนดที่มีการปรับประสานแลวของประเทศสมาชิกอาเซียน

Page 19: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

19AEC FACT BOOK

• การปรับประสานมาตรฐานและกฎระเบียบดานเทคนิค

การกำหนดมาตรฐาน/กฎระเบียบดานเทคนิคที่แตกตางกัน โดยไมมีเหตุผลความจำเปน ถือวาเปนอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา ดังนั้น การปรับประสานมาตรฐาน กฎระเบียบดานเทคนิค และการตรวจสอบรับรอง จึงมีบทบาทสำคัญในการอำนวยความสะดวกทางการคา

นับตั้งแตป 2535 อาเซียนไดดำเนินการเพื่อไปสูการเคลื่อนยายสินคาอยางเสรีในภูมิภาค โดยการขจัดอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษี ดำเนินการดานปรับประสานมาตรฐานกฎระเบียบดาน

เทคนิค และกระบวนการตรวจสอบรับรอง

การปรับประสานเขากับมาตรฐานและแนวทางปฏิบัติระหวางประเทศ

แนวทางของอาเซียนในการเตรียมการ การทบทวน หรือการประยุกตใชมาตรฐานและ

กฎระเบียบดานเทคนิค รวมถึงกฎระเบียบดานการตรวจสอบรับรอง ดำเนินการบนพื้นฐานการใช มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติระหวางประเทศ รวมทั้งการปรับใหสอดคลองกับพันธกรณีตาม

ขอตกลงขององคการการคาโลกวาดวยอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา (WTO/TBT obligations) เทาที่จะเปนไปได เวนแตในกรณีท่ีมีเหตุอันสมควร

ในป 2548 อาเซียนไดใหการรับรองแนวนโยบายของอาเซียนดานมาตรฐานและการรับรอง(The ASEAN Policy Guideline on Standards and Conformance) ซ่ึงกำหนดหลักการใน

การดำเนินการของประเทศสมาชิกอาเซียนในดานมาตรฐานและการรับรอง ทั้งในสาขาที่ภาครัฐ

กำกับดูแลและไมไดกำกับดูแล

หลักปฏิบัติท่ีดีของอาเซียนดานกฎระเบียบทางเทคนิค (The ASEAN Good Regulatory Practice Guide) เปนแนวทางปฏิบัติของหนวยงานภาครัฐที่กำกับดูแลดานมาตรฐานและการ ตรวจสอบรับรองของประเทศสมาชิกอาเซียน ในการเตรียมการและการนำกฎระเบียบดานเทคนิค

มาใชอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะชวยปรับปรุงความสอดคลองและความโปรงใสของกฎระเบียบดานเทคนิค และลดอุปสรรคดานกฎระเบียบตอการคา

Page 20: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน20 ASEAN Economic Community

การปรับประสานมาตรฐาน

อาเซียนไดเริ่มดำเนินการปรับประสานมาตรฐานสำหรับสินคาที่มีความสำคัญลำดับแรก 20 รายการ ในป 2540 ทำใหมีการปรับประสานมาตรฐานสำหรับเครื่องใชไฟฟา 58 มาตรฐาน และผลิตภัณฑยาง 3 มาตรฐาน ซึ่งไดรายงานผลความคืบหนาในสาขาเภสัชกรรม

สินคาและมาตรฐานที่เกี่ยวของ ความคืบหนา

เครื่องใชไฟฟา 58 มาตรฐาน ISO, IEC & ITU

ความปลอดภัยทางไฟฟา 71 มาตรฐาน IEC

มาตรฐานสำหรับองคประกอบ 10 มาตรฐาน

ดานแมเหล็กไฟฟา

CISPR

ผลิตภัณฑยาง 3 มาตรฐาน ISO

เภสัชกรรม อาเซียนไดจัดทำขอกำหนดดานมาตรฐาน International Conference on ชุดเอกสารการข้ึนทะเบียบตำรับยาของอาเซียน

Harmonisation Requirements (ICH) (ASEAN Common Technical Dossiers: ACTD) และขอกำหนดดานคุณภาพมาตรฐาน

ของยาของอาเซียน (ASEAN Common

Technical Regulations: ACTR) เสร็จแลว

ณ ปจจุบัน อาเซียนอยูระหวางปรับประสานมาตรฐานสำหรับสาขาที่มีความสำคัญลำดับ

แรกในการรวมกลุมเศรษฐกิจ ไดแก ผลิตภัณฑเกษตร เครื่องสำอาง สินคาประมง เภสัชกรรม ผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑไม ยานยนต วัสดุกอสราง เคร่ืองมือแพทย ยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ อาหารเสริม

Page 21: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

21AEC FACT BOOK

การปรับประสานกฎระเบียบดานเทคนิค

อาเซียนไดปรับประสานกฎระเบียบดานเทคนิคสำหรับสาขาเครื่องสำอาง และสาขา ผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส โดยอาเซียนไดลงนามขอตกลงวาดวยแผนการปรับกฎระเบียบ

เครื่องสำอางใหสอดคลองกันของอาเซียน (Agreement on ASEAN Harmonized Cosmetic Regulatory Scheme) เมื่อวันที ่2 กันยายน 2543 และขอตกลงวาดวยแผนการปรับกฎระเบียบ

เคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสใหสอดคลองกันของอาเซียน (Agreement on ASEAN Harmonized Electrical and Electronic Equipment Regulatory Scheme) เม่ือวันท่ี 9 ธันวาคม 2548

ณ ปจจุบัน อาเซียนอยูระหวางปรับประสานกฎระเบียบดานเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ เกษตร ยานยนต เครื่องมือแพทย ยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑอาหารเสริม

• ความปลอดภัยของสินคาเภสัชกรรมในอาเซียน (GMP)

ความแตกตางของมาตรฐานสินคาในแตละประเทศมักจะเปนอุปสรรคตอการคา ดังนั้น เพ่ือสงเสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีลึกย่ิงข้ึน เพ่ือไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 อาเซียนจึงจำเปนตองดำเนินการปรับประสานมาตรฐานสินคา กฎระเบียบดานเทคนิค และจัดทำ ความตกลงวาดวยการยอมรับรวมในผลการทดสอบและรับรอง

ในสาขาสุขภาพ ซึ่งเปนหนึ่งในสาขาที่มีความสำคัญลำดับแรกเพื่อเรงรัดการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจ รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดลงนามความตกลงวาดวยการยอมรับรวมรายสาขาสำหรับ

การตรวจสอบแนวทางการผลิตที่ดีของผูผลิตสินคาเภสัชกรรม (ASEAN Mutual Recognition Arrangement (MRA) for Good Manufacturing Practice (GMP) Inspection of Manufacturers of Medicinal Products) เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2552 ในชวงการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังท่ี 14 ณ เมืองพัทยา ประเทศไทย

ความตกลงวาดวยการยอมรับรวมรายสาขาสำหรับการตรวจสอบแนวทางการผลิตที่ดีของ ผูผลิตสินคาเภสัชกรรม

เปนการยอมรับรวมในใบรับรอง GMP และ/หรือ ผลการตรวจสอบซึ่งออกโดยหนวยงาน

ตรวจสอบจดทะเบียนที่ไดรับอนุญาตของประเทศภาคี ทั้งนี้ ใบรับรอง และ/หรือ ผลการตรวจสอบดังกลาวจะใชเปนพื้นฐานสำหรับการบังคับใชกฎระเบียบภายในประเทศ เชน การออกใบอนุญาต

ใหแกผูผลิตสินคาเภสัชกรรม การสนับสนุนการประเมินความสอดคลองของสินคาหลังออกสูตลาด

Page 22: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน22 ASEAN Economic Community

และการใหขอมูลเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกของผูผลิต เชน หองทดลองปฏิบัติการ รายงาน

ดังกลาวยังใหขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบของขนาดยาที่ผลิตและชวยใหทราบวาผูผลิตดำเนินการตาม

ขอกำหนด GMP หรือไม

ภายใต MRA ดังกลาว โรงงานที่ผลิตสินคาเภสัชกรรมจะตองแนใจวาเปนโรงงานที่ไดรับ

อนุญาตใหผลิตสินคาเภสัชกรรม หรือ ดำเนินกระบวนการผลิตสินคาดังกลาวได และจะตอง ถูกตรวจสอบอยางสม่ำเสมอวาสอดคลองกับมาตรฐาน GMP รวมทั้งตองแสดงใหเห็นวามีความ

สอดคลองกับ Pharmaceutical Inspection Cooperation Scheme (PIC/S) Guide to GMP สำหรับสินคาเภสัชกรรม หรือ มาตรฐานที่เทียบเทากับ GMP code เพื่อใหเปนไปตามพันธกรณี ภายใต MRA น้ี MRA มีผลบังคับใชโดยสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ ภายในวันท่ี 1 มกราคม 2554

ประโยชนที่ไดรับ

MRA ดังกลาวจะเปนประโยชนตอทั้งผูผลิตและผูบริโภค สำหรับผูผลิตสินคาเภสัชกรรม โดยเฉพาะผลิตภัณฑยา ทำใหแนใจไดวาความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิภาพของยาเปนเร่ืองสำคัญลำดับแรก ซึ่งความสอดคลองกับ MRA แสดงใหเห็นวาสินคาเภสัชกรรมในอาเซียนถูกผลิต

และควบคุมตามหลักการของแนวทางการผลิตที่ดีและมาตรฐานดานคุณภาพที่ตกลงรวมกันใน

อาเซียน ซึ่งจะชวยเสริมสรางความสามารถในการแขงขันของผูผลิต รวมทั้งเพิ่มความมั่นใจของ ผูบริโภคในคุณภาพมาตรฐานของสินคา

ขณะเดียวกัน ยังทำใหตนทุนทางธุรกิจลดลง เน่ืองจากผูผลิตไมจำเปนตองนำสินคาไปผานกระบวนการทดสอบ หรือการขอใบรับรองซ้ำกันหลายครั้ง สำหรับผูบริโภคจะไดรับประโยชนจาก

ความมั่นใจวาผลิตภัณฑเภสัชกรรมที่บริโภคน้ันมีความปลอดภัย

Page 23: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

23AEC FACT BOOK

• ความตกลงการคาบริการของอาเซียน (AFAS)

รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดลงนามกรอบความตกลงการคาบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service: AFAS) เม่ือวันท่ี 15 ธันวาคม 2538 ณ กรุงเทพฯ ประเทศไทย โดยมีเปาหมาย คือ

1) สงเสริมความรวมมือดานการคาบริการระหวางสมาชิกอาเซียน เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพ

และความสามารถในการแขงขันของการคาบริการของอาเซียน และกระจายศักยภาพดานการผลิต และการใหบริการในอาเซียน

2) ขจัดอุปสรรคตอการคาบริการอยางมีนัยสำคัญ

3) เปดเสรีการคาบริการ โดยการขยายขอบเขตและความลึกของการเปดเสรี นอกเหนือ

จากที่ผูกพันไวภายใตความตกลงการคาบริการขององคการการคาโลก (WTO)

ภายใต AFAS ประเทศสมาชิกอาเซียนไดเขารวมการเจรจาเปดเสรีการคาบริการเปนรอบๆ มีวัตถุประสงคเพื่อเปดตลาดการคาบริการ โดยจะมุงเนนลดหรือยกเลิกขอกำหนดหรือกฎระเบียบ

ที่เปนอุปสรรคตอการเขาถึงตลาด และการแขงขันดานราคาระหวางผูใหบริการตางชาติและใน

ประเทศ การเจรจาดังกลาวทำใหไดตารางขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการ ซึ่งจะนำตาราง ดังกลาวมาแนบทายความตกลงฯ

สาขาบริการเปนองคประกอบหลักของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีสัดสวนรอยละ 40-60 ของ GDP ของประเทศอาเซียน ขณะเดียวกัน มูลคาการสงออกและนำเขาการคาบริการของอาเซียนยังขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจาก 182 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป 2546 เปน 343 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป 2552

ผลสำเร็จ ณ ปจจุบัน

อาเซียนไดสรุปผลการเจรจาการคาบริการไปแลว 5 รอบ และจัดทำขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการภายใต AFAS ไปแลว 7 ชุด ลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ไดแก

¡ พิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 1 ลงนามเม่ือวันท่ี 15 ธันวาคม 2540 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย

¡ พิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 2 ลงนามเม่ือวันท่ี 16 ธันวาคม 2541 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม

Page 24: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน24 ASEAN Economic Community

¡ พิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 3 ลงนามเม่ือวันท่ี 31 ธันวาคม 2544

¡ พิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 4 ลงนามเม่ือวันท่ี 3 กันยายน 2547 ณ กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย

¡ พิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 5 ลงนามเม่ือวันท่ี 8 ธันวาคม 2549 ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส

¡ พิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 6 ลงนามเม่ือวันท่ี 19 ธันวาคม 2550 ณ ประเทศสิงคโปร

¡ พิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 7 ลงนามเม่ือวันท่ี 26 กุมภาพันธ 2552 ณ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ประเทศไทย

โดยมีเปาหมายการเปดเสรีสาขาบริการสำคัญ 4 สาขา ภายในป 2553 ไดแก สุขภาพ ICT ทองเที่ยว และการบิน สวนสาขาโลจิสติกสภายในป 2556 สำหรับสาขาบริการอ่ืนๆ จะเปดตลาด

บริการทั้งในเชิงลึกและกวาง เพื่อไปสูการเคล่ือนยายบริการอยางเสรี โดยมีความยืดหยุนไดภายใน

ป 2558 เชน การบริการธุรกิจ การบริการวิชาชีพ กอสราง การจัดจำหนาย การศึกษา และโทรคมนาคม เปนตน

นอกจากน้ี อาเซียนยังไดจัดทำขอผูกพันการเปดตลาดบริการทางการเงิน 4 ชุด ลงนามโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน และขอผูกพันการเปดตลาดการขนสงทางน้ำ 6 ชุด ลงนามโดยรัฐมนตรีขนสงอาเซียน

ขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดที่ 7 ภายใต AFAS

เปนพันธกรณีที่มีความกาวหนามากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายที่กำหนดไวภายใต แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนี้

¡ ยกเลิกขอจำกัดการใหบริการขามพรมแดน (Mode 1 และ 2)

¡ ผูกพันการเพ่ิมสัดสวนการถือหุนของตางชาติ (Mode 3)

¡ ยกเลิกขอจำกัดอ่ืนแบบกาวหนา

Page 25: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

25AEC FACT BOOK

ขณะนี้ อาเซียนอยูระหวางจัดทำขอผูกพันฯ ชุดที่ 8 โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได ลงนามพิธีสารเพื่ออนุวัติขอผูกพันฯ ชุดที่ 8 ภายใต AFAS ในชวงการประชุมสุดยอดอาเซียน

ครั้งที่ 17 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 ณ ประเทศเวียดนาม

• การจัดทำขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาบริการ (MRA)

การจัดทำขอตกลงการยอมรับรวม (Mutual Recognition Arrangements: MRA) ในสาขาบริการ เปนพัฒนาการลาสุดของความรวมมือดานการคาบริการของอาเซียน โดย MRA หมายถึง การที่ผูใหบริการที่ไดรับการรับรองคุณสมบัติวิชาชีพโดยหนวยงานท่ีมีอำนาจในประเทศตน จะไดรับการยอมรับโดยหนวยงานที่มีอำนาจในประเทศอาเซียนอื่นโดยสอดคลอง กับกฎระเบียบภายในประเทศที่เกี่ยวของ ซึ่งจะชวยอำนวยความสะดวกการเคลื่อนยายผูให บริการสาขาวิชาชีพในภูมิภาค

MRA ในสาขาบริการของอาเซียน

กรอบความตกลงการคาบริการของอาเซียน (AFAS) ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจ

อาเซียนเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2538 ณ กรุงเทพฯ ประเทศไทย ตระหนักถึงความสำคัญของการ รวมกลุมสาขาบริการโดยรวมในอาเซียน ตามที่ระบุไวในมาตรา 5 ภายใต AFAS ดังน้ี

“สมาชิกอาเซียนแตละประเทศจะใหการยอมรับในวุฒิการศึกษาหรือประสบการณที่ไดรับ และคุณสมบัติที่เปนไปตามขอกำหนด หรือ ใบอนุญาต หรือ ใบรับรองท่ีไดรับในประเทศสมาชิกอ่ืนเพื่อวัตถุประสงคในการออกใบอนุญาตหรือใบรับรองใหแกผูใหบริการ การยอมรับดังกลาวจะตอง ทำอยูบนพื้นฐานของความตกลงกับประเทศสมาชิกท่ีเก่ียวของ หรืออาจใหการยอมรับโดยอิสระ”

ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2544 ณ กรุงบันดาร เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนฯ ผูนำอาเซียนไดมีมติใหเริ่มการเจรจาจัดทำ MRA เพื่ออำนวยความ

สะดวกการเคลื่อนยายบุคลากรวิชาชีพภายใต AFAS ในการน้ี คณะกรรมการประสานงานอาเซียน

ดานบริการ (ASEAN Coordinating Committee on Services: CCS) จึงไดจัดต้ังคณะผูเช่ียวชาญเฉพาะกิจวาดวย MRA ภายใตคณะทำงานรายสาขาบริการธุรกิจ ในป 2546 เพ่ือเร่ิมการเจรจาจัดทำ MRA ดานบริการ ตอมา CCS ไดจัดตั้งคณะทำงานสาขาบริการดานสุขภาพ ในเดือนมีนาคม 2547 เพื่อเจรจาจัดทำ MRA ในสาขาบริการดานสุขภาพ

Page 26: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน26 ASEAN Economic Community

ผลสำเร็จ ณ ปจจุบัน

ณ ปจจุบัน อาเซียนไดสรุปผลการจัดทำ MRA และลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน

แลว ดังนี้

¡ ขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาบริการวิชาชีพวิศวกรรม ลงนามเม่ือวันท่ี 9 ธันวาคม 2548 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย

¡ ขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาบริการวิชาชีพพยาบาล ลงนามเมื่อวันที ่ 8 ธันวาคม 2549 ณ เมืองเซบ ูประเทศฟลิปปนส

¡ ขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาบริการวิชาชีพสถาปตยกรรม และกรอบความตกลง สำหรับการยอมรับรวมในคุณสมบัติวิชาชีพดานการสำรวจ ลงนามเม่ือวันท่ี 19 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร และ

¡ กรอบความตกลงวาดวยขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาบริการวิชาชีพบัญชี ขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาบริการวิชาชีพแพทย และขอตกลงการยอมรับรวมในสาขาวิชาชีพทันตแพทย ลงนามเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552 ณ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ประเทศไทย

นอกจากนี้ รัฐมนตรีขนสงอาเซียนยังไดใหการรับรองขอตกลงการยอมรับรวมในสาขา วิชาชีพการทองเที่ยว ในการประชุมรัฐมนตรีขนสงอาเซียน คร้ังท่ี 12 เม่ือวันท่ี 9 มกราคม 2552 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม

ขณะน้ี อาเซียนอยูระหวางจัดต้ังกลไกในการดำเนินการตาม MRA ดังกลาวการสรุปผล MRA ดังกลาวเปนการส้ินสุดการเจรจา MRA ณ ปจจุบัน ขณะเดียวกัน อาเซียนอาจพิจารณาเร่ิมการเจรจา MRA ในสาขาวิชาชีพอื่นในอนาคต ซึ่งขณะนี้จะใหความสำคัญกับการดำเนินการตาม MRA ที่เสร็จแลวกอน เพื่อใหผูประกอบวิชาชีพในภูมิภาคไดรับประโยชนอยางเปนรูปธรรมจากขอตกลง ดังกลาว

Page 27: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

27AEC FACT BOOK

การจัดทำขอตกลงยอมรับรวมในคุณสมบัติวิชาชีพ MRA มีความแตกตางๆ กันในรายละเอียด ดังนี้ สำหรับวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปตยกรรมเปนการสรางกลไกในการประสานงานระหวาง

ประเทศสมาชิกอาเซียน ขณะที่ MRA สำหรับวิชาชีพแพทยและทันตแพทยใหความสำคัญเรื่อง ความรวมมือในการอำนวยความสะดวกการยอมรับคุณสมบัติวิชาชีพดังกลาวในประเทศอาเซียนอ่ืนสวน MRA สำหรับวิชาชีพบัญชีมีแนวทางคลายคลึงกับ MRA สำหรับวิชาชีพดานการสำรวจ คือ เปนการกำหนดกรอบหลักการกวางๆ สำหรับการเจรจาขอตกลงทวิภาคี/พหุภาคีระหวางประเทศ

สมาชิกอาเซียนตอไป

• ความตกลงการลงทุนของอาเซียน (ACIA)

ความตกลงดานการลงทุนอยางเต็มรูปแบบของอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) ลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552 ACIA เปนผลมาจากการรวมและการทบทวนความตกลงดานการลงทุนของอาเซียน 2 ฉบับ ไดแก ความตกลงวาดวยเขตการลงทุนอาเซียน ป ค.ศ. 1998 (Framework Agreement on ASEAN Investment Area: AIA Agreement) และความตกลงอาเซียนวาดวยการสงเสริมและการคุมครอง การลงทุน ป ค.ศ. 1987 (ASEAN Investment Guarantee Agreement: ASEAN IGA) รวมทั้งพิธีสารตางๆ ที่เกี่ยวของ

วัตถุประสงคของการรวมความตกลง 2 ฉบับดังกลาว เพ่ือตอบสนองตอสภาพแวดลอมใน

โลกที่มีการแขงขันเพิ่มขึ้น และทำใหอาเซียนสามารถเปนฐานการลงทุน โดยปรับปรุงนโยบายการ

ลงทุนใหเสรีและเปดกวางมากขึ้น เพ่ือใหบรรลุเปาหมายการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน

ACIA เปนความตกลงดานการลงทุนของอาเซียนที่มีขอบเขตกวางขวางครอบคลุมสาขา การผลิต การเกษตร ประมง ปาไม เหมืองแร และบริการเก่ียวของกับ 5 สาขาดังกลาว อาเซียนกำหนด

ใหมีการเปดเสรีการลงทุนแบบกาวหนา เพื่อมุงไปสูการมีสภาพแวดลอมการลงทุนที่เสรีและ

เปดกวาง โดยสอดคลองกับเปาหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นอกจากน้ี ACIA ยังสามารถใหมีการเปดเสรีการลงทุนในสาขาอื่นไดในอนาคต

ACIA ประกอบดวย ขอบทดานการลงทุน ครอบคลุมท้ัง 4 ดาน คือ การเปดเสรี การคุมครอง การอำนวยความสะดวก และการสงเสริม มีสาระสำคัญ ดังนี้

Page 28: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน28 ASEAN Economic Community

¡ กำหนดเวลาชัดเจนในการเปดเสรีการลงทุน

¡ ผลประโยชนสำหรับนักลงทุนตางชาติท่ีเขามาลงทุนในอาเซียน

¡ ขอสงวนในการใหการปฏิบัติท่ีเปนพิเศษภายใต AIA

¡ การยืนยันพันธกรณีตามขอบทใน AIA และ ASEAN IGA เชน การใหการประติบัติ เยี่ยงคนชาติ (National Treatment) และหลักประติบัติเยี่ยงชาติที่ไดรับความอนุเคราะหยิ่ง (Most-Favoured-Nation Treatment)

ACIA ขอบทใหมที่มองไปขางหนา

¡ การปรับปรุงสภาพแวดลอมการลงทุนใหมีความเสรี อำนวยความสะดวก โปรงใส และมีการแขงขันกันมากขึ้น ตามแนวทางปฏิบัติที่ดีของสากล

¡ การปรับปรุงขอบทใน AIA และ ASEAN IGA ที่มีอยูใหดีขึ้น เชน เร่ืองขอพิพาทระหวาง นักลงทุนกับประเทศสมาชิกอาเซียน การโอนเงินลงทุน เปนตน

¡ การเพิ ่มขอบทใหมเรื ่องการหามกำหนดเงื ่อนไขในการปฏิบัติ (Prohibition of Performance Requirement) โดยใหมีการประเมินรวมเพ่ือพิจารณาพันธกรณีเพ่ิมเติม

¡ ขอบทเรื่องผูบริหารอาวุโสและกรรมการบริหาร ซึ่งจะชวยอำนวยความสะดวกการ

เคลื่อนยายบุคลากรดังกลาว

ขอดีของ ACIA

การมีขอบเขตท่ีครอบคลุมกวางขวางของ ACIA ชวยเสริมสรางการคุมครองการลงทุนและ

เพิ่มความมั่นใจใหแกนักลงทุนตางชาติในการเขามาลงทุนในอาเซียน นอกจากน้ี ยังชวยสงเสริมการพัฒนาการลงทุนระหวางกันในอาเซียน โดยเฉพาะในบริษัทขามชาติที่มีฐานการลงทุนในอาเซียน โดยการขยายกิจการ ความรวมมือดานอุตสาหกรรม และการผลิตตามความเชี่ยวชาญเฉพาะ อันนำไปสูการเสริมสรางการรวมกลุมเศรษฐกิจ

เงินลงทุนที่เขามายังอาเซียนมีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้นในชวงปที่ผานมา เนื่องจากภาวะ

เศรษฐกิจโลกและภูมิภาคที่เขมแข็งขึ้นกอนที่วิกฤตการณทางเศรษฐกิจโลกจะทำใหเงินลงทุนเขามายังอาเซียนลดลงในป 2551 และ 2552 แหลงเงินลงทุนหลักที่เขามายังอาเซียนยังคงเปนสหภาพ

ยุโรป มีสัดสวนรอยละ 18.3 ญี่ปุน รอยละ 13.4 และสหรัฐอเมริกา รอยละ 8.5 นอกจากแหลงเงินลงทุนดังกลาว การลงทุนระหวางกันในอาเซียนยังมีความสำคัญ มีสัดสวนรอยละ 11.2 ของเงิน

Page 29: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

29AEC FACT BOOK

ลงทุนที่เขามายังอาเซียน ในป 2552 ทำใหอาเซียนเองเปนแหลงเงินลงทุนใหญอันดับ 3 ของอาเซียน ขณะเดียวกัน สัดสวนการลงทุนจากตางประเทศในอาเซียนตอการลงทุนจากตางประเทศในโลก ยังเพิ่มขึ้นจากรอยละ 2.8 ในป 2551 เปนรอยละ 3.6 ในป 2552 สะทอนใหเห็นวา อาเซียนยังคง เปนภูมิภาคที่สามารถดึงดูดการลงทุนในสัดสวนที่เพิ่มขึ้นแมวาจะมีภาวะเศรษฐกิจถดถอย

เพื่อใหสามารถดึงดูดการลงทุนไดทามกลางการแขงขันที่เพิ่มขึ้น อาเซียนจะยังคงใชความ

พยายามในการดำเนินการเพื่อสรางสภาพแวดลอมการลงทุนที่เอื้อประโยชนตอการลงทุนมากขึ้น อาเซียนยืนยันพันธกรณีที่จะมุงไปสูการมีสภาพแวดลอมการลงทุนที่เสรีและโปรงใสมากขึ้น โดยมี วัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมการลงทุนและดึงดูดใหนักลงทุนเขามายังอาเซียนเพ่ิมข้ึน นำไปสูการขยายตัว

และการพัฒนาทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

• การรวมตัวทางการเงินในอาเซียน

ภายใตแผนงานการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียนตั้งเปาหมายการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุน ภายในป 2558 เนื่องจากระบบการเงินที่มีการรวมตัวกันและทำงานได อยางราบรื่น โดยมีระบบการบริหารจัดการบัญชีทุน (capital account regime) ที่เสรีขึ้น และมี ตลาดทุนที่เชื่อมโยงระหวางกัน จะชวยอำนวยความสะดวกการคาการลงทุน และการเคลื่อนยาย

เงินทุนในภูมิภาคเพิ่มขึ้น

แผนงานการรวมกลุมทางการเงินและการคลังของอาเซียน (Roadmap for Monetary and Financial Integration of ASEAN: RIA-Fin)

ตามแผนงานการรวมกลุมทางการเงินและการคลังของอาเซียน อาเซียนจะดำเนินมาตรการตางๆ ดังนี้

Page 30: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน30 ASEAN Economic Community

1) การเปดเสรีการคาบริการทางการเงิน (Financial Service Liberalization) โดยการ เปดเสรีการคาบริการทางการเงินแบบกาวหนาภายในป 2558 ยกเวนสาขายอยบางสาขาและ

ธุรกรรมบางรายการ โดยมีความยืดหยุนที่ตกลงกันไวลวงหนา ณ ปจจุบัน อาเซียนไดสรุปผลการ

เจรจาจัดทำขอผูกพันการเปดตลาดบริการทางการเงินไปแลว 4 รอบ การเจรจารอบท่ี 5 จะสรุปผล

ภายในป 2553

2) การเปดเสรีการเคล่ือนยายบัญชีทุน (Capital Account Liberalisation) โดยการยกเลิก

มาตรการการควบคุมเงินทุนเคลื่อนยาย (capital controls) และขอจำกัดตางๆ เพ่ืออำนวยความ

สะดวกการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีขึ้น โดยครอบคลุมถึงการยกเลิกขอจำกัดในการเคลื่อนยายเงิน

บัญชีเดินสะพัดและเงินลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ รวมถึงเงินลงทุนในหลักทรัพย (portfolio flows)

3) การพัฒนาตลาดทุน (Capital Market Development) โดยการเสริมสรางศักยภาพ

และพัฒนาโครงสรางพื้นฐานในระยะยาวสำหรับการพัฒนาตลาดทุนของอาเซียน โดยมีเปาหมาย

ระยะยาว คือ เพื่อใหเกิดความรวมมือของตลาดทุนระหวางประเทศในอาเซียน โดยไดมีการจัดทำ

แผนปฏิบัติการเพื่อไปสูการพัฒนาตลาดทุนของอาเซียนอยางบูรณาการ (Implementation Plan for an Integrated Capital Market) เพื ่อเสริมสรางการเขาถึงตลาด ความเชื ่อมโยงกัน และการมีสภาพคลอง

4) ความมีเสถียรภาพและการรวมตัวทางการเงินในเอเชียตะวันออก อาเซียนไดดำเนิน

หลายมาตรการเพื่อสนับสนุนเสถียรภาพทางการเงินในเอเชียตะวันออก เพื่อมุงสูการรวมตัวทาง การเงินมากขึ้นกับจีน ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี มาตรการสำคัญประการหนึ่ง ไดแก ความคิด

ริเริ่มเชียงใหมพหุภาคี (Chiang Mai Initiative Multilateralisation: CMIM) ซ่ึงเปนความตกลง การแลกเปลี่ยนเงินตราแบบพหุภาคี เพื่อใหความชวยเหลือประเทศสมาชิกที่ประสบปญหาสภาพ

คลองระยะสั้น มีวงเงิน 1.2 ลานเหรียญสหรัฐ โดยไดเริ่มดำเนินโครงการ CMIM ตั้งแตวันที่

Page 31: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

31AEC FACT BOOK

24 มีนาคม 2553 ความริเร่ิมอ่ืน ไดแก การพัฒนาตลาดตราสารหนี้เอเชีย (Asian Bond Market Initiative: AMBI) ซึ่งริเริ่มขึ้นในป 2548 โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้สกุลเงินตรา

ทองถ่ินท่ีลึกซ้ึงในประเทศสมาชิกอาเซียน+3 (จีน ญ่ีปุน และสาธารณรัฐเกาหลี) ภายใตแผนงานการ พัฒนาตลาดตราสารหน้ีเอเชีย มาตรการที่สำคัญลำดับแรก คือ การเสริมสรางความเขมแข็งในการ ออกตราสารหนี้ การอำนวยความสะดวกความตองการของผูซื้อ การเสริมสรางดานกฎระเบียบ และการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเพ่ือรองรับการพัฒนาตลาดตราสารหน้ี โดยเม่ือเดือนพฤษภาคม 2553 อาเซียนไดจัดตั้งองคกรค้ำประกันสินเชื่อและการลงทุน (Credit Guarantee and Investment Facility: CGIF) เพื่อสนับสนุนการออกพันธบัตรตราสารหน้ีของภาคเอกชนในอาเซียน+3

5) การเสริมสรางความเขมแข็งของระบบระวังภัยทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและการเฝา ติดตามอาเซียนไดเริ่มกระบวนการระวังภัยทางเศรษฐกิจตั้งแตป 2542 รวมทั้งสนับสนุนการหารือ

เชิงนโยบายระดับภูมิภาค ทบทวนประเด็นดานเศรษฐกิจ และสนับสนุนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

และการเงินในภูมิภาคอยางตอเนื่อง ปจจุบันอาเซียนอยูระหวางจัดตั้งหนวยระวังภัยทางเศรษฐกิจ

และการเงินของอาเซียน (Macroeconomic and Finance Surveillance Office: MFSO) ณ สำนักงานเลขาธิการอาเซียน มีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางศักยภาพในการติดตามและเฝา

ระวังภัยในการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

• ความริเริ่มเชียงใหมพหุภาคี (CMIM)

ความริเร่ิมเชียงใหมพหุภาคี (Chiang Mai Initiative Multilateralisation: CMIM) เปน

ความตกลงการแลกเปลี่ยนเงินตราแบบพหุภาคี ซ่ึงถูกออกแบบมาเพ่ือ (1) แกไขปญหาสภาพคลองระยะสั้นในภูมิภาค (2) เปนสวนเสริมระบบการบริหารจัดการทางการเงินระหวางประเทศที่มีอยู ปจจุบัน CMIM มีผลบังคับใชแลวตั้งแตวันที่ 24 มีนาคม 2553 หลังจากที่สมาชิกอาเซียน 5 ประเทศและประเทศ+3 (จีน ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี) ไดใหสัตยาบันความตกลงฯ

อาเซียนไดตกลงใหมีความริเร่ิมเชียงใหม (Chiang Mai Initiative: CMI) คร้ังแรก เม่ือวันท่ี 6 พฤษภาคม 2543 ณ จังหวัดเชียงใหม ประเทศไทย เพ่ือใชเปนกรอบงานในการสนับสนุนสภาพ

คลองในภูมิภาค โดยการจัดทำขอตกลงแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศของอาเซียน (ASEAN Swap Arrangement: ASA) และการสรางเครือขายการแลกเปล่ียนเงินตราทวิภาคี (Bilateral Swap Arrangements: BSAs) ระหวางอาเซียนกับประเทศ+3 ตอมาในเดือนพฤษภาคม 2549 รัฐมนตรีคลังอาเซียน+3 ไดมีมติเห็นชอบใหขยายกรอบงานดังกลาวใหเปนความริเริ่มเชียงใหม

Page 32: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน32 ASEAN Economic Community

พหุภาคี (CMI Multilateralisation) เพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพของ BSAs ในการเสริมสภาพ

คลองในภูมิภาค ตอมาในป 2550 รัฐมนตรีคลังอาเซียน+3 เห็นชอบให CMIM มีการบริหารจัดการโดยการใหประเทศสมาชิกกันเงินสำรองระหวางประเทศ มาสมทบรวมกันไวเปนกองกลาง (self-managed reserve pooling) โดยแตละประเทศภาคียังมีอำนาจในการบริหารจัดการ เงินทุนสำรองในสวนของตน

ประเทศภาคีและการกันเงินสมทบ

ประเทศภาคีใน CMIM ประกอบดวย สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และประเทศ+3 (จีน ญ่ีปุน สาธารณรัฐเกาหลี รวมถึง ฮองกง) จากวงเงิน CMIM รวม 1.2 พันลานเหรียญสหรัฐ เปนเงินสมทบจาก

ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และประเทศ +3 จำนวน 0.24 และ 0.96 พันลานเหรียญสหรัฐ ตามลำดับ ทั้งนี้ เนื่องจาก CMIM เปนการกันเงินทุนสำรองระหวางประเทศของแตละประเทศภาคีมาสมทบไวเปนกองกลาง ประเทศภาคีจึงมีภาระผูกพันเพียงการยืนยันการสมทบเงิน ทั้งนี้ ภาคี ผูใหความชวยเหลือ (Contributing Party) แตละประเทศจะโอนเงินตามที่ผูกพันไวใหแกภาคีผู ขอรับความชวยเหลือ (Requesting Party) ตามสัดสวนที่ตกลงกันไว ตอเมื่อมีการอนุมัติการ แลกเปล่ียนเงินตราระหวางประเทศ หากไมมีการขอแลกเปล่ียนเงินตราระหวางประเทศโดยประเทศ

ภาคีใด ภาคีแตละประเทศจะยังคงมีอำนาจหนาที่บริหารจัดการเงินทุนสำรองระหวางประเทศของ ตนตอไป

ขอตกลงและเงื่อนไขของการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ

ภาคีทุกประเทศสามารถเขาถึงกองทุน CMIM โดยวงเงินสูงสุดท่ีแตละประเทศสามารถเบิกถอนจากกองทุนได ขึ้นอยูกับจำนวนเทาที่กำหนดของวงเงินท่ีภาคีนั้นยืนยันการสมทบไว ทั้งนี้ ภาคีผูขอรับความชวยเหลือสามารถเบิกถอนเงินไดถึงรอยละ 20 ของจำนวนวงเงินสูงสุด โดยไมจำเปน

ตองเขารวมโครงการของกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF Facility) สวนวงเงินท่ีเหลือจะเบิก

ถอนไดก็ตอเมื่อภาคีผูขอรับความชวยเหลือเขารวม IMF Program หรือโครงการอื่นที่เหมาะสม โดย CMIM เปนความตกลงการแลกเปลี่ยนเงินสกุลเหรียญสหรัฐ กับเงินสกุลทองถิ่นของประเทศ

ที่ขอเบิกถอนเงิน มีอายุการแลกเปลี่ยน 90 วันนับจากวันท่ีเบิกถอน สามารถตออายุไดไมเกิน 7 คร้ัง รวมระยะเวลาไมเกิน 2 ป สวนการเบิกถอนที ่ไมเกินรอยละ 20 ของจำนวนวงเงินสูงสุด สามารถตออายุไดไมเกิน 3 ครั้ง โดยภาคีผูขอรับความชวยเหลือที่แลกเงินสกุลเหรียญสหรัฐไป ตองชำระคาดอกเบี้ยโดยอางอิงอัตรา LIBOR plus premium

Page 33: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

33AEC FACT BOOK

กระบวนการแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและการตัดสินใจ

ภายใต CMIM ภาคีผูขอรับความชวยเหลือแตละประเทศสามารถยื่นขอเบิกถอนเงินจาก

ประเทศผูประสานงาน (ประธานรวมจากอาเซียนและประเทศ+3) โดยการอนุมัติและเบิกถอนเงิน

จากกองทุนควรใชเวลาไมเกิน 2 สัปดาหนับจากวันท่ีไดรับคำรองขอเบิกถอนเงิน หลังจากคำขอเบิกถอนเงินไดรับการอนุมัติแลว ภาคีผูใหความชวยเหลือทุกประเทศตองโอนเงินสกุลเหรียญสหรัฐ ไปในบัญชีของภาคีผูขอรับความชวยเหลือ ซ่ึงในทางกลับกัน จะตองโอนเงินสกุลทองถ่ินของตนท่ีมี

มูลคาเทียบเทากันไปใหภาคีผูใหความชวยเหลือ ทั้งนี้ การตัดสินใจทั้งหมดเกี่ยวกับประเด็นการ ดำเนินงาน CMIM (เชน การอนุมัติการเบิกถอนเงิน การตออายุ และการยกเวนเงื่อนไข เปนตน) ข้ึนอยูกับการตัดสินใจของเจาหนาท่ีอาวุโสกระทรวงการคลังและธนาคารกลางอาเซียน+3 (ASEAN+3 Finance and Central Bank Deputies) สำหรับประเด็นพ้ืนฐาน เชน ขนาดของกองทุนการสมทบ

เงินทุน และการเขาเปนภาคีใน CMIM เปนตน ข้ึนอยูกับการตัดสินใจของรัฐมนตรีคลังอาเซียน+3

บทบาทของหนวยงานกำกับดูแลดานเศรษฐกิจในภูมิภาค

เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของ CMIM รัฐมนตรีคลังอาเซียน+3 ไดเห็นชอบใหมีการจัดตั้ง หนวยงานกำกับดูแลดานเศรษฐกิจในภูมิภาค เรียกวา สำนักงานวิจัยเศรษฐกิจมหภาคอาเซียน+3 (ASEAN+3 Macroeconomic Research Office: AMRO) ณ ประเทศสิงคโปร โดย AMRO จะรับผิดชอบในการติดตามดูแลภาวะเศรษฐกิจเพ่ือสนับสนุนการดำเนินงานของ CMIM

• ความรวมมือดานอาหาร เกษตร และปาไมของอาเซียน

อาเซียนมีเปาหมายไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 โดยจะเปนตลาด

และฐานการผลิตเดียวกัน การเสริมสรางความสามารถในการแขงขันในสินคาอาหาร เกษตร และปาไม ในตลาดระหวางประเทศ รวมถึงการสรางความเขมแข็งของเกษตรกรผานการสงเสริมสหกรณการ เกษตรจึงเปนเรื่องที่มีความสำคัญเปนลำดับแรกของอาเซียน นอกจากน้ี ประเด็นท่ีเกิดข้ึนใหมและ

เกี่ยวของระหวางภาคสวน เชน ความม่ันคงดานอาหาร การบรรเทาผลกระทบ และการปรับตัวให เขากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในสาขาเกษตรและปาไม รวมถึงมาตรการดานสุขอนามัย

และสุขอนามัยพืช ยังเปนเรื่องที่มีความสำคัญเปนลำดับแรกเชนกัน

Page 34: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน34 ASEAN Economic Community

ความคิดริเริ่มเพื่อไปสูการบรรลุเปาหมายการรวมกลุมของอาเซียน

การปรับประสานดานคุณภาพและมาตรฐาน การรับรองความปลอดภัยของอาหาร และการ จัดทำระบบการรับรองคุณภาพสินคาใหเปนมาตรฐานเดียวกัน จะทำใหสินคาเกษตรของอาเซียน

พรอมที่จะแขงขันในตลาดโลก โดยการเสนออาหารที่ปลอดภัยมีประโยชนตอสุขภาพ และม ี

คุณภาพไดมาตรฐาน ปจจุบันอาเซียนอยูระหวางการพัฒนาแนวทางปฏิบัติท่ีดีทางการเกษตร (Good Agricultural Practices: GAP) มาตรฐานในการผลิต การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการ เก็บเกี่ยวพืชผลทางการเกษตร การกำหนดระดับปริมาณสารพิษตกคางสูงสุดในอาหารที่ยอมรับได ของอาเซียน (Maximum Residue Limits: MRL) สำหรับยาฆาแมลง เกณฑในการรับรองสินคา ปศุสัตวและการทำปศุสัตว (Criteria for accreditation of livestock and livestock products enterprises) แนวทางการปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการสำหรับกุง (Guideline for Good Management Practices for shrimp) และขอควรปฏิบัติสำหรับการประมงท่ีมีความรับผิดชอบ (A Code of Conduct for responsible fisheries) โดยจะนำขอกำหนดดังกลาวท้ังหมดมาใชใน

อางอิงสำหรับการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติและเรื่องที่มีความสำคัญลำดับแรก เพื่อสนับสนุน

อุตสาหกรรมการเกษตรของแตละประเทศ

การเสริมสรางความม่ันคงดานอาหารยังคงเปนเปาหมายพ้ืนฐานของอาเซียน และเพ่ือตอบสนองตอความกังวลเกี่ยวกับความมั่นคงดานอาหารในภูมิภาคที่เพิ่มขึ้นในชวงปที่ผานมา อาเซียน

ไดใหการรับรองแถลงการณอาเซียนวาดวยความม่ันคงดานอาหาร (ASEAN Statement on Food Security) แผนนโยบายบูรณาการความมั่นคงดานอาหารของอาเซียน (ASEAN Integrated Food Security: AIFS) และแผนกลยุทธความมั่นคงดานอาหารของอาเซียน (Strategic Plan of Action on ASEAN Food Security: SPA-FS) เพ่ือสงเสริมความม่ันคงดานอาหารในระยะยาว และปรับปรุง ชีวิตความเปนอยูของเกษตรกรในภูมิภาคอาเซียน นอกจากนี้ยังมีความคิดริเริ่มอื่น ไดแก ASEAN Multi-Sectoral Framework on Climate Change (AFCC): Agriculture and Forestry towards

Page 35: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

35AEC FACT BOOK

Food Security โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือแกไขปญหาท่ีเกิดจากผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในสาขาเกษตรและปาไม

ปาไมยังคงเปนทรัพยากรธรรมชาติท่ีสำคัญมากของภูมิภาคอาเซียน ในแงของผลประโยชน ทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม รวมถึงสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้น การสงเสริมการบริหารจัดการปาไม อยางยั่งยืน (Sustainable Forest Management: SFM) การบังคับใชกฎหมายไมใหมีการทำไมผิดกฎหมาย (Forest Law Enforcement and Governance) และลดการปลดปลอยกาซเรือน

กระจกจากการตัดไมทำลายปา และการทำใหปาเสื ่อมโทรม (Reducing Emissions from Deforestation and Forest Degradation: REDD) จึงเปนประเด็นที่อยูในความสนใจและเปน

เร่ืองท่ีสำคัญลำดับแรกของอาเซียน ดวยเหตุนี้อาเซียนจึงไดจัดทำแนวทางปฏิบัติ เกณฑและตัวช้ีวัด ดังนี้

(1) เกณฑและตัวชี ้วัดของอาเซียนสำหรับการบริหารจัดการปาเขตรอนอยางยั ่งยืน ครอบคลุมถึงรูปแบบในการติดตาม การประเมินผล และการรายงาน

(2) แนวทางปฏิบัติของอาเซียนในการดำเนินงานตามขอเสนอของคณะกรรมการระหวาง รัฐบาลวาดวยปาไม (Intergovernmental Panel on Forests/Intergovernmental Forum on Forest: IPF/IFF)

(3) แนวทางปฏิบัติของอาเซียนในการรับรองการปาไมอยางเปนขั้นเปนตอน (ASEAN Guidelines on Phased Approach to Forest Certification: PAFC)

(4) เกณฑและตัวชี้วัดของอาเซียนสำหรับความถูกตองตามกฎหมายของปาไม

นอกจากนี้ อาเซียนยังยืนยันพันธกรณีในการตอตานการตัดไมจากปาโดยผิดกฎหมายและ

เกี่ยวของกับการคา ตามที่ระบุไวในแถลงการณของรัฐมนตรีเกษตรและปาไมของอาเซียนวาดวย

การบังคับใชกฎหมายไมใหมีการทำไมผิดกฎหมายในอาเซียน

Page 36: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน36 ASEAN Economic Community

ความทาทายและแนวโนมในอนาคต

การผลิตสินคาเกษตรและปาไมท่ีสามารถซ้ือขายกันในระดับประเทศ เปนองคประกอบสำคัญ

ในการบรรลุเปาหมายการเปนตลาดเดียวกันของอาเซียน ดังนั้น อาเซียนจึงจำเปนตองมีนโยบาย

เศรษฐกิจมหภาคท่ีเหมาะสม รวมถึงมีสภาวะทางเศรษฐกิจเฉพาะของประเทศ การศึกษาท่ีมีคุณภาพ

สำหรับเกษตรกร การประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม การติดตอสื่อสาร และการบริหารจัดการ

ดานการตลาด เพื่อใหเกษตรกรสามารถเขาถึงขอมูล เงินทุน และปจจัยการผลิต ที่จำเปนตองใชใน

การผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพดวยตนทุนที่ลดลง

นอกจากน้ี การขยายตัวของการผลิตสินคาเกษตรและปาไมอยางย่ังยืนในเชิงเศรษฐศาสตร และสิ่งแวดลอมทั้งในดานปริมาณและคุณภาพยังเปนเร่ืองท่ีอาเซียนจำเปนตองหารือกันตอไป

• กรอบแผนงานบูรณาการความม่ันคงดานอาหารของอาเซียน (AIFS) และ

แผนกลยุทธความม่ันคงดานอาหารของอาเซียน (SPA-FS)

ความมั่นคงทางอาหารเปนเรื่องที่มีความสำคัญตออาเซียนมายาวนาน และเพื่อตอบสนอง ตอความผันผวนอยางมากของราคาอาหารที่เกิดขึ้นพรอมกับการเกิดวิกฤตการณการเงินโลก ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อป 2551 อาเซียนจึงจำเปนตองดำเนินการเชิงยุทธศาสตรท่ีครอบคลุมอยางกวางขวาง เพื่อไปสูการสรางความมั่นคงทางอาหารในภูมิภาคในระยะยาว

เพื่อเสริมสรางความมั่นคงดานอาหารในระยะยาว และเพื่อปรับปรุงชีวิตความเปนอยูของ เกษตรกรในอาเซียน ผูนำอาเซียนไดใหการรับรองกรอบแผนงานบูรณาการความมั่นคงดานอาหาร

ของอาเซียน (ASEAN Integrated Food Security (AIFS) Framework) และแผนกลยุทธความ

มั่นคงดานอาหารของอาเซียน (Strategic Plan of Action on ASEAN Food Security: SPA-FS) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ในป 2552 โดยกรอบแผนงาน AIFS และ SPA-FS เปน

การวางแผนงานสำหรับชวงเวลา 5 ป (ป 2552-2556) เพ่ือกำหนดมาตรการ กิจกรรม และระยะ

เวลาในการสงเสริมความรวมมือในการดำเนินงานและการติดตาม

Page 37: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

37AEC FACT BOOK

องคประกอบหลักของ AIFS

การเสริมสรางความม่ันคงดานอาหารและการบรรเทาปญหาเรงดวน/ความขาดแคลน เปนมาตรการหลักในการจัดการกับปญหาดานความมั่นคงทางอาหารในภูมิภาค โดยมีเปาหมายเพื่อ

เสริมสรางความเขมแข็งของโครงการและกิจกรรมดานความมั่นคงทางอาหารระดับประเทศ และ

เพื่อพัฒนาความคิดริเริ่มและกลไกการสำรองอาหารระดับภูมิภาค

การผลิตอาหารอยางยั่งยืน เปนลักษณะสำคัญประการหนึ่งของการทำใหเกิดความมั่นคง ดานอาหาร ซึ่งจะบรรลุเปาหมายดังกลาวไดโดยการปรับปรุงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการ เกษตร การลดความสูญเสียหลังการเก็บเก่ียว การลดตนทุนในการดำเนินธุรกรรม การเพ่ิมผลผลิต

ทางการเกษตร การสงเสริมนวัตกรรมดานการเกษตร รวมถึงการวิจัยและพัฒนาดานประสิทธิภาพ

ในการผลิตสินคาเกษตร การถายทอดและการประยุกตใชเทคโนโลยีใหมๆ

นอกจากนี้ อาเซียนจะตองริเริ่มและสงเสริมความรวมมือที่เกี่ยวของกับความมั่นคงดาน

อาหาร ซึ่งครอบคลุมถึงการจัดหาตลาดที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสงเสริมการขยายตัวของการผลิต

อาหารที่ยั ่งยืน การสงเสริมความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาอุตสาหกรรม

อาหารและเกษตร และการเสริมสรางระบบขอมูลสารสนเทศดานความมั่นคงทางอาหารแบบ

บูรณาการ เชน ระบบการเตือนภัยลวงหนา กลไกในการติดตามและเฝาระวัง เปนตน

ประเด็นท่ีเก่ียวของกับความม่ันคงดานอาหารท่ีกำลังเกิดข้ึน เชน การพัฒนาเช้ือเพลิงชีวภาพ

และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอความมั่นคงดานอาหาร เปนตน ถือเปน

สวนหนึ่งในกรอบ AIFS ดวย

รัฐมนตรีเกษตรและปาไมของอาเซียนไดตกลงใหจัดตั้งกลไกในการดำเนินงานและติดตาม

ผลตามกรอบงาน AIFS และ SPA-FS โดยประสานงานรวมกับคณะทำงานรายสาขาของอาเซียน

ที่เกี่ยวของ การหารือกับหนวยงานที่เก่ียวของและผูมีสวนไดเสียในระดับประเทศและภูมิภาค ซ่ึงจะชวยสงเสริมความรวมมือและทำใหไดรับขอมูลที่เกี่ยวของ รวมทั้งสงเสริมความรูสึกเปนเจาของ นอกจากนื้ อาเซียนยังจำเปนตองสงเสริมความเปนหุนสวนและความรวมมือกับองคกรระหวาง ประเทศและองคกรผูบริจาค เชน องคกรอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (Food and Agricultural Organization) ธนาคารโลก (World Bank) สถาบันวิจ ัยขาวนานาชาติ (International Rice Research Institute) กองทุนระหวางประเทศเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม (International Fund for Agricultural Development) และธนาคารเพ่ือการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank) เปนตน

Page 38: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน38 ASEAN Economic Community

• ความปลอดภัยของอาหาร

ความปลอดภัยของอาหารเปนเรื่องสำคัญประการหนึ่งของความรวมมือของอาเซียนใน

สาขาอาหารและเกษตรภายใตแผนงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน ในชวงปที่ผานมา อาเซียนไดดำเนินการเพื่อเสริมสรางระบบและกระบวนการในการควบคุมคุณภาพของอาหาร เพื่อ

สงเสริมการเคลื่อนยายอาหารที่มีคุณภาพ มีประโยชนตอสุขภาพ และมีความปลอดภัย ที่เสรี มากขึ้นในภูมิภาค โดยที่สินคาอาหารและเกษตรของอาเซียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลจะชวย

เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียนในตลาดโลก อาเซียนจึงเนนความสำคัญเรื่องการ

ปรับประสานคุณภาพและมาตรฐาน การรับรองความปลอดภัยของอาหาร รวมถึงการจัดทำระบบ

การรับรองสินคาอาหารและเกษตรใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

มาตรการหลักในการสงเสริมความปลอดภัยของอาหาร

ในป 2549 อาเซียนไดใหการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของอาเซียนสำหรับผัก

และผลไมสด (ASEAN Good Agricultural Practices for Fresh Fruit and Vegetables: ASEAN GAP) เพื่อใชเปนมาตรฐานสำหรับการผลิต การเก็บเก่ียว และการจัดการหลังการเก็บเก่ียวผักและ

ผลไมในอาเซียน การปฏิบัติตามที่ระบุไวใน ASEAN GAP มีเปาหมายเพ่ือใหม่ันใจวาผักและผลไมท่ีผลิตไดในอาเซียนมีความปลอดภัยในการรับประทานและมีคุณภาพที่เหมาะสมสำหรับผูบริโภค นอกจากนี้ ASEAN GAP ยังทำใหมั่นใจไดวาอาหารถูกผลิตและจัดการในลักษณะท่ีไมเปนอันตราย

ตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งสุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิการของคนงานในสาขาเกษตรและอาหาร

จนถึงปจจุบัน อาเซียนไดกำหนดมาตรฐานคาสารพิษตกคางสูงสุด (Maximum Residue Limits: MRL) ของอาเซียน สำหรับสารกำจัดศัตรูพืช 61 ชนิด จำนวน 775 มาตรฐาน รวมท้ังได ใหการรับรองมาตรฐานสินคาเกษตรของอาเซียน สำหรับมะมวง สับปะรด ทุเรียน มะละกอ สมโอ

Page 39: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

39AEC FACT BOOK

และเงาะ เพื่อใหมั่นใจไดวาผลไมดังกลาวมีความสด โดยมีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมตอ

ผูบริโภค หลังจากผานขั้นตอนการเตรียมการและการบรรจุหีบหอแลว นอกจากน้ี อาเซียนไดใหการรับรองมาตรฐานอาเซียนสำหรับวัคซีนสัตว 49 มาตรฐาน เกณฑในการรับรองการทำปศุสัตว 13 เกณฑ (Criteria for accreditation of livestock establishments) และเกณฑในการรับรอง สินคาปศุสัตว 3 เกณฑ เพื่อใหเปนมาตรฐานที่ปรับประสานแลวของอาเซียน

ความคืบหนาอื่นๆ ในสาขาเกษตรและประมง คือ อาเซียนอยูระหวางการเสริมสราง เครือขายการทดสอบอาหารที่ผลิตจากพืชท่ีดัดแปรพันธุกรรม การพัฒนาแนวทางการปฏิบัติในการบริหารจัดการท่ีดีสำหรับกุง การพัฒนาขอควรปฏิบัติสำหรับการประมงท่ีมีความรับผิดชอบ (A Code of Conduct for responsible fisheries) และการดำเนินงานตามระบบการวิเคราะหอันตราย

และจุดวิกฤตที่ตองควบคุม Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) ในการผลิตอาหารทะเลและผลิตภัณฑประมง

ในป 2547 อาเซียนไดจัดตั้งเครือขายกลางดานความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (ASEAN Food Safety Network) เพื่อใหเจาหนาที่ภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียนมีการแลกเปลี่ยน

ขอมูลดานความปลอดภัยของอาหาร

การตอสูกับภัยคุกคามจากไขหวัดนก (Avian Influenza)

การแพรระบาดของไขหวัดนกในชวงปท่ีผานมาทำใหอาเซียนตองเพ่ิมความสนใจในประเด็นความปลอดภัยของอาหารในภูมิภาค และเนื่องจากการเกิดโรคไขหวัดนกในคนมีความเชื่อมโยงกับ

การสัมผัสโดยตรงกับสัตวปกที่ตายแลว หรือเปนโรคในชวงที่ทำการฆาและการประกอบอาหาร อาเซียนจึงตองสงเสริมกิจกรรมตางๆ เชน การเสริมสรางศักยภาพ การรับรองความปลอดภัยของ อาหาร และการบริหารจัดการสัตวปกมีมาตรฐานเดียวกัน เปนตน โดยดำเนินการรวมมือกับ

ผูท่ีเก่ียวของ ประเทศผูบริจาค และองคกรระหวางประเทศ เชน ธนาคารเพ่ือการพัฒนาเอเชีย (ADB) องคกรอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) และองคกรโรคระบาดสัตวระหวางประเทศ (Office International des Epizooties: OIE) เปนตน

Page 40: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน40 ASEAN Economic Community

• กรอบแผนงานรายสาขาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (AFCC)

รายงานและการศึกษาจากหลายแหง ระบุวา เอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมิภาคท่ีมีความ

เสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุดของโลก เนื่องจากการมีแนวชายฝงทะเลยาว มีความหนาแนนของประชากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจบริเวณชายฝงทะเลสูง และมีการพึ่งพา การเกษตร ประมง ปาไม และทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนสูง

ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดข้ึนในทุกสาขา โดยเฉพาะสาขาเกษตรและปาไมซึ่งไดรับผลกระทบสูงมาก ดังนั้น ภัยคุกคามของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอ

สิ่งแวดลอมและการพัฒนาทางเศรษฐกิจจึงกลายเปนเรื่องที่อาเซียนใหความสำคัญเปนลำดับแรก อยางไรก็ตาม ยังมีความเปนไปไดในการใชมาตรการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบดังกลาว

เพื่อตอบสนองตอความทาทายนี้ และจากการที่อาเซียนตระหนักถึงศักยภาพในการ เสริมสรางความยืดหยุนของประชาชนและระบบนิเวศน รวมทั้งเพื่อบรรเทาผลกระทบจากการ

เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยอาศัยความรวมมือกัน อาเซียนจึงไดจัดทำกรอบแผนงานรายสาขาเกี ่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (ASEAN Multi-Sectoral Framework on Climate Change and Food Safety : AFCC)

แนวความคิดริเริ่มในการจัดทำกรอบแผนงาน AFCC

AFCC เกี ่ยวของกับองคประกอบของแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน รวมถึง แผนโครงการความคิดริเริ่มในการรวมกลุมอาเซียน (IAI)

รัฐมนตรีเกษตรและปาไมอาเซียนไดใหการรับรองกรอบแผนงาน AFCC เม่ือเดือนพฤศจิกายน 2552 ครอบคลุมสาขาเกษตร ประมง ปศุสัตว และปาไม รวมถึงสาขาอ่ืนท่ีเก่ียวของ เชน ส่ิงแวดลอม สุขภาพ และพลังงาน เปนตน ขอบเขตท่ีครอบคลุมกวางขวางของ AFCC แสดงใหเห็นวา การเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศเปนประเด็นที่เกี่ยวของระหวางสาขา (cross sectoral issue) ดังนั้น ความรวมมือระหวางสาขาตางๆ ในการดำเนินมาตรการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจึงเปนเร่ืองจำเปน

ดวยเปาหมายเพื่อใหเกิดความปลอดภัยของอาหารผานทางการใชที่ดิน ปาไม น้ำ และ

ทรัพยากรทางน้ำอยางยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ โดยการลดความเสี่ยงและผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใหมากที่สุด AFCC ไดกำหนดวัตถุประสงค ดังนี้

Page 41: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

41AEC FACT BOOK

¡ การประสานงานเพ่ือจัดทำยุทธศาสตรการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบ

¡ ความรวมมือในการดำเนินมาตรการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบ

ประเทศสมาชิกอาเซียนไดใหความรวมมือในการจัดการผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ทั้งนี้ ความรวมมือและความริเริ่มที่มีอยูซึ่งจะชวยเสริมสรางความแข็งแกรงของ AFCC มีดังนี้

¡ การบูรณาการยุทธศาสตรการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศมาไวในแผนนโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม

¡ ความรวมมือในการดำเนินมาตรการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศ

¡ การสงเสริมการแลกเปล่ียนองคความรูระดับประเทศและระดับภูมิภาค การติดตอส่ือสาร

และการสรางเครือขายดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความม่ันคงดานอาหาร

ความทาทายและแนวทางในอนาคต

เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเปนประเด็นท่ีเก่ียวของระหวางสาขา และตองการ การประสานงานกันภายในสาขาและระหวางสาขา ดังนั้น การเสริมสรางความรวมมือและการ

ประสานงานระหวางสาขาดานเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม การพัฒนา พลังงาน เกษตร ประมง ปศุสัตว และปาไม จึงเปนเรื่องจำเปน

นอกจากนี้ การเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรและการสรางความตระหนักรู ใหแก สาธารณะ ยังเปนเรื่องทาทายในการตอบสนองตอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดวยความริเริ่มดังกลาว จึงคาดวาจะมีการจัดทำยุทธศาสตระดับภูมิภาคในการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบซ่ึงจะสามารถนำมาใชในการคาดการณภัยคุกคามตอความม่ันคงดานอาหาร อันเน่ืองมาจาก

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

Page 42: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

1. ยุทธศาสตร : การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน42 ASEAN Economic Community

• การจัดการปาไมอยางย่ังยืน (SFM)

การจัดการปาไมอยางยั่งยืน (Sustainable Forest Management: SFM) เปนเรื่องที่ เกี่ยวของกับหลายมิติ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมายเพื่อใหมั่นใจวา สินคาและบริการที่มาจากปาไมสามารถตอบสนองตอความตองการในปจจุบัน ในขณะเดียวกันยัง สามารถรักษาพื้นที่ปาไวไดอยางตอเนื่องและสนับสนุนการพัฒนาในระยะยาว

ความริเริ่มเพื่อไปสูการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน

วัตถุประสงคเชิงยุทธศาสตรของการจัดการปาไมอยางยั่งยืน (SFM) คือ เพื่อสงเสริมการ จัดการทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนในอาเซียนและกำจัดพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสม เชน การตัดไมท่ีผิดกฎหมายและเกี่ยวของกับการคาโดยการเสริมสรางศักยภาพของบุคลากร การถายทอดเทคโนโลยี การสรางความตระหนักรูใหแกสาธารณชน และการเสริมสรางความเขมแข็งของการบังคับใชกฎหมาย

และหลักธรรมาภิบาล

เพื่อเปนแนวทางไปสูการบรรลุเปาหมายของการจัดการปาไมอยางยั่งยืน (SFM) รัฐมนตร ีเกษตรและปาไมอาเซียนไดใหการรับรองเกณฑและตัวชี้วัดของอาเซียน (ASEAN Criteria and Indicators: C&I) ในการจัดการปาไมเขตรอนอยางย่ังยืน รวมถึงรูปแบบในการติดตาม การประเมินผล และการรายงาน (Monitoring, Assessment and Reporting: MAR) ของ SFM โดย C&I ถูกจัด

ทำขึ้นเพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนใชเปนกรอบในการกำหนดนิยามการจัดการปาไมอยางยั่งยืน และการประเมินความคืบหนาในการดำเนินการไปสูเปาหมายของ SFM นอกจากน้ี ยังเปนเคร่ืองมือ

ที่ชวยใหทราบถึงแนวโนมในสาขาปาไมและผลกระทบจากการแทรกแซงการจัดการปาไม รวมทั้ง ชวยสนับสนุนการตัดสินใจดานนโยบายปาไมของประเทศ เปาหมายสูงสุดของเคร่ืองมือดังกลาว คือ เพ่ือสงเสริมพฤติกรรมการจัดการปาไมท่ีดี และสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรปาไมท่ีมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ อาเซียนยังไดจัดทำรูปแบบการติดตามประเมินผลและรายงาน (MAR) ทั้งแบบ online และ offline สำหรับ SFM เพื่อชวยใหประเทศสมาชิกอาเซียนติดตามความคืบหนาของ SFM ไดอยางมีประสิทธิภาพ

เพื่อใหบรรลุเปาหมายของการจัดการปาไมอยางยั่งยืน (SFM) การบังคับใชกฎหมายปาไม และหลักธรรมาภิบาล (Forest Law Enforcement and Governance: FLEG) เปนเงื่อนไขที่ จำเปนตองมีกอน และเปนมาตรการสำคัญประการหนึ่งในการไปสูการจัดการปาไมที่ดีขึ้น ดวย

ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกลาว อาเซียนจึงไดใหการรับรองแผนงานดาน FLEG (ป 2551-2558) เปาหมายโดยรวมของการดำเนินการ FLEG คือ มีการจัดการปาไมอยางย่ังยืนเพ่ือเสริมสราง

Page 43: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

43AEC FACT BOOK

อุปทานปาไมที่ถูกตองตามกฎหมายและยั่งยืน รวมทั้งสงเสริมการคาสินคาปาไมที่มีการแขงขันกัน

ในตลาด อันนำไปสูการลดความยากจนในภูมิภาค ทั้งนี้ วัตถุประสงคของแผนงาน FLEG คือ เพ่ือ

เสริมสรางความเขมแข็งในการบังคับใชกฎหมายและหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการคาภายใน

และภายนอกอาเซียน รวมถึงความสามารถในการแขงขันในระยะยาวของสินคาปาไมของอาเซียน ในการนี้ อาเซียนไดใหการรับรองแนวทางปฏิบัติของอาเซียนอยางเปนขั้นเปนตอนในการรับรอง

การปาไม (ASEAN Guidelines on Phased Approach to Forest Certification: PACt) รวมถึงเกณฑและตัวชี้วัดของอาเซียนสำหรับความถูกตองตามกฎหมายของไมท่ีตัดจากปา

เพื่อสนับสนุนความคิดริเริ่มในการบังคับใชกฎหมายปาไมและหลักธรรมาภิบาล (FLEG) อาเซียนไดยืนยันพันธกรณีในการตอตานการทำไมที่ผิดกฎหมายลที่เกี่ยวของกับการคาตามที่ระบ ุ

ไวในแถลงการณรัฐมนตรีวาดวยการเสริมสรางความเขมแข็งในการบังคับใชกฎหมายปาไมและหลักธรรมาภิบาลในอาเซียน

ความทาทายและแนวทางในอนาคต

การเสริมสรางศักยภาพของบุคลากร และการสรางความตระหนักรูใหแกสาธารณะ ยังคง เปนความทาทายในการบรรลุเปาหมายของการจัดการปาไมอยางย่ังยืน (SFM) ดวยเหตุน้ี อาเซียน

ไดรวมมือกับองคการอาหารระหวางประเทศ (FAO) ในการดำเนินโครงการ “การเสริมสรางความ

เขมแข็งในการติดตาม การประเมินผล และการรายงานความคืบหนาในการจัดการปาไมอยางย่ังยืนในเอเชีย” (“Strengthening Monitoring, Assessment and Reporting on Sustainable Forest Management in Asia”: MAR-FM)

ทั้งนี้ การดำเนินงานตามแผนงาน FLEG (ป 2551-2558) ตามกรอบเวลาที่กำหนดและ

การนำรูปแบบการติดตามประเมินผลและรายงาน (MAR) สำหรับการจัดการปาไมอยางย่ังยืนมาใชในระดับประเทศยังเปนเรื่องที่ตองหารือกันตอไป

Page 44: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง44 ASEAN Economic Community

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง

• นโยบายการแขงขันในอาเซียน

ตามแผนงานการจัดตั้งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 ประเทศสมาชิก

อาเซียนมีพันธะผูกพันท่ีจะตองสงเสริมนโยบายและกฎหมายการแขงขัน (Competition policy and law: CPL) ในประเทศใหทั่วถึงภายในป 2558 เพ่ือท่ีจะสรางวัฒนธรรมของการแขงขันทางธุรกิจท่ี

ยุติธรรมสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคในระยะยาว

ในปจจุบัน ประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีกฎหมายการแขงขันที่ครอบคลุมและหนวยงาน

กำกับดูแล ไดแก อินโดนีเซีย สิงคโปร และไทย ขณะท่ีมาเลเซียเพ่ิงจะผานกฎหมายการแขงขันโดยคาดวาจะมีผลบังคับใชในป 2555 ประเทศสมาชิกอาเซียนที่เหลือมีนโยบายและกฎระเบียบราย

สาขา ยังไมมีกฎหมายการแขงขันที่ครอบคลุมทั้งระบบเศรษฐกิจ

คณะผูเช่ียวชาญดานการแขงขันของอาเซียน (The ASEAN Experts Group on Competition : AEGC)

ในเดือนสิงหาคม 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนเห็นชอบการจัดต้ังคณะผูเช่ียวชาญดานการแขงขันของอาเซียน (The ASEAN Experts Group on Competition : AEGC) ใหเปนเวที

ระดับภูมิภาค เพื่อหารือและรวมมือดานนโยบายและกฎหมายการแขงขัน (CPL) คณะทำงานจัด

ประชุมครั้งแรกในป 2551 และมีมติวา ใน 3-5 ปขางหนา จะใหความสำคัญการสรางนโยบายที่ เกี่ยวของกับการแขงขันที่มีประสิทธิภาพ และการปฏิบัติในประเทศสมาชิก พัฒนาแนวทางนโยบายการแขงขันของภูมิภาคอาเซียน และจัดทำคูมือนโยบายและกฎหมายการแขงขันในอาเซียนสำหรับภาคธุรกิจ ท้ังน้ี ไดเร่ิมเปดใหสาธารณชนเขาไปใชขอมูลแนวทางและคูมือเม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2553 ในชวงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนครั้งที่ 42 ณ เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม โดยสามารถ ดาวนโหลดขอมูลไดที่ :

http://www.asean.org/publications/ASEANRegionalGuidelinesonCompetitionPolicy.pdfhttp://www.asean.org/publications/HandbookonCompetition.zip

Page 45: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

45AEC FACT BOOK

หลังจากการเปดใหสาธารณชนเขาไปใชขอมูลแนวทางและคูมือ จะมีการจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการสำหรับเจาหนาที่ภาครัฐและภาคเอกชนในอาเซียนเพื่อเผยแพรขอมูลและสรางความ

เขาใจอยางท่ัวถึง ขณะน้ีอาเซียนอยูระหวางการพัฒนาแผนปฏิบัติงานนโยบายการแขงขันของภูมิภาค สำหรับป 2553-2558 โดยในแผนการดำเนินงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะใหความสำคัญ

ตอแผนปฏิบัติงานดานการเสริมสรางขีดความสามารถและการแนะนำการปฏิบัติที่ดีสำหรับ CPL

ความทาทายและโอกาสในอนาคต

ในขณะท่ีมีความทาทาย ก็มีโอกาสท่ีดีสำหรับประเทศสมาชิกท่ีจะพัฒนาหรือเร่ิมจัดทำ CPL ที่ครอบคลุม ในการกาวเขาสูการเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว เพื่อที่จะสงเสริมพัฒนาการ

แขงขันทางธุรกิจที่ยุติธรรม และประกันบทบาทของอาเซียนในการผูเลนที่มีความสามารถในการ แขงขัน และสำคัญในหวงโซอุปทานของภูมิภาคและของโลก

• การคุมครองผูบริโภคของอาเซียน (ACCP)

การคุมครองผูบริโภค (Consumer Protection) ถือเปนเคร่ืองมือสำคัญในการเสริมสราง ชุมชนอาเซียนที่ใหความสำคัญตอบุคคล อาเซียนนั้นเปนที่สนใจมากขึ้นเมื่อผลประโยชนและ

สวัสดิการของผูบริโภคไดรับการพิจารณา โดยการบังคับใชมาตรการทุกอยาง เพ่ือนำไปสูการรวมตัว

ทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

กฎหมายคุมครองผูบริโภคทำใหมั่นใจถึงการแขงขันที่เปนธรรม และการคามีขอมูลที่ ถูกตองอยางเสรีในตลาด ในปจจุบัน มีเพียงประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนามท่ีมีพระราชบัญญัติวาดวยการคุมครองผูบริโภค นอกจากน้ี กฎหมายวาดวยการคุมครอง ผูบริโภคของ สปป.ลาวไดผานความเห็นชอบของรัฐสภาเม่ือเดือนมิถุนายน 2553 และประกาศใชในเดือนกันยายน 2553 ประเทศสมาชิกอาเซียนที่เหลือกำลังวางแผนหรืออยูระหวางกระบวนการ

การรางนโยบายและกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค ในระหวางน้ี ประเด็นการคุมครองผูบริโภค

ในประเทศดังกลาวจึงอยูภายใตบทบัญญัติของกฎหมายอ่ืน เพ่ือท่ีจะบรรลุเปาหมายในการคุมครองผูบริโภคของอาเซียน

Page 46: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง46 ASEAN Economic Community

คณะกรรมการวาดวยการคุมครองผูบริโภคของอาเซียน (ACCP)

การคุมครองผูบริโภคเปนความรวมมือสาขาใหมภายในอาเซียน ตามแผนงานภายใตพิมพ เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะกรรมการประสานงานดานการคุมครองผูบริโภค

ระหวางรัฐบาลซึ่งภายหลังไดเปลี่ยนชื่อ เปนคณะกรรมการวาดวยการคุมครองผูบริโภคของอาเซียน(ASEAN Coordinating Committee on Consumer Protection : ACCP) ไดถูกจัดต้ังข้ึนเม่ือ

เดือนสิงหาคม 2550 คณะทำงาน ACCP ทำหนาที่เปนศูนยประสานงานกลางเพื่อปฏิบัติและ

ตรวจสอบการเตรียมการและกลไกภายในภูมิภาค และเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกี่ยวกับการ

คุมครองผูบริโภคที่ยั่งยืน

การปฏิบัติตามพันธกรณีในพิมพเขียวการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะกรรมการ ACCP ไดใหการรับรองแนวทางยุทธศาสตรสำหรับการคุมครองผูบริโภคแลว ซึ่งประกอบไปดวย

มาตรการทางนโยบายและการดำเนินงานตามลำดับความสำคัญ โดยมีกำหนดระยะเวลาการปฏิบัติที่ชัดเจนรวมทั้งการพัฒนา (1) กลไกการแจงและการแลกเปลี่ยนขอมูลภายในป 2553 (2) กลไก

การปรับปรุงผูบริโภคขามแดนภายในป 2558 และ (3) แผนการยุทธศาสตรสำหรับการสรางเสริม

ศักยภาพภายในป 2553

ความทาทายและโอกาสในอนาคต

คณะกรรมการ ACCP เปนองคกรที่ถูกจัดตั้งขึ้นใหมและมีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับแผน

โครงการที่มีขอบเขตกวางขวางและซับซอน โดยเฉพาะอยางยิ่งความจำเปนหลักเกี่ยวกับการ

เสริมสรางศักยภาพในระดับภูมิภาคและระดับชาติจะตองถูกจัดลำดับสำคัญไวกอน ในสวนของ การพัฒนาและการสนับสนุนนโยบายระดับชาติ ดานกฎหมาย และการจัดการดานสถาบันการ

คุมครองผูบริโภค ยังตองการความชวยเหลือทางเทคนิคและทางการเงินอีกมาก

นอกเหนือจากความทาทายดังกลาวแลว การรวมตัวในระดับโลกและระดับภูมิภาคจะ

นำมาสูความซับซอนและความยากลำบากในจัดการการคุมครองผูบริโภคของประเทศสมาชิกตางๆมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อมีปริมาณและมูลคาของการคาภายในประเทศและการคาขามแดนที่เพิ่ม

สูงขึ้นไปพรอมกับกระบวนการผลิต และการสื่อสารเทคโนโลยีดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่เกิดขึ้น

ตลอดเวลาและรวดเร็ว

Page 47: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

47AEC FACT BOOK

• ความรวมมือดานสิทธิในทรัพยสินทางปญญาของอาเซียน (IPRs)

การสรางสรรค การทำธุรกิจ และการคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญา (IP) และสิทธิในทรัพยสินทางปญญา (IPRS) ถือเปนแหลงผลประโยชนอยางเปรียบเทียบของกิจการและเศรษฐกิจ

ที่สำคัญ และถือเปนตัวขับเคลื่อนหลักของแผนยุทธศาสตรการแขงขัน

ประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมมือกันเพ่ือ (1) บังคับใชแผนปฏิบัติการสิทธิในทรัพยสินทางปญญาของอาเซียน ป 2547-2553 และแผนงานสำหรับความรวมมือของอาเซียนทางดานลิขสิทธิ์ (2) จัดตั้งระบบการจัดเก็บเอกสารของอาเซียนสำหรับการออกแบบ เพ่ืออำนวยความสะดวกในการจัดเก็บเอกสารแกผูใช และเพ่ือสนับสนุนการประสานงานระหวางสำนักงานดานทรัพยสินทางปญญา

ของประเทศสมาชิกอาเซียน (3) เพ่ือลงนามในสนธิสัญญาระหวางประเทศรวมกัน รวมถึงพิธีสารเมดริด (4) เพื่อสนับสนุนใหมีการหารือและการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานผูดูแลระดับชาติ เกี่ยวกับการคุมครองทรัพยสินทางปญญา และ (5) เพื่อสนับสนุนความรวมมือในภูมิภาคเกี่ยวกับ

ทรัพยสินทางปญญาสาขาใหม เชน องคความรูของชุมชนทองถ่ิน (ทีเค) ทรัพยากรพันธุกรรม (จีอาร) และ กลุมการแสดงออกทางวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม (ซีทีอี) เปนตน กิจกรรมความรวมมือเหลานี ้ไดถูกระบุไวในพิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี)

คณะทำงานเกี่ยวกับความรวมมือสิทธิในทรัพยสินทางปญญา (AWGIPC)

คณะทำงาน AWGIPC มีหนาที่ในการใหคำแนะนำสำหรับความรวมมือของอาเซียนทาง ดานสิทธิในทรัพยสินทางปญญา ตั้งแตป 2539 ความรวมมือดังกลาวทำใหเกิดความชัดเจน

ในการประสาน การจดทะเบียน และการคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญาภายในอาเซียน

ในการบรรลุพันธกรณีตามที่กำหนดไวในพิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศสมาชิก ไดมีการศึกษาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศเก่ียวกับการใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมลิขสิทธิ์ ไดมีการจัดประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับการเขาเปนสมาชิกตอ

Page 48: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง48 ASEAN Economic Community

พิธีสารเมดริด และจัดต้ังโครงการนำรองเก่ียวกับความรวมมือในการตรวจสอบสิทธิบัตรของอาเซียน (ASPEC) และ “IP Direct” ของอาเซียน นอกจากน้ี คณะทำงาน AWGIPC ไดพยายามเผยแพร แลกเปลี่ยนประสบการณทางนโยบายและตรวจสอบความสอดคลองของกฎหมายและกฎเกณฑตอความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่เก่ียวกับการคาของประเทศสมาชิกอยางสม่ำเสมอ

ในการดำเนินงานของ AWGIPC ไดมีการรวมมือระหวางหุนสวนและองคการตางๆ รวมถึง สมาคมสิทธิในทรัพยสินทางปญญาของอาเซียน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และจีน (สำนักงานทรัพยสิน

ทางปญญาของรัฐ-SIPO) คณะกรรมาธิการยุโรป ญ่ีปุน (สำนักงานสิทธิบัตรของญ่ีปุน-JPO) สำนักงาน

สิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาของสหรัฐอเมริกา (USPTO) และกรมยุติธรรมของสหรัฐอเมริกา และองคการวาดวยทรัพยสินทางปญญาโลก (WIPO) โดยเฉพาะอยางย่ิง แผนงานความรวมมือระยะ

ยาวไดถูกพัฒนาระหวาง AWGIPC และ USPTO สำหรับป 2547-2553 โดยจะขยายแผนงานน้ีตอไป

อีก 5 ป ในระหวางนั้น โครงการใหญระยะ 4 ปของอาเซียนเก่ียวกับการคุมครองสิทธิทางทรัพยสินทางปญญา (ECAP III) ไดเริ่มดำเนินการเม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2553 ซ่ึงเปนโครงการตอจาก ECAP II AWGIPC และไดรวมมือกันในหลายๆ แผนงานซึ่งเก่ียวกับการขับเคล่ือนอุปสงคทาง IP

ในสวนที่เกี่ยวขอกับกิจกรรมภายในภูมิภาคสำหรับการบังคับใชในอนาคต AWGIPC ได ตัดสินใจรวบรวมและบังคับใชแผนยุทธศาสตร IPR ของอาเซียน ป 2554-2558 ตอเนื่องจากแผน

ปฏิบัติการป 2547-2553 โดยมีฟลิปปนสเปนประเทศหลัก ประเด็นเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา และสิทธิทางทรัพยสินทางปญญามีความซับซอนทางเทคนิคมากขึ้น (เชน การคุมครองสิทธิบัตร

และลิขสิทธิ์ที่มีขอบเขตกวางขึ้นและลึกมากขึ้น เพ่ือใหทันตอความกาวหนาของเทคโนโลยีทางดาน

เทคโนโลยีชีวภาพและการสื่อสาร เปนตน) นอกจากน้ี ยังครอบคลุมถึงสาขาที่กวางมากข้ึนในดาน

ภูมิปญญาทองถิ่น (Traditional Knowledge : TK) ทรัพยากรชีวภาพ (Generic Resourees : GR) และการแสดงออกซ่ึงวัฒนธรรมด้ังเดิม (Cultural Traditional Expressions : CTE) โครงสรางพ้ืนฐาน

ทางทรัพยสินทางปญญาและความเชี่ยวชาญมีความแตกตางอยางมากภายในอาเซียน โดยมีชองวาง

Page 49: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

49AEC FACT BOOK

ความแตกตางระหวางอาเซียน-6 และอาเซียน-4 ความแตกตางดังกลาวมีนัยสำคัญเก่ียวกับธรรมชาติ

และความเอาจริงเอาจังทางดานความรวมมือในภูมิภาค และความตองการความชวยเหลือทาง เทคนิคภายในอาเซียนและระหวางกลุมยอยของประเทศสมาชิก นอกจากนี้ ทรัพยากรมนุษยที่ม ี

ประสบการณและมีความสามารถทางดานทรัพยสินทางปญญาและศักยภาพทางสถาบันในอาเซียน ยังคงมีจำกัด ในระหวางนี้ไดมีความพยายามที่จะบังคับใชแนวทาง “อาเซียน-ชวย-อาเซียน” เมื่อสามารถทำได รวมถึงการแลกเปลี่ยนบทเรียนและการพิจารณาอยางลึกซ้ึงเก่ียวกับนโยบายของประเทศสมาชิก ในการเขาเปนสมาชิกของสนธิสัญญาระหวางประเทศและการปฏิบัติตามกิจกรรม

หรือแผนงานที่เกี่ยวของกับทรัพยสินทางปญญา

• ความรวมมือดานการขนสงของอาเซียน

ความรวมมือดานการขนสงของอาเซียน มีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางระบบการขนสงใหมี การรวมตัวกันในภูมิภาคอาเซียนและทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะชวยสนับสนุนใหอาเซียน

บรรลุเปาหมายเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) และบูรณาการเขากับ

เศรษฐกิจโลกภายใตแผนปฏิบัติการดานการขนสง (ASEAN Transport Action Plan (ATAP) 2005-2010) ความรวมมือดานการขนสงของอาเซียนไดมุงเนนเรื่องการเสริมสรางความเชื่อมโยงในการ ขนสงหลายรูปแบบ การสงเสริมการเคล่ือนยายคนและสินคาแบบไรพรมแดน และการสงเสริมการ เปดเสรีบริการดานขนสงทางน้ำและทางอากาศใหดียิ่งข้ึน

เพื่ออำนวยความสะดวกดานการเคลื่อนยายสินคาในภูมิภาคอาเซียน อาเซียนไดจัดทำ กรอบความตกลงดานการอำนวยความสะดวกดานการขนสงท่ีสำคัญ 3 ฉบับ ดังนี้

(1) กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอำนวยความสะดวกในการขนสงสินคาผานแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit: AFAFGIT)

(2) กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการขนสงหลายรูปแบบ (ASEAN Framework Agreement on Multimodal Transport: AFAMT)

(3) กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอำนวยความสะดวกในการขนสงขามแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Inter-State Transport: AFAFIST)

Page 50: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง50 ASEAN Economic Community

ทั้งนี้ กรอบความตกลงทั้ง 3 ฉบับ มีวัตถุประสงคเพื่อลดขั้นตอนในกระบวนการดาน

การคา/การขนสงในอาเซียนใหงายขึ้น มีการปรับประสานกัน จัดทำแนวทางและขอกำหนดรวมกันในการจดทะเบียนผูประกอบการขนสงผานแดนและขนสงหลายรูปแบบ รวมทั้งสงเสริมการใช เทคโนโลยีสารสนเทศในการขนสงสินคาแบบไรพรมแดน

ความรวมมือดานการขนสงทางอากาศในดานการขนสงผูโดยสารทางอากาศ ไดมีการให สิทธิรับขนสงการจราจรเสรีภาพที่ 3, 4, และ 5 อยางไมจำกัดระหวางเมืองใดๆ ในอาเซียน ซึ่งสายการบินสามารถทำการบินไปยังเมืองที่มีทาอากาศยานระหวางประเทศ และสามารถใชสิทธิ รับขนสงการจราจรระหวางเมืองตางๆ ของอาเซียน และระหวางเมืองหลวงของประเทศสมาชิก

อาเซียน โดยสิทธิเสรีภาพคลายคลึงกันนี ้จะขยายรวมไปถึงการใหบริการระหวางเมืองอื ่นๆ ของอาเซียน ภายใตความตกลงพหุภาคีอาเซียนวาดวยการเปดเสรีอยางเต็มท่ีของบริการขนสงผูโดยสารทางอากาศ (ASEAN Multilateral Agreement on the Full Liberalisation of Passenger Air Services: MAFLPAS) สำหรับการเปดนานฟาเสรี (Open Skies) อยางเต็มรูปแบบในสวนของ เที่ยวบินขนสงเฉพาะสินคา ประเทศสมาชิกอาเซียนไดมุงมั่นที่จะเปดเสรีอยางเต็มที่เที่ยวบินขนสง สินคาทางอากาศ และใหสิทธิรับขนสงการจราจรเสรีภาพท่ี 3, 4, และ 5 อยางไมจำกัดในการบริการ ขนสงสินคาระหวางประเทศ ณ เมืองใดๆ ที่มีทาอากาศยานระหวางประเทศภายในอาเซียน ขณะนี้อาเซียนอยูระหวางการพัฒนา การบังคับใชกฎหมาย เพื่อบรรลุการเปนตลาดการบินรวมอาเซียน

ภายในป 2015 สำหรับการเชื่อมโยงดานการขนสงทางอากาศกับประเทศคูเจรจา อาเซียนและจีน

ใกลบรรลุผลการเจรจาจัดทำความตกลงวาดวยการขนสงทางอากาศกับจีน และอาเซียนมีกำหนด

จะเจรจากับอินเดียและสาธารณรัฐเกาหลีตอไป

Page 51: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

51AEC FACT BOOK

ความรวมมือดานการขนสงทางน้ำ อาเซียนไดจัดทำแผนปฏิบัติการวาดวยการขนสงทาง ทะเล ที่มีการรวมตัวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถแขงขันในภูมิภาคอาเซียน เปนการเสริมสรางความ

เขมแข็งดานการบริการและการตลาดขนสงสินคาทางเรือภายในอาเซียน ซึ่งมุงเนนการพัฒนา โครงสรางสาธารณูปโภค และการเช่ือมโยงทางการตลาด โดยจัดทำยุทธศาสตรการพัฒนาการรวม

กลุมสาขาการขนสงทางทะเลของอาเซียนเปนตลาดเดียว (ASEAN Single Shipping Market) และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยขณะนี้อาเซียนอยูระหวางการจัดทำกรอบยุทธศาสตรดังกลาว

ความรวมมือดานการขนสงทางบก อาเซียนไดใหความสำคัญตอการดำเนินโครงการ เช่ือมโยงเสนทางรถไฟสายสิงคโปร- คุนหมิง (the Singapore-Kunming Rail Link: SKRL) และ

การพัฒนาโครงการโครงขายทางหลวงอาเซียน (AHN) โดยเสนทางผานสิงคโปร-มาเลเซีย-ไทย-กัมพูชา เวียดนาม-จีน (คุนหมิง) เปนเสนทางหลักของ SKRL และมีเสนทางเชื่อม (spur lines) จาก สปป.ลาวไปยังเสนทางหลักในเวียดนาม จากเสนทางกรุงยางกุง-กรุงเทพฯ และเสนทางเช่ือมไทย-พมา และไทย-สปป.ลาว

จากขอมูลของหนวยงานที่เกี ่ยวของกับโครงการโครงขายทางหลวงอาเซียน (AHN) ไดรายงานวา โครงขายเสนทางหลวงอาเซียนท้ังหมด มีระยะทาง 26,207.8 กิโลเมตร โดยมีสัดสวนโครงขายเสนทางที่มีมาตรฐานขั้นที่ 3 (ถนนลาดยาง 2 ชองจราจร ผิวทางกวาง 6 เมตร) หรือสูงกวา เปนระยะทางเกือบ 24,000 กิโลเมตร ทั้งนี้ ยังไดใหความสำคัญตอการปรับปรุงถนนต่ำกวาข้ันท่ี 3 สำหรับเสนทางการขนสงผานแดน (Transit Transport Routes: TTR) เปนระยะทาง 1,858 กิโลเมตร ในประเทศสปป.ลาว พมา และฟลิปปนส ภายในป 2015 นอกจากน้ี การสนับสนุนดานเงินลงทุน

ยังเปนสิ่งจำเปนในการปรับปรุงโครงขาย และเสนทางหลวงใหมีมาตรฐานอยางนอยขั้นที่ 1 และ

การบำรุงรักษาถนนเสนทางหลวงอาเซียนท่ีมีอยูเดิม

ขณะน้ีอาเซียนอยูระหวางการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตรดานการขนสงอาเซียน (ASEAN Strategic Transport Plan) ป 2554-2558 ซ่ึงไดรับการรับรองแลวเม่ือเดือนพฤศจิกายน 2553

Page 52: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง52 ASEAN Economic Community

• เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

อาเซียนลงนามกรอบความตกลง e-ASEAN ในป 2543 ซ่ึงกำหนดวัตถุประสงคของความ

รวมมืออาเซียนในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ดังน้ี 1) พัฒนา เสริมสรางความแข็งแกรง และ

สงเสริมความสามารถในการแขงขันในสาขา ICT ของอาเซียน 2) ลดความแตกตางทางดิจิตอลใน

ประเทศสมาชิกอาเซียนและระหวางประเทศสมาชิก 3) สงเสริมความรวมมือระหวางภาครัฐและ

เอกชนในดานการรับรู เรื ่อง e-ASEAN และ 4) สงเสริมการเปดเสรีการคาผลิตภัณฑ ICT การบริการเกี่ยวกับ ICT และการลงทุนเพื่อการสนับสนุน e-ASEAN

หลักการ

กรอบความตกลง e-ASEAN กำหนดมาตรการเพ่ืออำนวยความสะดวกหรือสงเสริม 1) การจัดตั้งโครงสรางพื้นฐานสำหรับขอมูลของอาเซียน 2) การเติบโตของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-commerce) ในอาเซียน 3) การเปดเสรีการคาผลิตภัณฑ ICT การบริการเก่ียวกับ ICT และการลงทุนเพ่ือการสนับสนุน e-ASEAN 4) การลงทุนในการผลิตของผลิตภัณฑ ICT และการใหบริการ ICT 5) สังคมอิเล็กทรอนิกส (e-Society) และการเสริมสรางความสามารถเพื่อที่จะลดความแตกตาง ดานดิจิตอลภายในและระหวางประเทศสมาชิก และ 6) การใชเทคโนโลยี ICT ในการใหบริการของรัฐบาล (e-Government)

แผนแมบท ICT ของอาเซียน (2554-2558)

อาเซียนไดจัดทำแผนแมบท ICT ของอาเซียนสำหรับป 2554-2558 เพ่ือรองรับการพัฒนาของอาเซียน แผนแมบทดังกลาวมีเปาหมายที่จะเปนยุทธศาสตรเสริมสรางความแข็งแกรงบทบาท

ของสาขา ICT ในการดำเนินการตามแผนงานประชาคมอาเซียน (2552-2558) (Roadmap for an ASEAN Community) แผนแมบทจะกำหนดผลลัพธที่จะยกระดับสาขา ICT ของอาเซียน รวมถึงความคิดริเริ่ม ASEAN Broadband Corridor ใบรับรองทักษะทาง ICT การปรับประสาน

กฎระเบียบดาน ICT คาบริการ international roaming และความปลอดภัยใน cyber (cyber security) เปนตน ในการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ คร้ังท่ี 8 เมื่อเดือนสิงหาคม 2551 ไดใหความเห็นชอบการดำเนินโครงการเพื่อจัดทำแผนแมบทดังกลาว และเห็นชอบใหมีการจัดต้ังคณะกรรมการเฉพาะกิจอาเซียนเพ่ือรวมประชุมและหารือในการทำแผนแมบท ICT อาเซียน

Page 53: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

53AEC FACT BOOK

สถานะความคืบหนา

ที ่ผานมา อาเซียนไดหารือเกี ่ยวกับโครงสรางพื ้นฐานขอมูลของอาเซียน (ASEAN Information Infrastructure: AII) อยางสม่ำเสมอ และไดดำเนินการตางๆ เพ่ือท่ีจะสงเสริมดาน

โครงสรางพื้นฐานฯ กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับโครงสรางพื้นฐานฯ มีการพัฒนาไปมาก โดยเฉพาะ

การจัดทำ Guidelines for the Next Generations Network (NGN) Migration ที่จัดทำโดย ASEAN Telecommunication Regulators’ Council (ATRC) สำหรับการดำเนินการอ่ืนๆ ท่ีสำคัญ

รวมถึงความปลอดภัยในขอมูลและเครือขาย และการส่ือสารในชนบท อยางไรก็ตาม ความรวมมือ

ในภูมิภาคอาเซียนในดาน AII จะเนนการเสริมสรางความสามารถ การศึกษา การวิจัย ไมไดมุงเนน

การกอสราง

สำหรับการเช่ือมโยงทางกายภาพ ตั้งแตป 2549 เครือขายของคณะ ASEAN Computer Emergency Response ไดดำเนินงานอยางตอเน่ืองท้ังภายในภูมิภาคอาเซียน และระหวางอาเซียน

กับคูเจรจา ขณะนี้อาเซียนกำลังดำเนินการจัดตั้งเครือขายการแลกเปลี่ยนทางอินเตอรเน็ตใน

ภูมิภาค (ASEAN Internet Exchange Network)

นโยบายและโครงการการเชื่อมโยง ICT อื่นๆ

อาเซียนยังดำเนินการสงเสริมการพัฒนาแรงงานดาน ICT ความสามารถในการแขงขันใน

ตลาด ICT และการดำเนินธุรกิจ และสังคมดวยส่ือ online เพ่ือท่ีจะสงเสริมบทบาทของอาเซียนในสาขา ICT ในภูมิภาค อาเซียนดำเนินการความรวมมือกับคูเจรจาไดแก จีน ญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลี สหภาพยุโรป อินเดีย และสหภาพการสื่อสารโทรคมนาคมระหวางประเทศ รวมถึงการหารือและ

การพัฒนาโครงการซูเปอรไฮเวยขอมูลอาเซียน-จีน และเครือขายขอมูล Trans-Eurasia ที่กำลังดำเนินการอยู ขณะที่ภาคเอกชนก็มีบทบาทเก่ียวกับสาขา ICT ในระดับตางๆ ต้ังแตโครงการ ถึงนโยบาย และการปรึกษาดานกฎระเบียบ

Page 54: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

2. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง54 ASEAN Economic Community

• ความม่ันคงดานพลังงานในอาเซียน

วัตถุประสงคและยุทธศาสตรโดยรวม

วัตถุประสงคโดยรวมของความรวมมือดานพลังงานในอาเซียน เพ่ือสงเสริมความม่ันคงและความยั่งยืนดานพลังงานในภูมิภาคอาเซียน โดยคำนึงถึงประเด็นดานสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม ความรวมมือดานพลังงานของอาเซียนในปจจุบันดำเนินการภายใตแผนปฏิบัติการอาเซียนวาดวยความรวมมือดานพลังงาน ป 2553-2558 (ASEAN Plan of Action on Energy Cooperation: APAEC) ใหความสำคัญในโครงการหลัก 7 สาขา ไดแก 1) การเช่ือมโยงระบบสาย

สงไฟฟาของอาเซียน (ASEAN Power Grid: APG) 2) การเช่ือมโยงทอสงกาซธรรมชาติของอาเซียน(Trans-ASEAN Gas Pipeline: TAGP) 3) เทคโนโลยีถานหินและถานหินสะอาด 4) พลังงาน

ที่นำมาใชใหมได (Renewable Energy: RE) 5) การสงวนรักษาและประสิทธิภาพของพลังงาน (Energy Efficiency and Conservation: EE&C) 6) นโยบายและการวางแผนพลังงานภูมิภาค และ 7) พลังงานนิวเคลียร

โครงการสำคัญและความคืบหนา

การเช่ือมโยงทอสงกาซธรรมชาติของอาเซียน (TAGP) เปนการกอสรางทอสงกาซความยาว4,500 กิโลเมตร ซึ่งสวนใหญอยูใตทะเลมีมูลคาประมาณ 7 พันลานเหรียญสหรัฐ ณ ปจจุบัน อยูระหวางดำเนินโครงการเช่ือมโยงทอสงกาซแบบทวิภาคี จำนวน 8 โครงการ มีความยาวรวมท้ังส้ิน

ประมาณ 2,300 กิโลเมตร ทั้งนี้ เพื่อใหบรรลุเปาหมายของการเชื่อมโยงระหวางกันของ TAGP อาเซียนจำเปนตองไดรับการสนับสนุนเงินทุนลวงหนา รวมทั้งกำหนดกลไกและรูปแบบการ สนับสนุนทางการเงินเพื่อดำเนินงานตามความตกลงท่ีมีอยู

ขณะเดียวกันการพัฒนาโครงการเชื ่อมโยงระบบสายสงไฟฟาของอาเซียน (APG) ซึ่งมีมูลคาประมาณ 5.9 พันลานเหรียญสหรัฐ ในปจจุบันมีความกาวหนาโดยอยูระหวางดำเนิน

โครงการเชื่อมโยงระบบสายสงไฟฟา 4 โครงการ และอยูระหวางการวางแผนโครงการเพิ่มเติมอีก 11 โครงการ เพื่อใหมีการเชื ่อมโยงระหวางกันภายในป 2558 ทั้งนี ้ เพื ่อใหโครงการ APG มีความคืบหนา อาเซียนจำเปนตอง 1) เรงรัดการพัฒนาโครงการเช่ือมโยง APG 15 โครงการ รวมถึง การกำหนดรูปแบบและกลไกการสนับสนุนเงินทุน 2) พัฒนาพลังงานจากแหลงตางๆ อยางเหมาะสม ระหวางสาขาผลิตพลังงานกับแหลงพลังงานในทองถิ่น 3) สนับสนุนการใชทรัพยากรในอาเซียน

อยางเหมาะสม เชน เงินทุน ผูเชี่ยวชาญ และสินคาที่นำมาใชในสาขาการผลิต การสง และการ กระจายพลังงาน เปนตน

Page 55: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

55AEC FACT BOOK

ความรวมมือดานพลังงานในอาเซียนยังคำนึงถึงการสงเสริมการแขงขันดานการตลาด

พลังงานที่มีประสิทธิภาพ การมีอุปทานดานพลังงานที่เชื่อถือไดและมั่นคง และการพัฒนาสาขา พลังงานที่มีพลวัตรในภูมิภาค

นอกจากน้ี อาเซียนยังมีกิจกรรมเพ่ิมข้ึนอยางมากในสาขาความรวมมือดานการสงวนรักษาและประสิทธิภาพพลังงาน (EE&C) และการนำพลังงานมาใชใหมได (RE) โดยครอบคลุมโครงการ

เสริมสรางศักยภาพขององคกร เพิ่มการมีสวนรวมของภาคเอกชนในโครงการ EE&C และ RE และ

การขยายตลาดสำหรับสินคา EE และ RE ทั้งนี้ แผนปฏิบัติการอาเซียนวาดวยความรวมมือดาน

พลังงาน ป 2553-2558 (APAEC 2010-2015) ไดกำหนดเปาหมายในการลดอัตราสวนของปริมาณการใชพลังงานตอผลิตภัณฑมวลรวม (energy intensity) ของอาเซียนลงอยางนอยรอยละ 8 ภายในป 2558 โดยใชฐานป 2548 และการบรรลุเปาหมายการมีพลังงานที่นำมาใชใหมรอยละ 15 ของ ศักยภาพการเก็บพลังงานรวมในภูมิภาค

ในสาขาถานหิน อาเซียนไดดำเนินกิจกรรมเพื่อสงเสริมการพัฒนาและการใชเทคโนโลยี ถานหินและถานหินสะอาดอยางยั่งยืน ทั้งนี้ แผนงานดานพลังงานของประเทศสมาชิกอาเซียนได ช้ีใหเห็นถึงการขยายตัวอยางรวดเร็วของการใชถานหินในการผลิตพลังงาน ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงโอกาสในการสงเสริมและการเพิ่มขึ้นของการใชและการคาถานหินที่สะอาดขึ้น ทำใหประเทศสมาชิก

อาเซียนไดรับประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกัน อันจะนำไปสูการรวมกลุมสาขาพลังงานในภูมิภาค

เพื่อสนับสนุนบทบาทของอาเซียนดานพลังงานในภูมิภาค ความรวมมือดานพลังงานของ อาเซียนกับประเทศคูเจรจาจึงครอบคลุมกิจกรรม แผนงานและโครงการท่ีหลากหลาย รวมถึงโครงการ และแผนงานกิจกรรมตางๆ ภายใตกรอบอาเซียน+3 และอาเซียน+6 กิจกรรมสำคัญที่อยูระหวาง ดำเนินการ ไดแก การดำเนินงานตามแผนงานความรวมมือดานพลังงานระหวางอาเซียน-สหภาพยุโรป ป 2553 การพัฒนาแผนงานการเก็บสำรองน้ำมันสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน+3 การดำเนิน

โครงการกลไกการพัฒนาพลังงานสะอาด (Clean Development Mechanism) และโครงการ

เสริมสรางศักยภาพดานพลังงานนิวเคลียร

Page 56: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

3. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเทาเทียมกัน56 ASEAN Economic Community

3. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเทาเทียมกัน

• วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของอาเซียน (SMEs)

ความเปนมา

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือ Small and Medium Enterprises (SMEs) ถือวาเปนภาคสวนที่มีความสำคัญตอเศรษฐกิจของอาเซียน ซ่ึงการพัฒนาดาน SMEs มีสวนในการ สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน จากการประเมินของสำนักงานเลขาธิการอาเซียน พบวา SMEs ในอาเซียน มีสัดสวนสูงถึงกวารอยละ 96 ของธุรกิจท้ังหมด และมีสัดสวนการจางงานรอยละ50-85 ของการจางงานรวมในประเทศสมาชิกอาเซียน ยิ่งไปกวานั้นรายไดที่เกิดจากธุรกิจ SMEs ยังมีสัดสวนถึงรอยละ 30-53 ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) และมีสัดสวนรอยละ 9-31 ของการสงออกรวม

ในการสงเสริมความรวมมือดาน SMEs ของอาเซียน รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEM) ไดใหการรับรองแผนปฏิบัติการดานการพัฒนา SMEs ของอาเซียน (ASEAN Strategic Action Plan for SME Development) ป 2553-2558 เม่ือเดือนสิงหาคม 2553 โดยแผนงานดังกลาวครอบคลุม

การดำเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาธุรกิจ SMEs เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการ แขงขัน และเพิ่มความสามารถในการปรับตัวของ SMEs ในการมุงสูการเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวในอาเซียน

ที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 42 เมื่อเดือนสิงหาคม 2553 ไดเห็นชอบใหม ี

การจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา SME ของอาเซียน (ASEAN SME Advisory Board) เพื่อเปน

เวทีในการสรางเครือขายระหวางหัวหนาหนวยงาน SMEs และผูแทนจากภาคเอกชนในอาเซียน รวมถึงใหขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะดานนโยบายท่ีเก่ียวกับการพัฒนาธุรกิจ SMEs ตอรัฐมนตรีเศรษฐกิจ

อาเซียน

Page 57: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

57AEC FACT BOOK

ประเด็นที่นาสนใจ

แผนปฏิบัติการดานการพัฒนา SMEs ของอาเซียน ป 2553-2558 ครอบคลุมแผนยุทธศาสตร ดำเนินมาตรการดานนโยบายตางๆ และผลลัพท ซึ่งจัดทำโดยคณะทำงานดาน SME ของอาเซียน (ASEAN SME Working Group) ประกอบดวยหนวยงาน SMEs ของประเทศสมาชิกอาเซียน รวมกับหนวยงาน SMEs ตางๆ และภาคเอกชน

ทั้งนี้ การพัฒนาดาน SMEs ภายใตแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) มีเปาหมายสำคัญ ดังนี้ (1) การจัดทำหลักสูตรรวมกันสำหรับผูประกอบการในอาเซียนภายในป 2551-2552 (อินโดนีเซียและสิงคโปร เปนประเทศนำ) (2) การจัดตั้งศูนยบริการ SME (SME service centre) เพื่อเชื่อมโยงระหวางภูมิภาคและอนุภูมิภาคของประเทศสมาชิกอาเซียน

ภายในป 2553-2554 (ไทยและเวียดนาม เปนประเทศนำ) (3) การใหบริการทางการเงินสำหรับ

ธุรกิจ SMEs ในแตละประเทศสมาชิกภายในป 2553-2554 (มาเลเซียและบรูไน เปนประเทศนำ) (4) การจัดทำโครงการสงเสริมการฝกปฏิบัติงานสำหรับเจาหนาที่ในระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาความ

เช่ียวชาญของเจาหนาท่ีภายในป 2555-2556 (พมาและฟลิปปนส เปนประเทศนำ) และ (5) การจัดต้ัง กองทุนเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมในระดับภูมิภาค (SME development fund) ภายในป 2557-2558 เพื่อเปนแหลงเงินทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมที่ ประกอบธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน (สปป.ลาวและไทย เปนประเทศนำ)

นอกจากน้ี ยังไดหารือรวมกับหนวยงานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของอาเซียน+3

(ประเทศอาเซียน จีน ญี่ปุน และสาธารณรัฐเกาหลี) เพื่อแลกเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติที่ดีและ

ความรวมมือดาน SMEs ในโครงการตางๆ

ความทาทายในการดำเนินการ

การใหการสนับสนุนดานการเงินแกโครงการ/กิจกรรมตางๆ ของ SMEs ยังคงเปนความทาทาย โดยปจจุบันโครงการริเริ่มของ SMEs ไดดำเนินการในลักษณะการพึ่งพาตนเอง หรือ การพึ่งพา ระหวางอาเซียนดวยกันเอง ในขณะเดียวกันประเทศสมาชิกอาเซียนแตละประเทศยังตองระดมทุน

ดวยตนเองในการดำเนินการโครงการพัฒนา SMEs หรือใหความชวยเหลือแกประเทศสมาชิกอ่ืนๆ ในการเขารวมโครงการ

Page 58: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

3. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเทาเทียมกัน58 ASEAN Economic Community

• ความคิดริเริ่มในการรวมกลุมอาเซียน (IAI) และการลดชองวางการพัฒนา

วัตถุประสงคหลักประการหนึ่งของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน คือ การจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 และการบรรลุเปาหมาย AEC ซ่ึงจำเปนตองพิจารณา โดยเปนความทาทายสำคัญประการหนึ่ง คือ การหาความสมดุลในแงความสอดคลองกันและ

การสนับสนุนระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนเพ่ือไปสูการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน

ผูนำอาเซียนไดเปดตัวความคิดริเริ ่มในการรวมกลุมอาเซียน (Initiative for ASEAN Intergration : IAI) ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน เม่ือป 2543 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือลดชองวางการพัฒนาและเสริมสรางความสามารถในการแขงขันของอาเซียน

ความคิดริเร่ิม IAI ในระยะแรกเร่ิมมุงไปสูการพัฒนาประเทศสมาชิกใหมอาเซียน ไดแก กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม นอกจากนี้ IAI ยังครอบคลุมงานในกลุมอนุภูมิภาค เชน ลุมแมน้ำโขง เขตเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกบรูไนฯ-อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ฟลิปปนส (BIMP-EAGA) และสามเหล่ียม

เศรษฐกิจอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ความคิดริเริ่มดังกลาวจะเปนตัวกระตุนใหประเทศ

ที่เกี่ยวของปฏิบัติตามพันธกรณีและเปาหมายของอาเซียนโดยรวม

แผนงาน IAI

การดำเนินตามแผนงาน IAI จะเปนตัวขับเคล่ือนการลดชองวางการพัฒนาของอาเซียน

¡ แผนงาน IAI ระยะแรก (ป 2545-2551) ซึ่งไดรับการรับรองจากผูนำอาเซียนในที ่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 ป 2545 ไดกำหนดเร่ืองสำคัญลำดับแรกในการดำเนินการ ไดแก 1) โครงสรางพื้นฐานดานขนสงและพลังงาน 2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย (ไดแก การเสริมสราง ศักยภาพของภาครัฐ แรงงานและการจางงาน และการศึกษาระดับสูงข้ึน) 3) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และ 4) การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาค (ไดแก การคาสินคาและบริการ ศุลกากร มาตรฐาน และการลงทุน) 5) การทองเท่ียว และ 6) การลดความยากจน

Page 59: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

59AEC FACT BOOK

¡ แผนงาน IAI ระยะที่สอง (ป 2552-2558) ซึ่งไดรับการรับรองในที่ประชุมสุดยอด

อาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อป 2552 ประกอบดวย โครงการสำคัญในสาขาตางๆ ตามแผนงานการจัดต้ังประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และ

แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

แผนงาน IAI ทั้งสองฉบับใหความสำคัญกับการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานในดานกฎระเบียบ อยางไรก็ตามอาเซียนยังใหความสำคัญตอการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานดานการขนสงและการติดตอสื่อสารทางกายภาพ รวมทั้งการสรางโครงขายเชื่อมโยงทางถนน รถไฟ ทางอากาศ และทางทะเล

ภายในอาเซียน

คณะทำงาน IAI

ตามกฎบัตรอาเซียนไดกำหนดใหคณะทำงาน IAI ประกอบดวย ผูแทนถาวรประจำอาเซียน ณ กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซียรับผิดชอบการบริหารจัดการแผนงาน IAI

เวทีความรวมมือเพ่ือการพัฒนา IAI

อาเซียนไดจัดจ้ังเวทีความรวมมือเพ่ือการพัฒนา (IAI Development Cooperation Forum : IDCF) ขึ้น เพื่อเปนเวทีที่เปดโอกาสใหประเทศคูเจรจาของอาเซียนและประเทศผูบริจาคอ่ืนเขามามีสวนรวมในการประชุมหารือการดำเนินงานตามแผนงาน IAI จนถึงปจจุบัน ไดมีการจัดเวทีความ

รวมมือเพื่อการพัฒนา IAI ไปแลว 2 ครั้ง ในป 2545 และ 2550 ตามลำดับ และมีแผนที่จะจัด

อีกครั้งในป 2553

Page 60: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

3. ยุทธศาสตร : การเปนภูมิภาคท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเทาเทียมกัน60 ASEAN Economic Community

• การมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนในอาเซียน (PPE)

เหตุผลความจำเปน

อาเซียนสนับสนุนการมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชน (Public-Private Sector Engagement) เพื่อปรับปรุงความสอดคลองกัน ความโปรงใส และการเสริมสรางแรงผลักดันของ นโยบายรัฐบาลและกิจกรรมทางธุรกิจระหวางอุตสาหกรรมสาขาตางๆ ในอาเซียนและในประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน ขอมูลของภาคเอกชนเปนสิ่งจำเปนและเปนประโยชนตอการกำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร และความคิดริเริ่มในภูมิภาคแลว จึงทำใหทราบปญหาการจัดตั้งประชาคมอาเซียน การดำเนินงาน และการรวมกลุมในภูมิภาคภาคเอกชน ในฐานะผูมีสวนไดสวนเสียหลักในหวงโซ อุปทานของภูมิภาคและโลก จึงเปนแกนหลักสำคัญในสถาปตยกรรมใหมของการพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน

ระหวางประเทศในเอเชียตะวันออก รวมทั้งระหวางเอเชียตะวันออกและเศรษฐกิจโลกโดยรวม

พัฒนาการความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน

การมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนเกิดขึ้นในหลายระดับ หลายแนวทาง และตาม

ความถี่ที่แตกตางกันในอาเซียน อาเซียนไดตั้งคณะทำงานรายสาขาเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน

ตามยุทธศาสตรและโครงการการพัฒนาการรวมกลุมของอาเซียน ในปจจุบัน มีคณะทำงานรายสาขา ท่ีเก่ียวของกับ AEC ประมาณ 100 คณะ อยางไรก็ตาม ดวยขอจำกัดดานทรัพยากร วาระการประชุม

ที่ครอบคลุมกวางขวาง และการประชุมของคณะทำงานรายสาขาที่มีจำนวนมาก ปจจุบันผูแทน

ภาคเอกชน/สมาคมฯ ไดเขามามีสวนรวมประมาณรอยละ 35 ของคณะทำงานรายสาขาที่ เกี่ยวของกับ AEC ซึ่งไดรวมงานทั้งแบบประจำ หรือ เฉพาะกิจ โดยเฉพาะในการหารือเพื่อ

จัดทำขอตกลงการยอมรับรวม และการประชุมสภาหนวยงานกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม

อาเซียน (ASEAN Telecommunication Regulators Council) ซ่ึงภาคเอกชนไดมีสวนรวมเปน

อยางมาก นอกจากนี้ องคกรภาคเอกชนยังไดใหความชวยเหลือการทำงานของคณะทำงานความ

รวมมือดานทรัพยสินทางปญญาของอาเซียน

ในระดับภูมิภาค กลไกหลักสำหรับ PPE ไดแก การประชุมหารือในสาขาเรงรัดการรวมกลุมเศรษฐกิจ (Consultative Meeting on Priority Sectors: COPS) การประชุมประสานงาน AEC (Coordinating Conference on AEC: ECOM) และการหารือของสภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน (ASEAN Business Advisory Council: ABAC) ทั้งนี้ ASEAN BAC มีบทบาทสำคัญในการจัดเวที

ระดับผูนำภาคเอกชนดานธุรกิจและการลงทุน (ASEAN Business and Investment Summit :

Page 61: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

61AEC FACT BOOK

ABIS) และในการจัดทำขอเสนอแนะตอผูนำและรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน องคกรเอกชนท่ีมีบทบาท

สำคัญใน PPE คือ สภาหอการคาและอุตสาหกรรมอาเซียน (ASEAN Chamber of Commerce and Industry: ASEAN CCI) ทั้งนี้ สมาชิกสวนใหญของ ASEAN CCI เปนสมาชิกของ ASEAN BAC ดวยเชนกัน

ในชวงปท่ีผานมา อาเซียนไดยกระดับ PPE ใหสูงข้ึนในรูปแบบการจัดประชุมหารือ (ประจำป) ระหวางรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนกับ ASEAN BAC และผูแทนจากสมาคมอุตสาหกรรมที่สำคัญ ไดแก สมาพันธอุตสาหกรรมสิ่งทออาเซียน (ASEAN Federation of Textile Industries) และ

สมาพันธยานยนตอาเซียน (ASEAN Automotive Federation) ขอเสนอแนะสำคัญหลายประการเกิดขึ้นจากการประชุมหารือในเวทีดังกลาว และบทบาทคณะทำงานรายสาขาของอาเซียนที่ เกี่ยวของอยูระหวางพิจารณาขอเสนอแนะจากภาคเอกชน นอกจากน้ี PPE ยังมีบทบาทในรูปแบบของการรวมจัดงานนิทรรศการและงานแสดงสินคาประจำป เชน ASEAN-China Expo (CAEXPO) ณ เมืองหนานหนิง ประเทศจีน ซึ่งจะชวยเปดโอกาสใหผูประกอบธุรกิจของอาเซียน รวมถึงวิสาหกิจ

ขนาดกลางและขนาดยอมไดแสดงสินคาของตน และสามารถเขาถึงตลาดอาเซียน-จีนท่ีมีขนาดใหญ และมีศักยภาพ ทั้งนี้ CAEXPO คร้ังท่ี 7 ไดจัดข้ึนระหวางวันท่ี 20-24 ตุลาคม 2553 ภายใต theme “CAFTA as a New Opportunity” สะทอนใหเห็นถึงโอกาสทางการคาและการลงทุนใหมภายใตความตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน-จีนที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553

การกาวไปขางหนา

จะเห็นไดอยางชัดเจนวา ศักยภาพของการมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนในอาเซียนยังมีโอกาสขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก ดวยเหตุนี้เมื่อเดือนสิงหาคม 2553 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได เนนย้ำความสำคัญของการมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนซึ่งจะเปนเวทีสำคัญในการผนึก

กำลังรวมกันดำเนินมาตรการในการรวมกลุมและการพัฒนาในภูมิภาค ในการน้ี รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดเห็นชอบใหจัดประชุมหารือกับสมาคมอุตสาหกรรม รวมถึงผูแทนจากประเทศอาเซียน

และคูเจรจาตางๆ เปนประจำอยางตอเน่ือง ขณะน้ี อาเซียนอยูระหวางการพิจารณาจัดทำแผนงาน

เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชนระหวางคณะทำงานของอาเซียนกับองคกรภาคเอกชน

และกลุมธุรกิจในภูมิภาคและระหวางประเทศ โดยเฉพาะกลุมที่มีกิจกรรมการคาและการลงทุนใน

อาเซียน

Page 62: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

4. ยุทธศาสตร : การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

62 ASEAN Economic Community

4. ยุทธศาสตร : การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

• เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน (ACFTA)

อาเซียนและจีนไดลงนามกรอบความตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจอาเซียน-จีน (Framework Agreement on Comprehensive Economic Cooperation) เมื ่อวันที ่ 4 พฤศจิกายน 2545 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชาโดยกรอบความตกลงฉบับนี้ไดกำหนด

แนวทางใหแกอาเซียนและจีนในการเจรจาความตกลงตางๆ อันนำไปสู การจัดตั้งเขตการคาเสรี อาเซียน-จีน (ASEAN China Free Trade Area : ACFTA) ในปจจุบัน จีนเปนประเทศคูคารายใหญ ที่สุดของอาเซียน โดยมีมูลคาการคาในป 2553 คิดเปน 292.5 พันลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งเปนเปน

สัดสวนรอยละ 11.6 ของการคารวมอาเซียน สำหรับอาเซียนจัดเปนประเทศคูคาอันดับ 1 ของจีน โดยมีสัดสวนการคาเทากับรอยละ 9.98 ของการคารวมของจีน นอกจากน้ี เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน เปนตลาดท่ีมีผูบริโภคจำนวน 1.92 พันลานคน ซ่ึงมีผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) คิดเปน

มูลคา 10.09 ลานลานเหรียญสหรัฐ (2553) สงผลใหกลายเปนเขตการคาเสรีท่ีใหญท่ีสุดในโลก

การคาสินคา

ความตกลงดานการคาสินคาเปนความตกลงหนึ่งภายใตกรอบความตกลงความรวมมือทาง เศรษฐกิจอาเซียน-จีน ซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที ่ 29 พฤศจิกายน 2547 เพ่ือกำหนดรูปแบบการลด

และยกเลิกภาษีสำหรับรายการสินคาที่ตองเสียภาษี ซึ่งแบงไดเปนรายการสินคาปกติและรายการ

สินคาออนไหว

Page 63: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

63AEC FACT BOOK

รายการสินคาปกต ิ - อาเซียนเดิม 6 ประเทศ (บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย) และจีน ไดยกเลิกภาษีสำหรับรายการสินคาที่ตองเสียภาษีเกือบ

ทั้งหมดสำหรับสินคาปกต ิเมื่อวันที ่1 มกราคม 2553 โดยสินคาสวนท่ีเหลือจะถูกลดภาษีลงภายในวันที่ 1 มกราคม 2555 ยืดหยุนไมเกิน 150 รายการ สำหรับกัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม จะตองยกเลิกภาษีสินคาภายใน 1 มกราคม 2558 แตไดรับการยืดหยุนใหยกเลิกภาษีสินคา ไดจำนวนไมเกิน 250 รายการ ภายในวันท่ี 1 มกราคม 2561

รายการสินคาออนไหว – สินคารายการน้ีแบง เปนสินคาออนไหว (Sensitive List : SL) และสินคาออนไหวสูง (Highly Sensitive Lists – HSL) ซ่ึงมีการลดภาษีภายในกรอบเวลาตามท่ี

กำหนดไวในขอตกลง สำหรับภาษีสินคาออนไหวจะลดลงเหลือไมเกินรอยละ 20 ในป 2555 และลดลงเหลือรอยละ 0-5 ในป 2561 สำหรับสินคาออนไหวสูง อัตราภาษีจะลดลงเหลือไมเกิน

รอยละ 50 ภายในป 2558 ทั้งนี้ เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน จะไมมีการตัดรายการสินคาออกและ

มีขอกำหนดในเรื่องกฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคา ใหใชกฎทั่วไปวาดวยสัดสวนมูลคาเพิ่มในการผลิต

ภายในภูมิภาค (Regional Value Content) ไมต่ำกวารอยละ 40

การคาบริการ

ความตกลงดานการคาบริการระหวางอาเซียนและจีน ซึ่งไดลงนามเมื่อวันที ่ 14 มกราคม 2550 เปนความตกลงที่สองภายใตกรอบความตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจอาเซียน-จีน วัตถุประสงคหลักของความตกลงดานการคาบริการ คือ การเปดเสรีและยกเลิกมาตรการกีดกัน

สำหรับการคาบริการระหวางประเทศสมาชิกในการคาบริการสาขาตางๆ สำหรับการปฏิบัติตาม

หลักการ GATS Plus ความตกลงดานการคาบริการระหวางอาเซียน-จีน มีการระบุขอผูกพันในการเปดเสรีในระดับที่สูงกวาขอผูกพันที่ประเทศสมาชิกความตกลง GATS ของ WTO ตองปฏิบัติตาม ทั้งนี้ อาเซียนและจีน ไดลงนามขอผูกพันการเปดตลาดชุดท่ี 1 แลวเม่ือวันท่ี 14 มกราคม 2550 และ

Page 64: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

4. ยุทธศาสตร : การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

64 ASEAN Economic Community

อยูระหวางการรอลงนามพิธีสารอนุมัติขอผูกพันชุดที่ 2 ในชวงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ

อาเซียน-จีน ครั้งที่ 10 ในเดือนสิงหาคม 2554 ณ อินโดนีเซีย โดยมีเปาหมายท่ีจะมีผลบังคับใชใน

วันที่ 1 มกราคม 2555

การลงทุน

อาเซียนและจีนไดลงนามความตกลงดานการลงทุน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2551 ณ จังหวัดกรุงเทพฯ ประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคที่จะสงเสริมและกระตุนใหเกิดกระแสการลงทุน

เพิ่มขึ้น ความตกลงซึ่งมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 มุงที่จะสรางบรรยากาศสงเสริมการลงทุนใหแกนักลงทุนท้ังจากอาเซียนและจีน ซ่ึงประกอบดวย การคุมครองการปฏิบัติท่ีเสมอภาคและ

เทาเทียมกันแกนักลงทุน การปฏิบัติท่ีไมกีดกันทางเช้ือชาติ การแสวงหาผลประโยชน และการชดเชย

ตอการสูญเสียตางๆ นอกจากนี้ ความตกลงนี้มีบทบัญญัติที่อนุญาตใหโอนและคืนกำไรในสกุลเงิน

ที่ใชไดอยางอิสระ รวมทั้งบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดต้ังกลไกระงับขอพิพาทระหวางนักลงทุนและรัฐ ซึ่งจะเปนแหลงชวยเหลือในการไกลเกลี่ยใหแกบรรดานักลงทุน

กลไกระงับขอพิพาท

อาเซียนและจีนไดจัดทำความตกลงวาดวยกลไกระงับขอพิพาทระหวางอาเซียนและจีน โดยความตกลงฯ มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. 2548 ถาหากคูพิพาทไมสามารถตกลงกันได จะมีการแตงตั้งคณะอนุญาโตตุลาการ เพื่อดำเนินการตัดสินโดยคำตัดสินของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) ถือเปนสิ้นสุดและมีผลผูกพันคูพิพาท แตถาหากประเทศผูถูกฟองไมสามารถปฏิบัติ ตามขอเสนอแนะและคำชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการได อาจมีการชดเชยคาเสียหายและหาก

ไมสามารถตกลงชดเชยคาเสียหายได คณะอนุญาโตตุลาการเดิมอาจกำหนดระดับของการระงับ

สิทธิประโยชน หรือประโยชนอื่นๆ ที่เหมาะสม

Page 65: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

65AEC FACT BOOK

ประโยชนที่ไดรับ

นับต้ังแตความตกลงฯ มีผลบังคับใชตั้งแตป 2548 เปนตนมา มูลคาการคาระหวางอาเซียนกับจีนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง การคาและการลงทุนระหวางจีนกับอาเซียนขยายตัวอยางรวดเร็ว และจีนกลายเปนตลาดสงออกและนำเขาที่สำคัญของประเทศสมาชิกอาเซียนสวนใหญ ทั้งนี้ สินคา ที่ไทยไดประโยชน ไดแก ผลิตภัณฑมันสำปะหลัง เคมีภัณฑอินทรีย สารแอลบูมินอยด พลาสติกและ

ของที่ทำดวยพลาสติก ผลิตภัณฑยาบางชนิด หนังฟอก เครื่องจักรบางชนิด และอุปกรณเครื่องใช ทางการแพทย สินคาสงออกที่เพิ่มมากขึ้น ไดแก กรดเทเรฟทาลิก น้ำยางธรรมชาติ วงจรรวม ยางแผนรมควัน ยางแทง มันสำปะหลัง น้ำมันปโตรเลียมดิบ และโพลิคารบอเนต

การขยายตัวทางการคา/การลงทุนระหวางอาเซียน-จีน จะชวยเสริมสรางความแข็งแกรง ตอความรวมมือภายใตกรอบ FTA ระหวางกันไดมากข้ึน และชวยใหเกิดการพ่ึงพากันทางดานการ คา/การลงทุนภายในกลุมสมาชิก FTA มากขึ้น จนสามารถลดการพึ่งพาการคาและการลงทุนจาก

ประเทศพัฒนาแลวเหมือนในอดีตและจะชวยเพิ่มอำนาจตอรองใหกับประเทศภาคี ในการเจรจา การคากับประเทศพัฒนาแลวดวยเชนกัน

• ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุน (AJCEP)

ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญ่ีปุน ซ่ึงมีการลงนามเม่ือเดือนเมษายน 2551 และ

มีผลใชบังคับในเดือนธันวาคมของปเดียวกัน มีสาระครอบคลุมในประเด็นตางๆ เชน การคาสินคา การคาบริการ การลงทุน และความรวมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะกอใหเกิดความสมดุลทางการคา และการลงทุนที่มีเสถียรภาพในภูมิภาคตอไป

อาเซียนและญ่ีปุนมีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศคิดเปน 6.4 ลานลานเหรียญสหรัฐ สำหรับป 2553 การคาระหวางอาเซียนและญ่ีปุนมีมูลคา 213.9 พันลานเหรียญสหรัฐ

การจัดทำความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุน จะสงผลใหผูบริโภคในอาเซียนและ

ญี่ปุนมีโอกาสบริโภคสินคาและบริการในราคาที่ต่ำลงอันเปนผลจากการลดและยกเลิกภาษ ี ซึ่งจะ

สงผลใหคุณภาพชีวิตของประชากรทั้งสองกลุมดียิ่งข้ึน

Page 66: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

4. ยุทธศาสตร : การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

66 ASEAN Economic Community

การคาสินคา

การลดและยกเลิกภาษี ญี่ปุนจะตองลดอัตราภาษีสำหรับรายการสินคารอยละ 92 ของ จำนวนรายการสินคาทั้งหมด และลดภาษีตามมูลคาของการคาสินคาลดภาษีปกติ (Normal Track) โดยลดลงเหลือ 0 ภายใน 10 ป หลังจากความตกลงมีผลใชบังคับ สำหรับสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย) และเวียดนาม

จะตองลดอัตราภาษีสำหรับสินคาลดภาษีปกติ (Normal Track) ลงเหลือ 0 ภายในเวลา 10 ป หลังความตกลงมีผลใชบังคับ โดยมีรายการสินคาประมาณรอยละ 90 ของจำนวนรายการสินคาท้ังหมด สวนเวียดนามจะตองลดอัตราภาษีสำหรับรายการสินคารอยละ 90 ของจำนวนรายการสินคา ทั้งหมดและลดภาษีตามสัดสวนมูลคาการคาสำหรับสินคาลดภาษีปกต ิ (Normal Track) ภายใน 10 ป หลังจากความตกลงมีผลใชบังคับ สำหรับประเทศกัมพูชา สปป.ลาว และพมา จะลดอัตราภาษีลง เหลือ 0 ภายในเวลา 13 ป โดยมีรายการสินคารอยละ 90 ของจำนวนรายการสินคาท้ังหมด

สำหรับการลดและยกเลิกภาษีสำหรับสินคาออนไหวสูง สินคาออนไหว และสินคายกเวน จะมีรูปแบบที่แตกตางกันไป นอกจากนี้สมาชิกอาเซียนและญี่ปุนจะมีการหารือทวิภาคีในเรื่อง tariff cut โดยคำนึงถึงความออนไหวของทั้งสองฝาย

กฏวาดวยถิ่นกำเนิดสินคา กฏวาดวยถิ่นกำเนิดสินคาที่กำหนดขึ้นภายใตความตกลง หุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุน จะชวยสนับสนุนการสะสมมูลคาวัตถุดิบภายในภูมิภาคซึ่งจะเปน

ประโยชนแกอุตสาหกรรมอาเซียนและบริษัทตางๆ ของญี่ปุนที่ประกอบการในอาเซียน เชน มิตซูบิชิ โตโยตา เปนตน รวมทั้งบริษัทอิเล็กทรอนิคสที่ประกอบการและมีการลงทุนจำนวนมหาศาลใน

อาเซียน สำหรับกฏวาดวยถิ่นกำเนิดสินคาภายใตความตกลงฯ มีกฎทั่วไป (General Rule) วาดวยสัดสวนมูลคาเพิ่มในการผลิตภายในภูมิภาค (Regional Value Content) ไมต่ำกวารอยละ 40 หรือการเปลี่ยนแปลงพิกัดอัตราศุลกากรในระดับ 4 หลัก (CTH - Change in Tariff Heading) ซึ่งเปนการยืดหยุนใหแกผูสงออกและผูผลิตในการเลือกกฎเกณฑที่จะนำไปใชและขยายโอกาส

ในการทำตามกฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคาเพื่อใชประโยชนจากการใหสิทธิพิเศษทางศุลกากร

การบริการและการลงทุน

การเจรจาดานการบริการและการลงทุนเร่ิมตนการเจรจาอยางเปนทางการในเดือนมีนาคม 2554 และมีเปาหมายจะสรุปการเจรจาภายในป 2555

Page 67: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

67AEC FACT BOOK

กลไกระงับขอพิพาท

ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญ่ีปุน ไดบรรจุบทบัญญัติเก่ียวกับการระงับขอพิพาท เพ่ือแกปญหาในกรณีเกิดขอพิพาทเก่ียวกับการตีความขอตกลงการคาสินคา (TIG)

ประโยชนที่ไดรับ

ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ น จะทำใหนักลงทุนจำนวนมากหลั่งไหลสู อาเซียน ซึ่งคาดการณวาจะชวยลดความแตกตางทางเศรษฐกิจระหวางประชากรในอาเซียนและ

ญี่ปุนซึ่งมีจำนวนรวมกวา 711 ลานคน ทั้งนี้ มูลคา FDI จากญ่ีปุนในอาเซียนต้ังแตป 2545-2551 คิดเปนมูลคา 45 พันลานเหรียญสหรัฐ และคาดวาจะมีมูลคาสูงขึ้นอยางตอเนื่องพรอมไปกับการ ดำเนินการตางๆ ตามความตกลงฯ

• เขตการคาเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (AKFTA)

สาธารณรัฐเกาหลี เปนประเทศท่ีสองท่ีเปนคูเจรจาเขตการคาเสรีกับอาเซียน โดยในป 2548 อาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีไดลงนามกรอบความตกลงวาดวยความรวมมือทางเศรษฐกิจอยาง ครอบคลุมระหวางอาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลี (Framework Agreement on Comprehensive Economic Cooperation: FA) รวมท้ังความตกลงอีก 4 ฉบับเพ่ือจัดต้ังเขตการคาเสรี โดยในป 2552 สาธารณรัฐเกาหลีเปนประเทศคูคาที่สำคัญอันดับที่ 5 ของอาเซียนโดยมีมูลคาการคาระหวางกัน

เทากับ 74,700 ลานเหรียญสหรัฐ และมูลคาการลงทุนทางตรงจากสาธารณรัฐเกาหลีมายังอาเซียนเทากับ 1,400 ลานเหรียญสหรัฐ ในป 2553 อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี มูลคาการคาระหวางกัน

เทากับ 97,294.22 ลานเหรียญสหรัฐ

Page 68: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

4. ยุทธศาสตร : การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

68 ASEAN Economic Community

การคาสินคา

ความตกลงวาดวยการคาสินคาอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (AK-TIG) มีการลงนามเม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2549 โดยใหสิทธิพิเศษทางดานการคาสินคาระหวางประเทศภาคีอาเซียน 10 ประเทศและสาธารณรัฐเกาหลี ไดแก การลดและยกเลิกภาษีระหวางกัน โดยในวันที่ 1 มกราคม 2553 อาเซียน 5 ประเทศ (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส และสิงคโปร) และสาธารณรัฐ

เกาหลีไดมีการยกเลิกภาษีสินคาในกลุม Normal Track ลงเกือบรอยละ 90

สำหรับประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน ไดแก เวียดนาม กัมพูชา สปป.ลาว และพมา จะมีระยะเวลา การปรับตัวนานกวา เน่ืองจากมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจไมเทากับอาเซียนอ่ืน สำหรับเวียดนาม สินคา Normal Track อยางนอยรอยละ 50 จะลดภาษีลงเหลือรอยละ 0-5 ภายใน 1 มกราคม 2556 และเพิ่มเปนรอยละ 90 ภายใน 1 มกราคม 2559 สำหรับกัมพูชา สปป.ลาว และพมา (CLM) สินคา Normal Track อยางนอยรอยละ 50 จะลดภาษีลงเหลือรอยละ 0-5 ภายใน 1 มกราคม 2558 และเพิ่มเปนรอยละ 90 ภายใน 1 มกราคม 2561 ซึ่งภายในป 2560 และ 2563 สินคาในกลุม Normal Track ของเวียดนาม กัมพูชา สปป.ลาว และพมาจะมีการเปดตลาดอยางสมบูรณโดยมีอัตราภาษีรอยละ 0 ในสวนของประเทศไทยที่มีการลงนามในความตกลงฯ เมื่อป 2550 นั้น อัตรา ภาษีสำหรับสินคาใน Normal Track จะคอยๆ ลดลงจนกระท่ังยกเลิกภายในป 2559 และ 2560

การคาบริการ

ความตกลงวาดวยการคาบริการอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (AK-TIS) มีการลงนามเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 เพื่อสงเสริมการเปดตลาดและเพิ่มความสามารถในการเขาตลาดของผูให บริการอาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีซึ่งความตกลงฯ จะผูกพันการเปดตลาดในระดับที่สูงกวา ความตกลงดานการคาบริการ (GATS) ภายใตกรอบขององคการการคาโลก (WTO) โดยจะครอบคลุม

ถึงสาขาตางๆ ท่ีอยูในภาคบริการมากข้ึน รวมท้ังมีการผอนคลายกฎระเบียบในการเขาตลาดและวิธีปฏิบัติ เชน ภาคธุรกิจ การกอสราง การศึกษา การส่ือสาร ส่ิงแวดลอม การทองเท่ียวและการคมนาคม เปนตน

Page 69: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

69AEC FACT BOOK

การลงทุน

ความตกลงวาดวยการลงทุน (AK-AI) มีการลงนามเม่ือวันท่ี 2 มิถุนายน 2552 โดยมีเปาหมาย

เพื่อเปดเสรีดานการลงทุน อำนวยความสะดวก สรางความโปรงใสและบรรยากาศในการลงทุนที่ม ี

ความปลอดภัย สาระสำคัญของความตกลงฯ คือ การคุมครองการลงทุนระหวางอาเซียนและ

สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งรวมถึงการปฎิบัติที่เปนธรรม การเคลื่อนยายเงินทุนที่ไดรับการคุมครอง ตลอดจนการชดเชยในกรณีท่ีมีเหตุการณไมสงบหรือมีการเวนคืนของรัฐ ความตกลงวาดวยการลงทุน (AK-AI) นี้มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2552 อยางไรก็ตามการเจรจาจะยังคงดำเนินตอไป

เน่ืองจากอาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีตองการบรรลุวาระสืบเน่ือง (built-in agenda items) ในเร่ือง การพัฒนาขอผูกพันในการเขาสูตลาด (the development of market access commitments) หรือ ตาราง ขอสงวน (schedules of reservations) โดยจะมีการสรุปการหารือในเร่ืองดังกลาว

ภายใน 5 ปนับจากวันที่ความตกลงมีผลใชบังคับ

กลไกการระงับขอพิพาท

ความตกลงวาดวยกลไกการระงับขอพิพาท (Agreement on Dispute Settlement Mechanism: DSM) มีการลงนามเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2548 เพ่ือเปนกลไกสำหรับระงับขอพิพาทตางๆ ของประเทศภาคีที่อาจเกิดจากการตีความและการใชบังคับความตกลงตางๆ ภายใตความ

ตกลงการคาเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี

ประโยชนที่จะไดรับ

ความตกลงอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี จะเปนประโยชนในดานรักษาศักยภาพในการ

สงออกของอาเซียนในตลาดเกาหลี โดยเฉพาะการแขงขันกับอาเซียนอื่นและประเทศที่สามที่ได จัดทำ FTA กับสาธารณรัฐเกาหลีแลว

การดึงดูดนักลงทุนเกาหลีใหยายฐานการผลิตและการลงทุนมาอาเซียนมากขึ้นและเพิ่ม

โอกาสในการเจรจาลดอุปสรรคมาตรการท่ีมิใชภาษี เชน มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) และอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา (TBT) เปนตน

นอกจากนี้ ความตกลงยังมีความรวมมือทางเศรษฐกิจในดานตางๆ เชน SPS, TBT, เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) การทองเที่ยว การลงทุนและอื่นๆ ซึ่งจะชวยอำนวย

ความสะดวกทางการคาและการลงทุน สงเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

ระหวางภูมิภาคใหมีความแข็งแกรงเพ่ิมมากย่ิงข้ึน

Page 70: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

4. ยุทธศาสตร : การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

70 ASEAN Economic Community

• เขตการคาเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด (AANZFTA)

ไดมีการลงนามความตกลงเพื่อจัดตั ้งเขตการคาเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด

(AANZFTA) มีขึ้นเมื่อวันที ่27 กุมภาพันธ 2552 ณ ประเทศไทย โดยวัตถุประสงคท่ีจะบูรณาการ ตลาดของทั้งสิบสองประเทศใหเปนตลาดเดียวกัน ซึ่งมีประชากรรวมจำนวน 616 ลานคน และ

ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติมูลคา 2.61 ลานลานเหรียญสหรัฐ (ป 2009) ความตกลงฉบับนี้ม ี

ผลใชบังคับเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 โดยในป 2553 การคาระหวางสองฝายมีมูลคารวม 57.5 พันลานเหรียญสหรัฐ และแมวาจะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกและการหลั่งไหลของการลงทุนจาก

ตางประเทศลดต่ำลง ตัวเลขการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI) ซ่ึงมาจากนักลงทุนออสเตรเลีย

และนิวซีแลนดในอาเซียนกลับเพิ่มขึ้นจาก 10,000 ลานเหรียญสหรัฐ ในป 2008 เปน 14.9 พันลานเหรียญสหรัฐ

ความตกลงเพื่อจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด เปนความตกลง “ฉบับแรก” ของอาเซียนที่เปน

(1) ความตกลง Comprehensive single undertaking ที่ลงนามโดยอาเซียนและ

ประเทศคูเจรจา ซึ่งครอบคลุมการคาสินคาและบริการ การคาดานอิเล็กทรอนิคส การเคลื่อนยาย

บุคลากร การลงทุน ความรวมมือทางเศรษฐกิจ กลไกลระงับขอพิพาท และขอกำหนดเฉพาะ

เกี่ยวกับกระบวนการทางศุลกากร มาตรการดานสุขภาพและอนามัย กฎเกณฑดานมาตรฐานและ

เทคนิค ทรัพยสินทางปญญาและการแขงขัน

(2) การมีสวนรวมกันระหวางภูมิภาคและภูมิภาคสำหรับอาเซียน และ

(3) ความตกลงซ่ึงออสเตรเลียและนิวซีแลนดไดมีการเจรจารวมกัน

Page 71: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

71AEC FACT BOOK

การคาสินคา

การลดภาษีสินคา นอกจากความตกลงฯ จะครอบคลุมเร่ืองการลด และ/หรือ การยกเลิก

ภาษีศุลกากรแลว ยังครอบคลุมเรื่องการยกเลิกการอุดหนุนสงออกสินคาเกษตร การประติบัติเย่ียง คนชาติในการเก็บภาษีอากรและระเบียบขอบังคับภายใน คาธรรมเนียมและคาภาระท่ีเก่ียวของกับการนำเขาและการสงออก การเผยแพรและบริหารจัดการระเบียบขอบังคับทางการคา มาตรการ จำกัดปริมาณและมาตรการที่ไมใชภาษีศุลกากร และการอนุญาตการนำเขา

สำหรับการลด และ/หรือ การยกเลิกภาษีศุลกากรภายใตความตกลง AANZFTA ประเทศ

ภาคีแตละประเทศจะตองลด และ/หรือ ยกเลิกภาษีศุลกากรตามตารางขอผูกพันภาษีศุลกากร

ของตนที่ปรากฎอยูในภาคผนวกของความตกลงฯ โดยใหแกประเทศอ่ืนท้ัง 11 ประเทศ

กฎถิ่นกำเนิดสินคา สินคาที่ไดถิ่นกำเนิดภายใตความตกลง AANZFTA ไดแก (1) สินคา ที่ผลิตทั้งหมด (Wholly Produced) หรือไดมาทั้งหมด (Wholly Obtained) ในประเทศภาคี (2) สินคาที่มีสัดสวนมูลคาตนทุนการผลิตในภูมิภาคไมต่ำกวารอยละ 40 ของราคา FOB และมีการผลิตขั้นสุดทายในประเทศภาคีนั้นๆ (3) สินคาที่วัตถุดิบที่ไมไดถิ่นกำเนิดทั้งหมดที่ใชในการผลิต ผานการเปลี่ยนพิกัดศุลกากรในระดับ 4 หลัก (CTH) (4) สินคาที่ผานตามกฎเฉพาะรายสินคา (PSR) หรือ (5) สินคาที่ผลิตในประเทศภาคีนั้น จากวัตถุดิบที่ไดถิ่นกำเนิดของหนึ่งหรือมากกวาหนึ่ง ประเทศภาคีเทานั้น

การคาบริการ

ขอบทการคาบริการของความตกลง AANZFTA มีพื้นฐานมาจากความตกลงการคาบริการขององคการคาโลก (GATS) โดยหลายๆ ขอบท เชน การประติบัติเย่ียงคนชาติ การเขาสูตลาด และ

การแกไขตารางขอผูกพัน มีสาระสำคัญรวมถึงแนวทางการผูกพันเหมือน GATS กลาวคือ ประเทศ

ภาคีแตละประเทศสามารถเลือกกิจกรรมการคาบริการที่ตองการจะผูกพันไดตามความพรอมของ ตน โดยจัดทำเปนตารางขอผูกพันเฉพาะซึ่งระบุเงื่อนไขที่เปนขอจำกัดในการเขาสูตลาด (Positive List APProach) เชน การจำกัดจำนวนผูใหบริการ การจำกัดจำนวนบุคคลธรรมดาที่อาจจางได และการจำกัดการมีสวนรวมของทุนตางชาติ ตลอดจนขอจำกัดในการใหการประติบัติเยี่ยงคนชาติ เปนตน

ขอผูกพันดานการคาบริการจะมีการเปดเสรีเปนแบบกาวหนาตามลำดับ โดยเจรจาเปน

รอบๆ ไป และใหมีการเจรจาครั้งแรกไมชากวา 3 ป นับจากความตกลงมีผลบังคับใช นอกจากน้ัน ขอบทการคาบริการของความตกลงประกอบดวยภาคผนวกสองเร่ืองสำคัญ ไดแก

Page 72: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

4. ยุทธศาสตร : การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

72 ASEAN Economic Community

• ภาคผนวกวาดวยบริการการเงิน มีสาระสำคัญ คือ ประเทศภาคีมีสิทธิและพันธกรณีใน

เร่ืองตางๆ เชน สิทธิในการใชมาตรการดานการกำกับควบคุมเพ่ือความม่ันคง เพ่ือคุมครองผูลงทุน ผูฝากเงิน หรือผูถือกรมธรรม เพื่อประกันความมั่นคงและเสถียรภาพของระบบเงิน หรือเพ่ือประกันความมีเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน เปนตน

• ภาคผนวกวาดวยการโทรคมนาคม มีสาระสำคัญคือ ประเทศภาคีมีสิทธิและพันธกรณ ี

ดานการกำกับดูแลบริการโทรคมนาคม บริการเชาใชสถานที่เพื่อติดตั้งอุปกรณ บริการวงจรเชา การระงับขอพิพาท การจัดสรรและการใชทรัพยากรท่ีมีจำกัด เปนตน

การลงทุน

การลงทุนประกอบดวย 2 สวนหลัก ไดแก 1) การเปดเสรีการลงทุน 2) การสงเสริมและ

คุมครองการลงทุน

¡ การเปดเสรีการลงทุนความตกลง AANZFTA ใชแนวทางการเปดเสรีท่ีระบุเฉพาะสาขา และมาตรการที่ไมเปดเสรี (Negative List Approach) โดยแตละประเทศจะมีตารางขอสงวนหน่ึงตารางที่ระบุสาขาและมาตรการที่จะสงวนสิทธิ์ในการที่จะใหการปฏิบัติที่ดีกวาตอนักลงทุนของ ประเทศตน ทั้งนี้ ทุกประเทศจะตองจัดทำตารางขอสงวนใหแลวเสร็จภายใน 5 ป นับจากวันที่ความ

ตกลงมีผลบังคับใช

¡ การสงเสริมและคุมครองการลงทุน มีพันธกรณีคลายคลึงกับพันธกรณีอื่นๆ ที่ไทย

ทำกับนานาประเทศ เชน ประเทศภาคีจะไมตั้งเงื่อนไขในการเขามาประกอบธุรกิจของนักลงทุน

ตางชาติที่ขัดกับความตกลงวาดวยมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการคาในกรอบองคการการคาโลก (WTO) ประเทศภาคีจะใหการปฏิบัติที่เปนธรรมและเทาเทียมกัน รวมถึงใหความคุมครองและ

ความมั่นคงตอการลงทุนของประเทศภาคีอื่น ประเทศภาคีจะไมเวนคืนทรัพยสินของนักลงทุน

ตางชาติหรือออกมาตรการที่เทียบเทากับการเวนคืน เวนแตจะเปนไปเพื่อประโยชนสาธารณะ

ในลักษณะไมเลือกปฏิบัติ

ความรวมมือทางเศรษฐกิจ

ความรวมมือทางเศรษฐกิจภายใตความตกลง AANZFTA ครอบคลุมความรวมมือในเร่ืองท่ีภาคีมีความสนใจรวมกัน และมีประเทศมาชิกอยางนอยสองประเทศ ออสเตรเลียและ/หรือ

นิวซีแลนดเขารวม ทั ้งนี ้ แผนงานความรวมมือทางเศรษฐกิจ แบงออกเปน 8 ดาน ไดแก กฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคา มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มาตรฐานกฎระเบียบทางเทคนิค

Page 73: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

73AEC FACT BOOK

กระบวนการตรวจสอบและรับรอง การคาบริการ การลงทุน ทรัพยสินทางปญญา การมีสวนรวม

ในสาขาตางๆ และศุลกากร

นอกจากนั้น ประเทศภาคีจะตองจัดทำแผนงานรายป เปนระยะ 5 ป นับจากวันที่ความ

ตกลงมีผลบังคับใชโดยคาดวาจะใชงบประมาณในความรวมมือดังกลาวประมาณ 20-25 ลานดอลลารออสเตรเลีย ทั้งนี้ โครงการที่จะเสนอภายใต ECWP มีหลักเกณฑจะตองสนับสนุน (Strategic Approach) (1) การดำเนินงานภายใต AANZFTA (Operationalisation) (2) พันธกรณีภายใตความตกลง (Built-in Agenda) และ (3) การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ (Economic Interation) ตอมาภายหลังที ่ประชุม SEOM 2/42 เมือเดือนมีนาคม 2554 ไดเห็นชอบใหเพิ่มเรื่อง “ Business Utilisation ” เขาไปในหลักเกณฑดวย

กลไกระงับขอพิพาท

ความตกลง ANNZFTA ประกอบดวยบทบัญญัติเบื้องตน บทบัญญัติวาดวยการปรึกษา หารือ บทบัญญัติวาดวยการวินิจฉัย บทบัญญัติวาดวยการปฏิบัติตาม และบทบัญญัติสุดทาย เม่ือเกิด

ขอพิพาทภายใตความตกลงฯ ประเทศภาคีผูฟองรองสามารถเลือกไดวาจะใชกลไกระงับขอพิพาท

ของกรอบใด นอกจากนั้น ประเทศภาคีแตละประเทศจะตองกำหนดจุดติดตอสำหรับการปรึกษา หารือ และการระงับขอพิพาทภายใตความตกลง AANZFTA ดวย

ประโยชนที่ไดรับ

ความตกลง AANZFTA สรางโอกาสที่ดีใหแกผูที่เกี่ยวของทั้งในอาเซียน ออสเตรเลีย

และนิวซีแลนด ทำใหผูผลิตและผูประกอบการสามารถเขาถึงตลาดในภูมิภาคไดมากข้ึน และยังเปนการสงเสริมการประหยัดการขนาดในการผลิต (Economies of scale) เพิ่มโอกาสในการสราง เครือขายและความรวมมือระหวางภูมิภาค ตลอดจนสรางสภาพแวดลอมทางธุรกิจท่ีมีความแนนอน โปรงใส และสรางความมั่นใจวากิจกรรมทางการคาจะไมถูกกีดกันดวยอุปสรรคตางๆ

Page 74: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

74 ASEAN Economic Community

การคาสินคา

อาเซียนดำเนินการอะไรบางเพื่อสงเสริมการคาภายในอาเซียน เมื่ออัตราภาษี

ศุลกากรสำหรับการคาในอาเซียนไดถูกยกเลิกไปเกือบหมดแลว

อาเซียนไดทยอยยกเลิกอัตราภาษีศุลกากรสำหรับการคาในอาเซียนมาตามลำดับต้ังแตป 2536 เม่ือเร่ิมบังคับใชความตกลง CEPT (หรือเรียกวา AFTA) โดยสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศไดบรรลุเปาหมายของเขตการคาเสรีอาเซียน เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 อัตราภาษีศุลกากรภายในอาเซียนเฉล่ียสำหรับประเทศอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (บรูไนฯ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย) ลดลงจากรอยละ 12.76 ในป 2536 เปนรอยละ 0.05 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 อัตราภาษีศุลกากรภายในอาเซียนเฉลี่ย

ของประเทศอาเซียน 10 ประเทศในป 2543 ซ่ึงเปนปท่ีอาเซียน 10 ประเทศเร่ิมดำเนินการ ลดภาษีตามความตกลง CEPT อยูที่รอยละ 4.43 และไดลดลงเหลือรอยละ 1.06 ในป 2553

ท้ังน้ี ไมไดหมายความวา ความพยายามของอาเซียนในการสงเสริมการคาภายในอาเซียนไดเสร็จส้ินแลว ในขณะท่ีการดำเนินการยกเลิกภาษีศุลกากรเกือบบรรลุเปาหมาย

แลว อาเซียนไดใหความสำคัญกับมาตรการดานการอำนวยความสะดวกทางการคา ซึ่งครอบคลุมตั้งแตการยกเลิกอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษีในการนำเขาสินคาเกษตร อาหารแปรรูป และสินคาอุตสาหกรรม รวมถึงการปรับปรุงพิธีการทางศุลกากรใหทันสมัย เพื่อใหการตรวจปลอยสินคาเร็วข้ึน

ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement : ATIGA) คืออะไร และเกี่ยวของกับเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) อยางไร

ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) เริ่มมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2553 ไมเพียงแตความตกลงดังกลาวจะนำมาใชแทนที่ความตกลงวาดวย

อัตราภาษีพิเศษที่เทากันสำหรับเขตการคาเสรีอาเซียน (Agreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area:

¤Ó¶ÒÁ ?

ั้

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 75: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

75AEC FACT BOOK

CEPT-AFTA) แตยังเปนความตกลงที่มีขอบเขตครอบคลุมกวางขวางกวาความตกลงเดิม โดยมีขอบเขตครอบคลุมถึงการอำนวยความสะดวกทางการคา ศุลกากร มาตรการ

สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช และอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา

ATIGA จึงเปนความตกลงที่รวมประเด็นที่เกี่ยวของกับการคาสินคาไวภายใน

ฉบับเดียว ซึ่งสามารถนำมาใชเปนเอกสารอางอิงสำหรับทุกเรื่องที่เกี่ยวของกับการคา

สินคาของอาเซียน

นอกจากน้ี เอกสารแนบทาย ATIGA ยังแสดงรายละเอียดตารางการลด/ยกเลิก

ภาษีของประเทศอาเซียนแตละประเทศในแตละปจนถึงป 2558 เปนการเพ่ิมความโปรงใส ชวยใหภาคธุรกิจสามารถตัดสินใจดานการลงทุนดวยความแนนอนมากข้ึน

จากการท่ีอาเซียนไดวางใหตัวเองเปนประตูการคา (gateway) ไปยังภูมิภาคเอเชีย มาตรการการเปดเสรีและการอำนวยความสะดวกทางการคาของอาเซียนจะชวยให อาเซียนบรรลุเปาหมายดังกลาวไดอยางไร

การวางตำแหนงใหอาเซียนเปนประตูการคา (gateway) ไปยังเอเชีย หมายถึง การดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศใหเขามาตั้งฐานการผลิตในอาเซียนเพื่อสงออกไปยังประเทศอื่นในภูมิภาค การดำเนินงานดานการเปดเสรีและการอำนวยความสะดวกทาง การคาที่อาเซียนดำเนินการอยู ชวยใหบรรลุเปาหมายดังกลาวไดหลายทาง

เร่ิมตนจากท่ีธุรกิจการผลิต โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมท่ีใชเทคโนโลยีสูง จำเปน

ตองใชวัตถุดิบชิ้นสวนและสวนประกอบที่จัดหามาจากในและนอกอาเซียน การเปดเสร ี

และการอำนวยความสะดวกทางการคาของอาเซียนจะทำใหตนทุนในการเคลื่อนยาย

วัตถุดิบชิ้นสวนและสวนประกอบของธุรกิจลดลงและใชเวลานอยลง นอกจากน้ี ยังทำใหอาเซียนเปนฐานการผลิตที่นาสนใจมากขึ้น และชวยดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศใน

อุตสาหกรรมการผลิต

การดำเนินงานดานกฎวาดวยถ่ินกำเนิดสินคา (ROO) ของอาเซียน มีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมการจัดหาชิ้นสวนและสวนประกอบภายในภูมิภาค และทำใหเกิดการสราง เครือขายการผลิตในอาเซียน นอกเหนือจากเกณฑสัดสวนมูลคาการผลิตในภูมิภาค

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 76: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

76 ASEAN Economic Community

(Regional Value Content: RVC) รอยละ 40 ที่อาเซียนใชมายาวนานแลว อาเซียนยัง ไดนำเกณฑทางเลือกอ่ืนๆ ในการไดถ่ินกำเนิดสินคาของอาเซียนมาใช เชน สัดสวนวัตถุดิบ

นำเขาตามเกณฑการเปลี่ยนพิกัด (CTC : Change in Tarff Classification) หรือ กฎเฉพาะรายสินคา (PSRs : Product Specifie Rules) ทำใหผูผลิตสามารถเลือกใช เกณฑตางๆ ไดอยางเทาเทียมกัน (co-equal) เพื่อใหมั่นใจไดวาสินคาของตนจะไดรับ

สิทธิประโยชนทางภาษีในอาเซียน

ความคิดริเริ่มดานมาตรฐานและการรับรองในอาเซียน

ทำไมการปรับประสานมาตรฐานจึงเปนเร่ืองท่ีมีความสำคัญในอาเซียน

มาตรฐานมีบทบาทสำคัญในการทำใหม่ันใจวาสินคามีความปลอดภัย และมีความ

เหมาะสมตามวัตถุประสงคของสินคานั้น ความแตกตางของมาตรฐานสินคาของแตละ

ประเทศอาเซียนสามารถเปนอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา อาเซียนจึงไดจัดการกับ

อุปสรรคดังกลาว โดยการปรับประสานมาตรฐานของประเทศอาเซียนใหสอดคลองกับ

มาตรฐานสากล มาตรฐานท่ีปรับประสานแลวในอาเซียน หมายถึง สมาชิกอาเซียนไดมี

การปรับมาตรฐานภายในประเทศใหสอดคลองเปนมาตรฐานเดียวกันในอาเซียน สินคาที่มีมาตรฐานเดียวกันของอาเซียนแลว เมื่อตองการนำสินคามาวางจำหนวยในประเทศ

อาเซียนใดก็ตาม ก็ทำใหเกิดความม่ันใจในคุณภาพและความปลอดภัยของสินคาได ดังน้ัน มาตรฐานที่ปรับประสานแลวจึงมีบทบาทสำคัญในการอำนวยความสะดวกทางการคาในอาเซียน

ขอตกลงการยอมรับรวม (Mutual Recognition Arrangement: MRA) ในการประเมินความสอดคลองในอาเซียน คืออะไร

ขอตกลงการยอมรับรวม (MRA) คือ ความตกลงระหวาง 2 ประเทศ หรือมากกวา ในการยอมรับรวมในผลการประเมินความสอดคลองบางสวน หรือท้ังหมด ของแตละฝาย ดังนั้น การมี MRA ในการประเมินความสอดคลองในอาเซียนจะชวยลดความจำเปนใน

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 77: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

77AEC FACT BOOK

การนำสินคาไปผานการทดสอบซ้ำกันหลายครั้ง เพื่อใหสามารถนำมาจำหนายหรือใชใน

ประเทศอาเซียนตางๆ ดวยเหตุนี้สินคาใดที่มีขอตกลง MRA แลว จะชวยลดตนทุนทาง ธุรกิจในการรายงานผลการทดสอบและเพิ่มความแนนอนในการเขาตลาดของสินคา ขณะเดียวกัน ผูบริโภคยังเกิดความมั่นใจในคุณภาพของสินคาที่ผานการทดสอบโดย

สอดคลองตามขอกำหนดใน MRA แลว

การคาบริการ

อาเซียนดำเนินงานในสาขาบริการอะไรบาง เพ่ือไปสูการรวมกลุมของอาเซียน

อาเซียนอยูระหวางดำเนินการลดอุปสรรคในการคาบริการและการใหบริการ อยางกาวหนา ภายในป 2558 อาเซียนคาดหวังวาจะบรรลุเปาหมายการเปดเสรีการคา บริการอยางมีนัยสำคัญ ซึ่งจะทำใหธุรกิจบริการสำคัญหลายสาขาในอาเซียนสามารถให บริการได ทั้งในรูปแบบการใหบริการขามพรมแดน หรือ โดยการเขาไปตั้งธุรกิจบริการในประเทศอาเซียนอื่นเพื่อใหบริการในประเทศนั้น นอกจากนี้ อาเซียนยังอยูระหวาง ดำเนินการเพื่ออำนวยความสะดวกการเคลื่อนยายบุคลากรวิชาชีพของประเทศอาเซียน

ใหสามารถเขาไปใหบริการในประเทศอาเซียนอ่ืนได โดยการจัดทำขอตกลงการยอมรับรวม (MRA : Mutual Recognition Arrangements) ในสาขาวิชาชีพตางๆ

อาเซียนดำเนินการดานการเปดเสรีการคาบริการอยางไร และ ณ ปจจุบัน ไดเปด

เสรีไปมากนอยแคไหน

การเปดเสรีการคาบริการในอาเซียนดำเนินการผานการเจรจาเปนรอบๆ โดยในแตละรอบจะทำใหมีจำนวนสาขาบริการที่เปดเสรีมากขึ้นและมีขอจำกัดในการใหบริการขามพรมแดนลดลง ณ ปจจุบัน อาเซียนอยูระหวางการเจรจารอบที่ 6 ซึ่งจะทำใหได ขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการชุดท่ี 8 อาเซียนคาดหวังวาจะสามารถบรรลุเปาหมาย

การเปดเสรีอยางมีนัยสำคัญ เพื่อไปสูการเคลื่อนยายบริการอยางเสรี ภายในป 2558 ตามที่ระบุไวในแผนงานการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

ีไป¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 78: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

78 ASEAN Economic Community

สาขาบริการมีความสำคัญตออาเซียนอยางไร

สาขาบริการเปนองคประกอบสำคัญในเศรษฐกิจของอาเซียน คิดเปนสัดสวน

ระหวางรอยละ 40-70 ของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ ในแงการคาบริการ ของอาเซียน

คิดเปนสัดสวนรอยละ 5 ของการคาบริการของโลก หรือมีมูลคา 3.43 แสนลานเหรียญสหรัฐ ในป 2552 นอกจากนี้ การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในสาขาบริการยังมีสัดสวน

มากกวารอยละ 50 ของการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในอาเซียน

ทำไมรัฐบาลของประเทศอาเซียนจึงควรเปดใหมีการแขงขันจากตางชาติในตลาดการคาบริการ

ดวยการเปดตลาดการคาบริการทำใหมีการแขงขันจากตางชาติ ประเทศอาเซียน (เชนเดียวกับประเทศอื่นในโลกที่อยูระหวางดำเนินการเปดเสรี) คาดหวังใหมีการแขงขัน

ในตลาดการคาบริการภายในประเทศ และทำใหเกิดความมั่นใจวาจะมีปริมาณและ

คุณภาพการใหบริการเพิ่มขึ้นในสาขาบริการตางๆ โดยเฉพาะสาขาบริการที่เปนปจจัย

การผลิตใหแกทุกสาขาทั้งสินคาและบริการ ไดแก สาขาการเงิน โทรคมนาคม และ

การขนสง นอกจากนี้ การเปดเสรียังเปนการเพิ่มความโปรงใสและการคาดการณได ซึ่งจะชวยสงเสริมใหนักลงทุนตางชาติเขามาลงทุนเพิ่มขึ้น และสนับสนุนการพัฒนา เศรษฐกิจในภูมิภาค

การลงทุน

อาเซียนมีขั้นตอนในดำเนินการอยางไรบาง เพื่อทำใหอาเซียนเปนภูมิภาคที ่นาสนใจในการลงทุนมากขึ้น

อาเซียนเปนภูมิภาคที ่มีพลวัตรและกำลังขยายตัว อัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของอาเซียนในป 2553 คาดวาจะมากกวารอยละ 6 ทำใหอาเซียนเปนหน่ึงใน

ภูมิภาคที่มีอัตราการขยายตัวสูงสุดในโลก ประชากรโดยรวมของอาเซียนที่มีเกือบ 600

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

ใ¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 79: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

79AEC FACT BOOK

ลานคนเปนจุดดึงดูดความสนใจของนักลงทุนและนักธุรกิจ อยางไรก็ตาม ดวยความ

ไมแนนอนของสภาพแวดลอมในโลก อาเซียนไดดำเนินมาตรการตางๆ เพื่อทำใหเปน

ภูมิภาคที่นาสนใจในการลงทุนมากขึ้น

มาตรการดังกลาว ครอบคลุมการทบทวนความตกลงดานการลงทุน 2 ฉบับ คือ ความตกลงอาเซียนวาดวยการสงเสริมและการคุ มครองการลงทุน ป ค.ศ.1998 (หรือที่เรียกวา ASEAN Investment Guarantee Agreement: ASEAN IGA) และกรอบ

ความตกลงวาดวยเขตการลงทุนอาเซียน ป ค.ศ.1998 หรือ AIA Agreement รวมถึงพิธีสารตางๆ ที่เกี่ยวของ และตอมาความตกลงท้ังสองฉบับไดถูกนำมารวมกันเปนความตกลงเดียว เรียกวา ความตกลงดานการลงทุนอยางเต็มรูปแบบของอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) ซ่ึงไดสรุปผลการจัดทำในป 2551 และไดลงนามในเดือนกุมภาพันธ 2552 ภายใต ACIA อาเซียนจะเร่ิมดำเนินการทบทวน

และลดขอจำกัดการลงทุนที่มีอยู ประยุกตใชแนวทางปฏิบัติที่ด ี และเสริมสรางกิจกรรม

สงเสริมการลงทุน

นอกจากนี้ อาเซียนยังสามารถสรุปผลการจัดทำความตกลงดานการลงทุนกับ

ประเทศคูเจรจาตางๆ ไดแก จีน ออสเตรเลียและนิวซีแลนด และเกาหลีใต ปจจุบัน อาเซียนอยูระหวางเจรจาความตกลงดานการลงทุนกับอินเดียและญ่ีปุน

นอกจากนี้ การดำเนินมาตรการตางๆ เพื่อไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 นำไปสูการเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน ยังชวยเสริมสรางให อาเซียนเปนภูมิภาคที่นาเขามาลงทุนในอันดับตนๆ

อาเซียนวางตำแหนงตนเอง ณ จุดใด ในแงการลงทุนจากตางประเทศและแหลงการลงทุนที่เขามายังอาเซียน

อาเซียนสามารถดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศใหเขามายังอาเซียนไดมาก เน่ืองจากเศรษฐกิจของอาเซียนท่ีมีพลวัตรและมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว ในชวงทศวรรษ

ที่ผานมาการลงทุนจากตางประเทศที่เขามายังอาเซียนมีสัดสวนมากกวารอยละ 10 ตอ

การลงทุนจากตางประเทศในประเทศกำลังพัฒนา และมีสัดสวนประมาณรอยละ 4 ตอ

การลงทุนจากตางประเทศในโลก นักลงทุนตางชาติสำคัญในอาเซียน ไดแก สหภาพยุโรป

¤Ó¶ÒÁ ?

ื่

¤ÓµÍº

Page 80: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

80 ASEAN Economic Community

ญี่ปุน และสหรัฐฯ ในขณะที่ นักลงทุนอาเซียนเองยังเปนแหลงการลงทุนจากตางประเทศในอาเซียนที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น มีสัดสวนมากกวารอยละ 10 ของการลงทุนจาก

ตางประเทศในอาเซียนในชวงปท่ีผานมา

อะไรเปนความทาทายของอาเซียน ในแงการรักษาสถานะการเปนฐานการลงทุนสำคัญอันดับตนๆ

ทามกลางภาวะเศรษฐกิจท่ีไมแนนอนอาเซียนตองเผชิญกับการแขงขันกับภูมิภาค

อื่นในการดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศที่มีจำกัดลง นอกจากนี้ การเกิดขึ้นของกลุม BRICs (บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน) ยังสามารถเบ่ียงเบนการเปนศูนยกลางการลงทุนไปยังกลุมดังกลาว ดวยเหตุนี้ นโยบายการลงทุนของอาเซียนจึงจำเปนตองเปนเชิงรุก

มากขึ้นเพื่อดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศใหเขามายังอาเซียน

อาเซียนจำเปนตองดำเนินการปฏิรูปโครงสรางภายในอาเซียนตอไป เพื่อดึงดูด

การลงทุนจากตางประเทศที่สรางมูลคาเพ่ิมไดสูงข้ึน เชน การลงทุนในอุตสาหกรรมท่ีตองใชเทคโนโลยีสูง รวมถึงเทคโนโลยีสีเขียว (green technologies) เปนตน

การปฏิบัติตามพันธกรณีเพ่ือไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยสรางใหอาเซียน

เปนตลาดเดียวอยางบูรณาการ เปนเรื่องที่ประเทศอาเซียนตองยืนยันจะดำเนินการให บรรลุเปาหมายดังกลาว เพ่ือเปนแรงผลักดันใหการลงทุนจากตางประเทศเขามายังอาเซียน

เพิ่มขึ้น

เกษตร อุตสาหกรรม และทรัพยากรธรรมชาติ

อาเซียนดำเนินการอยางไรเพื่อใหบรรลุเปาหมายของความมั่นคงดานอาหาร

ในอาเซียน

ความมั่นคงดานอาหารเปนประเด็นที่อาเซียนใหความสำคัญเปนอันดับแรกมา โดยตลอด โดยผูนำอาเซียนไดใหการรับรองกรอบแผนงานบูรณาการความมั่นคงดาน

ำ ั

¤Ó¶ÒÁ ?

ื่ ใ

¤ÓµÍº

ใ ี¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 81: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

81AEC FACT BOOK

อาหารของอาเซียน (ASEAN Integrated Food Security: AIFS) และแผนกลยุทธความมั่นคงดานอาหารของอาเซียน (Strategic Plan of Action on ASEAN Food Security: SPA-FS) ตามแนวทางที่กำหนดไวในแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและ

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ทั้งนี้ เปาหมายของ AIFS และ SPA-FA คือ เพ่ือ

สรางความมั่นคงดานอาหารในระยะยาวและปรับปรุงชีวิตความเปนอยูของเกษตรกรใน

ภูมิภาคอยางย่ังยืน โดยความม่ันคงดานอาหารจะเกิดข้ึน เม่ือประชาชนทุกคน (ในทุกเวลา) สามารถเขาถึงอาหารที ่เพียงพอ ปลอดภัย (ในเชิงกายภาพและเศรษฐศาสตร) และมีประโยชนตอสุขภาพ สามารถตอบสนองตอความตองการของรางกายและความ

พึงพอใจในอาหาร เพ่ือใหมีชีวิตท่ีแข็งแรงและกระฉับกระเฉง ซ่ึงอาเซียนจะบรรลุเปาหมาย

ดังกลาวไดโดยการเสริมสรางความเขมแข็งของนโยบายและความริเริ่มเรื่องความมั่นคง ดานอาหารของประเทศและการสำรองอาหารของภูมิภาค การสงเสริมตลาดและการคา อาหาร การเสริมสรางระบบขอมูลสารสนเทศดานความความม่ันงคงดานอาหารเพ่ือเปนฐานขอมูลในการตัดสินใจและการกำหนดนโยบายระดับประเทศและภูมิภาค การสงเสริมนวัตกรรมดานการเกษตร การลงทุนเพ่ิมข้ึนเพ่ือไปสูประสิทธิภาพการผลิตท่ีสูงข้ึน ความ

เปนหุนสวนระหวางภาครัฐและเอกชน และการจัดการกับประเด็นที่เกิดขึ้นใหมและ

เกี่ยวของโดยตรงกับความมั่นคงดานอาหาร อาทิ การพัฒนาพลังงานชีวภาพ การปรับตัวและการบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

อาเซียนจัดการกับผลกระทบจากการเปลี ่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในแง ความมั่นคงดานอาหารอยางไร

ดวยความกังวลท่ีเพ่ิมข้ึนตอผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (เชน ภูมิอากาศที่รุนแรง ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ การเกิดขึ้นและการกลับมาเกิดใหมของโรครายแรงตางๆ ฯลฯ) อาเซียนอยูระหวางการ พัฒนาความริเริ่มวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ASEAN Climate Change Initiative: ACCI) ในสาขาเกษตรและปาไม อาเซียนไดจัดทำกรอบแผนงานแกไขปญหา ที่เกิดจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในสาขาเกษตรและปาไม [ASEAN Multi-Sectoral Framework on Climate Change (AFCC): Agriculture and Forestry towards Food Security (AFCC)] มาตั้งแตป 2552 ซึ่งคาดวาการ

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 82: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

82 ASEAN Economic Community

ดำเนินงานตาม AFCC โดยความรวมมือและการประสานงานระหวางสาขาเกษตร ปาไม สิ่งแวดลอม พลังงาน และสาธารณสุข จะทำใหเกิดความม่ันคงดานอาหาร จากการใชท่ี

ดินและน้ำอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยการลดผลกระทบและปจจัยที่จะนำไปสู การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งนี้ อาเซียนจะบรรลุเปาหมายดังกลาวไดดวยการ

เสริมสรางความเขมแข็งของระบบขอมูลขาวสาร องคความรู และการติดตอสื่อสารใน

ภูมิภาค รวมทั้งการสรางเครือขายดานการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและความมั่นคงดานอาหาร การรวบรวม การพัฒนาและการดำเนินการตามมาตรการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัว การบูรณาการยุทธศาสตรในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวเขา กับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเขาไวในแผนนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และการพัฒนากรอบยุทธศาสตรในหลายสาขาท่ีครอบคลุมมากข้ึน และแผนการดำเนินงาน รวมถึงการนำ AFCC มารวมไวใน ACCI ในภาพรวม นอกเหนือจากที่ AFCC จะเปน

ความรวมมือในหลายสาขาแลว AFCC ยังเปนเวทีระดับภูมิภาคที่ทำใหหนวยงานที่ เกี่ยวของทุกภาคสวน (เชน ภาคเอกชน องคกรดานสังคม เกษตรกร ฯลฯ) สามารถ

เขามามีสวนรวมในการดำเนินงานตามกรอบงานดังกลาวดวย

จากความตองการที่เพิ่มขึ้นในสินคาปศุสัตว อาเซียนดำเนินการอยางไรเพื่อให ม่ันใจวาสินคาดังกลาวมีความปลอดภัย และมีการควบคุมโรคในสัตวท่ีสามารถแพรระบาด

ขามพรมแดนได โดยเฉพาะโรคที่สามารถติดตอจากสัตวไปสูคน ซึ่งเปนภัยคุกคามตอ

สุขภาพของสาธารณชน

ในขณะที่มีการขยายการพัฒนาในสาขาปศุสัตว อาเซียนไดดำเนินการเพื่อให มั่นใจวาสินคาดังกลาวมีคุณภาพและความปลอดภัย โดยการปรับปรุงสุขภาพสัตวและ

การควบคุมปองกันโรคสัตวใหดีขึ ้น รวมทั้งการกำจัดโรคสัตวที ่ติดตอขามพรมแดน โดยเฉพาะโรคท่ีติดตอจากสัตวไปสูคนได ในการดำเนินการดังกลาว อาเซียนไดใชแนวทาง ที่มีความเกี่ยวของกัน 4 ดาน ดังน้ี

(1) เสริมสรางศักยภาพของการใหบริการดานสุขภาพสัตวของประเทศ โดยใช หลักธรรมาภิบาลที่ดีดวยการสนับสนุนดานองคกรและกฎหมาย

ั่ ใ

¤Ó¶ÒÁ ?

ั ่ ใ

¤ÓµÍº

Page 83: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

83AEC FACT BOOK

(2) เสริมสรางการประสานงานในภูมิภาคดานสุขภาพสัตวและโรคติดตอจากสัตว สูคน

(3) เสริมสรางความรวมมือหลายสาขาในเร่ืองท่ีเก่ียวของกับสุขภาพโดยสอดคลอง กับแนวคิด “One World, One Health” และ

(4) สงเสริมความเปนหุนสวนและความรวมมือกับองคกรเพื่อการพัฒนาและ

องคกรผูบริจาค

ทั้งนี้ อาเซียนเนนย้ำความสำคัญของการดูแลรักษาสัตวใหมีสุขภาพดีอยูเสมอ และมีการควบคุมโรคที่แหลงผลิต นอกจากน้ี การเรียนรูจากประสบการณในอดีต ทำให อาเซียนไดมีการพัฒนาและดำเนินงานตามแผนงานในการควบคุมและการกำจัดโรคติดตอ

จากสัตวสูคน เชน การติดเชื้อในสัตวปกชนิดที่มีอาการรุนแรงมากมีอัตราการตายสูง (highly pathogenic avian influenza) และโรคพิษสุนัขบา (rabies) เปนตน

นโยบายการแขงขันทางการคา

ประเทศสมาชิกอาเซียนใดบางที่มีกฎหมายการแขงขันและหนวยงานที่กำกับ

ดูแลภายในประเทศแลว

ณ ปจจุบัน อินโดนีเซีย สิงคโปร ไทย และเวียดนาม มีกฎหมายและหนวยงาน

กำกับดูแลดานการแขงขันทางการคาภายในประเทศแลว สวนกัมพูชา และฟลิปปนสอยู ระหวางกระบวนการยกรางกฎหมายดังกลาว ขณะท่ี ประเทศท่ีเหลือ คือ บรูไนฯ สปป.ลาว และพมา อยูในขั้นตอนเบื้องตนในการพัฒนากฎหมายและนโยบายการแขงขันของ ประเทศ และเมื่อเดือนพฤษภาคม 2553 รางกฎหมายการแขงขันของมาเลเซียไดผาน

ความเห็นชอบจากรัฐสภาแลว ขณะนี้ อยูระหวางรอความเห็นชอบจากพระมหากษัตริย เพื่อออกเปนกฎหมายตอไป

¤Ó¶ÒÁ ?

ำ ั

¤ÓµÍº

Page 84: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

84 ASEAN Economic Community

องคกรรายสาขาของอาเซียนใดท่ีรับผิดชอบดานนโยบายการแขงขัน และองคกรดังกลาวใหความสำคัญในการดำเนินกิจกรรมใดบาง

ในเดือนสิงหาคม 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดใหความเห็นชอบการจัดต้ังคณะผูเช่ียวชาญดานการแขงขันของอาเซียน (ASEAN Expert Group on Competition: AEGC) เพื่อใหเปนเวทีระดับภูมิภาคในการหารือและรวมมือกันในดานนโยบายและ

กฎหมายการแขงขัน คณะผูเช่ียวชาญฯ (AEGC)ไดประชุมคร้ังแรกในป 2551 โดยท่ีประชุม

เห็นชอบแผนการดำเนินงานของ AEGC ในชวง 3-5 ปขางหนา จะใหความสำคัญเรื่อง การสรางศักยภาพของนโยบายและแนวทางปฏิบัติที่ดีในร่ืองท่ีเก่ียวของกับการแขงขันในประเทศสมาชิกอาเซียน การพัฒนาแนวทางรวมของภูมิภาคอาเซียนดานนโยบายการ

แขงขัน (ASEAN Regional Guideline on Competition Policy) และการจัดทำคูมือ

ดานกฎหมายและนโยบายการแขงขันในอาเซียนสำหรับธุรกิจ (Handbook on Competition Policy and Law in ASEAN for Business) ซึ่งทั้งแนวทางและคูมือ (Guideline และ Handbook) เปนหัวขอสำคัญภายใตแผนงานการจัดตั้งประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน ในป 2553

ความทาทายในประเด็นนโยบายและกฎหมายการแขงขัน (Competition Policy and Law: CPL) ในอาเซียน เม่ือมองไปถึงป 2558 และในอนาคตขางหนา มีอะไรบาง

อาเซียนมีความทาทายในประเด็นนโยบายและกฎหมายการแขงขัน ดังนี ้ (1) แนวทางที่มีประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อใหมีระดับการแขงขันขั้นต่ำ

อยางกวางขวางในประเทศสมาชิกอาเซียน ในขณะที่ประเทศสมาชิกยังมีความแตกตาง ของศักยภาพในการดำเนินงานตามกฎหมายและนโยบายการแขงขัน (2) การกำหนด

และการรับรององคประกอบที่เหมือนกันในการพัฒนา CPL ระหวางประเทศสมาชิก

อาเซียน และ (3) การออกแบบกลไกของความรวมมือระหวางหนวยงานท่ีกำกับดูแลดานการแขงขันในอาเซียน

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 85: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

85AEC FACT BOOK

การคุมครองผูบริโภค

ประเทศสมาชิกอาเซียนใดบางที่มีกฎหมายการคุมครองผูบริโภคภายในประเทศแลว

ณ ปจจุบัน สมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม มีกฎหมายการคุมครองผูบริโภคแลว สวนประเทศอาเซียนอ่ืน ไดแก บรูไนฯ กัมพูชา ลาว และพมา ยังไมมีกฎหมายดังกลาว โดยประเทศเหลานี้ (ยกเวนพมา) อยูระหวางกระบวนการยกรางกฎหมาย อยางไรก็ตาม เพื่อใหบรรลุวัตถุ ประสงคของการคุมครองผูบริโภคในอาเซียน ประเทศดังกลาวมีการบังคับใชกฎหมาย

ดานการคุมครองผูบริโภคอยูหลายฉบับแยกกันไปในหลายสาขาอุตสาหกรรม

องคกรรายสาขาของอาเซียนใดท่ีรับผิดชอบดานการคุมครองผูบริโภค และองคกร ดังกลาวใหความสำคัญในการดำเนินกิจกรรมใดบาง

การคุมครองผูบริโภคเปนความรวมมือสาขาใหมในอาเซียน ตามที่ระบุไวใน

แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) อาเซียนไดจัดต้ังคณะ

กรรมการประสานงานอาเซียนดานการคุมครองผูบริโภค (ASEAN Coordinating Committee on Consumer Protection) เม่ือเดือนสิงหาคม 2550 และตอมาไดเปล่ียน

ชื่อเปน คณะกรรมการอาเซียนดานการคุมครองผูบริโภค (ASEAN Committee on Consumer Protection: ACCP) โดย ACCP และคณะทำงาน 3 คณะภายใต ACCP (ไดแก คณะทำงานดานระบบการแจงเตือนอยางรวดเร็ว และ การแลกเปล่ียนขอมูล คณะ

ทำงานการชดใชผูบริโภคขามพรมแดน และคณะทำงานการฝกอบรม และ การศึกษา) จะทำหนาที่เปนหนวยงานหลักในการดำเนินงานและติดตามความรวมมือและกลไกใน

ระดับภูมิภาค เพื่อสงเสริมการพัฒนาดานการคุมครองผูบริโภคในอาเซียนอยางย่ังยืน

เพ่ือกำหนดทิศทางในการดำเนินงานตามความคิดริเร่ิมและพันธกรณีภายใต AEC Blueprint คณะกรรมการ ACCP ไดใหการรับรองแนวทางยุทธศาตรเพ่ือไปสูการคุมครอง ผูบริโภค (Strategic Approach towards Consumer Protection) ประกอบดวย

¤Ó¶ÒÁ ?

ิ โ

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 86: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

86 ASEAN Economic Community

มาตรการดานนโยบาย และรายละเอียดกิจกรรมที่สำคัญลำดับแรก พรอมกำหนดเวลา การดำเนินงานที่ชัดเจน ซึ่งครอบคลุมเรื่องการพัฒนา (1) กลไกการรองเรียนและการ

แลกเปล่ียนขอมูล ภายในป 2553 (2) กลไกการชดใชผูบริโภคขามพรมแดน ภายในป 2558 และ (3) แผนยุทธศาสตรในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ภายในป 2553

ความทาทายในประเด็นการคุมครองผูบริโภคและกฎหมายในอาเซียน เมื่อมอง ไปถึงป 2558 และในอนาคตขางหนา มีอะไรบาง

อาเซียนจำเปนตองระบุสาขาหลักของความตองการในการพัฒนาศักยภาพ

บุคลากรในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ รวมทั้งจัดลำดับความสำคัญและจัดการ

ดำเนินการ ขณะเดียวกัน อาเซียนยังตองการความชวยเหลือดานเทคนิคและการเงินจากประเทศคูเจรจาและองคกรระหวางประเทศ ในการพัฒนาและสงเสริมนโยบาย กฎหมาย และองคกรกำกับดูแลดานการคุมครองผูบริโภค

ประเด็นท่ีสำคัญนอกเหนือจากความทาทายดังกลาว คือ กระแสโลกาภิวัฒนและการรวมกลุมเศรษฐกิจในภูมิภาคที่ทำใหเกิดความซับซอนและความยากเพิ่มขึ้นในการ

จัดการเรื่องการคุมครองผูบริโภค โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือปริมาณและมูลคาการคาภายในประเทศและระหวางประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้งความกาวหนาอยางรวดเร็วใน

เทคโนโลยีการติดตอสื่อสาร การผลิต และพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

คณะกรรมการ (ACCP) โดยการสนับสนุนของสำนักเลขาธิการอาเซียน จำเปน

ตองทำงานอยางใกลชิดกับประเทศคูเจรจา องคกรระหวางประเทศ และภาคเอกชนเพ่ือรวมมือกันดำเนินกิจกรรมและโครงการรวมตางๆ เพื่อพัฒนาและสรางความหลากหลาย

ในความเชี่ยวชาญดานเทคนิคของประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึงศักยภาพของสถาบัน และประสบการณดานนโยบาย ในการน้ี บทเรียนและแนวคิดท่ีไดรับจากผูท่ีเร่ิมดำเนินการ ในเรื่องนี้มากอน ยอมเปนประโยชนตอประเทศสมาชิกอาเซียนในการพิจารณาประเด็น

เชิงนโยบาย โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับการออกแบบและการดำเนินงานการบังคับ

ใชกฎหมายและการจัดกิจกรรมสรางความตระหนักรู รวมถึงประเด็นอื่นที่เกี่ยวของดาน

กฎหมายและการดำเนินงาน

ไ ึ

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 87: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

87AEC FACT BOOK

สิทธิในทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property Rights: IPRs)

องคกรรายสาขาของอาเซียนใดที่รับผิดชอบดานสิทธิในทรัพยสินทางปญญา และองคกรดังกลาวใหความสำคัญในการดำเนินกิจกรรมใดบาง

คณะทำงานอาเซียนวาดวยความรวมมือดานทรัพยสินทางปญญา (ASEAN Working Group on Intellectual Property: AWGIPC) ทำหนาที ่เปนองคกร

ประสานงานในการพัฒนาระบบ IP ในอาเซียนและฐานขอมูล IPRs รวมกันในภูมิภาค กิจกรรมความรวมมือของ AWGIPC ไดแก การทำใหงายขึ ้น การปรับประสาน การจดทะเบียน และการคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญา (IPRs) ในอาเซียน

คณะทำงานฯ (AWGIPC) เปนเวทีในการแลกเปลี่ยนขอมูลและขอคิดเห็น

เกี่ยวกับการพัฒนา IP ในภูมิภาคและระหวางประเทศ รวมทั้งเปนหนวยงานหลักของ อาเซียนในการดำเนินกิจกรรมความรวมมือดาน IP กับประเทศคูเจรจาและองคกร

ระหวางประเทศ ทั้งนี้ งานที่คณะทำงานฯ (AWGIPC) ตองดำเนินการ จะถูกกำหนดไวในแผนปฏิบัติการดาน IPR ของอาเซียน ป 2547-2553 แผนงานความรวมมือดานลิขสิทธ์ิ

ของอาเซียน ป 2548 และแผนงานการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ป 2550

คณะทำงานฯ (AWGIPC) จะตองดำเนินโครงการและกิจกรรมความรวมมือระดับภูมิภาคดาน IPR อะไรบาง (ตามเร่ืองท่ีตองดำเนินการใน AEC Blueprint)

ในสวนของกิจกรรมเพื่อสรางฐานขอมูลรวมกันในภูมิภาคและการสรางความ

เขาใจในเรื ่อง IPRs ตามที ่ระบุไวใน AEC Blueprint คณะทำงานฯ (AWGIPC) จะตองดำเนินงาน ดังนี้

(1) การศึกษาเพื่อประเมินผลประโยชนที่อาเซียน (ทั้งในระดับประเทศและ

ภูมิภาค) จะไดรับจากอุตสาหกรรมลิขสิทธ์ิในอาเซียน การประชุมการเขารวมเปนภาคีในพิธีสารมาดริดในการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาระหวางประเทศ และโครงการ

นำรองเกี่ยวกับความรวมมือในการตรวจสอบสิทธิบัตรของอาเซียน และ “ASEAN IP DIRECT”

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 88: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

88 ASEAN Economic Community

(2) เปนเรื่องที่ตองดำเนินการอยางตอเนื่อง คือ การแลกเปลี่ยนประสบการณ ดานนโยบายในการเขารวมเปนภาคีในสนธิสัญญาระหวางประเทศดาน IP การทำใหงายขึ้นและการปรับประสานพิธีการและกฎระเบียบดาน IP และการติดตามการปฏิบัติตาม

พันธกรณีของประเทศสมาชิกอาเซียนตามความ ตกลง TPIPS

(3) เปนโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เชน เรื่องความยืดหยุนภายใตความ

ตกลง TRIPS การอนุญาโตตุลาการและการไกลเกลี่ยขอพิพาทดาน IP พิธีสารมาดริด การบังคับใชกฎหมายและการจัดการลิขลิทธิ ์ และสิทธิที่เกี่ยวของในสภาพแวดลอมแบบ

ดิจิตอล โดยในชวงหลายปที่ผานมามีผูเชี่ยวชาญจากประเทศสมาชิกอาเซียนประมาณ 3,000 คนเขารวมในโครงการดังกลาว

ในอาเซียน มีความทาทายและโอกาสดาน IP มีอะไรบาง

ประเทศสมาชิกอาเซียนและสำนักงานเลขาธิการอาเซียน (ASEC) มีขอจำกัดดานจำนวนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณดาน IP รวมถึงขอจำกัดดาน

ศักยภาพขององคกร ในสวนของการเสริมสรางศักยภาพบุคลากร ASEC และประเทศ

สมาชิกอาเซียนจำเปนตองจัดหาแหลงเงินทุนและผูเชี่ยวชาญจากประเทศคูเจรจาและ

ผูบริจาคอื่น ขณะเดียวกัน อาเซียนไดใชความพยายามในดำเนินงานตามแนวทาง “อาเซียนชวยอาเซียน” (ASEAN-helps-ASEAN) ในกรณีใดก็ตามที่เปนไปได เชน การ แลกเปลี่ยนบทเรียนดานนโยบายที่ไดเรียนรูและแนวคิดที่ไดรับของประเทศสมาชิก

อาเซียนจากการเขารวมเปนภาคีในสนธิสัญญาระหวางประเทศ และการดำเนินกิจกรรม

และโครงการที่เกี่ยวของดาน IPR เปนตน

นอกจากน้ี IP และประเด็นท่ีเก่ียวของกับ IPR ยังมีความซับซอนทางเทคนิคและครอบคลุมสาขาตางๆกวางมากขึ้น เชน เรื่องสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indication: GI) ภูมิปญญาทองถ่ิน (Traditional Knowledge: TK) ทรัพยากรพันธุกรรม (Genetic Resources: GR) และการแสดงออกทางวัฒนธรรมแบบด้ังเดิม (Traditional Cultural Expression: TCE) อยางไรก็ตาม โครงสรางพ้ืนฐานและความเช่ียวชาญดาน IP ในประเทศอาเซียนยังมีความแตกตางกันอยูมาก โดยเฉพาะระหวางอาเซียน-6 กับ

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 89: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

89AEC FACT BOOK

อาเซียน-4 ความแตกตางดังกลาว มีนัยสำคัญตอลักษณะและความเขมขนของความ

รวมมือในภูมิภาค รวมถึงความชวยเหลือดานเทคนิคท่ีอาเซียนตองการ

ยิ่งไปกวานั้น การเสริมสรางศักยภาพบุคลากรและการยกระดับจำเปนตองม ี

ความพยายามที่ยั่งยืนทั้งของผูใหความชวยเหลือและผูรับในระยะยาว อาเซียนจำเปน

ตองทำงานอยางใกลชิดกับประเทศคูเจรจา องคกรระหวางประเทศ และองคกรภาคเอกชน

เพื่อจัดลำดับความสำคัญกิจกรรมรวมท่ีทุกฝายมีความสนใจและความกังวลรวมกัน

การทองเที่ยว

อาเซียนดำเนินการอยางไรเพ่ือใหประสบความสำเร็จในการสงเสริมการทองเท่ียว และการตลาดในภูมิภาค

การสงเสริมการทองเที่ยวและการตลาดเปนวาระสำคัญลำดับแรกของความ

รวมมือดานการทองเที่ยวของอาเซียน “Visit ASEAN Champaign” เปนโครงการดาน

การตลาดหลักของอาเซียน โดยผานการจัดกิจกรรมรวม และการสงเสริมรวมกันระหวางศูนยสงเสริมการทองเท่ียวอาเซียน (ASEAN Promotional Chapter for Tourism: APCT) ซึ ่งประกอบดวยผู แทนจากองคกรดานการทองเที ่ยวของประเทศสมาชิกอาเซียน ในตลาดนักทองเที่ยวสำคัญ เชน จีน สาธารณรัฐเกาหลี และออสเตรเลียอาเซียนทำการ ตลาดดานการทองเที่ยวตามแนวทางที่กำหนดไวในแผนงานในการรวมกลุมสาขาการ

ทองเที่ยว ป 2547-2553 โดยใชกลยุทธการตลาดเพื่อสงเสริมใหอาเซียนเปนจุดหมาย

ปลายทางดานการทองเที่ยวเดียวกัน มีแหลงดึงดูดการทองเที่ยวหลากหลายมีมาตรฐาน

ระดับโลก และสิ่งอำนวยความสะดวก โดยดำเนินงานรวมกับภาคเอกชนจากสมาคม

การทองเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Association: ASEANTA)

ณ ปจจุบัน อาเซียนมีสโลแกนการทองเท่ียวใหม คือ “Southeast Asia feel the Warmth” และเว็บไซตการตลาดใหมที่ www.southeastasia.org ซึ่งเนนเรื่องการ ทองเที่ยวที่มีหลายจุดหมายปลายทางภายในประเทศสมาชิกอาเซียน โดยไดเปดตัวท่ี ITB

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 90: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

90 ASEAN Economic Community

Berlin เมื่อเดือนมีนาคม 2553 และมีการประชาสัมพันธรวมกับโครงการสงเสริมการ

ทองเที่ยวของอาเซียนท่ีมีอยู

จากความตองการในผูเชี่ยวชาญดานการทองเที่ยวที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น อาเซียน

ดำเนินการอยางไรเพื่อสรางความมั่นใจในคุณภาพและศักยภาพของบุคลากรดังกลาว

ในภูมิภาค

เพื่อเสริมสรางคุณภาพการใหบริการดานการทองเที่ยวในภูมิภาค รัฐมนตรีดาน

การทองเท่ียวอาเซียนไดสรุปผลการจัดทำขอตกลงการยอมรับรวม (Mutual Recognition Arrangement: MRA) ในวิชาชีพการทองเที ่ยว เมื ่อเดือนมกราคม 2552 โดยม ี

วัตถุประสงคเพื่ออำนวยความสะดวกการเคลื่อนยายผูเชี่ยวชาญดานการทองเที่ยวใน

ภูมิภาค และเพิ่มความเทาเทียมกันของบุคลากรดานการทองเที่ยวในภูมิภาคโดยการใช มาตรฐานสมรรถนะข้ันต่ำ (Minimum Competency Standards) สำหรับการทองเท่ียว

เปนพื้นฐาน MRA จะชวยเสริมสรางความเชื่อมั่นในคุณสมบัติและผลที่ไดรับจากการ ฝกอบรมดานการทองเท่ียวซ่ึงจะชวยสงเสริมการลงทุนภายในภูมิภาคและการเคล่ือนยาย

ทรัพยากรมนุษยในสาขานี้ ทั้งนี้ เพื่อเรงรัดการดำเนินงานตามขอกำหนดภายใต MRA คณะกรรมการกำกับดูแลวิชาชีพดานการทองเที่ยวของอาเซียน (ASEAN Tourism Professional Monitoring Committee: ATPMC) ไดมีการประชุมครั้งแรกเมื่อเดือน

มิถุนายน 2553

อาเซียนมีพันธกรณีอะไรบางในการสงเสริมการทองเที ่ยวทางเรือ (cruise tourism) ในภูมิภาค

สำหรับการทองเท่ียวทางเรือ อาเซียนไดจัดต้ังคณะทำงานดานการทองเท่ียวทางเรือของอาเซียน (ASEAN Cruise Working Group) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือปรับปรุงการอำนวยความสะดวกดานการทองเท่ียวทางเรือในอาเซียน ซ่ึงไดประชุมหารืออยางสม่ำเสมอ

ระหวางเจาหนาที่ดานการทองเที่ยวทางเรือกับคณะทำงานการขนสงทางน้ำของอาเซียน ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนยืนยันพันธกรณีในการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

ำ ิ

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 91: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

91AEC FACT BOOK

ทางเรือและไดมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานขอมูลเพื่อสนับสนุนการคาและหุนสวนอุตสาหกรรม

อาเซียนไดรวบรวมและจัดทำฐานขอมูลเกี่ยวกับทาเรือ เชน การดำเนินงาน

ของทาเรือ การใหบริการทาเรือ พิธีการศุลกากรและการตรวจคนเขาเมือง และขอมูล

เกี่ยวกับนักทองเที่ยวเพื่อชวยสนับสนุนการตัดสินใจของนักทองเที่ยวในการทองเที่ยว ทางเร ือในอาเซ ียน เป นต น โดยสามารถเข าถ ึงข อม ูลด ังกล าวได ท ี ่ เว ็บไซต www.cruiseasean.com คณะทำงานดานการทองเที่ยวทางเรือของอาเซียนยังประสบ

ความสำเร็จในการสงเสริมการทองเท่ียวทางเรือของอาเซียนในงาน ระหวางประเทศตางๆ เชน การเปดตัว ASEAN Cruise Website ที่ Seatrade ในเดือนมีนาคม 2550 ณ เมืองไมอะมี ประเทศสหรัฐอเมริกา และการสงเสริมการทองเที่ยวทางเรือของอาเซียน

ในงาน China International Travel Mart ณ เมืองคุนหมิง ประเทศจีน ท่ีผานมา สถิติการ ทองเที่ยวทางเรือของอาเซียนแสดงผลนาพอใจและมีการขยายตัวอยางตอเน่ือง

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

(Small and Medium Enterprises: SME)

องคกรรายสาขาของอาเซียนใดที่รับผิดชอบดาน SME และองคกรดังกลาว

ใหความสำคัญในการดำเนินกิจกรรมใดบาง

คณะทำงานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของอาเซียน (ASEAN SME Working Group: SMEWG) ถูกจัดต้ังข้ึน เพ่ือดูแลภาพรวมการพัฒนาและความรวมมือ

ดาน SME ในอาเซียน โดย SMEWG ประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานท่ีกำกับดูแลดาน SME ของประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งนี้ SMEWG ไดกำหนดนโยบาย โครงการ และ

กิจกรรมตางๆ และเปนเวทีหารือและประสานงานความรวมมือดาน SME ระหวางประเทศ

สมาชิกอาเซียน เพื่อประเมินสถานะของ SME ในประเทศอาเซียน โดยใชหลายแนวทาง เชน การเสริมสรางศักยภาพบุคลากร การอำนวยความสะดวก และความคิดริเริ่มขาม

พรมแดนเพ่ือสนับสนุนการพัฒนา SME ภายใตการดำเนินงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

อาเซียนไปสูการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 92: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

92 ASEAN Economic Community

SMEWG ดำเนินโครงการและกิจกรรมความรวมมือระดับภูมิภาคในสาขา SME อะไรบาง (ตามที่ระบุไวใน AEC Blueprint)

แนวทางความรวมมือดาน SME ระดับภูมิภาค ถูกกำหนดไวในแผนนโยบาย สำหรับการพัฒนา SME ของอาเซียน ป 2547-2557 (ASEAN Policy Blueprint for SME Development: APBSD) ตอมาในป 2553 อาเซียนไดใหการรับรองแผนปฏิบัติการ

ยุทธศาสตรสำหรับการพัฒนา SME ของอาเซียน ป 2553-2558 (Strategic Plan of Action for ASEAN SME Development 2010-2015) ซึ่งเปนแผนงานตอเนื่องจาก APBSD และไดรวบรวมมาตรการระดับภูมิภาคท่ีเก่ียวของกับ SME ทั้งหมดไวดวย

มาตรการดาน SME ตามท่ีระบุไวใน AEC Blueprint ที่สำคัญ 5 ประการ ดังนี้

(1) การจัดทำหลักสูตรรวมในการฝกอบรมผูประกอบการในอาเซียน มีอินโดนีเซีย

และสิงคโปรเปนประเทศผูนำ (ป 2551-2552)

(2) การจัดต้ังศูนยบริการ SME ท่ีครอบคลุมกวางขวางในประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีความเชื่อมโยงกันในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค มีไทยและเวียดนามเปนประเทศผูนำ (ป 2553-2554)

(3) การจัดตั้งสถาบันการเงินเพื่อสนับสนุน SME ในประเทศสมาชิกอาเซียน มีมาเลเซียและบรูไนฯเปนประเทศผูนำ (ป 2553-2554)

(4) การจัดทำโครงการระดับภูมิภาคในการฝกอบรมผูเช่ียวชาญโดยการแลกเปล่ียนบุคลากรและการศึกษาดูงาน มีพมาและฟลิปปนสเปนประเทศผูนำ (ป 2555-2556) และ

(5) การจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนา SME ระดับภูมิภาค เพ่ือใชเปนแหลงเงินทุนสนับสนุน SME ในการทำธุรกิจในอาเซียน มี สปป.ลาวและไทยเปนประเทศผูนำ (ป 2557-2558)

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 93: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

93AEC FACT BOOK

เม่ือมองไปถึงป 2558 และในอนาคตขางหนา ความทาทายในการพัฒนา SME ในอาเซียนมีอะไรบาง

SME ยังคงเปนแหลงของการจางงานและการสรางรายไดหลักในประเทศอาเซียน

สวนใหญ ความริเร่ิมและโครงการท่ีประเทศอาเซียนไดดำเนินการดาน SME เก่ียวของกับ

(1) การจัดทำหลักสูตรการฝกอบรมรวมในการฝกอบรม SME ในอาเซียน

(2) การกำหนดแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการจัดตั้งสถาบันการเงินเพื่อสนับสนุน SME

(3) การจัดต้ังระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสระดับประเทศและการใชระบบดังกลาว ของ SME เพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพและความสามารถในการแขงขัน ความรวมมือของอาเซียนในการพัฒนา SME ซึ่งเริ่มขึ้นตั้งแตป 2538 ไดรับแรงผลักดันเพิ่มขึ้นจากการ

สรางเครือขายการผลิตในโลกและภูมิภาค

อยางไรก็ตาม การจัดหาเงินทุนเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมตางๆของ SME ยังคงเปนความทาทายของอาเซียนจนถึงปจจุบัน ความคิดริเร่ิมดาน SME บางกิจกรรมยังดำเนินการ

ภายใตการสนับสนุนของประเทศอาเซียนเอง หรือตามแนวทางอาเซียน-ชวย-อาเซียน (ASEAN-Help-ASEAN) โดยประเทศสมาชิกอาเซียนตองจัดหาเงินทุนในการดำเนิน

โครงการพัฒนา SME หรือในการสงผูแทนเขารวมในโครงการ ดังกลาว

การมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชน

(Public-Private Engagement: PPE)

ทำไมการมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนจึงมีความสำคัญ

ดวยเราอยูในยุคของรัฐบาล “leaner and meaner” ดังน้ัน สังคมธุรกิจจึงควรไดรับความสำคัญมากขึ้นในการเปนแรงขับเคลื่อนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

และการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนจะ

ชวยสนับสนุนใหเกิดการผนึกกำลังและแรงผลักดัน (ทางบวก) จากภายนอก ซึ่งจะชวย

ใ ี

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 94: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

94 ASEAN Economic Community

สงเสริมและปรับปรุงความสอดคลองกัน การปฏิบัติได และความโปรงใสของมาตรการ

ตางๆ ของภาครัฐ รวมถึงความคิดริเร่ิมของภาคเอกชน – ระหวางอุตสาหกรรม ระหวาง ประเทศสมาชิก และภายในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เอง

บทบาทหลักของภาคเอกชนในการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และในการ รวมกลุมในเอเชียตะวันออก มีอะไรบาง

ภาคเอกชนเปนผูมีสวนไดเสียหลัก และมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการรวม

กลุมทางเศรษฐกิจ และกระบวนการโลกาภิวัฒนในหลายแงมุมในเชิงนโยบาย ขอมูลจากภาคเอกชนและความเปนหุนสวนเปนส่ิงจำเปนในการออกแบบยุทธศาสตรระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพดานตนทุน รวมถึงการระบุปญหาในการดำเนินงานการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจและการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อุตสาหกรรมและผูประกอบการ

อาเซียนมีบทบาทสำคัญและสามารถพึ่งพาไดในหวงโซอุปทานและเครือขายการผลิตที่ม ี

เพิ่มมากขึ้นสำหรับสินคาหลายประเภทในภูมิภาคและในโลก

ดังน้ัน องคกรภาคเอกชนจึงไมเพียงแตจะไดประโยชนจากโอกาสการคาและการลงทุนที่เปดกวางขึ้นในเขตการคาเสรีของอาเซียน และอาเซียนกับประเทศคูเจรจา โดยเฉพาะเขตการคาเสรีอาเซียนกับประเทศ+3 แตยังเปนภาคสวนที่มีสวนสำคัญใน

สถาปตยกรรมใหมของการพ่ึงพาซ่ึงกันและกันระหวางประเทศในเอเชียตะวันออก รวมถึง ระหวางเอเชียตะวันออกกับประชาคมโลกโดยรวม

การมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชนมีกลไกในการดำเนินงานอยางไรใน

อาเซียน

ณ ปจจุบัน อาเซียนดำเนินงานรวมกับสมาคมภาคเอกชนและผูแทนภาคเอกชน เปนประจำ หรือ เฉพาะกิจ ประมาณรอยละ 35 ของคณะทำงานรายสาขาท่ีเก่ียวของกับAEC (ประมาณ 100 คณะ) โดยเฉพาะในการหารือเพื่อจัดทำขอตกลงการยอมรับรวม (MRAs) และในการประชุมสภาหนวยงานกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมอาเซียน (ASEAN Telecommunication Council) ซึ่งมีผูแทนภาคเอกชนเขามามีสวนรวมอยางตอเนื่อง

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 95: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

95AEC FACT BOOK

นอกจากนี้ องคกรภาคเอกชนยังใหความชวยเหลือการดำเนินงานของคณะทำงานดาน

ความรวมมือในทรัพยสินทางปญญาของอาเซียน

ในระดับภูมิภาค กลไกหลักในการดำเนินงานของภาครัฐและเอกชนอาเซียน (PPE) คือ การประชุมหารือในสาขาเรงรัดการรวมกลุมเศรษฐกิจของอาเซียน (Consultative Meeting on Priority Sectors: COPS) การประชุมประสานงานในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Coordinating Conference on AEC: ECOM) และการประชุมหารือของสภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน (ASEAN Business Advisory Council: ABAC) โดยเฉพาะอยางยิ่งภาคเอกชนอาเซียน (ABAC) มีการจัดประชุม Business and Investment Summit เปนประจำทุกป และมีบทบาทสำคัญในการจัดทำขอเสนอแนะตอผูนำและรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซียน องคกรภาคเอกชนอื่นใน PPE คือ สภาหอการคาและอุตสาหกรรม

อาเซียน (ASEAN Chamber of Commerce and Industry: ASEAN CCI) อยางไรก็ตาม สมาชิกสวนใหญของ ASEAN CCI ก็เปนสมาชิกของ ABAC ดวย

ในชวงปที่ผานมา อาเซียนไดยกระดับการมีสวนรวมระหวางภาครัฐและเอกชน (PPE) ใหสูงขึ้น โดยจัดใหมีการประชุมหารือเปนประจำปละครั้ง ระหวางรัฐมนตร ี

เศรษฐกิจอาเซียน (AEM) กับ ASEAN BAC และผูแทนจากสมาคมอุตสาหกรรมตางๆ ของอาเซียน ที่สำคัญ ไดแก สมาพันธอุตสาหกรรมส่ิงทออาเซียน (ASEAN Federation of Textile Industries) และสมาพันธยานยนตอาเซียน (ASEAN Automotive Federation) ในการประชุมหารือดังกลาว ภาคเอกชนไดมีขอเสนอแนะ (AEM) สำคัญ

หลายประการ ณ ปจจุบัน ขอเสนอแนะดังกลาวอยูระหวางการพิจารณาของคณะทำงานรายสาขาของอาเซียนที่เกี่ยวของตอไป

Page 96: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

96 ASEAN Economic Community

ความคิดริเริ่มในการรวมกลุมทางเศรษฐกิจอาเซียนและ

การลดชองวางการพัฒนาประเทศ (IAI)

อาเซียนดำเนินการอะไรบาง เพ่ือชวยใหประเทศสมาชิกใหมสามารถรวมกลุมไดกับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม

ผูนำอาเซียนตระหนักดีวา ในการดำเนินงานไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจ

อาเซียน อาเซียนจำเปนตองลดชองวางการพัฒนาประเทศท่ีมีอยูระหวางประเทศสมาชิก โดยเฉพาะในดานเศรษฐกิจและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ที่ผานมา อาเซียนไดใชความพยายามอยางมากในการลดชองวางการพัฒนาประเทศ โดยไดรับการสนับสนุนจาก

ประเทศคูเจรจาและองคกรระหวางประเทศ ท้ังน้ี ประเทศคูเจรจาตางเขาใจดีวา หากชอง วางการพัฒนาดังกลาวไมไดรับการจัดการแกไขอยางเหมาะสม จะเปนเรื่องยากสำหรับ

ประเทศสมาชิกอาเซียนในการบรรลุเปาหมายการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558

ในขณะที่อาเซียนดำเนินงานตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) มีหลายประเด็นท่ีเก่ียวของกับการบรรลุเปาหมาย AEC ท่ีอาเซียนจำเปน

ตองพิจารณา ความทาทายสำคัญประการหนึ่ง คือ การหาความสมดุลในแงของความ

สอดคลองกัน (coherence) และการสนับสนุน (support) ระหวางประเทศสมาชิก

อาเซียนเพื่อไปสูการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ในการนี้ เพื่อไปสูเปาหมายของการลด

ชองวางการพัฒนาประเทศและการเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียน ผูนำอาเซียนไดเปดตัวความคิดริเร่ิมในการรวมกลุมทางเศรษฐกิจอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน เม่ือป 2543 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อลดชองวางของการพัฒนาประเทศและเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในอาเซียน โดยเฉพาะสำหรับประเทศสมาชิกใหมอาเซียน ไดแก กัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม

ความพยายามในการลดชองวางการพัฒนาประเทศของอาเซียน สวนใหญจะ

ดำเนินงานตามแผนงานความคิดริเริ่มในการรวมกลุมทางเศรษฐกิจอาเซียน (IAI Work Plan) โดย IAI Work Plan ระยะแรกไดรับการรับรองจากผูนำอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ณ ปจจุบัน IAI อยูระหวางการ

ั ป

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 97: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

97AEC FACT BOOK

ดำเนินงานระยะที่ 2 (ป 2552-2558) ประกอบดวยโครงการตางๆ ในสาขาสำคัญตาม

แผนงานการจัดตั้งประชาคม 3 เสาหลักของอาเซียน ไดแก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดย IAI Work Plan II ไดรับการรับรองจากผูนำอาเซียน ในเดือนมีนาคม 2552

ความคืบหนาของการดำเนินงาน IAI ที่สำคัญ คืออะไร

การพัฒนาทรัพยากรมนุษยยังคงเปนสาขาหลักท่ีมีความคืบหนาภายใต IAI ซ่ึงมี

เปาหมายเพื่อเพิ่มศักยภาพของบุคลากร โดยการฝกอบรมภาครัฐ พัฒนาประสิทธิภาพ

แรงงานและการจางงาน ยกระดับการศึกษา และฝกอบรมความเช่ียวชาญ ในสาขาตางๆ เชน การขนสง พลังงาน ICT การลงทุน การคาและบริการ ศุลกากรและมาตรฐาน เปนตน นอกจากนี้ การเรียนรูภาษาอังกฤษยังเปนเร่ืองสำคัญลำดับแรกดวย

ประเด็น/ความขัดแยงดานการพัฒนาอะไรที่เปนความทาทายสำคัญที่สุดในการดำเนินงาน IAI

IAI มีเปาหมายเพื่อเรงรัดการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจในประเทศอาเซียน โดยมียุทธศาสตรหลักเพื่อมุงไปสูการพัฒนาที่เทาเทียมกัน ลดความยากจน และจัดการ

กับความแตกตางของการพัฒนา

ท้ังน้ี การดำเนินโครงการ IAI จะมีประสิทธิภาพมากข้ึน หากโครงการดังกลาวมีความสอดคลอง หรือเปนสวนหน่ึงของนโยบายความรวมมือเพ่ือการพัฒนาและเร่ืองสำคัญ

ลำดับแรกของประเทศ ซึ่งจะชวยสรางใหเกิดการผนึกกำลังกันของการดำเนินโครงการ และกิจกรรมทวิภาคีกับประเทศผูบริจาคของประเทศอาเซียน กับการดำเนินงาน IAI ภายใต AEC Blueprint

การดำเนินงานตามแนวทางดังกลาวจะชวยใหเกิดความชัดเจนในเปาหมายของ โครงการตางๆ ที่มีตอบุคลากร และตอชุมชนโดยเฉพาะ รวมทั้งตอประเทศในภาพรวม ซึ่งเปนสาระสำคัญของ IAI

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

โ ี

¤ÓµÍº

Page 98: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

98 ASEAN Economic Community

ในขณะท่ี IAI มีเปาหมายเพ่ือใหความชวยเหลือประเทศกัมพูชา สปป.ลาว พมา และเวียดนาม เปนหลัก ความพยายามในการลดชองวางการพัฒนาประเทศยังมีการ ดำเนินงานในพ้ืนท่ีอ่ืนในอาเซียนดวยเชนกัน เชน เขตเศรษฐกิจอาเซียนตะวันออก บรูไนฯ-อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ฟลิปปนส (Brunei-Indonesia-Malaysia-Philippines East ASEAN Growth Area: BIMP-EAGA) เขตสามเหลี่ยมเศรษฐกิจอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle) และพ้ืนท่ีตามแนวเสนทางตะวันตก-ตะวันออก (West-East Corridor: WEC) ของลุมแมน้ำโขงในเวียดนาม สปป.ลาว กัมพูชา และทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ภายใตโครงการความรวมมือเพื่อการพัฒนา

อาเซียน-ลุมแมน้ำโขง (ASEAN-Mekong Basin Development Cooperation Scheme) ทั้งนี้ ความรวมมือระหวางโครงการความรวมมือทางเศรษฐกิจระดับอนุภูมิภาคมีบทบาทสำคัญและและชวยสนับสนุนการดำเนินงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค เนื่องจากจะชวยใหสามารถระบุความตองการที่แทจริงของประเทศสมาชิกในการรับ

ความชวยเหลือจากภายนอกและชวยสนับสนุนความมีประสิทธิภาพของการเสริมสราง ศักยภาพบุคลากรในโครงการของอาเซียน กลาวโดยสรุป คือ การประสานงานความ

รวมมือในระดับอนุภูมิภาคและ IAI จะชวยสนับสนุนใหประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถ

ปฏิบัติตามเปาหมายและพันธกรณีของอาเซียนในภาพรวม

ความสัมพันธของอาเซียนกับเศรษฐกิจภายนอก

ความสัมพันธของอาเซียนกับเศรษฐกิจในภูมิภาคและในโลกเปนอยางไร

อาเซียนมีบทบาทสำคัญเพ่ิมมากข้ึนในเศรษฐกิจภูมิภาคและโลก เน่ืองจากความกาวหนาของอาเซียนในการดำเนินงานไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558 ย่ิงอาเซียนกาวเขาใกลการเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกันมากเทาไหร ย่ิงทำใหอาเซียน

เปนภูมิภาคที่นาสนใจและดึงดูดใหประเทศคูเจรจาตองการจัดทำความตกลงเขตการคา

เสรี (Free Trade Area : FTA) หรือความเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจ (Comprehensive Economic Partnership: CEP) กับอาเซียนมากขึ้นเทานั้น เปนผลทำใหอาเซียนตอง ดำเนินงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจใน 2 แนวทางคูขนานกันไป คือ (1) การรวมกลุม

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 99: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

99AEC FACT BOOK

ภายในอาเซียน ซึ่งมีเปาหมายสูงสุดคือ การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558 และ (2) การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก ซ่ึงมียุทธศาสตร คือ การเจรจา FTA และ CEP กับประเทศคูคา/คูเจรจาหลัก

ณ ปจจุบัน อาเซียนเปนศูนยกลาง (Hub) ของ 4 FTAs และ 1 CEP ไดแก

¡ เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน (ASEAN-China Free Trade Area: ACFTA) เริ่มดำเนินการในป 2547 (Early Harvest Program) และบรรลุเปาหมายเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553

¡ เขตการคาเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN-Korea Free Trade Area: AKFTA) เร่ิมดำเนินการในป 2550 และบรรลุเปาหมายเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553

¡ ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจอาเซียน-ญ่ีปุน (ASEAN-Japan Comprehensive Economic Partnership: AJCEP) เร่ิมดำเนินการในป 2552

¡ เขตการคาเสรีอาเซียน-อินเดีย (ASEAN-India Free Trade Area: AIFTA) เร่ิมดำเนินการเม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2553 (ความตกลงการคาสินคา)

¡ เขตการคาเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด (ASEAN-Australia Newzealand Free Trade Area : AANZFTA) เร่ิมดำเนินการในป 2553

อะไรเปนแรงผลักดันใหอาเซียนจัดทำ FTAs และ CEPs ดังกลาว

มีเหตุผลหลัก 3 ประการที่ผลักดันใหอาเซียนเจรจาจัดทำ FTAs และ CEPs กับประเทศคูคาสำคัญคือ (1) เพื่อเปดตลาดใหมที่มีศักยภาพ (2) เพื่อเสริมสรางการ เขาถึงตลาด และ (3) เพื่อรักษาความสามารถในการแขงขันของอาเซียนกับประเทศ/กลุมเศรษฐกิจอื่น

¤Ó¶ÒÁ ?

ั ป

¤ÓµÍº

Page 100: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

100 ASEAN Economic Community

หลักการสำคัญในการเจรจา FTA และ CEP ของอาเซียน มีอะไรบาง

อาเซียนเจรจาจัดทำ FTA และ CEP โดยยึดตามหลักการสำคัญ ดังนี้

(1) สอดคลองกับหลักการขององคการการคาโลก (WTO consistent) เชน การเปดเสรีการคาสินคา ควรครอบคลุมมูลคาการคาอยางมีนัยสำคัญ และการเปดเสรี การคาบริการ ควรเปดใหกวางและลึกกวาที่ผูกพันไวภายใตความตกลงวาดวยการคา บริการขององคการการคาโลก (GATS Plus)

(2) ใหใชความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) ความตกลงการคาบริการ ของอาเซียน (AFAS) และความตกลงดานการลงทุนอยางเต็มรูปแบบของอาเซียน (ACIA) เปนพื้นฐานในการเจรจา FTA/CEP

(3) ใหมีความรวมมือทางเศรษฐกิจเปนสวนหน่ึงของ FTA/CEP

(4) ใหการปฏิบัติท่ีพิเศษและแตกตาง (special and differential treatment : S&D) โดยคำนึงถึงความแตกตางของระดับการพัฒนาประเทศ ไมเพียงแตระหวางประเทศ

สมาชิกอาเซียนดวยกันเอง แตรวมถึงระหวางอาเซียนกับประเทศคูเจรจา FTA ดวย

การเจรจา FTA/CEP ของอาเซียนดำเนินการอยางไร

การเจรจา FTA/CEP ของอาเซียนท้ัง 5 ฉบับ ดำเนินการตาม 2 แนวทาง คือ

(1) แนวทางการเจรจาตามลำดับ (sequential approach) เปนแนวทาง ที่ใชสำหรับ ACFTA, AKFTA และ AIFTA ในแนวทางดังกลาว อาเซียนและคูเจรจาจะ

เริ่มจากการเจรจากรอบความตกลง (Framework Agreement) ซึ่งจะเปนพื้นฐาน

สำหรับการเจรจาลำดับตอไป สำหรับความตกลงอยางนอย 4 ฉบับ คือ การคาสินคา การคาบริการ การลงทุน และการระงับขอพิพาท โดยจะเจรจาความตกลงวาดวยการคาสินคาและความตกลงวาดวยการระงับขอพิพาทกอนเปน 2 ความตกลงแรก ตามมาดวย

การคาบริการและการลงทุน

(2) แนวทางการเจรจาทุกดานพรอมกันและยอมรับผลการเจรจาในคราวเดียวกัน (single-undertaking) เปนแนวทางที่ใชสำหรับ AJCEP และ AANZFTA ในแนวทาง

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 101: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

101AEC FACT BOOK

ดังกลาว การเจรจาการคาสินคา การคาบริการ การลงทุน หลักการท่ีเก่ียวของกับการคา การระงับขอพิพาท และเรื่องอื่นๆ จะดำเนินไปพรอมกัน ซึ่งจะชวยเพิ่มความยืดหยุน

และอำนาจในการตอรองใหแกผูเจรจาท่ีจะสามารถประนีประนอมระหวางสาขา

ภาคเอกชน โดยเฉพาะผูสงออก/ผูผลิต จะไดรับประโยชนจาก FTAs/CEPs ของอาเซียนไดอยางไร

ผูสงออก/ผูผลิตในภูมิภาคจะสามารถเขาถึงตลาดท่ีกวางข้ึน จากการเปดเสรีการคาสินคาและบริการของอาเซียนกับคูเจรจา ทั้งนี้ FTAs/CEPs ของอาเซียนจะชวยดึงดูด

การลงทุนจากตางประเทศ ซึ่งเปนการเปดโอกาสสำหรับการจางงานและการถายทอด

เทคโนโลยี เพิ่มกิจกรรมทางธุรกิจ และสงเสริมความรวมมือระหวางผูดำเนินธุรกิจใน

อาเซียนกับคูเจรจา FTA นอกจากน้ี FTAs/CEPs ยังชวยสรางสภาพแวดลอมทางธุรกิจท่ีมีความแนนอน สามารถคาดการณได และโปรงใส ซ่ึงเปนปจจัยสำคัญตอการทำธุรกิจใหสามารถดำเนินไปไดอยางไมติดขัดโดยไมจำเปน

จากระดับความทะเยอทะยานของ FTAs/CEPs ของอาเซียน ประเทศภาคี ดำเนินการอยางไรเพื ่อใหมั ่นใจวาจะมีการปฏิบัติตามขอบทและพันธกรณีตางๆ ไดอยางราบรื่น โดยเฉพาะสำหรับประเทศสมาชิกท่ีพัฒนานอยท่ีสุดของอาเซียน

การดำเนินงานตาม FTAs/CEPs ของอาเซียน โดยเฉพาะสำหรับประเทศภาคีท่ี

พัฒนานอยที่สุด ไดรับการสนับสนุนตามขอบทวาดวยความรวมมือทางเศรษฐกิจในความตกลงตางๆ ขอบทดังกลาวถูกกำหนดขึ้นในแงมุมของการพัฒนา เพื่อใหมั่นใจวามีการ ดำเนินงานตามพันธกรณีตางๆเปนไปอยางราบรื่น และยังชวยลดชองวางการพัฒนา

ระหวางประเทศภาคีใน FTAs/CEPs นั้นๆ โครงการความรวมมือทางเศรษฐกิจดังกลาว

ครอบคลุมทั้งการใหความชวยเหลือดานเทคนิคและกิจกรรมการเสริมสรางศักยภาพ

บุคลากร

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

ำ ิ

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 102: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

102 ASEAN Economic Community

จากการโตแยงในปจจุบันเก่ียวกับสถาปตยกรรมภูมิภาคท่ีกำลังเกิดข้ึนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก/เอเชียแปซิฟก FTAs/CEP ของอาเซียนจะชวยสนับสนุนการขยายการ

รวมกลุมทางเศรษฐกิจในกรอบท่ีกวางข้ึนไดอยางไร

FTAs/CEP ของอาเซียนถูกออกแบบมาเพื่อใหเปน building blocks ไปสูการ

รวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก/เอเชียแปซิฟก ไมวาสถาปตยกรรม

ดังกลาวจะออกมาในรูปแบบใด อาเซียนไดจัดทำ FTAs/CEP กับประเทศสำคัญในภูมิภาค (ไดแก จีน ญ่ีปุน สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด) ซ่ึงมูลคาการคาระหวาง ประเทศของประเทศดังกลาวมีสัดสวนกวารอยละ 50 ของการคาโลก ดังน้ัน การควบรวม

ความตกลง FTAs/CEP ดังกลาวมาเปนความตกลงเดียว จึงไมเพียงจะเปนผลดีตอ

ภูมิภาค แตยังรวมถึงระบบการคาโลกดวย

สำนักงานระวังภัยทางเศรษฐกิจมหภาคและการเงิน

(Macroeconomic and Finance Surveillance Office: MFSO)

MFSO คืออะไร

สำนักงานระวังภัยทางเศรษฐกิจมหภาคและการเงิน (MFSO) เปนหนวยงานท่ีถูก

จัดตั้งขึ้นใหม ภายใตสำนักงานรองเลขาธิการอาเซียนที่ดูแลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หนาที่หลักของ MFSO คือ การติดตามกำกับดูแลภาวะเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก

อาเซียนและการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน MFSO มีผูอำนวยการ (Director) เปนหัวหนาสำนักงานซึ่งจะทำหนาที่เปนหัวหนานักเศรษฐศาสตร (chief economist) ประจำ AEC Department ของสำนักเลขาธิการอาเซียน โดยผูอำนวยการจะมีผูชวย

ผูอำนวยการ 3 คน ซ่ึงทำหนาท่ีเปนนักเศรษฐศาสตรอาวุโส (senior economist) ดูแลใน 3 ดานหลัก คือ (1) การวิเคราะหดานการเงิน การคลัง และปจจัยภายนอก (2) การวิเคราะห ดานการคาและการลงทุน และ (3) การวิเคราะหดานการผลิตและแรงงาน

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

ั ั้

¤ÓµÍº

Page 103: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

103AEC FACT BOOK

ทำไมจึงจัดต้ัง MFSO

นับตั้งแตผูนำอาเซียนยืนยันเจตนารมณการปฏิบัติตามพันธกรณีเพื่อการรวม

กลุมทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งขึ้น ตามที่ระบุไวใน Bali Concord ในป 2548 อาเซียนไดมุงม่ัน

ในการดำเนินงานเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 ในการบูรณาการความรวมมือตางๆ ไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แนวทางในการรวมตัวทาง เศรษฐกิจจึงจำเปนตองเปนไปในเชิงยุทธศาสตรมากขึ้น และจำเปนตองไดรับขอมูลและ

ขอเสนอแนะเพิ่มขึ้น ทั้งจากประเทศสมาชิกอาเซียนและจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งเปนผูประสานงานความคิดริเริ่มการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในสาขาตางๆ โดยเฉพาะ

อยางยิ่ง สำนักเลขาธิการอาเซียนจำเปนตองทำงานเชิงรุกและมองการณไปในอนาคต

มากขึ้นในการวิเคราะหประเด็นตางๆในภูมิภาคและการจัดทำขอเสนอแนะดานนโยบาย

เพื่อสรางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนท่ีทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ภายในป 2558

อีกแงมุมที่สำคัญของการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ ความจำเปนใน

การติดตามกำกับดูแลเศรษฐกิจของภูมิภาคอยางเปนระบบและครอบคลุมกวางขวาง เพื่อใหมั่นใจวาประเทศสมาชิกปฏิบัติตามความคิดริเริ่มตางๆ ของภูมิภาค และยึดตาม

องคประกอบพื้นฐานของเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค ซึ่งจะชวยเสริมสรางความ

เขมแข็งของการรวมตัวทางเศรษฐกิจอาเซียน ดวยเหตุดังกลาว ผูนำอาเซียนจึงไดเห็นชอบ

ใหเสริมสรางศักยภาพสำนักเลขาธิการอาเซียนในการวิเคราะหและติดตามกำกับดูแล

เศรษฐกิจ โดยการจัดตั้งสำนักงานระวังภัยทางเศรษฐกิจมหภาคและการเงินระดับสูง

หนาท่ีของ MFSO มีอะไรบาง

MFSO มีหนาที่หลัก 2 ประการ คือ

(1) เสริมสราง peer review ภายใตกระบวนการระวังภัยของอาเซียน (ASEAN Surveillance Process: ASP) เพื่อทำใหสาระและรูปแบบของกระบวนการระวังภัย

เกี่ยวกับสถานการณในภูมิภาคในปจจุบันมีประสิทธิภาพมากข้ึน และนาเช่ือถือ

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

¤Ó¶ÒÁ ?

¤ÓµÍº

Page 104: One Vision, One Identity, One Communitythailaws.com/download/aec/AEC-factbook.pdf(ASEAN Charter) ซ งม ผลใช บ งค บแล วต งแต เด อนธ นวาคม

คำถาม/คำตอบ (Q&A)

104 ASEAN Economic Community

(2) ยกระดับการติดตามประเมินผลความคืบหนาการรวมกลุมทางเศรษฐกิจใน

อาเซียน เพื่อใหมั่นใจวาความริเริ่มตางๆ ดานการรวมกลุมในภูมิภาคมีความเกี่ยวของ และมีการดำเนินงานตามกำหนดเวลา

ทั้งนี้ ในการดำเนินงานตามหนาที่ดังกลาว MFSO จึงตองทำงานมากกวาการ

แลกเปลี่ยนและเผยแพรขอมูล จากการเปนสำนักงานระวังภัยที่ทำงานใหแกอาเซียน MFSO จะตองมีบทบาทนำในการผลิตผลงานวิเคราะหในการเฝาระวังเศรษฐกิจที่มี คุณภาพ สนับสนุนการหารือและติดตามกำกับดูแลการรวมกลุมทางเศรษฐกิจตามแผน

ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน AEC (AEC Scorecard)