Muang Khong

50

description

Photobook Muang Khong Champasak

Transcript of Muang Khong

Page 1: Muang Khong
Page 2: Muang Khong
Page 3: Muang Khong
Page 4: Muang Khong
Page 5: Muang Khong
Page 6: Muang Khong
Page 7: Muang Khong

“MAUNG KHONG CHAMPASACK”

Photobook โดย กังสดาล จงคา

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 8: Muang Khong

ปราสาทหินวัดพู

เมืองโขง

แขวงจ�ำปำสัก

ปากเซช่องเม็ก

จ�าปาสักเป็นแขวงหนึ่งใน 18 แขวงของ สปป.ลาว มีเนื้อที่ทั้งหมด 15,415 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทาง

ภาคใต้สุดของประเทศ อันเป็นพื้นที่ลุ่มแม่น�้าโขงตอนล่าง ห่างจากนครหลวงเวียงจันทน์ประมาณ 610 กิโลเมตร

เป็นแขวงหนึ่งที่ตั้งอยู่ทั้งสองฟากฝั่งของแม่น�้าโขง (แม่น�้าผ่านกลางแขวง)

อาณาเขตของแขวงจ�าปากสัก

ทิศเหนือ ติดกับแขวสาละวัน

ทิศตะวันออก ติดกับแขวงเซกอง และแขวงอัตตะปือ

ทิศใต้ ติดกับประเทศกัมพูชา

ทิศตะวันตก ติดกับประเทศไทย

ลักษณะภูมิประเทศ

แขวงจ�าปาสัก มีแนวเทือกเขาสูงอยู่ทางทิศ

เหนือและทิศตะวันออก บริเวณตอนกลางของแขวง

เป็นพื้นที่ลุ่มแม่น�้าโขงและแม่น�้าเซโดน บริเวณทางด้านทิศ

ตะวันออกเป็นที่ราบสูง ซึ่งมีความสูงประมาณ 1,500

- 1,800 เมตร จากระดับน�้าทะเลปานกลาง พื้นที่โดย

ทั่วไปมีความสูงไม่เกิน 1,000 เมตร จึงท�าให้บริเวณนี้

มีฝนตกมาก และอากาศชุ่มเย็นตลอดทั้งปี บริเวณภูเขา

ทางด้านนี้ จะเป็นแนวเทือกเขาของภูเขาไฟที่ดับแล้ว

บริเวณตอนใต้ของแขวง จะเป็นดินแดนที่เป็นเกาะแก่ง

มากมาย อันเป็นที่มาของค�าว่า “สี่พันดอน” โดยมี เกาะ

ดอนโขง เป็นเกาะหรือดอนที่ ใหญ่ที่สุด ลักษณะในดิน

แขวงจ�าปาสักส่วนใหญ่ เป็นดินที่มีคุณภาพดี เพราะเป็น

บริเวณทีเ่ป็นแนวภูเขาไฟเก่า ดงันัน้ จึงเหมาะแก่การเพาะปลกู

ลักษณะภูมิอากาศ

อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปีของแขวงจ�าปาสัก

จะอยู่ประมาณ 27 องศาเซลเซียส แต่ในบริเวณทางทิศ

เหนือของแขวง คือ ที่เมืองปากซอง จะมีอากาศเย็น

ตลอดทั้งปี โดยอุณหภูมิเฉลี่ยต�่ากว่า 20 องศา

เซลเซียส และมีความชื้นสัมพัทธ์สูง ปริมาณฝนตกใน

ระดับ 1,400 - 2,000 มิลลิเมตรต่อปี ยกเว้น

ที่ราบสูง

Page 9: Muang Khong
Page 10: Muang Khong

ทรัพยากร

แขวงจ�าปาสักได้ชื่อว่าเป็นดินแดนที่อุดม

สมบูรณ์แห่งหนึ่ง เพราะมีดินด�าน�้าชุ่ม เหมาะแก่การ

เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งจะแตกต่างกันไปตาม

ลักษณะของภูมิประเทศ

ประชาชนส่วนใหญ่ของแขวงจ�าปาสักมี

อาชีพทางเกษตรกร พืชที่ท�าชื่อเสียงของแขวง

จ�าปาสัก ได้แก่ ข้าวและกาแฟ โดยสามารถส่งออก

จ�าหน่ายทั้งภายในและภายนอกประเทศ ข้าวที่ปลูก

ส่วนใหญ่เป็นข้าวเหนียว ส่วนกาแฟส่งออกไปยัง

ยุโรปส่วนมาก นอกจากนี้ ยังมีพืชส่งออกอีก

ชนิดหนึ่ง โดยส่งขายให้กับญี่ปุ่น นั่นคือ “หมาก

แหน่ง” เป็นพืชสมุนไพรที่สามารถสกัดที่สามารถ

สกัดท�ายารักษาโรคประเภทยาแก้ปวด ยาดม

และยาบ�ารุง

แขวงจ�าปาสักได้ชื่อว่าเป็นดินแดน “สี่พัน

ดอน” ท�าให้มีปลามากมายอุดมสมบูรณ์ เช่น ปลา

เพีย ปลากด ปลาหอน ปลาเคิง ปลาแข้ รวมทั้ง

ปลาข่า หรือปลาโลมาน�้าจืด ซึ่งมีแห่งเดียวในแม่น�้า

โขง และใกล้จะสูญพันธุ์ทุกขณะเข้าไปแล้ว

Page 11: Muang Khong

แขวงจ�าปาสัก เป็นแขวงส�าคัญทางภาคใต้มาแต่สมัย

โบราณ เป็นที่ตั้งของอาณาจักจ�าปาสัก เคยอยู่ในเขตอาณา

จักขอมโบราณ แขวงนี้เป็นที่ตั้งของปราสาทหินวัดภู ซึ่งได้

รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

ก่อนที่ฝรั่งเศสจะยึดครองลาว เมืองเอกของ

แขวงนี้คือเมืองจ�าปาสัก ตั้งอยู่ทางฝั่งขวาแม่น�้าโขงแต่หลัง

จากฝรั่งเศสได้เข้ามายึดครองลาวแล้ว ก็ย้ายเมืองเอกไปที่

ปากเซ ซึ่งอยู่เหนือจากจ�าปาสักไป 30 กิโลเมตรและอยู่ทาง

ฝั่งซ้ายของแม่น�้าโขง แขวงจ�าปาสักนี้มีแหล่งท่องเที่ยวทาง

ธรรมชาติมากมาย เช่น น�้าตกคอนพะเพ็ง น�้าตกผาส้วม

น�้าตกหลี่ผี และมี ปราสาทหินวัดพู ซึ่งขึ้นทะเบียนเป็น

มรดกโลก แห่งที่ 2 ของ สปป.ลาว

เขตติดต่อของแขวงนี้ทางตะวันตกสามารถข้ามไป

ประเทศไทยทางช่องเม็ก จ.อุบลราชธานี และทางใต้ ยัง

สามารถเดินทางผ่านด่านเวินคาม และด่านพรมแดน ดง

กะลอ ของ สปป.ลาว เพื่อไปจังหวัดสตึงแตรงของ

ประเทศกัมพูชา

Page 12: Muang Khong

เมืองโขงอยู่ในแขวงจ�าปาสักทางตอนใต้

ของสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชน (สปป.)

ลาว ซึ่งมีแม่น�้าโขงเป็นเส้นเลอืดส�าคญัในการหล่อ

เลีย้งชวีติของชาวบ้านมายาวนาน แม่น�า้โขงในช่วง

ที่ ไหลผ่านเมอืงโขง หรือ สพีนัดอน มีความกว้าง

ใหญ่ไพศาล จากฝั่งถึงฝั่งกินความยาวกว่า 12

กิโลเมตร และมีปริมาณน�้าที่มากโดยเฉพาะฤดูฝน

ซึ่งเป็นช่วงหาปลาประจ�าปี เพราะได้รับการเติมเต็ม

จากน�้าในแม่น�้าสาขา อาทิ แม่น�้ามูน น�้าสงคราม

จากฝั่งไทย แม่น�้าอู แม่น�้าซัน แม่น�้าเซบังไฟ ในลาว

ประกอบกับพื้นที่นี้เป็นที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ที่เกิด

จากการยุบตัวของแผ่นหิน ท�าให้เกิดเกาะแก่ง

มากมาย รวมทั้งน�้าตกสวยงามอย่างหลี่ผี และ

คอนพะเพ็ง เมืองโขงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ใหญ่

ของปลาแม่น�้าโขง เนื่องจากมีระบบนิเวศที่เอื้อ

อ�านวยโดยเป็นพื้นที่ชุ่มน�้าที่เชื่อมร้อยสู่เมือง

สตรึงเตรง หรือ เซียงแตง ในกัมพูชา ลงไป

จรดทะเลสาบเขมรที่เป็นแหล่งปลาที่ ใหญ่ที่สุด

ในลุ่มน�้าโขง

Page 13: Muang Khong
Page 14: Muang Khong

เมืองโขงหรือ สี่พันดอน (Si phandon) แม่น�้ำโขงช่วงใกล้เขตแดน

กัมพูชำมีขนำดกว้ำง 10-12 กิโลเมตร กลำงล�ำน�้ำเต็มไปด้วยเกำะแก่งหินขนำด

ต่ำงๆถึง4,000เกำะเป็นที่มำของชื่อสี่พันดอนค�ำว่ำดอนในภำษำลำวหมำยถึง

เนินดินที่ผุดขึ้นในแม่น�้ำและมีน�้ำล้อมรอบในจ�ำนวนสี่พันดอนนี้ดอนที่ ใหญ่ที่สุด

คือดอนโขง

Page 15: Muang Khong

ดอนโขง

กว้าง 6 กิโลเมตร ยาว 12 กิโลเมตร

เป็นบ้านเกิดของท่านค�าไตสีพันดอน

อดีตประธานประเทศลาว นับว่าเป็นเมือง

ที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญด้วย

ระบบโครงวร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า และ

ประปาที่สมบูรณ์ มีแม่น�้าโขงล้อมรอบ

มีโรงแรมและเกสต์เฮาส์เป็นจ�านวนมาก

โดยเฉพาะวิลล่าแบบฝรั่งเศสหลายแห่ง

ที่ ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม รวมทั้ง

ร้านอาหารริมแม่น�้าโขงที่มีอาหารสดๆ

จากแม่น�้ามาบริการ จึงมีชาวต่างชาติไป

พักผ่อนตากอากาศจ�านวนมาก สถานที่

น่าสนใจ ได้แก่ วัดพวงแก้วอะรุโนไทย์

มีพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ วัด

จอมทอง วัดเก่าแก่ที่สุดของดอนโขง

สร้างในสมัย เจ้าอนุวงศ์

Page 16: Muang Khong

วัดพวงแก้วอะรุโนไทย์

ดอนโขง

Page 17: Muang Khong

เด็กนักเรียนชาวลาว

ดอนโขง

Page 18: Muang Khong

ดอนเดด

เป็นเกาะเล็กๆ ทางตอนเหนือของดอนคอน และเป็นท่าเรือระหว่างบ้านนากะสัง

(ท่าข้ามนากะสัง) บรรยากาศแรกที่ทุกคนจะได้พบ คือ การนอนอาบแดด

ผ่อนคลายของนักเที่ยวกลุ่มเล็กๆ ที่หาดทรายซึ่งเป็นสันดอน ซึ่งที่นั่น

เป็นท่าเรือด้วย

Page 19: Muang Khong
Page 20: Muang Khong

ท่าข้ามนากะสัง-ดอนเดด

Page 21: Muang Khong

ข้ามดอนเดด (ท่าเรือดอนเดด)

รถห้าแถวน�าเที่ยวชมน�้าตกหลี่ผี

และท่าเรือขนส่งสินค้าฝรั่งเศส เนื่องจาก

จากฝรั่งเศสระเบิดคอนพะเพ็งกับหลี่ผี

ไม่ส�าเร็จ จึงต้องใช้วิธีน�าสินค้าพวกไม้

ทองแดง มาขึ้นที่นี้แล้วใช้รถไฟขนไปยัง

อีกฟากนึงของเกาะแทน

Page 22: Muang Khong
Page 23: Muang Khong

ดอนคอน

เป็นดอนขนาดรองลงมา กว้าง 4.5 กิโลเมตร ยาว 5 กิโลเมตร

ประกอบด้วย 3 หมู่บ้าน ห่างจากหมู่บ้านไป 2 กิโลเมตร เป็นที่ตั้ง

ของน�้าตก หลี่ผี สมัยฝรั่งเศสยึดครองอินโดจีนจ�าเป็นต้อง

ขนส่งสินค้าและสิ่งของต่างๆ ขึ้นไปทางตอนกลางประเทศแต่ติดขัด

เกาะแก่งขนาดใหญ่ท�าให้เรือสินค้าไม่สามารถแล่นผ่านไปได้ จึงได้

สร้างท่าเรือและทางรถไฟบนดอนคอนและดอนเดด พอเรือแล่นมา

ถึงบริเวณสี่พันดอนก็จอดเรือไว้ที่ดอนเดด ขนถ่ายสินค้าจาก

เรือไปทางรถไฟจากหัวดอนเดดข้ามไปท้ายดอนคอนแล้วขนสินค้า

ลงเรือใหม่ ทางรถไฟสายนี้ปัจจุบันยังคงมีซากหลงเหลืออยู่ ให้

เห็น รวมทั้ง หัวรถจักรไอน�้าที่ ใช้ในสมัยนั้น

Page 24: Muang Khong

วิถีชีวิตยามเช้า

ดอนคอน

Page 25: Muang Khong
Page 26: Muang Khong

เรือนฝาไม้ไผ่ขัดแตะ

หลังคามุงใบมะพร้าวแบบหลังเดี่ยว

ดอนคอน

Page 27: Muang Khong

บ้านเรือนริมโขง

ดอนคอน

Page 28: Muang Khong

วิถีชีวิตริมโขง

คนพึ่งปลา

ปลาพึ่งน้ำ

แม่น�้ำโขง แม่น�้ำในบริเวณนี้แยกออกเป็นสำยต่ำงๆ หรือที่เรียกว่ำ ฮู

ในภำษำลำว พบพันธุ์ปลำอย่ำงน้อย 201 ชนิดในบริเวณดังกล่ำว รวมทั้ง

ปลำบึก และโลมำอิรวดี กำรศึกษำของผู้เชี่ยวชำญระบุว่ำพันธุ์ปลำแม่น�้ำโขงกว่ำ

ร้อยละ70เป็นปลำอพยพทำงไกลจำกทำงตอนล่ำงของลุม่น�ำ้สูท่ำงตอนบนโดย

มีระดับน�้ำตำมฤดูกำล และระบบนิเวศ ที่เป็นสิ่งเอื้ออ�ำนวยแก่กำรอพยพและ

ขยำยพันธุ์ปลำแม่น�้ำโขง

Page 29: Muang Khong
Page 30: Muang Khong

ยามอู่ ยามเช้า

Page 31: Muang Khong

อู่ ดักปลา เป็นภาษาลาว คือเครื่องมือจับปลาชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็น

ตอกไม้ไผ่สานกันเป็นผืนใหญ่ ผูกด้วยเชือกทั้งสี่มุมให้หย่อนคล้าย

อู่นอน ( “อู่” ภาษาอีสาน แปลว่า “เปล” ) น�ามาวางหนือน�้าตกใช้ดักปลา

ที่จะกระโดดขึ้นไปยังเหนือน�้าจะมาติดที่อู่ ปลาที่ ได้เป็นปลาเล็กปลาน้อย เช่น

ปลาสร้อย

Page 32: Muang Khong
Page 33: Muang Khong
Page 34: Muang Khong
Page 35: Muang Khong

หลี่ เป็นภาษาลาว เป็นเครื่องมือจับปลาชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายลอบ

หลี่ ได้รับการตกทอดมาจากบรรพบุรุษ จากรุ่นสู่รุ่น สืบทอดกันมาใน

ครอบครัว มีการดูแลและซ่อมแซมอยู่ทุกๆ ปีก่อนน�้าหลาก นับเป็น

เครื่องมือที่ส�าคัญในการจับปลา

Page 36: Muang Khong
Page 37: Muang Khong
Page 38: Muang Khong
Page 39: Muang Khong
Page 40: Muang Khong
Page 41: Muang Khong

วัฒนธรรมปลา และการกินปลา

อยู่คู่กับวิถีชีวิตริมน�้ามาอย่างยาวนาน

เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตชาวบ้านเมืองโขง

ในทุกหนทุกแห่ง ซึ่งเขาเหล่านั้นจะขาดปลา

และล�าน�้าแห่งนี้ ไปเสียมิได้ เพราะเป็นสิ่งที่

หล่อเลี้ยงชีวิตนับล้านตั้งแต่ในอดีต

จนถึงปัจจุบัน

Page 42: Muang Khong
Page 43: Muang Khong

ก้อยปลาสร้อย

ชาวบ้านบอกว่าปลาสร้อยส�าคัญ

ที่สุดเพราะมีอยู่จ�านวนมาก และมี

ให้จับได้ตลอดทั้งปีไม่ว่าน�้าจะมาก

หรือน้อย ชาวลาวที่มีวิถีชีวิต

อยู่ริมโขงจะอาศัยปลาสร้อย

ด�ารงชีพและเลี้ยงครอบครัว

หากว่าหาปลาใหญ่ไม่ได้

Page 44: Muang Khong
Page 45: Muang Khong
Page 46: Muang Khong
Page 47: Muang Khong
Page 48: Muang Khong
Page 49: Muang Khong
Page 50: Muang Khong