MDT7_chap-a

6
N o t e การแลกเปลี ่ยนขอมูลระหวาง MDT7 กับซอฟทแวร CAD อื่นๆ ไฟลฟอรแมตที ่เราใชเปนสื่อกลางระหวางซอฟทแวรในกลุม CAD ดวยกันมีหลายฟอรแมต อาทิ เชน .sat, .stp, .step, .dwg, .dxf, .igs, .iges, .stl, .3ds บางฟอรแมตเหมาะสมในการแลกเปลี ่ยนขอมูลที่เปน NURBS Surface อาทิ เชน .igs, iges บางฟอรแมตใชสําหรับเหมาะสมสําหรับขอมูลที่เปน Solid อาทิ เชน .sat (Desktop ACIS), .ste, .step บางฟอรแมตเหมาะสําหรับขอมูลที่เปน Mesh อาทิ เชน .stl, .3ds เปนตน หากเราจะตองนําพารทและแอสเซมบลีจาก Mechanical Desktop 7 ไปใชในซอฟทแวร Autodesk Inventor, Solidworks, Solid Edge, Pro/ENGINEER, Unigraphics หรือซอฟทแวรอื่นๆ หรือนําพารท จากซอฟทแวรอื่นๆ เขามาใชงานใน MDT7 ควรเลือกฟอรแมต .ste หรือ .step เปนอันดับแรก เนื่องจาก ฟอรแมต .ste หรือ .step เหมาะสําหรับการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางซอฟทแวรประเภท Features- Based หรือ Paramatric Solid ซึ่งจะมีขอมูลพารทและแอสเซมบลี เราสามารถสรางฟเจอรเพิ่มเติม หรือสราง Constraints ระหวางพารทในแอสเซมบลีตอไปไดทันที หากเราตองการนําพารทและ แอสเซมบลีจาก MDT7 ไปใชงานวิเคราะหความแข็งแรงดวยวิธี Finite Element Analysis ในซอฟแวร CAE อาทิ เชน COSMOS DesignSTAR 3.0 เราใชฟอรแมต .ste, .step เปนไฟลฟอรแมตสื่อกลางในการ แลกเปลี่ยนขอมูล หากเราตองการนําพารทและแอสเซมบลีจาก MDT7 ไปใชใน 3DSMAX 5 เราควรใชไฟลฟอรแมต .dwg (ที่บันทึกในฟอรแมตของ AutoCAD 2000) หรือฟอรแมต .3ds เปนตน หากเรา ตองแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง MDT7 และ Rhinoceros 3.0 เราสามารถเลือกใชฟอรแมต .sat (Desktop ACIS), .ste, .step, .igs, .iges เปนไฟลสื่อกลาง โดยทั ่วไปแลวฟอรแมต .ste, .step, .igs, .iges จะมีไฟล .opt ควบคุมการแปลงไฟล ซึ่งอยูในโฟลเดอร C:\Program Files\Autodesk\MDT 2004\Support อาทิ เชน cals1.opt, cals2.opt, cals4.opt, catia.opt, cv.opt, ug.opt เราจะตองเลือก Option File ตามความตองการของซอฟทแวรเปาหมาย มิฉะนั้น การแลก เปลี่ยนขอมูลอาจจะเกิดการผิดพลาด จนกระทั่งไมสามารถนําพารทแและแอสเซมบลีไปใชงานได โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให cals4.opt เปน Option file ใชงาน หาก Export พารทและแอสเซมบลีแลว ปรากฏวาไมสามารถนําไปใชในซอฟทแวรอื่นๆ เราก็สามารถเปลี่ยน .opt ใหมจนกวาจะใชการได ภาคผนวก . การนําไฟลจาก MDT7 ไปใชงาน ใน CAD อื่นๆ และ 3DSMAX chap-a.pmd 13/10/2549, 0:00 517

Transcript of MDT7_chap-a

Page 1: MDT7_chap-a

N o t e

การแลกเปลีย่นขอมูลระหวาง MDT7 กบัซอฟทแวร CAD อืน่ๆไฟลฟอรแมตทีเ่ราใชเปนส่ือกลางระหวางซอฟทแวรในกลุม CAD ดวยกนัมหีลายฟอรแมต อาท ิเชน.sat, .stp, .step, .dwg, .dxf, .igs, .iges, .stl, .3ds บางฟอรแมตเหมาะสมในการแลกเปล่ียนขอมลูทีเ่ปนNURBS Surface อาท ิเชน .igs, iges บางฟอรแมตใชสําหรับเหมาะสมสําหรับขอมลูทีเ่ปน Solid อาทิเชน .sat (Desktop ACIS), .ste, .step บางฟอรแมตเหมาะสําหรับขอมลูทีเ่ปน Mesh อาท ิเชน .stl, .3ds เปนตน

หากเราจะตองนําพารทและแอสเซมบลีจาก Mechanical Desktop 7 ไปใชในซอฟทแวร AutodeskInventor, Solidworks, Solid Edge, Pro/ENGINEER, Unigraphics หรือซอฟทแวรอ่ืนๆ หรือนําพารทจากซอฟทแวรอ่ืนๆ เขามาใชงานใน MDT7 ควรเลือกฟอรแมต .ste หรือ .step เปนอันดบัแรก เนือ่งจากฟอรแมต .ste หรือ .step เหมาะสําหรับการแลกเปล่ียนขอมูลระหวางซอฟทแวรประเภท Features-Based หรือ Paramatric Solid ซ่ึงจะมีขอมูลพารทและแอสเซมบลี เราสามารถสรางฟเจอรเพิ่มเติมหรือสราง Constraints ระหวางพารทในแอสเซมบลีตอไปไดทันที หากเราตองการนําพารทและแอสเซมบลีจาก MDT7 ไปใชงานวเิคราะหความแขง็แรงดวยวิธ ีFinite Element Analysis ในซอฟแวรCAE อาท ิเชน COSMOS DesignSTAR 3.0 เราใชฟอรแมต .ste, .step เปนไฟลฟอรแมตส่ือกลางในการแลกเปล่ียนขอมูล หากเราตองการนําพารทและแอสเซมบลีจาก MDT7 ไปใชใน 3DSMAX 5เราควรใชไฟลฟอรแมต .dwg (ทีบ่นัทกึในฟอรแมตของ AutoCAD 2000) หรือฟอรแมต .3ds เปนตนหากเรา ตองแลกเปล่ียนขอมลูระหวาง MDT7 และ Rhinoceros 3.0 เราสามารถเลือกใชฟอรแมต .sat(Desktop ACIS), .ste, .step, .igs, .iges เปนไฟลส่ือกลาง

โดยทั่วไปแลวฟอรแมต .ste, .step, .igs, .iges จะมีไฟล .opt ควบคุมการแปลงไฟล ซึง่อยูในโฟลเดอรC:\Program Files\Autodesk\MDT 2004\Support อาทิ เชน cals1.opt, cals2.opt, cals4.opt, catia.opt,cv.opt, ug.opt เราจะตองเลือก Option File ตามความตองการของซอฟทแวรเปาหมาย มิฉะนัน้ การแลกเปลี่ยนขอมูลอาจจะเกิดการผิดพลาด จนกระทั่งไมสามารถนําพารทแและแอสเซมบลีไปใชงานไดโดยทีโ่ปรแกรมกําหนดมาให cals4.opt เปน Option file ใชงาน หาก Export พารทและแอสเซมบลแีลวปรากฏวาไมสามารถนําไปใชในซอฟทแวรอื่นๆ เราก็สามารถเปลี่ยน .opt ใหมจนกวาจะใชการได

ภาคผนวก ก.การนําไฟลจาก MDT7 ไปใชงานใน CAD อ่ืนๆ และ 3DSMAX

chap-a.pmd 13/10/2549, 0:00517

Page 2: MDT7_chap-a

518 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e การแปลงไฟลจาก Mechanical Desktop ไปใชยังซอฟทแวร CAD อื่นๆ หรือแปลงจากซอฟทแวรCAD อืน่ๆ เขามาใชงานใน Mechanical Desktop ไมยุงยากและตรงไปตรงมา เพียงแตใชคําสัง่ File4Export เพ่ือสรางไฟลฟอรแมตที่ตองการ อาทิ เชน .sat (Desktop ACIS), .stp, .step, .igs, .iges เราก็จะสามารถนําไฟลขอมูลไปใชในซอฟทแวร CAD อืน่ๆ ไดซึ่งอาจจะใชคําสั่ง File4Open หรือใชคําสัง่File4Import เทานั้น จึงไมจําเปนตองอธิบายรายละเอียด แตบางคร้ังหากเลือกไฟล .igs หรือ .igesเปนฟอรแมตในการแลกเปลี่ยนขอมูล อาจจะจําเปนตองเลอืก Option file ควบคมุการแปลงไฟล แตสําหรับฟอรแมต .stp, หรือ .step สวนใหญไมจําเปนที่จะตองเปลี่ยน Option file สามารถใช Optionfile ที่โปรแกรมกําหนดมาใหควบคุมการแปลงไฟลได เพราะไฟลประเภทนี้สามารถเขากับไดกับซอฟทแวร CAD เกือบทุกโปรแกรมโดยไมตองเปลี่ยน Option file ได

ไฟล .stp นําเขาสู COSMOS DesignSTAR 3.0ไฟล .stp นําเขาสู Autodesk Inventor 7

ไฟล .stp นําเขาสู Rhinoceros 3.0

การนําพารทและแอสเซมบลจีาก MDT7 ไปใชงานใน 3DSMAX5หากเราตองการนาํพารทตางๆ และแอสเซมบลีจาก MDT7 ไปใชงานใน 3DSMAX 5 เราไมสามารถใชวธิีระเบดิพารททัง้หมดใหเปน 3D Solid ของ AutoCAD ดวยคาํส่ัง Modify4Explode เพือ่บนัทกึเปนไฟล .dwg ของ AutoCAD 2000 เหมอืนใน MDT6 เนือ่งจาก MDT7 ไมสามารถสรางไฟล .dwgของ AutoCAD 2000 ซ่ึงเปนฟอรแมตที่สามารถนําเขาสู 3DSMAX ได แตเราสามารถใชคําส่ังFile4Export4Desktop ACIS เพื่อสรางไฟล .sat ขึ้นมาช่ัวคราวเสียกอน แลวเรียกโปรแกรมAutoCAD 2004 ทีม่ากบั Mechanical Desktop ออกมาใชงาน แลวเปดไฟลใหม แลวใชคําส่ัง Insert4ACIS File ของ AutoCAD เพือ่สอดแทรกไฟล .sat เดมิกลับมาใชงานอีกคร้ัง พารททัง้หมดในไฟล

ไฟล .stp นําเขาสู Solidwork 2003

รูปท่ี 1.1รูปที ่1

chap-a.pmd 13/10/2549, 0:00518

Page 3: MDT7_chap-a

ภาคผนวก ก. การแปลงไฟลจาก MDT7 ไปใชงานในซอฟทแวรประเภทอื่นๆ 519

N o t e

.sat จะกลายเปน 3D Solid ธรรมดาของ AutoCAD พรอมทีจ่ะนาํไปใชงานใน 3DSMAX5 โดยใชคําส่ัง File4Save As แลวเลือกฟอรแมต AutoCAD 2000/LT 2000 Drawing (*.dwg) เราจะไดไฟล.dwg ของ AutoCAD 2000 ซ่ึงสามารถใชคําส่ัง File4Import ใน 3DSMAX เปดไฟล .dwg ออกมาใชงานใน 3DSMAX ไดทนัท ี แตวธินีียั้งมขีอเสียคือเมือ่เรา Export เพือ่สรางไฟล .sat เราจะสูญเสียขอมลูสี(Color)ของพารทตางๆ ไปทัง้หมด ดงันัน้ วธินีีจ้งึยังไมเหมาะสมแกการสงขอมลูเขาไปยัง 3DSMAX

เนือ่งจาก 3DSMAX 5 ยังไมรูจกัฟอรแมต .dwg ของ AutoCAD 2004 ดงันัน้ เราจงึตองใชไฟลฟอรแมต.dwg ของ AutoCAD 2000 จึงจะสามารถนําไปใชงานใน 3DSMAX ได

เมือ่เราไดแปลงพารทและแอสเซมบลีตางๆ ใหกลายเปน 3D Solid ของ AutoCAD 2000 แลว ใหเรียกเขาสู 3DSMAX5 แลว เราจะตองกาํหนดหนวยวดัใน 3DSMAX ใหตรงกนักบัหนวยวดัใน AutoCADโดยใชคําส่ัง Customize4Unit Setup จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 2 (ซาย) ใหเลือก Metric และMillimeters ในฟลด Display Unit Scale แลวคลิกบนปุม System Unit Setup จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที่2 (ขวา-บน) ใหกําหนด 1 Unit = 1.0 Millimeters แลวออกจากไดอะล็อคทั้งหมด เร่ิมนาํไฟล .dwgของ AutoCAD 2000 ที่เราไดเตรียมไวเขามาใชงานใน 3DSMAX โดยใชคําส่ัง File4Import แลวเลือกฟอรแมต AutoCAD (*.dwg) จากแถบรายการ Files of Type แลวเลือกไฟล แลวคลิกบนปุมOpen จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่2 (ขวา-ลาง) หากตองการนําขอมลูในไฟล .dwg ไปรวมกบัวตัถุ 3

รูปท่ี 1.1รูปที ่2

รูปท่ี 1.1รูปที ่3

มติทิี่มอียูใน 3DSMAX อยูแลวใหเลือก Merge objects withcurrent scene หากตองการนําขอมูลในไฟล .dwg ไปแทนที่วตัถุทัง้หมด ใหเลือก Completelyreplace current scene แลวคลิกปุ ม OK จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 3 ใหเลือกปุมเรดิโอLayer หรือ Color แลวปลด

เคร่ืองหมาย √ ออกจากเช็คบอกซ Convert to single objects,Group common objects, Weld, Unify normal และเช็คบอกซCap closed entities กาํหนดความละเอียดของ Surface ใน Surfacedeviation หากกําหนดคานอย Surface จะมคีวามละเอียดมาก ซ่ึงจะทาํใหใชเวลานานในการเรนเดอร หากกําหนดคามาก เกนิไปSurface ทีม่สีวนโคงสวนเวา จะปรากฏเปนสันเหล่ียมไมเปนสวนโคงที่ราบเรียบ แลวคลิกบนปุม OK พารททัง้หมดกจ็ะถูกนาํเขาไปใชงานใน 3DSMAX โดยทีพ่ารทจะกลายเปนวตัถุจาํนวนมากใน

chap-a.pmd 13/10/2549, 0:00519

Page 4: MDT7_chap-a

520 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

3DSMAX เราสามารถทีจ่ะกาํหนด Material หรือสรางแอนนเิมช่ันใหกบัพารทตางๆ ไดอยางอิสระ ดงัรูปที ่4

รูปท่ี 1.1รูปที ่5

Model ของ MDT7 ใหกําหนดความหนาแนนของโครงลวด โดยพมิพตวัแปรระบบ FACETRES ผานบรรทดัปอนคาํส่ัง Command: แลวกําหนดคาอยูในชวง 0.01 ถึง 10 หากกําหนดคามาก Surface จะมีความละเอียดมาก ซ่ึงจะทาํใหใชเวลานานในการเรนเดอร หากกําหนดคานอยเกินไป Surface ที่มีสวนโคงสวนเวาจะปรากฏเปนสันเหล่ียมไมเปนสวนโคงทีร่าบเรียบ แลวจงึใชคําส่ัง File4Export4Export Data แลวเลือกฟอรแมต 3D Studio (*.3ds) จากแถบรายการ File of type แลวเลือกโฟลเดอรในการจัดเก็บไฟล .3ds แลวคลิกบนปุม Save จะปรากฏขอความ Select objects: ใหเลือกพารทและ

เนือ่งจากการใชไฟล .sat เปนไฟลส่ือกลางในการนําขอมลูจาก MDT7 เขามาใชงานใน 3DSMAX 5 มขีัน้ตอนทียุ่งยาก อีกทัง้ยังสูญเสียคุณสมบตัสีิ(Color)ของพารทตางๆ เราสามารถเลือกอีกวธิหีนึง่ในการนําไฟลขอมลูจาก MDT7 เข าไปในงานใน3DSMAX 5 ไดโดยใชฟอรแมต .3dsซ่ึ ง Export จาก MDT7 โดยตรงเร่ิมตนจากในขณะทีเ่รายังอยูในโหมดรูปท่ี 1.1รูปที ่4

แอสเซมบลีทัง้หมด จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่ 5 (ซาย) ใหเลือกปุมเรดโิอ Layer หรือ AutoCADColor Index (ACI) ใหปลดเคร่ืองหมายถูกออกจาก Override (Each block is one object) และเช็คบอกซAuto-Welding แลวคลิกปุม OK เพือ่ออกจากไดอะล็อค จะปรากฏพารทและแอสเซมบลีใน 3DSMAX5 ดังรูปที ่5 (ขวา) ซ่ึงวตัถุแตละเลเยอรหรือแตละสีจะแยกออกจากกนัอยางอิสระ

หลังจากทีเ่ราไดนําพารทและแอสเซมบลีจาก MDT7 เขามาใน 3DSMAX 5 แลว เร่ิมสรางมมุกลองกําหนด Materials ใหแกพารทตางๆ และสรางดวงไฟประกอบเพื่อฉายแสงเขาไปในฉาก การสรางดวงไฟใน 3DSMAX เปนเร่ืองงายๆ แตการจดัตําแหนงดวงไฟเพือ่สรางสภาพแวคลอมทีใ่หแสงทีส่วยสมจริงนั้นเปนเร่ืองทีค่อนขางยากถึงยากมากสําหรับผูเร่ิมตน (เพราะเราไมไดพดูถึงแคแสงสวางใน

chap-a.pmd 13/10/2549, 0:00520

Page 5: MDT7_chap-a

ภาคผนวก ก. การแปลงไฟลจาก MDT7 ไปใชงานในซอฟทแวรประเภทอื่นๆ 521

N o t e

ฉาก แตเราพดูถึงการใหแสงทีม่คีวามสวยงามสมจริง) ซ่ึงในปจจบุันหากไมมกีารนําการจดัแสงแบบRaytracer หรือ Radiosity เขามาใชงานแลว การสรางภาพทีม่พีืน้ผิวเหมอืนวตัถุจริงคงจะเปนไปไดยาก

เราทราบดอียูแลววาใน 3DSMAX 5 มกีารจดัแสงทัง้แบบ Raytracer และ Radiosity แตการใชงานทัง้Raytracer และ Radiosity ใน 3DSMAX นัน้ก็มขีัน้ตอนทียุ่งยากเพราะมพีารามเิตอรมากมายที่จะตองกําหนดกอนทีจ่ะไดภาพเรนเดอรทีใ่หแสงไดสวยสมจริง ดังนัน้ Brazil Rendering System 1.0 ซ่ึงเปนโปรแกรม Plug-in จงึเปนทางเลือกทีด่ทีีสุ่ดในปจจบุนั เหตผุลทีม่ผูีใช Brazil Rendering System 1.0ใน 3DSMAX มากขึ้นอยางตอเนื่องก็เพราะความงายในการจัดแสงที่สวยสมจริงและคุณภาพของภาพเรนเดอรไดรับการยอมรับอยางกวางขวางในวงการ3D ทั้งในและตางประเทศ เนือ่งจากในการสรางภาพทีส่วยสมจริงดวย Brazil เพยีงแคสรางดวงไฟเพียงดวงเดยีวจําลองดวงอาทติยในฉาก แลวกําหนดพารามิเตอรเพยีง 2-3 คา อาท ิเชน Sky Light และ Bounce กส็ามารถสรางภาพเรนเดอรทีใ่หแสงในระดบัตนๆ ของมอือาชีพได สําหรับบางฉาก(Scene) อาท ิฉากตอนเย็นๆ ทีด่วงอาทติยใกลตกอาจจะไมจําเปนตองมีการสรางดวงไฟในฉากเลยก็ได เพียงแตกําหนดพารามิเตอร Sky Light และBounce เทานัน้ กจ็ะสามารถสรางภาพทีส่ะทอนแสงเหมือนสภาพแวคลอมยามเย็นทีส่มจริงได

เราสามารถดาวนโหลด Brazil Public version ไดฟรีที่ http://www.splutterfish.com แตสําหรับ BrazilRendering System V. 1.0 เปน Commercial version เราตองซื้อมาติดตั้งเพ่ิมเติมเขามาใน 3DSMAX

หลังจากทีเ่ราได Brazil Rendering System V. 1.0 และตดิตัง้เขากบั 3DSMAX เรียบรอยแลว เมือ่เร่ิมตนเขาสู 3DSMAX หลังจากทีป่รากฏ Logo ของโปรแกม 3DSMAX แลว จะปรากฏ Logo ของ BrazilRendering System V.1.0 ดงัรูปที ่6 แสดงใหเราทราบวาการตดิตัง้ Brazil เขากบั 3DSMAX สําเร็จและ

รูปท่ี 1.1รูปที ่6

พรอมใชงานไดแลว เราจะทดลองเรนเดอรไฟลพารทและแอสเซมบลีทีเ่ราได Import มาจาก MDT7ดวย Brazil R/S ทดสอบเรนเดอรภาพเหมือนจริงโดยไมตองใสวัสดุ Material และดวงไฟ Lightโดยคลิกวิวพอรท Perspective แลวใชคําส่ัง Rendering4Render... จะปรากฏหนาตาง RenderScene ดังรูปที ่ 7 คนหาแถบ Current Renderers แลวคลิกบนปุม Assign ของ Production แลวเลือกBrazil r/s V1.0.0 แลวคลิกบนปุม OK แลวคนหาแถบ Brazil: Luma Server ดงัรูปที ่8 (ซาย) แลวเปด

รูปท่ี 1.1รูปที ่7

chap-a.pmd 13/10/2549, 0:00521

Page 6: MDT7_chap-a

522 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

N o t e

โหมดแสงธรรมชาติจากทองฟา(Sky Light) โดยคลิกใหปรากฏเคร่ืองหมาย √ หนาเช็คบอกซ SkyLight ในฟลด Direct Illumination และหนาเช็คบอกซ Sky Light ในฟลด Indirect Illumination เพิม่จํานวนคร้ังของการสะทอนแสงตกกระทบระหวางวัตถุใน Bounces = 3 แลวคลิกบนปุม Renderโปรแกรมจะทาํการคํานวณซ่ึงตองใชเวลาพอสมควร วาวลแอสเซมบลีจะปรากฏดงัรูปที ่ 8 (กลาง)

สังเกตวุาถึงแมวายังไมมดีวงไฟอยูในฉากและยังไมมีการใสวสัดุใหกับพารทตางๆ ภาพเรนเดอรทีไ่ดใหแสงสวางที่นุมนวลในระดบัดีมากทีเดียว (เหมือนสภาพแวดลอมยามเย็นหรือชวงพระอาทติยตก)

หากตองการลดขอบที่เปนเสนบันได ใหเลือกแถบ Brazil Image Sampling เพ่ิมคา 1 ในอิดทิบอก MinSample และ Max Sample รอยหยักหรือเสนขัน้บันใดบนเสนขอบของพารทตางๆ จะหายไป

ตอไปลองสรางดวงไฟ Omni Light จาํลองแสงอาทติย โดยวางหางจากวาวลแอสเซมบลีพอสมควรและเคล่ือนยายใหอยู ในระดบัทีสู่งกวาวาวลแอสเซมบลี แลวกาํหนดคา Multiplier = 0.7 และเปดโหมด Shadowแลวคลิกบนปุม Render อีกคร้ัง วาวลแอสเซมบลีจะปรากฏดงัรูปที ่8 (ขวา) หากเราสรางกลอง Box ส่ีเหล่ียม

รูปท่ี 1.1รูปที ่8

4 กลองวางไวเปนพืน้ดานลาง เปนผนงัดานหลังและดานขางทัง้สองดาน เพือ่ใชเปนวัตถุทีส่ะทอนแสงจากดวงอาทิตยไฮไลทดานทีม่ดื แลวเพิม่ Bounce ใหเปน 4 เพือ่เพิม่จาํนวนคร้ังของการสะทอนแสงและเพิม่ View เปน 20 เพือ่ขจดัรอยสีดาํทีเ่กดิขึน้ระหวางรอยตอของ Sampling แสงจะสะทอนพารทตางๆ ไปยังกลองส่ีเหล่ียมกลับไปมาทาํใหวาวลแอสเซมบลีปรากฏสมจริงย่ิงขึน้ดงัรูปที ่9 อยางไรกต็าม โปรแกรมกจ็ะตองทําการเรนเดอรนานมากขึน้ แตคณุภาพทีไ่ดกเ็ปนทีน่าพงึพอใจมากขึน้เชนเดยีวกนั หากตอไปกาํหนดวสัด ุMaterial ใหแกพารทแตละช้ินคณุภาพทีไ่ดจะสมจริงมากขึน้ เราจะเหน็วาBrazil r/s ชวยใหเราสรางงานทีม่คีณุภาพและเปนยอมรับไดในระดบัมอือาชีพโดยใชเพยีงความรูพืน้ฐานของ Brazil r/s เทานัน้

ไมมีดวงไฟ มีดวงไฟ Omni 1 ดวง

รูปท่ี 1.1รูปที ่9

chap-a.pmd 13/10/2549, 0:00522