MDT7_chap-11

48
บทที11 การใช Power Pack เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน Power Pack เปนโปรแกรมเสริมเพิ่มขีดความสามารถของ Mechanical Desktop ภายในโปรแกรมมี คําสั่งสําหรับสรางพารทมาตรฐาน(Standard parts)ทั้งแบบ 2 มิติและ 3 มิติ อาทิ เชน รูเจาะ(Holes) รูปที1.1 รูปที11.1 นอต(Nut) สกรู (Screw) แหวนรอง(Washer) หมุดย้ํา(Rivet) สตัด(Stud) แบริ่ง(Bearing) เพลา(Shaft) ซีล(Sealing ring) สปริง(Spring) คีย (Key) คลิ ๊ป(Clip) เหล็กรูปรางตางๆ (Steel shapes) นอกจากนี ้ยังมีโปรแกรมวิเคราะห Finite Element Analysis และโปรแกรมคํานวณอื่นๆ บรรจุอยู ดวย คําสั่งของ Power Pack ที่เกี่ยวของกับ 3 มิติอยูในเมนู คอลัมนชื่อ Content 3D สวนคําสั่งที่เกี่ยวของกับ 2 มิติอยูใน เมนูคอลัมนเดียวกันชื่อ Content 2D ดังรูปที11.1 โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให มีมาตรฐานใหเลือกใชงานเพียง ISO, ANSI และ DIN หากเราตองการ เลือกใชพารทของมาตรฐานของอื่นๆ เราจะตองนําแผน CD-ROM บรรจุโปรแกรม Mechanical Desktop มาติดตั้งใหม โดยเพิ่มมาตรฐานที ่ตองการในขั ้นตอนการติดตั้งโปรแกรม เราจึงจะเลือกใช พารทจากมาตรฐานที ่ตองการได มาตรฐานตางๆ ที่มีใหเลือกใชใน Mechanical Desktop มีดังตอไปนีAFNOR French standard parts (ฝรั่งเศส) ANSI American standard parts (อเมริกา) AS Australian standard parts (ออสเตรเลีย) BSI British standard parts (อังกฤษ) CNS Taiwanese standard parts (ไตหวัน) CSN Czech standard parts (เช็คช) DIN German standard parts (เยอรมัน) GB Chinese standard parts (จีน) GOST Eastern Europe standard parts (ยุโรปตะวันออก) IS Indian standard parts (อินเดีย) ISO International standard parts (มาตรฐานสากล) JIS Japanese standard parts (ญี่ปุ) KS Korean standard parts (เกาหลี ) PN Polish standard parts (โปแลนด ) SFS Finnish standard parts (ฟนแลนด ) SS Swedish standard parts (สวีเดน) STN Slovak standard parts (สโลวัค) UNI Italian standard parts (อิตาลี ) chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38 249

Transcript of MDT7_chap-11

Page 1: MDT7_chap-11

บทที ่11 การใช Power Packเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางาน

Power Pack เปนโปรแกรมเสริมเพิม่ขดีความสามารถของ Mechanical Desktop ภายในโปรแกรมมีคําส่ังสําหรับสรางพารทมาตรฐาน(Standard parts)ทัง้แบบ 2 มติิและ 3 มติิ อาทิ เชน รูเจาะ(Holes)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.1

นอต(Nut) สกรู(Screw) แหวนรอง(Washer) หมดุยํ้า(Rivet)สตดั(Stud) แบร่ิง(Bearing) เพลา(Shaft) ซีล(Sealing ring)สปริง(Spring) คยี(Key) คล๊ิป(Clip) เหล็กรูปรางตางๆ (Steelshapes) นอกจากนี้ยังมโีปรแกรมวเิคราะห Finite ElementAnalysis และโปรแกรมคาํนวณอ่ืนๆ บรรจอุยูดวย

คําส่ังของ Power Pack ที่ เกี่ยวของกับ 3 มิติอยูในเมนูคอลัมนช่ือ Content 3D สวนคําส่ังทีเ่กีย่วของกบั 2 มติอิยูในเมนูคอลัมนเดียวกนัช่ือ Content 2D ดงัรูปที ่ 11.1

โดยทีโ่ปรแกรมกาํหนดมาให มมีาตรฐานใหเลือกใชงานเพียง ISO, ANSI และ DIN หากเราตองการเลือกใชพารทของมาตรฐานของอ่ืนๆ เราจะตองนําแผน CD-ROM บรรจุโปรแกรม MechanicalDesktop มาตดิตัง้ใหม โดยเพิม่มาตรฐานทีต่องการในขัน้ตอนการตดิตัง้โปรแกรม เราจงึจะเลือกใชพารทจากมาตรฐานทีต่องการได มาตรฐานตางๆ ทีม่ใีหเลือกใชใน Mechanical Desktop มดีงัตอไปนี้

AFNOR French standard parts (ฝรั่งเศส)ANSI American standard parts (อเมรกิา)AS Australian standard parts (ออสเตรเลีย)BSI British standard parts (องักฤษ)CNS Taiwanese standard parts (ไตหวนั)CSN Czech standard parts (เช็คช)DIN German standard parts (เยอรมัน)GB Chinese standard parts (จนี)GOST Eastern Europe standard parts (ยุโรปตะวันออก)IS Indian standard parts (อินเดีย)ISO International standard parts (มาตรฐานสากล)

JIS Japanese standard parts (ญ่ีปุน)KS Korean standard parts (เกาหลี)PN Polish standard parts (โปแลนด)SFS Finnish standard parts (ฟนแลนด)SS Swedish standard parts (สวเีดน)STN Slovak standard parts (สโลวคั)UNI Italian standard parts (อติาล)ี

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38249

Page 2: MDT7_chap-11

250 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Tapped hole -Through

Tapped hole -Blind

Center hole Slot - Through Slot - BlindBlind HoleThrough Hole

Bolt - Hex Head Socket Head Set Screw Tapping Screw Hex NutBolt - FlangedHead

Screw -Countersink

Pin

Cotter Pin Rivet Drill Bushing Clevis Pin

WasherFlanged Hex Nut

Roller Bearing -Radial

Roller Bearing -Radial

Plain Bearing Thust Washer Roller Bearing -Radial

Roller Bearing -Axial

Roller Bearing -Radial

O-Ring I-Shape L-Shape T-Shape U-Shape

Shaft SealRoller Bearing -Axial

RectangularHollow Section

Rectangular Bar Shaft InnerProfile

Shaft OuterProfile

Shaft Thread

Round BarCircular HollowSection

InternalUndercut

ExternalUndercut

Adjusting Ring CompressionSpring

Extension Spring

Shaft OuterWrench

Shaft InnerWrench

BellevilleTorsion Spring

Internal ToothLock Washer

External ToothLock Washer

Helical SpringLock Washer

Square BeveledWasher

Thrust TaperRoller Bearing

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.2

จากรูปที ่11.2 แสดงบางสวนของพารทมาตรฐาน(Standard parts)แบบตางๆ ซ่ึงเปนสวนประกอบของPower Pack ที่มีใหเลือกใชงานใน Mechanical Desktop นอกจากนี้ยังม ี Screw Connection ซ่ึงใช

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38250

Page 3: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 251

คําส่ัง

สําหรับจดัโบลท นอต แหวนรอง ล็อคนอต เพือ่ประกอบเปนชุดและรูเจาะใหพารทสองช้ินทีป่ระกอบกันโดยอัตโนมตัดิังรูปที่ 11.3 (ซาย) เรายังสามารถสรางเพลาและสวนประกอบตางๆ ของเพลาดวยShaft Generator ดังรูปที่ 11.3 (ขวา) ในการเรียกใชคําส่ังตางๆ ของในการสรางพารทมาตรฐาน(Standard parts)มรีายละเอียดดงัตอไปนี้

Content 3D4Holes4Through Holes | amthole3d | \Exercise\11-251-1.dwg

ใชคาํส่ังนีสํ้าหรับเจาะรูทะลุตลอดความหนาบนพารทแบบ 3 มติิ ในการเจาะรูลงบนพารท ปกตเิราจะใชคําส่ัง Part4Placed Features4Hole คําส่ังดังกลาวสามารถเจาะรูมาตรฐานได แตเราจะตองกําหนดพารามิเตอรตางๆ ดวยตนเอง คําส่ังนีส้ามารถรูเจาะตามมาตรฐานตางๆ ทีก่ําหนดมาใหเรียบรอยแลว โดยไมตองเสียเวลากําหนดคาตางๆ ดวยตนเอง เพยีงแตเลือกมาตรฐานของรูเจาะเทานัน้ เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.4 (ซาย) ใหคลิกบนปุมมาตรฐานรูเจาะ จะปรากฏดงัรูปที ่11.3 (ขวา) เราจะตองเลือกรูปแบบในการกาํหนดตาํแหนงของรูเจาะโดยมรีายละเอียดดงันี้

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.3

Part1

Part2

Screw Connection Shaft Generator

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.4

2 Edges ใชในกรณีทีเ่ราตองการเจาะรู โดยใชเสนขอบ 2 เสนทีอ่ยูบนผิวหนาทีต่องการเจาะรูเปนจุดอางอิงระยะหางของรูเจาะดังรูปบนไดอะล็อคที่ 11.4(ขวา) เมือ่เลือกตวัเลือกนี้ แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Select firstedge or planar face: ใหคลิกบนเสนขอบหรือผิวหนาเรียบที่ตองการ

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38251

Page 4: MDT7_chap-11

252 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

ใชเปนจดุอางอิงที ่1 จะปรากฏขอความ Select second edge or planar face:ใหคลิกบนเสนขอบหรือผิวหนาเรียบที่ตองการใชเปนจุดอางอิงที่ 2 จะปรากฏขอความ Specify hole location: เล่ือนเมาสไปยังตําแหนงที่ตองการวางรูเจาะ ใหแนใจวา OSNAP อยูในสถานะปด แลวคลิกซาย จะปรากฏขอความแสดงระยะหางจากจุดอางอิงที่ 1 ไปยังจุดที่เรากําหนดตําแหนงรูเจาะ Enter distance from first geometry (highlighted) [Associ-ate to/Equation assistant] <154.29>: เราสามารถปอนคาใหมทีเ่ปนตวัเลขทีล่งตวัได จะปรากฏขอความแสดงระยะหางจากจดุอางอิงที ่2 Enter dis-tance from second geometry (highlighted) [Associate to/Equation assis-tant] <64.25>: เราสามารถปอนคาใหมทีเ่ปนตัวเลขที่ลงตวัได จะปรากฏขอความ Hole termination [toPlane/Thru] <Thru>: หากเราคลิกขวาจะเปนการเจาะรูแบบทะลุ หากเลือกตวัเลือก P เราสามารถเลือกระนาบเพือ่กําหนดความลึกของรูเจาะได

Concentric

Concentric ใชในกรณีทีต่องการใหรูเจาะมจีดุศูนยกลางเดียวกันกับพารทที่ ถูกเลือก เมื่ อเลือกตัวเลือกนี ้แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select circular or elliptical edge:ใหคลิกบนเสนขอบโคงที่ตองการใชจุดศูนยกลางบนผิวหนาทีต่องการวางรูเจาะ จะปรากฏขอความ Hole termi-nation [toPlane/Thru] <Thru>: หากเราคลิกขวาจะเปนการเจาะรูแบบทะลุ หากเลือกตัวเลือก P เราสามารถเลือกระนาบเพื่อกําหนดความลึกของรูเจาะได

On Point

On Point ใชรวมกบั Work point ทีถู่กสรางบนระนาบที่ตองการเจาะรู จากคาํส่ัง Part4Work Features4Work Point เมื่ อเลือกตัวเลือกนี้แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Selectwork point for the hole location: ใหคลิกบนจดุWork Point จะปรากฏขอความ Hole termination [toPlane/Thru] <Thru>:เหมอืนกบัตัวเลือก 2 Edges และ Concentric

From Point ใชจุดศูนยกลางรูเจาะหรือจุดมุมของสวนประกอบตางๆ ของพารทเปนจุดอางอิงในการกําหนดตาํแหนงรูเจาะ เมือ่เลือกตัวเลือกนี้ แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ From Point

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38252

Page 5: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 253

Select work plane or planar face [Ucs/worldXy/worldYz/worldZx]:ใหคลิกบนผิวหนาทีต่องการวางรูเจาะ จะปรากฏขอความ Select work axisor linear edge to align x axis [Rotate/Z-flip]: ใหคลิกซาย จนกระทัง่แกนX, Y ช้ีไปในทศิทางทีต่องการ แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ Selectpoint for the X direction reference: ใหคลิกบนจดุทีจ่ะใชอางอิงในแนวแกน X จะปรากฏขอความ Select point for the Y direction reference or<previous>: ใหคลิกบนจดุทีจ่ะใชอางอิงในแนวแกน Y หรือคลิกขวา เพือ่ใชจดุเดมิเปนจดุอางอิงในแนวแกน Y จะปรากฏขอความยืนยันระยะทีถู่กตองอีกคร้ังและจะปรากฏขอความกําหนดความลึกของรูเจาะ

Concentric to Ref.-Plane ใชในกรณีที่เราตองการเจาะรูบนระนาบหนึ่งทีไ่มมเีสนขอบโคงใหเลือก แตตองการใชเสนขอบโคงของอีกระนาบหนึ่งเพื่อกําหนดจุดศูนยกลางของรูเจาะใหตรงกับจดุศูนยกลางของเสนขอบโคง เมื่อเลือก Concentric to Ref. Plane

ตวัเลือกนี ้แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select circular or ellip-tical edge: ใหคลิกบนเสนขอบโคง เพื่อกําหนดศูนยกลางของรูเจาะ จะปรากฏขอความ Select work plane or planar face [Ucs/worldXy/worldYz/worldZx]: ใหคลิกบนผิวหนาเรียบ เพือ่กําหนดระนาบของรูเจาะ

Cylinder Radial

Cylinder Radial ใชในกรณีที่ เราตองการกําหนดตําแหนงของเจาะรูตามแนวรัศมีของทรงกระบอกเมือ่เลือกตวัเลือกนี ้แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select cylindrical face: ใหเลือกผิวหนาทรงกระบอก จะปรากฏขอความ Specify hole location [Line/Plane]: เล่ือนเคอรเซอรเพื่อกําหนดตาํแหนงรูเจาะบนทรงกระบอก ใหแนใจวา OSNAP อยูในสถานะปด แลวคลิกซาย จะปรากฏขอความ Enter distance from base plane [Associateto/Equation assistant] <75.48> เราสามารถปอนคาตําแหนงทีแ่นนอนไดจะปรากฏขอความใหเรากําหนดทศิทางของรูเจาะ Select drill direction[Angle to plane or edge/parallel to Line/plane Normal/plane Parallel]<plane Parallel>: เราสามารถเลือกตวัเลือก A เพือ่กําหนดมมุจากเสนขอบหรือเลือก L เพือ่เจาะรูใหขนานกบัเสนขอบหรือเลือก N เพือ่กําหนดใหตัง้ฉากกบัระนาบหรือเลือก P เพือ่กําหนดรูเจาะใหขนานกบัระนาบ เมือ่กําหนดทิศทางของรูเจาะแลวจะปรากฏบรรทัดขอความใหเรากําหนดความลึกของรูเจาะเหมอืนตัวเลือกอ่ืนๆ ที่ไดกลาวมาแลว

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38253

Page 6: MDT7_chap-11

254 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

N o t e

N o t e

Cylinder Axial ใชในกรณีที่ เราตองการกําหนดตําแหนงของเจาะรูตามแนวแกนของทรงกระบอกเมือ่เลือกตวัเลือกนี ้แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select circular edge: ใหคลิกบนเสนขอบโคง จะปรากฏขอความ Selectradius: ใหเล่ือนเคอร เซอรเพื่อกําหนดรัศมีจากศูนยกลางของทรงกระบอก ใหแนใจวา OSNAP อยูในสถานะปด แลวคลิกซาย จะปรากฏขอความ Select insertion method [Angle to plane or edge/parallel toLine/plane Normal/plane Parallel] <plane Parallel>: เราสามารถเลือกตวัเลือก A เพือ่กําหนดมมุจากระนาบหรือเสนขอบหรือเลือก L เพือ่เจาะรูใหขนานกบัเสนขอบหรือเลือก N เพื่อกําหนดใหตั้งฉากกบัระนาบหรือเลือก P เพือ่กําหนดรูเจาะใหขนานกบัระนาบ เมื่อกําหนดทิศทางของรูเจาะแลวจะปรากฏบรรทัดขอความใหเรากําหนดความลึกของรูเจาะเหมอืนตัวเลือกอ่ืนๆ ทีไ่ดกลาวมาแลว

Cylinder Axial

หลังจากทีเ่ราไดเลือกตวัเลือกใดๆ ตวัเลือกหนึง่อาทิ เชน 2 Edges, Concentric, On Point, FromPoint, Concentric to Ref.-Plane, Cylinder Radial,หรือ Cylinder Axial เพือ่กําหนดตาํแหนงทศิทางและความลึกของรูเจาะเรียบรอยแลว จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.5 แสดงขนาดของรูเจาะตามมาตรฐานที่ไดเลือกไวขางตน คลิกเพื่อเลือกขนาดรูเจาะที่ตองการ แลวคลิกบนปุมFinish จะปรากฏรูเจาะบนพารทตามตองการ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.5

ดูวิธีการใชตัวเลือกสําหรับการกําหนดตําแหนงและทิศทางของรูเจาะในแผน CD-ROM มัลติมีเดียจะทําใหเขาใจวิธีการใชงานไดงายขึ้น

หากตองการแกไขเปลีย่นแปลงตาํแหนงและขนาดรูเจาะ ใหคลกิขวาบนไอคอน ทีป่รากฏบนเดสทอ็ปบราวเซอร แตถาหากตองการแกไขเฉพาะขนาดของรูเจาะ ควรใชคําสัง่ Modify4PowerCommands4Power Edit แลวคลกิบนรูเจาะ จะปรากฏไดอะลอ็คดังรูปที ่11.5 เราสามารถเลอืกรูเจาะมาตรฐานใหมไดตามตองการ

หากขนาดของรูเจาะมาตรฐานทีเ่ราตองการใชงานไมปรากฏบนไดอะล็อค 11.5 เราสามารถสรางรูเจาะขนาดมาตรฐานใหมเพ่ิมเขาไปใชงานได (ดรูายละเอยีดในการสรางพารทไลบราร่ีเพ่ิมเตมิจากมาตรฐานทีโ่ปรแกรมกําหนดมาใหขึ้นมาใชงานดวยตนเองดวยคําสัง่ Content 3D4Parts Library ตอนทายของบทนี)้

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38254

Page 7: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 255

คําส่ัง

คําส่ัง Content 3D4Holes4Blind Holes | ambhole3d | \Exercise\11-251-1.dwg

ใชคําส่ังนี้สําหรับเจาะรูตามความลึกที่กําหนดบนพารทแบบ 3 มิติเหมือนกับการใชคําส่ัง Content3D4Holes4Through Holes ทกุประการ เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.6 (ซาย) ใหคลิกบนปุมมาตรฐานรูเจาะ จะปรากฏดงัรูปที ่11.3 (ขวา) ดรูายละเอียดวธิกีารใชตวัเลือกตางๆ บนไดอะล็อคไดในคําส่ัง Content 3D4Holes4Through Holes เนื่องจากทัง้สองคําส่ังเหมือนกันทุกประการ เพียงแตตอนทายของคําส่ังจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.6 (ขวา) และจะปรากฏขอความ Drag size [Dialog]: เราสามารถเล่ือนเมาส เพือ่กําหนดความลึกของรูเจาะหรือพมิพคาความลึกของรูเจาะไดตามตองการ

Content 3D4Holes4Tapped Through Holes | amtapthole3d | \Exercise\11-251-1.dwg

ใชคาํส่ังนีสํ้าหรับเจาะรูแบบเกลียวทะลุตลอดความหนาบนพารทแบบ 3 มติ ิ เหมอืนกบัการใชคําส่ังContent 3D4Holes4Through Holes ทุกประการ เมื่อเรียกคําส่ังออกมา ใชงานจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่11.3 (ซาย) ใหคลิกบนปุม มาตรฐานรูเจาะ จะปรากฏดงัรูปที ่11.3 (ขวา) ดรูายละเอียด

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.6

วิธีการใชตัวเลือกตางๆ บนไดอะล็อคไดในคําส่ัง Content 3D4Holes4Through Holes

เนื่ องจากทั้ งสองคําส่ั งเหมือนกันทุกประการ เพียงแตตอนทายของคําส่ังจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.7 สังเกตุว ารู เจาะจะปรากฏเปนสีเขียวแสดงใหเราทราบวารูเจาะดังกลาวมีขอมูลของเกลียวซ่ึงขอมูลดังกลาวจะสามารถนําไปใชงานในคําส่ั ง Annotate4Annotation4Hole Note ในโหมด Drawing ได

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.7

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38255

Page 8: MDT7_chap-11

256 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

คําส่ัง

คําส่ัง Content 3D4Holes4Tapped Blind Holes | amtapbhole3d |

\Exercise\11-251-1.dwg

ใชคําส่ังนี้สําหรับเจาะรูแบบเกลียวตามความลึกที่กําหนดบนพารทแบบ 3 มิติเหมือนกับการใชคําส่ัง Content 3D4Holes4Blind Holes ทกุประการ ดูรายละเอียดในการใชงานในคําส่ังContent 3D4Holes4Through Holes และคําส่ัง Content 3D4Holes4Blind Holes

Content 3D4Holes4Counterbore | amcountb3d |

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับเจาะรูแบบ Counterbore ทะลุตลอดความหนาของพารทแบบ 3 มติ ิ เมือ่เรียกคาํส่ังนี้ออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคแสดงมาตรฐานเหมอืนกับคําส่ังอ่ืนๆ ทีไ่ดกลาวมาแลวดงัรูปที ่11.6(ซาย) เมือ่เลือกมาตรฐานแลวจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่11.9 ใหเลือกขนาดรูเจาะ แลวคลิกบนปุมNext หรือปุม Finish จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.4 (ขวา) เลือกรูปแบบในการกําหนดตําแหนง(ดูรายละเอียดในคําส่ัง Content 3D4Holes4Through Holes ) เมื่อกําหนดตําแหนงรูเจาะแลวจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.9 (ขวา) หากตองการแกไขเปล่ียนแปลงกส็ามารถทาํไดตามตองการ

Content 3D4Holes4Countersink | amcounts3d | \Exercise\11-251-1.dwg

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับเจาะรูแบบ Countersink ทะลุตลอดความหนาของพารทแบบ 3 มติ ิ คําส่ังนีม้วีธิีการใชงานเหมือนคําส่ัง Content 3D4Holes4Counterbore ทุกประการ เพียงแตจะไมปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่11.9 (ขวา) (ดรูายละเอียดการใชงานในคําส่ังตางๆ ทีไ่ดอธิบายมาแลว)

\Exercise\11-251-1.dwg

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.8

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.9

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38256

Page 9: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 257

คําส่ัง

คําส่ัง Content 3D4Holes4Through Slots | amtslot3d | \Exercise\11-257-1.dwg

ใชสําหรับเซาะรองใหเปน Slot ทะลุตลอดความหนาของพารท เมือ่เลือกคาํส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคแสดงมาตรฐานเหมือนกับคําส่ังอ่ืนๆ ที่ไดกลาวมาแลวดังรูปที่ 11.6 (ซาย) เมื่อเลือกมาตรฐานแลว จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.4 (ขวา) แตมตีัวเลือกสําหรับกําหนดตําแหนงใหเลือกเพยีง 2 Edges, Concentric, On Point และ From Point เมือ่เลือกตวัเลือกใดตัวเลือกหนึง่แลว จะปรากฏขอความ Select insertion method [Angle to plane or edge/parallel to Line/plane Normal/plane Parallel]<plane Parallel>: เราสามารถเลือกตัวเลือก A เพื่อกําหนดมุมจากระนาบหรือเสนขอบหรือเลือก Lเพือ่ให Slot ขนานกบัเสนขอบหรือเลือก N เพือ่กําหนดให Slot ตัง้ฉากกบัระนาบหรือเลือก P เพือ่ใหSlot ขนานกบัระนาบ เมือ่กําหนดทศิทางของ Slot แลว จะปรากฏขอความ Feature termination [toPlane/Thru] <Thru>: ใหคลิกขวาเพือ่เจาะทะลุตลอดความหนาหรือเลือกตวัเลือก P เพือ่กําหนดความลึกใหอยูระดบัเดยีวกันกบัระนาบทีถู่กเลือก จะปรากฏไดอะล็อคแสดงขนาดมาตรฐานเหมอืนกบัไดอะล็อคดงัรูปที ่11.8 ใหเลือกขนาดทีต่องการ แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Drag size [Dialog]: ใหเล่ือนเมาสเพือ่กําหนดความยาวของ Slot หรือพิมพคาความยาวไดตามตองการ จะปรากฏดงัรูปที่ 11.10

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.10

Content 3D4Holes4Blind Slots | ambslot3d | \Exercise\11-257-1.dwg

ใชสําหรับเซาะรองใหเปน Slot ตามความลึกทีก่าํหนด วธิกีารใชคาํส่ังนีเ้หมอืนกบัคําส่ัง Content 3D4

Holes4Through Slots ทุกประการ เพียงแตทายสุดของคําส่ัง จะปรากฏขอความ Drag size[Dialog]: ซ่ึงยอมใหเราเล่ือนเมาสเพือ่กําหนดความลึกของ Slot

กอนใชคําสัง่ หลงัใชคําสัง่

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.11

กอนใชคําสัง่ หลงัใชคําสัง่

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38257

Page 10: MDT7_chap-11

258 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง Content 3D4Screw Connection | amscrewcon3d | \Exercise\11-258-1.dwg

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับจดัชุดโบลท(Bolt) สวมแหวนรอง(Washer) เจาะรู(Hole)พารท 2 ช้ินทีป่ระกบกนัใสนทั(Nut) ล็อคนัท(Lock Nut)และใสคล๊ิปล็อค(Cotter Pin) เมือ่เรียกคาํส่ังนีอ้อกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อค Screw Assemblies ดังรูปที่ 11.12 สังเกตุวามีการจัดพารทแตละช้ินตามตําแหนงที่จะประกอบกนัจริงจากบนลงลาง โดยม ี (Bolt) อยูบนสุดและสามารถใสแหวนรอง ไดสูงสุดสองตัว ในที่นี้ เราใสแหวนรองเพียงตัวเดียว ถัดจากแหวนรองลงไปเปนพารทที่ประกบอยูดานบน และพารททีป่ระกบอยูดานลาง พารททั้งสองจะถูกเจาะรูหรือแทปเกลียวตามทีเ่รากําหนด ถัดลงไปดานลางสามารถใสแหวนรองได 2 ตวั ในทีน่ีเ้ราใสแหวนรองเพียงตัวเดยีวถัดลงไปเราสามารถใสนัท และล็อคนัท และคอทเตอรพิน ตามลําดับ

ในการจดัชุด Screw Assemblies ใหคลิกบนปุมทีอ่ยูทางขวาของ กอนตามลําดบัจากบนลงลางจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.13 คลิกบนปุมเพื่อเลือกรูปแบบของ Bolt หรือ Screw จะปรากฏไดอะล็อคแสดงมาตรฐานตางๆ เหมอืนกบัไดอะล็อคดงัรูปที่11.6 (ซาย) ใหเลือกBolt หรือ Screw ตามมาตรฐานทีต่องการช่ือมาตรฐานจะปรากฏบนไดอะล็อค Screw Assembliesใหเลือกขนาดทีต่องการในชองหนาตางดานขวาของไดอะล็อคดงัรูปที ่11.12 คลิกบนปุมทีอ่ยูทางขวาของ เพือ่เลือกแหวนรอง คลิกบนปุมที่อยูทางขวาของ เพื่อเลือก

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.12

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.13รูปแบบมาตราฐานของรูเจาะสําหรับพารทดานบน คลิกบนปุมที่อยูทางขวาของ เพื่อเลือกรูปแบบมาตราฐานของรูเจาะสําหรับพารทดานลาง แลวคลิกเพื่อเลือกปุมแหวนรองตัวลาง ปุมนทั และล็อคนัท และคอทเตอรพิน โดยใชวธิเีดยีวกนัไดตามตองการ

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38258

Page 11: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 259

N o t e หากไมตองการใสแหวนรอง ลอ็คนทัและคอทเตอรพิน เราสามารถปลอยปุม และปุม และปุม วางไว หากตองการยกเลกิปุมใด ใหคลกิบนปุม ทีอ่ยูทายของสวนประกอบที่ไมตองการ

หากเราจดัชุด Screw Assemblyจนเสร็จสมบรูณแลว หากเราตองการเก็บเขาไลบราร่ี เพื่อนํา Screw Assembly ชุดนีไ้ปใชงานกับตําแหนงอ่ืนๆ หรือพารทอ่ืนๆ ตอไป ใหคลิกบนปุม Back บนไดอะล็อคดงัรูปที่11.12 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.14 คลิกบนปุม เพื่ อเก็บบันทึก ScrewAssembly ไวใชงาน หากตองการลบ Screw Assembly ใหคลิกบนช่ือทีป่รากฏบนชองหนาตาง แลวคลิกบนปุม หากตองการโหลด Screw Assembly ชุดใดไปใชงาน ใหคลิกบนช่ือทีป่รากฏบนชองหนาตาง แลวคลิกบนปุม โปรแกรมจะโหลด Screw Assembly และกลับไปยังไดอะล็อค Screw Assemblies ดงัรูปที ่11.12 เราสามารถนาํไปใชงานตอไปไดทนัที

หากเราตองการคํานวณขนาดทีเ่หมาะสมของ Screw Assembly เราสามารถคลิกบนปุม จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับคํานวณขนาดของ Screw Assembly โดยประมาณดงัรูปที ่11.15 (ซาย) เราสามารถกําหนด Class ของวัสดุใน Material Class กําหนดแรงกระทําใน Applied Force กําหนดประเภทของโหลด Axial Force หรือ Eccentric Force หรือ Shear Force ซ่ึงเราสามารถเลือกไดทัง้แบบ Static และ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.14

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.15

Dynamic และยังสามารถเลือกวธิขีนันทัใหแนนใน Method forTightening Screws โปรแกรมจะแนะนาํขนาดทีเ่หมาะสมของScrew Assembly ใน Nom. Diameter เมือ่คํานวณขนาดโดยประมาณของ Screw Assembly และกลับไปยังไดอะล็อค ScrewAssemblies ขนาดทีค่ํานวณจะถูกเลือกใหโดยอัตโนมตัิ

หากเราตองการคํานวณขนาดที่แมนยําของ Screw Assemblyคลิกใหปรากฏเคร่ืองหมาย √ หนา Screw Calculation แลวคลิกบนปุ ม Next หรือปุม Finish ของไดอะล็อค ScrewAssemblies จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.4 (ขวา) ใหเลือกวธิีการกําหนดตําแหนงที่ตองการ (ดูรายละเอียดการกําหนดตําแหนงในคําส่ัง Part4Placed Features4Hole ) หากเรา

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38259

Page 12: MDT7_chap-11

260 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

N o t e

N o t e

เลือกการวางตาํแหนงรูเจาะเปน Concentric จะปรากฏขอความ Select circular or elliptical edge: ใหคลิกบนเสนขอบโคงของพื้นผิวดานบนของพารทที่อยูดานบนดังรูปที่ 11.16 (ซายบน) เลือกConcentric อีกคร้ังจะปรากฏขอความ Select circular or elliptical edge: ใหคลิกบนเสนขอบโคงของพืน้ผิวดานบนของพารททีอ่ยูดานลางดงัรูปที ่11.16 (ซายลาง) จะปรากฏสกรูแอสเซมบลีพรอมทั้งพารททั้งสองจะถูกเจาะรูดังรูปที ่ 11.12 (ขวา) และจะปรากฏไดอะล็อคสําหรับคํานวณรายละเอียดตางๆของสวนประกอบทั้งหมดของสกรูแอสเซมบลี อาท ิ เชน แสดงรายละเอียดขนาด รูปทรงและ Classวสัดขุองสกรู รายละเอียดของนอต รายละเอียดของแหวนรอง ตวัที ่1 ถึงตัวที ่4 กําหนดวสัดใุหกบัพารท ทัง้สองทีป่ระกบกนั กําหนดพืน้ทีสั่มผัส(Contact Area) กําหนดแรงกระทํา

Axial force, Shear force, Pressure แบบ Static และ Dynamic กําหนดระยะ Settlement กําหนดวธิกีารขนันอ็ตใหแนน และสรางเทกซไฟลแสดงรายงานผล ของการคาํนวณทัง้หมด

หากเราไดสราง Screw Assembly ขึน้มาแลว หากตองการแกไขเปลีย่นแปลงมาตรฐานหรือเปลีย่นแปลงขนาดใหม เราสามารถใชคําสั่ง Modify4Power Commands4Power Edit เพ่ือแกไขได

หากขนาดของสกรูหรือขนาดของนอตในแอสเซมบลีที่ เราตองการใชงานไมปรากฏในมาตรฐานบนไดอะล็อค 11.12 เราสามารถสรางขนาดมาตรฐานใหมเพ่ิมเขาไปใชงานได (ดูรายละเอียดในการสรางพารทไลบราร่ีเพ่ิมเติมจากมาตรฐานที่โปรแกรมกําหนดมาใหขึ้นมาใชงานดวยตนเองดวยคําสั่งContent 3D4Parts Library ตอนทายของบทนี)้

Content 3D4Fasteners4Screw Templates | amscrewmacro3d | ใชคําส่ังนีสํ้าหรับเรียกไดอะล็อค Screw Template ดงัรูปที ่11.14 ออกมาใชงาน เมือ่เขามายังไดอะล็อคเราสามารถคลิกเพือ่เลือก Screw Template ทีเ่ราไดบนัทกึไว แลวคลิกบนปุม เพือ่โหลด ScrewTemplate เขาไปใชงานในไดอะล็อค Screw Connection ดังรูปที ่11.12

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.16

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38260

Page 13: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 261

คําส่ัง

คําส่ัง

N o t e

คําส่ัง Content 3D4Fasteners4Screws | amscrew3d | ใชคําส่ังนีสํ้าหรับสอดแทรกพารทโบลท(Bolt)และสกรู(Screw)ลงบนพืน้ทีว่าดภาพ เมือ่เรียกคาํส่ังนี้ออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคโบลท(Bolt)และสกรู(Screw)ประเภทตางๆ ดงัรูปที ่11.17 (ซาย) ให

คลิกเพื่อเลือกประเภทและเลือกมาตรฐาน จะปรากฏขอความ Select first point [Concentric/cYlinder/two Edges]: ใหคลิกจดุสอดแทรกที ่1 และจดุสอดแทรกที ่2 หรือพมิพตัวเลือก C (ศูนยกลางเดยีวกนั),Y (ทรงกระบอก) หรือ E (เสนขอบ 2 เสน) เพือ่อางอิงตําแหนงจากพารทใดๆ จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.17 (ขวา) เลือกขนาดมาตรฐาน แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏขอความ Drag size [Dialog]:ใหเล่ือนเคอรเซอรเพื่อกําหนดความยาวหรือพิมพความยาวของโบลทหรือสกรูไดตามตองการ

โดยปกต ิเราจะสอดแทรกโบลทหรือสกรูและพารทมาตรฐานอืน่ๆ ไปไวในตาํแหนงใด ๆบนพ้ืนทีว่าดภาพเสียกอน หลังจากที่พารทโบลทหรือสกรูถูกสรางขึ้นมาแลว เราสามารถใชคําสั่งในกลุม 3DConstraints ในการบังคับพารท โบลทหรือสกรูเขาไปประกอบในตําแหนงตางๆ ของพารทอื่นๆ ในแอสเซมบลี

Content 3D4Fasteners4Washers | amwasher3d | ใชคําส่ังนี้สําหรับสอดแทรกพารทแหวนรองลงบนพื้นที่วาดภาพ เมื่อเรียกคําส่ังออกมาใชงาน จะ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.17

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.18

ปรากฏขอความ Select first point [Concentric/cYlinder/two Edges]: ใหคลิกจดุสอดแทรกที ่1และคลิกจดุสอดแทรกที ่2 หรือใชตัวเลือกชวยในการกําหนดตําแหนงจะปรากฏไดอะล็อคใหเราเลือกขนาดแหวนรองดังรูปที ่ 11.18

Content 3D4Fasteners4Nuts | amnut3d |

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับสอดแทรกพารทนทัลงบนตําแหนงใดๆ บนพืน้ทีว่าดภาพ คําส่ังนีม้ีวธิีการใชงานเหมอืนกบัคําส่ัง Content 3D4Fasteners4Washers ทุกประการ

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38261

Page 14: MDT7_chap-11

262 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

คําส่ัง

N o t e

N o t e

คําส่ัง Content 3D4Fasteners4Cylindrical Pins | amcylpin3d | ใชคําส่ังนี้สําหรับสอดแทรก Cylindrical Pinลงบนตําแหนงใดๆ บนพืน้ทีว่าดภาพ คําส่ังนีม้ีวิธีการใชงานเหมือนกับคําส่ัง Content 3D4

Fasteners4Washers แตทายคําส่ังจะปรากฏขอความ Drag size [Dialog]: ใหเล่ือนเคอรเซอรแลวคลิกซายเพือ่กําหนดความยาวตามตองการ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.19

คําสั่งอื่นๆ ในกลุมคําสั่ง Content 3D4Fasteners นี้ อาทิ เชน Taper Pins , Grooved Drive Studs, Cotter Pins , Plain Rivets , Countersunk Rivets , Clevis Pins , Plugs , Lubricators, Sealing Rings ดงัรูปที ่11.20 มีการใชงานใกลเคยีงกนักับคําสัง่ตางๆ ในกลุมเดยีวกนัทีไ่ดกลาว

มาแลว ซึง่สวนใหญเราจะตองคลกิจดุ 2 จดุเพ่ือกําหนดจุดสอดแทรก บางคําสัง่อาจจะแตกตางกนับางแตกค็รอบคลมุคําสั่งทีไ่ดอธบิายมาแลว ดงันั้น เพ่ือประหยัดหนากระดาษจงึขอไมอธิบายซ้ําอีก

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.20

สวนใหญแลว เรามักนิยมสอดแทรกพารทในกลุมนี้ไปไวในตําแหนงใดๆ ช่ัวคราวบนพ้ืนที่วาดภาพแลวจงึใชคําสัง่ในกลุม Assembly43D Constraints บงัคบัใหพารทในกลุมนีไ้ปอยูในตาํแหนงทีถ่กูตอง

Content 3D4Drill Bushings4Drill Bushings | amdrbush3d | \Exercise\11-263-1.dwg

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับสอดแทรก Bush ตามมาตรฐานทีก่ําหนดลงบนพืน้ทีว่าดภาพ เมือ่เรียกคําส่ังออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคใหเราเลือกมาตรฐานของ Bush เหมือนกบัไดอะล็อคดังรูปที่ 11.6 (ซาย)เมือ่เลือกมาตรฐานแลวจะปรากฏขอความ Select first point [Concentric/cYlinder/two Edges]: หากตองการกําหนดตําแหนงใดๆ ใหคลิกจดุ 2 จดุบนพืน้ทีว่าดภาพ หากตองการกาํหนดตาํแหนงบนพารทอ่ืนๆ เราสามารถเลือกตวัเลือก C (Concentric) , Y (cYlinder) หรือ E (two Edges) ไดตามตองการจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.21 (ซาย) ใหกําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางในของ Bush แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏขอความ Drag size [Dialog]: ใหเล่ือนเคอรเซอรเพือ่กําหนดความยาวของ Bushแลวคลิกซาย เมือ่ไดความยาวตามตองการจะปรากฏดงัรูปที ่ 11.21 (ขวา)

สังเกตวุาการใชคําสั่งนี้ไมมีการเจาะรูลงบนพารท เราจะตองเจาะรูพารทดวยตนเอง เพ่ือที่จะนํา Bushเขาไปประกอบ

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38262

Page 15: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 263

คําส่ัง

คําส่ัง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.21

Bush ที่สราง ณตําแหนงใดๆ

Bush ที่ Constrainedเขากบัพารท

Content 3D4Drill Bushings4Drill Bushings with Hole | amdrbushhole3d | \Exercise\11-263-1.dwg

ใชคาํส่ังนีสํ้าหรับสอดแทรก Bush ตามมาตรฐานทีก่ําหนดลงบนพืน้ทีว่าดภาพ พรอมทัง้สรางฟเจอรเจาะรู Hole บนพารททีถู่กเลือกใหโดยอัตโนมตั ิเมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคใหเลือกมาตรฐานของ Bush เหมอืนกบัไดอะล็อคดังรูปที่ 11.6 (ซาย) เมือ่เลือกมาตรฐานแลวจะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.4 (ขวา) เลือกวธิกีําหนดตาํแหนงลงบนพารท (ดูวธิกีารใชงานในคําส่ัง Content3D4Holes4Through Holes) เมื่อเลือกตําแหนงแลว จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.22 (ซาย) ให

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.22

กําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางในของ Bush แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏขอความ Drag size[Dialog]: ใหเล่ือนเคอรเซอรเพื่อกําหนดความยาวของ Bush แลวคลิกซาย เมื่อไดความยาวตามตองการ พารททีถู่กเลือกจะถูกเจาะรูตามขนาดของ Bush โดยอัตโนมตัดิังรูปที ่11.22 (ขวา)

Content 3D4Shaft Generator | amshaft3d | \Exercise\11-263-2.dwg

ใชคําส่ังนี้ชวยในการขึน้รูปเพลาและสวนประกอบตางๆ ของเพลา อาท ิ เชน เฟอง(Gear) โปรไฟล(Profile) ประแจ(Wrench) เกลียว(Thread) ลบมมุมน(Fillet) ลบมุมตัด(Chamfer) เซาะรอง(Groove)เปนตน เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงานจะปรากฏขอความ Specify start point or [Existing shaft]: ใหคลิกณ ตําแหนงใดๆ เพือ่กําหนดจดุเร่ิมตนในการขึน้รูปเพลา หากเราตองการแกไขเพิม่เตมิเพลาทีม่อียูแลวใหพิมพตัวเลือก E แลวคลิกบนเพลาที่ตองการ เมื่อคลิกจุดแรกแลวจะปรากฏขอความ Specifycenterline endpoint: ใหเล่ือนเมาสเพื่อกําหนดทิศทางของเสนเซ็นเตอรไลนของเพลา แลวคลิกซาย

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38263

Page 16: MDT7_chap-11

264 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

จะปรากฏขอความ Specify point for new plane <parallel to UCS>: โดยทัว่ไปแลว เราสามารถคลิกขวาเพือ่ใชตวัเลือก parallel to UCS จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.23

ในการขึน้รูปเพลา เราไมจําเปนทีจ่ะตองคํานงึถงึทศิทางการหันเห ตาํแหนงและขนาดของสวนประกอบตางๆ ในขณะทีก่ําลงัสรางเพลา เพราะหลงัจากทีส่รางเพลาเสร็จแลว เราสามารถทีจ่ะใช 3D Constraintsกําหนดตาํแหนงและทศิทางของเพลาใหสัมพันธกบัพารทอืน่ๆ ได สวนขนาดของสวนประกอบตางๆของเพลากส็ามารถแกไขฟเจอรของสวนประกอบที่ปรากฏบนเดสทอ็ปบราวเซอรไดเชนเดยีวกนั

(Cylinder) สรางเพลาทรงกระบอกตนั เมือ่คลิกปุมนี ้จะปรากฏขอความ Specify othercorner point: ใหเล่ือนเคอรเซอรเพื่อปรับขนาดของทรงกระบอกคราวๆแลวคลิกซาย หากตองการสรางทรงกระบอกภายในดานซาย เลือกปุมเรดิโอ Left Inner Contour แลวคลิกบนปุม ใหเล่ือนเคอรเซอรเพือ่ปรับขนาดของทรงกระบอกภายในดานซาย แลวคลิกซาย ในทํานองเดียวกัน หากตองการสรางทรงกระบอกภายในดานขวา เลือกปุมเรดิโอRight Inner Contour แลวคลิกบนปุม ใหเล่ือนเคอรเซอรเพื่อปรับขนาดของทรงกระบอกภายในดานขวา แลวคลิกซาย

Right Inner Contour

Left Inner Contour

Thread

Cylinder

Cone or Slope

Gear

Wrench

Groove

Profile

Chamfer

Filletรูปท่ี 1.1รูปที่ 11.23

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38264

Page 17: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 265

N o t e

N o t e เราจะไมสามารถสรางสวนประกอบภายในของเพลาทั้งดานซาย Left Inner Contour และดานขวาRight Inner Contour หากไมมีการสรางพารทเพลาจาก Cylinder, Cone, Thread, Wrench, Profile,หรือ Gear ช้ินแรกขึ้นมาเสียกอน

หากตองการขนาดของทรงกระบอกที่แนนอนและแมนยํา เราจะตองออกจากคําสั่ง แลวคลิกขวาบนฟเจอรทีป่รากฏบนเดสทอ็ปบราวเซอร แลวใชคาํสัง่ Edit หรือ Edit Sketch แลวแกไขขนาดเพลาตามตองการ

(Cone) คลิกปุมนี้ เพื่อสรางเพลาเรียวขึ้นหรือเรียวลงตอจากเซกเมนตเดิมของเพลา คลิกปุม เพือ่ควานปลายดานซายของเพลาใหเรียว คลิกปุม

เพือ่ควานปลายดานขวาของเพลาใหเรียว

(Thread) คลิกปุมนี ้ เพือ่สรางเกลียวนอกตอจากเซกเมนตเดิมของเพลา จะปรากฏไดอะล็อคใหเลือกมาตรฐานเกลียว เมื่อเลือกมาตรฐานเกลียวแลว จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.24 (ซาย) กาํหนดขนาดตางๆ ของเกลียว หากตองการ Undercut คลิกใหปรากฏเคร่ืองหมาย √ หนา Undercut แลวกําหนดรายละเอียดดังรูปที ่11.24 (ขวา) คลิกปุม เพื่อทําเกลียวในดานซายของเพลา คลิกปุม เพือ่ทําเกลียวในดานขวาของเพลา หลังจากที่ทําเกลียวแลวจะปรากฏเกลียวบนเพลาเพียงรอบเดียวเทานั้น

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.24

(Profile) คลิกบนปุมนี้เพื่อสรางโปรไฟล จะปรากฏไดอะล็อคใหเลือกมาตรฐานโปรไฟล และจะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.25 (ซาย) เราสามารถเลือก

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.25

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38265

Page 18: MDT7_chap-11

266 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

โปรไฟลขนาดมาตรฐานหรือคลิกบนปุม Modify Design เพื่อกําหนดขนาดของสวนประกอบตางๆ ดวยตนเอง คลิกปุม เพือ่สรางโปรไฟลภายในดานซาย คลิกปุม เพือ่สรางโปรไฟลภายในดานขวา

(Cylinder) คลิกปุมนี ้หากตองการสรางเพลาทรงกระบอกที่มีเสนผาศูนยกลางและความยาวที่แนนอน เมื่อปรากฏขอความ Specify length... ใหพิมพคาความยาวของเพลา เมื่อปรากฏขอความ Specify diameter ใหพิมพคาเสนผาศูนยกลาง คลิกปุม เพื่อควานทรงกระบอกภายในดานซายคลิกปุม เพือ่ควานทรงกระบอกภายในดานขวา

(Slope) คลิกปุมนี ้หากตองการควานทรงกระบอกเรียว โดยระบุอัตราสวนของมมุเอียง Slope หรือระบคุาเสนผาศูนยกลางทัง้สองดาน จะปรากฏขอความSpecify length... ใหพิมพคาความยาว จะปรากฏขอความ Specify diam-eter at start point... ใหพมิพคาเสนผาศูนยกลาง ณ จดุเร่ิมตน จะปรากฏขอความ Specify diameter at end point or [Slope/aNgle/Associate to/Equation assistant] <37.3301>: ใหพมิพคาเสนผาศูนยกลางอีกดานหนึง่หรือพมิพ S เพือ่กาํหนดอัตราสวนของ Slope หรือพมิพ N เพือ่ระบมุมุเอียงคลิกบนปุม หากตองการควานเพือ่ทําเรียวภายในดานซายของเพลาคลิกบนปุม หากตองการควานเพือ่ทําเรียวภายในดานขวาของเพลา

(Wrench) คลิกปุมนี้ จะปรากฏไดอะล็อคใหเลือกมาตรฐานของ Wrench ดังรูปที่11.26 (ซาย) เมือ่เลือกมาตรฐานแลว จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่ 11.26

(ขวา) เลือกขนาดของประแจ Wrench และกําหนดความยาวไดตามตองการ คลิกบนปุม เพือ่สราง Wrench ภายในดานซายของเพลาหรือคลิกบนปุม เพื่อสราง Wrench ภายในดานขวาของเพลา

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.26

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.27

(Gear) กอนการสรางเฟองเกียร ควรคลิกบนปุม Config เพือ่เลือก 1ฟนเฟอง(1 Tooth)หรือทุกฟนเฟอง(All Teeth)ดังรูปที่ 11.27

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38266

Page 19: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 267

เมื่อคลิกบนปุม (Gear) จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.28 เราสามารถระบุขนาดของสวนประกอบตางๆ ของเฟอง หากคลิกบนปุม

เราสามารถสรางเฟองภายในดานซายของเพลาหรือคลิกบนปุม เราสามารถสรางเฟองภายในดานขวาของเพลา

(Chamfer) ใชปุมนีสํ้าหรับลบมมุตัด Chamfer บนเสนขอบโคงบนทรงกระบอกทัง้ภายในและภายนอกของเพลา เมือ่คลิกบนปุมนี ้จะปรากฏขอความ Selectedge for chamfer: ใหคลิกบนเสนขอบโคง จะปรากฏขอความ Specifylength... ใหกําหนดความยาว จะปรากฏขอความ Specify angle... ใหกําหนดคามุมหรือเลือกตัวเลือก Distance เพื่อกําหนดความยาวอีกดานหนึง่ของมมุตดั จะปรากฏขอความ Enter an option [Revolve/Chamfer]<Revolve>: คลิกขวา หากตองการใหมมุตดัถูกสรางดวยฟเจอร Revolveหรือพมิพ C หากตองการใหมมุตดัถูกสรางดวยฟเจอร Chamfer

(Fillet) ใชปุมนี้สําหรับลบมุมมน Fillet บนเสนขอบโคงบนทรงกระบอกทั้งภายในและภายนอกของเพลา เมือ่คลิกบนปุมนี ้จะปรากฏขอความ Selectedge for radius: ใหคลิกบนเสนขอบโคง จะปรากฏขอความ Specifyradius... ใหกําหนดรัศม ีจะปรากฏขอความ Enter an option [Revolve/Fillet] <Revolve>: คลิกขวาหากตองการใหมุมมนถูกสรางดวยฟเจอรRevolve หรือพิมพ F หากตองการใหมมุมนถูกสรางดวยฟเจอร Fillet

(Groove) ใชปุมนี้สําหรับเซาะรองหรือสรางขอบทรงกระบอกเพิ่มเขาไปบนเพลาเมือ่คลิกปุมนี ้จะปรากฏขอความ Select cylinder or cone: ใหคลิกลงบนทรงกระบอกของเพลา จะปรากฏขอความ Select position... ใหเล่ือนเคอรเซอรเพือ่กําหนดตาํแหนงบนทรงกระบอก แลวคลิกซาย จะปรากฏขอความ Specify direction... ใหเลือกทศิทางจากตาํแหนงทีไ่ดเลือกไวแลวจะปรากฏขอความ Enter distance from base plane เราสามารถปอนระยะทีแ่นนอนของตําแหนงทีไ่ดกําหนดไวอีกคร้ัง Specify length... ใหปอนคาความยาว จะปรากฏขอความ Specify diameter ปอนคาเสนผาศูนยกลาง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.28

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38267

Page 20: MDT7_chap-11

268 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

หากคลิกบนปุม Std. Parts จะปรากฏไดอะล็อคแสดงสวนประกอบอ่ืนๆ ของเพลาดงัรูปที ่11.29 (ซาย)เราสามารถสอดแทรกพารทใหมเขามาประกอบบนเพลา อาท ิ เชน Roller Bearings, Plain Bearings,Circlips/O-Rings, Shaft Seals, Shim Rings, Adjusting Rings, Center Holes, Undercuts, Parallel Keys,Woodruff Keys โดยที่ไมตองออกจากคําส่ัง โดยทั่วไปแลว เมื่อคลิกบนปุมพารทใดๆ จะปรากฏไดอะล็อคใหเลือกมาตรฐานของพารท เมือ่เลือกมาตรฐานแลว จะปรากฏขอความ Select cylindricalface: ใหคลิกบนทรงกระบอกของเพลาเซกเมนตทีต่องการวางพารทใหม จะปรากฏขอความ Specifylocation on cylindrical face [Line/Plane]: เล่ือนเคอรเซอรเพือ่กําหนดตาํแหนงบนทรงกระบอก แลวคลิกซาย เมือ่ปรากฏขอความ Enter distance from base plane... เราสามารถแกไขระยะทีเ่ราคลิกใหถูกตองโดยปอนคาตวัเลขใหม จะปรากฏขอความ Choose insertion direction... และแสดงทิศทางของหวัลูกศร เราสามารถ Flip เพือ่ปรับทศิทางไปอีกดานหนึง่ได จะปรากฏไดอะล็อคใหกําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางใน(Inner Diameter) เสนผาศูนยกลางนอก(Outside Diameter)และความหนา(Width)โดยทีโ่ปรแกรมกาํหนดมาใหจะปรากฏเคร่ืองหมายเทากับ ซ่ึงโปรแกรมจะกาํหนดขนาดที่แนนอนเทานัน้ หากเราเลือกเคร่ืองหมายเทากับ แลวปรากฏวาทรงกระบอกของเพลาทีเ่ราไดเลือกมีขนาดไมตรงกับมาตรฐานที่กําหนด โปรแกรมจะไมยอมสรางพารทดังกลาวและจะปรากฏขอความ Geometrical Restrictions, No valid data record found! แสดงวาไมมพีารทขนาดมาตรฐานดังกลาวอยูในฐานขอมูล หากเราไมแนใจวามีพารทมาตรฐานเทากับขนาดของเพลา เราควรเลือกเคร่ืองหมายไมจาํกัด Unlimited โปรแกรมจงึจะแสดงขนาดทัง้หมดใหเราเลือกใชงานไดโดยไมจาํกดั

ในระหวางอยูในคําสั่งนี้ หากตองการปรับเปลี่ยนมุมมอง เราสามารถใชปุม เพ่ือแสดง FrontView หรือใชปุม เพ่ือแสดง Side View หรือคลิกบนปุม , , หรือปุม เพ่ือปรับเปลีย่นหรือหมุนมุมมองไปรอบๆ ได

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.29

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38268

Page 21: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 269

N o t e

คําส่ัง

N o t e

N o t e หากไดอะล็อค 3D Shaft Generator หายไปหรือปรากฏแตเพียงตัวเลือกตางๆ บนบรรทัดปอนคําสั่งเราสามารถพิมพตวัเลอืก DI เพ่ือเลือกไดอะลอ็ค 3D Shaft Generator กลบัมาปรากฏบนพ้ืนที่วาดภาพ

เราสามารถดูรายละเอียดวิธีการสรางพารทมาตรฐานประกอบเพลาดังรูปที ่11.29 (ซาย) ไดในคําสั่งตางๆ ที่จะอธิบายดังตอไปนี้

Content 3D4Shafts/Components4Roller Bearings | amrolbear3d | \Exercise\11-269-1.dwg

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.30

ใชคําส่ังนีเ้พือ่สราง Roller Bearing ตามมาตรฐานทีก่ําหนดบนเพลาหรือทรงกระบอก เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคแสดงดงัรูปที ่11.30 (ซาย) เลือกประเภทแบร่ิงตามรัศม(ีRadial)หรือตามแกน(Axial) จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่ 11.30 (ขวา) เลือกแบร่ิงตามมาตรฐานที่ตองการ จะปรากฏขอความดงันี้

Select cylindrical face: {คลิกผิวหนาทรงกระบอก (1)}Specify location on cylindrical face [Line/Plane]:{เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดตําแหนง

แลวคลิกซาย (2)}Enter distance from base plane [Associate to/Equation assistant] <20.89>:

{โปรแกรมรายงานระยะหางจากระนาบ คลิกขวาหรือQ}Choose insertion direction [Flip/Accept] <Accept>: {เลือกทิศทางสําหรับสอดแทรก

พิมพ F เพ่ือพลิกกลับทิศทางการสอดแทรก (3) จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.29 (ขวา) ใชคาเสนผาศูนยกลางเพลา Inner Diameter ใหคลิกบนปุม Next หรือปุม Finish}

Drag size [Dialog]: {เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดขนาดของแบริ่ง แลวคลิกซาย จะปรากฏแบริ่งดังรูปท่ี 11.30 (4)}

คําสัง่นีเ้ปนคําสัง่เดยีวกนักบัปุมคําสัง่ทีป่รากฏบนไดอะลอ็ค 11.29 (ซาย) ของคําสัง่ 3D Shaft Generator

(1)

(2)

(3) (4)

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38269

Page 22: MDT7_chap-11

270 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

คําส่ัง Content 3D4Shafts/Components4Plain Bearings | amplbear3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนี้เพื่อสราง Plain Bearing ตามมาตรฐานทีก่ําหนดบนเพลาหรือทรงกระบอก เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.31 (ซาย) เลือกแบร่ิงตามมาตรฐานทีต่องการจะปรากฏขอความดงันี้

Select cylindrical face: {คลิกผิวหนาทรงกระบอก (1)}Specify location on cylindrical face [Line/Plane]:{เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดตําแหนง

แลวคลิกซาย (2)}Enter distance from base plane [Associate to/Equation assistant] <23.16>:

{โปรแกรมรายงานระยะหางจากระนาบ คลิกขวาหรือQ}Choose insertion direction [Flip/Accept] <Accept>: {เลือกทิศทางสําหรับสอดแทรก

พิมพ F เพ่ือพลิกกลับทิศทางการสอดแทรก (3) จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.29 (ขวา) ใชคาเสนผาศูนยกลางเพลา Inner Diameter ใหคลิกบนปุม Next หรือปุม Finish}

Drag size [Dialog]: {เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดขนาดของแบริ่ง แลวคลิกซาย จะปรากฏแบริ่งดังรูปท่ี 11.31 (4)}

Content 3D4Shafts/Components4Parallel/Woodruff Keys | amshaftkey3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนี้เพือ่สรางล่ิมและรองล่ิมตามมาตรฐานที่กําหนดบนเพลาหรือทรงกระบอก เมื่อเรียกคาํส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.32 (ซาย) เลือกประเภทของล่ิมตามมาตรฐานทีต่องการ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.31

(1) (2)

(3) (4)

chap-11-1.pmd 12/10/2549, 23:38270

Page 23: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 271

อาทิ เชน Hubs, Parallel Keys - On Mid of Shaft, Parallel Keys - On End of Shaft, Woodruff Keys -On Mid of Cylinder Shaft, และ Woodruff Keys - On Mid of Conical Shaft หากเราเลือก Hubsและมาตรฐานของ Hubs เรียบรอยแลว จะปรากฏขอความดังนี้

Select outer circular edge in hole: {คลิกเสนขอบโคงของรูเจาะ (1)}Select insertion method [Angle to plane or edge/parallel to Line/plane

Normal/plane Parallel] <plane Parallel>: N {พิมพ N เพ่ือเลือก plane Normal เพ่ือกําหนดตําแหนงรองล่ิมใหตั้งฉากกับผิวหนาหรือระนาบทํางานท่ีจะถูกเลือก}

Select work plane or planar face normal to insertion plane: {คลิกบนผิวหนา (2)}Specify direction or [Flip/Accept] <Accept>: {คลิกซายเพ่ือปรับทิศทาง แลวคลิกขวา}Feature termination [toPlane/Thru] <Thru>: {กําหนดความลึกรองล่ิมโดยเลือกตัวเลือก P}Select termination work plane or planar face: {คลิกบนผิวหนา (3) เพ่ือใหรองล่ิมมี

ความลึกไปจนถึงผิวหนาท่ีถูกเลือก จะปรากฏรองล่ิมบนเพลาดังรูปท่ี 11.32 (ขวา)}

หากเราเลือก Parallel Keys - On Mid of Shaft และเลือกมาตรฐานของ Parallel Keys - On Midof Shaft เรียบรอยแลว จะปรากฏขอความดงันี้

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.321

2

3

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.33

12

3

(1) (2) (3) (4)

(5)

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38271

Page 24: MDT7_chap-11

272 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Select cylindrical face: {คลิกเสนขอบของทรงกระบอก (1)}Select position on cylinder or cone [Line/Plane]: {เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดจุดเริ่มตน

แลวคลิกซาย (2)}Enter distance from base plane [Associate to/Equation assistant] <12.35>:

{เราสามารถแกไขระยะท่ีเราใชเมาสคลิกใหม โดยปอนระยะท่ีถูกตอง}Select insertion method [Angle to plane or edge/parallel to Line/plane

Normal/plane Parallel] <plane Parallel>: N {พิมพ N เพ่ือเลือก plane Normal เพ่ือกําหนดตําแหนงล่ิมและรองล่ิมใหตั้งฉากกับผิวหนาหรือระนาบทํางานท่ีจะถูกเลือก}

Select work plane or planar face normal to insertion plane: {คลิกบนผิวหนา (3)}Specify direction or [Flip/Accept] <Accept>: {คลิกซายเพ่ือปรับทิศทางการสรางล่ิมและ

รองล่ิม (4) แลวคลิกขวา จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.33 }Drag size [Dialog]: {เล่ือนเมาสเพ่ือปรับความยาวของล่ิมและรองล่ิม แลวคลิกซาย หรือพิมพ D

เพ่ือเลือกขนาดจากไดอะล็อค จะปรากฏดังรูปท่ี 11.33 (5)}

หากเราเลือก Woodruff Keys - On Mid of Conical Shaft และเลือกมาตรฐานของ WoodruffKeys - On Mid of Conical Shaft เรียบรอยแลว จะปรากฏขอความดงันี้

Select conical face: {คลิกผิวหนาของทรงกระบอกเรียว (1)}Select position on cylinder or cone [Line/Plane]: {เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดตําแหนง

แลวคลิกซาย (2)}Enter distance from base plane [Associate to/Equation assistant] <4.99>: 0 {เรา

สามารถแกไขระยะท่ีเราใชเมาสคลิกใหม โดยปอนระยะท่ีถูกตอง หากตองการกําหนดตําแหนงตรงจุดกึ่งกลางของทรงกระบอกเรียวใหใชคา 0 (ศูนย)}

Select insertion method [Angle to plane or edge/parallel to Line/plane

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.34(1) (2)(3)

(4)

1

2

3

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38272

Page 25: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 273

คําส่ัง

Normal/plane Parallel] <plane Parallel>: N {พิมพ N เพ่ือเลือก plane Normal เพ่ือกําหนดตําแหนงล่ิมและรองล่ิมใหตั้งฉากกับผิวหนาหรือระนาบทํางานท่ีจะถูกเลือก}

Select work plane or planar face normal to insertion plane: {คลิกบนผิวหนา (3)}Specify direction or [Flip/Accept] <Accept>: {คลิกซายเพ่ือปรับทิศทางการสรางล่ิมและ

รองล่ิม (4) แลวคลิกขวา จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.34 (บน) คลิกบนปุม Finish จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.34 (ลาง) เลือกขนาดมาตรฐาน จะปรากฏล่ิมและรองล่ิมบนทรงกระบอกเรียวของเพลาดังรูปท่ี 11.34 (4) }

Content 3D4Shafts/Components4Retaining Rings/Circlips | amgroove3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนี้เพื่อสรางแหวนล็อคและเซาะรองบนเพลาตามมาตรฐานที่กําหนด เมื่อเรียกคําส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.35 (ซาย) เราสามารถเลือกแหวนสําหรับเพลา(Circlips forshaft)หรือแหวนสําหรับรูเจาะ(Circlips for Bores) หากเลือก Circlips for shafts และเลือกมาตรฐานของแหวนล็อคแลว จะปรากฏขอความดงันี้

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.35

Select cylindrical face: {คลิกผิวหนาของทรงกระบอก (1)}Select position on cylinder or cone [Line/Plane]: {เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดจุดเริ่มตน

แลวคลิกซาย (2)}Enter distance from base plane [Associate to/Equation assistant] <17.37>:

{เราสามารถแกไขระยะท่ีเราใชเมาสคลิกใหม โดยปอนระยะท่ีถูกตอง}Select insertion method [Angle to plane or edge/parallel to Line/plane

Circlips for shaftsCirclips for Bores

(1) (2)

(3)

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38273

Page 26: MDT7_chap-11

274 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

คําส่ัง

N o t e

N o t e

Normal/plane Parallel] <plane Parallel>: {คลิกขวาหรือQ}Select work plane or planar face normal to insertion plane: {คลิกขวาหรือQ }Choose insertion direction [Flip/Accept] <Accept>: {คลิกขวาหรือQ }

จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.35 (บน) คลิกบนปุม Finish จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.35(ลาง) เลือกขนาดของแหวนล็อคไดตามตองการ จะปรากฏดังรูปท่ี 11.35 (3)}

หากตองการกาํหนดตาํแหนงของรูถางแหวนทัง้สองใหหันไปในทศิทางใดทศิทางหนึง่ เราสามารถทาํไดโดยเลือกตัวเลือกตางๆ ในบรรทัด Select insertion method... แลวเลือกสวนประกอบตางๆ ของเพลาทีจ่ะใชอางองิทศิทางการหันเหของแหวนลอ็คได

ในการสรางแหวนล็อคภายในรูเจาะ(Circlips for Bores)มีขั้นตอนเชนเดียวกันกับแหวนล็อคสําหรับเพลา(Circlips for Shafts) เพียงแตเลือกทรงกระบอกภายในเทานั้น

Content 3D4Shafts/Components4Seal | amseals3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนี้เพื่อสราง Seal แบบตางๆ บนเพลาตามมาตรฐานที่กําหนด เมื่อเรียกคําส่ังออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่11.36 (ซาย) เราสามารถเลือก Shaft Seals, O-Rings, O-Rings on Shaft,O-Rings on Plane Surface และ O-Rings Internal หากเราเลือก Shaft Seals หรือ O-Rings จะไมมกีารเซาะรองบนเพลา แตถาเลือก O-Rings on Shaft, O-Rings on Plane Surface หรือ O-Rings Internalจะมีการเซาะรองบนพารทเพลาใหดวยโดยอัตโนมัติ

คาํสัง่นีม้วีธิกีารใชงานเหมอืนหรือใกลเคยีงกบัคําสัง่ตาง ๆในกลุม Shaft Components ดงันัน้ เพ่ือประหยัดหนากระดาษ ผูเขยีนจะไมแสดงขั้นตอนการใชงานไวในหนังสือ แตจะแสดงขั้นตอนการใชงานอยางละเอียดไวในแผน CD-ROM แนบทายหนังสือในระบบมัลติมีเดีย นอกจากจะไดเห็นจอภาพแสดงขัน้ตอนแบบเคลือ่นไหวของคําสัง่นีแ้ลว ยังสามารถทีจ่ะดูขัน้ตอนวธิกีารใชคําสัง่อืน่ ๆทัง้หมดอกีดวย

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.36O-Rings Internal

O-Rings on Shaft

O-Rings on Plane SurfaceO-Rings

Shaft Seals

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38274

Page 27: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 275

คําส่ัง

คําส่ัง Content 3D4Shafts/Components4Shim Rings | amshimring3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนีเ้พือ่สรางแผน Shim บนเพลาตามมาตรฐานทีก่ําหนด เมือ่เรียกคําส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.37 (ซาย) เมือ่เลือกมาตรฐานทีต่องการ จะปรากฏขอความดงันี้

Select cylindrical face: {คลิกผิวหนาของทรงกระบอก (1)}Specify location on cylindrical face [Line/Plane]: {เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดจุดเริ่มตน

แลวคลิกซาย (2)}Enter distance from base plane [Associate to/Equation assistant] <7.42>: 0 {เรา

สามารถแกไขระยะท่ีเราใชเมาสคลิกใหม โดยปอนระยะท่ีถูกตอง หากตองการกําหนดตําแหนงบนระนาบ โดยใชคา 0 (ศูนย)}

Drag size [Dialog]: {เล่ือนเมาสเพ่ือปรับความหนาของแผน Shim แลวคลิกซายหรือพิมพ D เพ่ือเลือกขนาดจากไดอะล็อค จะปรากฏดังรูปท่ี 11.37 (3)}

Content 3D4Shafts/Components4Adjusting Rings | amadjrings3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนี้เพื่อสรางแหวน Adjusting Rings บนเพลาตามมาตรฐานที่กําหนด เมื่อเรียกคําส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.38 (ซาย) เมื่อเลือกมาตรฐานที่ตองการ จะปรากฏขอความดงันี้

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.37(1) (2) (3)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.38

(1) (2) (3)

(4)

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38275

Page 28: MDT7_chap-11

276 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

คําส่ัง

Select cylindrical face: {คลิกผิวหนาของทรงกระบอก (1)}Specify location on cylindrical face [Line/Plane]: {เล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดจุดเริ่มตน

แลวคลิกซาย (2)}Enter distance from base plane [Associate to/Equation assistant] <43.53>:

{เราสามารถแกไขระยะท่ีเราใชเมาสคลิกใหม โดยปอนระยะท่ีถูกตอง}Choose insertion direction [Flip/Accept] <Accept>: {คลิกซายเพ่ือปรับทิศทางการสราง

แหวน (3) แลวคลิกขวา}Drag size [Dialog]: {เล่ือนเมาสเพ่ือปรับขนาดของแหวน แลวคลิกซายหรือพิมพ D เพ่ือเลือก

ขนาดจากไดอะล็อค จะปรากฏดังรูปท่ี 11.38 (4)}

Content 3D4Shafts/Components4Centerholes | amcenterhole3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนีเ้พือ่เจาะรูยันศูนย(Centerhole)บนเพลาตามมาตรฐานทีก่ําหนด เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่11.39 (ซายบน) เมือ่เลือกมาตรฐานทีต่องการ จะปรากฏไดอะล็อค 11.39(ซายลาง) เลือกโหมดการกําหนดตําแหนงรูเจาะ แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏขอความ Selectcircular or elliptical edge: คลิกบนเสนขอบของทรงกระบอกรูเจาะ (1) จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่11.39 (ขวา) เลือกขนาดทีต่องการ แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏดงัรูปที ่11.39 (2)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.39

Content 3D4Shafts/Components4Undercuts | amundercut3d | \Exercise\11-269-1.dwg

ใชคําส่ังนีเ้พือ่ควาน Undercut บนเพลาตามมาตรฐานทีก่ําหนด เมือ่เรียกคําส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่11.40 (ซาย) เลือกรูปแบบภายในหรือภายนอก แลวเลือกมาตรฐานของ Undercutจะปรากฏขอความ Select inner circular edge on shaft: ใหคลิกบนเสนขอบสวนโคง (1) จะปรากฏไดอะล็อคใหเราเลือกขนาดดงัรูปที ่11.40 (ขวา) เมือ่ออกจากไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที ่11.40 (2)

1(1) (2)

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38276

Page 29: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 277

คําส่ัง

1(1) (2)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.40

Content 3D4Steel Shapes | amstlshap3d | ใชคาํส่ังนีสํ้าหรับสรางพารทแทงเหล็กมาตรฐาน 3 มติมิหีนาตดัแบบตางๆ ดงัรูปที ่11.41 (ซาย) เมือ่เลือกประเภทของเหล็กแลว จะปรากฏไดอะล็อคแสดงมาตรฐานตางๆ ของแทงเหล็กมาตรฐานนัน้ เมือ่เลือกมาตรฐานแลว จะปรากฏขอความดงันี้

Select first point [Concentric/cYlinder/two Edges]: {คลิกจุดเริ่มตนหรือเลือกตัวเลือกเพ่ือกําหนดตําแหนงโดยอางอิงจากพารทอื่นๆ}

Select second point [Concentric/cYlinder/two Edges]: {คลิกจุดเริ่มตนหรือเลือกตัวเลือก เพ่ือกําหนดตําแหนงโดยอางอิงจากพารทอื่นๆ จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.41(ขวาบน) ใหเลือกขนาดหนาตัดท่ีตองการ}

Drag size [Dialog/Associate to/Equation assistant]: {พิมพคาความยาวท่ีตองการหรือเล่ือนเคอรเซอรเพ่ือกําหนดความยาว แลวคลิกซายหรือพิมพตัวเลือก D จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปท่ี 11.41 (ขวาลาง) เราสามารถพิมพคาความยาวเขาไปในอิดิทบอกซ Value เพ่ือกําหนดความยาวท่ีแนนอนระหวาง 0.001 ถึง 10000 ได}

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.41

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38277

Page 30: MDT7_chap-11

278 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

N o t e

N o t e

N o t e หลังจากทีเ่ราสรางพารทแทงเหลก็แลว เราสามารถสรางสเกทชและฟเจอรเพ่ือตดัเฉือนแทงเหลก็ได

ในการแกไขพารทมาตรฐานทกุชนิดไมวาจะสรางจากคําสั่งใดของกลุมคําสัง่ในคอลมัน Contents 3Dเราสามารถดบัเบิล้คลกิบนพารทมาตรฐานนัน้ จะปรากฏไดอะลอ็คแสดงขนาดตางๆ เราสามารถเปลีย่นแปลงขนาดมาตรฐานและกําหนดความยาว Drag Size ใหมได ซึง่ก็เหมอืนกบัการเรียกใชคําสัง่ Modify4Power Commands4Power Edit แตถาหากเราตองการแกไขตาํแหนงของพารทมาตรฐานนัน้ดวย เราสามารถเลือกคําสั่ง Modify4Power Commands4Power Recall เพ่ือแกไขตําแหนงขนาดและความยาวของพารทมาตรฐานนั้น

ในการสรางพารทมาตรฐาน เรานิยมวางตาํแหนงของพารท ณ ตาํแหนงใดๆ บนพ้ืนที่วาดภาพ แลวจึงใชคําสัง่ในกลุม Assembly43D Constraints4... เพ่ือบงัคับพารทมาตรฐานเขาไปประกอบกบัพารทอื่นๆ ในแอสเซมบลี

Content 3D4Springs4Compression | amcomp3d | ใชคําส่ังนี้ขึ้นรูปสปริง(Compression spring)มาตรฐาน เมื่อเรียกคําส่ังออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.42 หากเราเลือกปุม Standards แลวเลือกมาตรฐาน จะปรากฏขอความ

Specify starting point: ใหคลิก ณ จดุใดๆ เพือ่กําหนดจดุเร่ิมตนของสปริง จะปรากฏขอความ Specifypoint in direction of spring axis: ใหคลิก ณ จดุใดๆ เพือ่กําหนดจดุแกนสปริงจะพาดผาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่ 11.43 เราสามารถที่จะสรางเงื่อนไขในการคํานวณขนาดสปริงจากแถบรายการ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.42

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.43คลกิบนปุมเพ่ือเพ่ิมเงือ่นไขในการเลอืกขนาดสปริง

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38278

Page 31: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 279

N o t e

Specification ซ่ึงโปรแกรมจะคาํนวณขนาดของสปริงจากเงือ่นไขตางๆ ทีก่ําหนด ซ่ึงเราสามารถระบุForce, Deflection, Length, Diameter และอ่ืนๆ ไดดงัรูปที ่11.43 (ขวา) หากตองการเพิม่เงื่อนไขใดใหคลิกบนปุมของเงือ่นไขนั้น แลวระบุคาของเงือ่นไขเขาไปในชองหนาตาง Restrictions เมื่อระบุเงือ่นไขเรียบรอยแลว ใหคลิกบนปุม Next โปรแกรมจะคาํนวณและคดัเลือกสปริงทีไ่มอยูในเงือ่นไขออกไปทั้งหมดและจะปรากฏไดอะล็อคแสดงสปริงทีม่คีุณสมบตัิตรงตามเงือ่นไขดังรูปที ่11.44 เมือ่

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.44

เลือกสปริงที่ปรากฏบนไดอะล็อค โปรแกรมจะรายงานผลการคาํนวณ อาทิ เชน Force, Deflection,Length, Stress, Allowable Stress, Safety Factor เปนตน เมือ่ตรวจสอบผลการคาํนวณของสปริงแตละตวัแลว ใหเลือกสปริงขนาดทีต่องการ แลวคลิกบนปุม Finish จะปรากฏขอความ Topical Length (63.99- 88.9) [Force/Deflection] <80>: เราสามารถเล่ือนเคอรเซอรเพือ่กําหนดความยาวของสปริง แลวคลิกซายหรือพมิพคาความยาวสปริงอยูในชวงส้ันทีสุ่ด 63.99 ม.ม. ถึงยาวทีสุ่ด 88.9 ม.ม. ไดตามตองการจะปรากฏสปริงดังรูปที ่11.44 (ขวา)

หากไมตองการใชเงือ่นไขในการกลัน่กรองสปริงขนาดทีไ่มตองการออกไป ใหคลกิบนปุมเงือ่นไขบนไดอะลอ็ค 11.43 ทัง้หมด เพ่ือใหปุมตางๆ ยกตวัขึน้ทุกๆ ปุม เมื่อคลกิบนปุม Next โปรแกรมจะแสดงรายการสปริงทีม่ีอยูในมาตรฐานออกมาทั้งหมดบนไดอะล็อค 11.44 เราจะตองเลอืกขนาดดวยตวัเองแลวจึงคลกิบนปุม Finish

หากเราเลือกปุม Modified Design บนไดอะล็อคดงัรูปที ่11.42 เราจะสามารถสรางเงื่อนไขในการคํานวณขนาดสปริงเหมือนกับ Standards ที่ไดกลาวมาขางตนทุกประการ เพียงแตวาModified Design นัน้สามารถที่สามารถแกไขคาตางๆ ของสปริงมาตรฐานไดอีกดวย อาทิ เชน เมือ่กําหนดเงือ่นไขตางๆ ในการเลือกสปริงมาตรฐานเรียบรอยบนไดอะล็อค 11.43 แลวคลิกบนปุม Nextจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.45 เราสามารถเปล่ียนแปลงวัสดุ(Material) เสนผาศูนยกลางขดสปริง(Wire Diameter) เสนผาศูนยกลางนอกของสปริง (Outer Diameter) ความยาวปลอดภาระ(UnloadedLength) ทศิทางการหมนุ(Helix Direction)และยังสามารถเลือกรูปแบบและกําหนดจํานวนรอบของ

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38279

Page 32: MDT7_chap-11

280 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

ปลายสปริง(Spring Ends - Coil Ends) แลวคลิกบนปุม Next จะปรากฏไดอะล็อคแสดงมาตรฐานสปริงเหมอืนกบัไดอะล็อคดงัรูปที ่ 11.44 คลิกบนปุม Finish จะปรากฏขอความ Topical Length (32.75 -100) [Force/Deflection] <32.75>: เราสามารถเล่ือนเคอรเซอรเพื่อกําหนดความยาวของสปริงแลวคลิกซายหรือพมิพคาความยาวสปริงอยูในชวงส้ันทีสุ่ด 32.75 ม.ม. ถึงยาวทีสุ่ด 100 ม.ม. ไดตามตองการ จะปรากฏสปริงดงัรูปที ่11.45 (ขวา)

หากเราเลือกปุม Draw Only บนไดอะล็อคดังรูปที่ 11.42 จะไมมกีารคํานวณหาขนาดสปริงมาตรฐาน เราจะตองกาํหนดสวนประกอบตางๆ ของสปริงดวยตนเองและจะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที่11.46 ดวยวธิีนี ้เราสามารถทีร่ะบุเสนผาศูนยกลางขดสปริง(Wire diameter) เสนผาศูนยกลางนอกของสปริง(Outer diameter) จํานวนรอบขดสปริง(Total Number of Coils) ทศิทางของการวนรอบ(Helixdirection) กําหนดจาํนวนรอบทีป่ลายทัง้สอง ดาน(Spring Ends - Closed Ends) ประเภทของปลายสปริง(Spring Ends - Type) คลิกบนปุม Finish จะปรากฏขอความ Topical Length (19.36 - 104) <52.95>:เราสามารถเล่ือนเคอรเซอรเพื่อกําหนดความยาวของสปริง แลวคลิกซายหรือพมิพคาความยาวสปริงอยูในชวงส้ันทีสุ่ด 19.36 ม.ม. ถึงยาวทีสุ่ด 104 ม.ม.ไดตามตองการ จะปรากฏขดลวดสปริงดงัรูปที ่11.46(ขวา) ซ่ึงแสดงปลายขดของสปริงแบบ Ground, Rough และแบบ Forged

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.45

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.46

Ground Rough Forged

chap-11-2.pmd 12/10/2549, 23:38280

Page 33: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 281

N o t e

N o t e

N o t e

คําส่ัง

หากเราคลกิบนปุม Settings บนไดอะลอ็คดงัรูปที ่11.43, 11.44 และ 11.45 จะปรากฏไดอะลอ็คดงัรูปที่11.47 (ซาย) เราสามารถเลอืกโหมดในการคํานวณตามมาตรฐาน DIN หรือ ANSI เราสามารถกําหนดวาจะใชเคอรเซอรลากเพ่ือกําหนดความยาวสปริงแบบปราศจากภาระ(Unload Length)หรือแบบมภีาระกระทํา(Loaded Length) หากตองการใหโปรแกรมเขียนตารางรายการคํานวณหลงัจากที่ขึน้รูปสปริงเปนพารทแลว จะตองคลกิใหปรากฏเคร่ืองหมาย √ หนาเช็คบอกซ Draw Form Together with Spring

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.48

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.47

หากคลิกบนปุม Additional Calculation Settings จะปรากฏไดอะลอ็คดงัรูปที ่11.47 (ขวา) เราสามารถทีจ่ะระบเุงือ่นไขเพ่ิมเตมิในการแกไขคาทีถ่กูตองของแบร่ิง(Correction Value of Bearing) กําหนดแรงเฉือน(Shear Force) กําหนดความเร็วในการสั่นสะเทือน(Shock Velocity)และเปดโหมดการคํานวณWir Shot-Peened

Content 3D4Springs4Extension | amext3d | ใชคําส่ังนีข้ึน้รูปสปริง(Extension spring)มาตรฐาน เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงานจะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.48 เหมอืนกบัคําส่ัง Content 3D4Springs4Compression ซ่ึงมรูีปแบบใหเราเลือกอยู

3 แบบเชนเดยีวกนัคอื Standards (ใชการคํานวณหาขนาดมาตรฐานของสปริง), ModifiedDesign (ใชการคํานวณหาขนาดมาตรฐานและสามารถแกไขคณุสมบตัิตางๆ ของสปริง)และ Only Draw (ไมมกีารคํานวณ เราจะตองกาํหนดคณุสมบตัติางๆ ของสปริงดวยตนเอง อาท ิเชน ขนาดเสนผาศูนยกลางขดปสริง เสนผาศูนยกลางนอก จาํนวนรอบของขดสปริงและอ่ืนๆ เปนตน)

เนื่ องจากรายละเอียดการใชคําสั่ งนี้ เกือบทั้ งหมดเหมือนกับคําสั่ ง Content 3D4Springs4Compression ดังนัน้ จึงขออธบิายในสวนทีแ่ตกตางกนัเทานั้น เพ่ือประหยัดหนากระดาษ

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39281

Page 34: MDT7_chap-11

282 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

N o t e

หากคลิกบนปุม Standards แลวเลือกมาตรฐานของสปริงแลวจะปรากฏไดอะล็อคเหมอืนกบัไดอะล็อคดงัรูปที ่ 11.43 เมือ่กําหนดเงือ่นไขตางๆ แลวคลิกบนปุม Next จะปรากฏไดอะล็อคเหมอืนกบัไดอะล็อคดงัรูปที ่11.44 ใหเลือกสปริงขนาดทีต่องการ แลวคลิกบนปุม Finish จะปรากฏขอความ Topical Length (76.2 - 161.04) [Force/Deflection] <160>: เล่ือนเคอรเซอรเพือ่กําหนดความยาวสปริงหรือพิมพคาความยาวในชวง 76.2 ถึง 161.04 แลวจะปรากฏขอความSpecify the angle of spring swing [Axis] <0>: ใหเล่ือนเคอรเซอรเพื่อหมุนสปริงรอบแกนเพื่อจัดทิศทางการหมุนใหเหมาะสม แลวคลิกซายหรือพมิพคามมุทีต่องการ จะปรากฏสปริงดังรูปที ่11.49

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.49

สงัเกตวุาจดุทีแ่ตกตางจากคําสัง่ Content 3D4Springs4Compression นัน้มเีพียงบรรทดัขอความทีเ่พ่ิมขึน้มาคอื Specify the angle of spring swing [Axis] <0>: เราจะตองกาํหนดทศิทางการหมนุของสปริงเทานัน้ บรรทดัคําสัง่นีจ้ะปรากฏทายสดุกอนทีจ่ะมกีารสรางสปริงบนพ้ืนทีว่าดภาพ และจะปรากฏเมื่อเราเรียกใชปุม Modified Design และ Draw Only ดวยเชนเดียวกัน

หลงัจากที่เราสอดแทรกสปริงบนพ้ืนทีว่าดภาพแลว เราสามารถใชคําสัง่ Assembly43D Constraints4Mate เพ่ือบงัคบัใหสปริงเขาไปประกอบกับช้ินสวนตางๆ ในแอสเซมบลี

หากคลิกบนปุม Modified Design แลวเลือกมาตรฐานของสปริงแลว จะปรากฏไดอะล็อคเหมือนกับไดอะล็อคดังรูปที่ 11.43 เมื่อกําหนดเงื่อนไขตางๆ แลวคลิกบนปุม Next จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.50 (ซาย) เราสามารถเปล่ียนรูปแบบของหวงปลายสปริงไดทัง้ดานซายและดานขวาโดยอิสระตอกนั โดยคลิกบนปุม ของแถบคําส่ังดาน Left หรือ Right จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.50 (ขวาบน) เรายังสามารถกําหนดตาํแหนงการหมนุของหวงปลายสปริง โดยคลิกบนปุม

(Positions of Ends) จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.50 (ขวาลาง)

มุมระหวางปลาย0 องศา 90 องศา 180 องศา 270 องศารูปท่ี 1.1รูปที่ 11.50

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39282

Page 35: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 283

คําส่ัง

หากคลิกบนปุม Only Draw จะไมมกีารคํานวณหาขนาดสปริงมาตรฐาน เราจะตองกําหนดสวนประกอบตางๆ ของสปริงดวยตนเองและจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที ่11.51ดวยวิธีนี้ เราสามารถที่ระบุเสนผาศูนยกลางขดสปริง(Wire diameter) เสนผาศูนยกลางนอกของสปริง(Outer diameter) จํานวนรอบขดสปริง(Total Number of Coils) ทศิทางของการวนรอบ(Helix direction) และยังสามารถเปล่ียนรูปแบบของหวงปลายสปริงไดทัง้ดานซายและดานขวาโดยอิสระตอกันเหมอืนกบัการใชปุม Modified Design ทกุประการ การเขยีนสปริงดวยปุม

Only Draw เปนวิธกีารเขยีนสปริงทีง่ายและรวดเร็ว หากไมตองการคาํนวณหาคุณสมบตัิทางวศิวกรรมของสปริง

Content 3D4Springs4Torsion | amtor3d | \Exercise\11-283-1.dwg

ใชคําส่ังนีข้ึน้รูปสปริง(Torsion spring) เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.52เหมอืนกบัคําส่ัง Content 3D4Springs4Compression ซ่ึงมวีธิีการเลือกสปริง Torsion อยู 3 แบบ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.51

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.52

เชนเดยีวกนั หากตองการคํานวณความแขง็แรงและเลือกสปริงมาตรฐาน ใหเลือกปุม Standardsหากตองการคาํนวณความแข็งแรง เลือกสปริงมาตรฐานและดดัแปลงรูปแบบของสปริง ใหเลือกปุม

Modified Design หากไมตองการคาํนวณแตตองการวาดสปริงโดยกาํหนดคณุสมบตัขิองสปริงดวยตนเอง ใหเลือกปุม Only Draw วธิีทีง่ายและเร็วทีสุ่ดคือวธิ ีOnly Draw เมือ่เลือกปุมใดปุม

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.53

1

2

31

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39283

Page 36: MDT7_chap-11

284 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

N o t e

หนึง่แลวจะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.54 (ซาย) สําหรับ Standard หรือจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่11.54 (ขวา) สําหรับ Modified Design และ Ony Draw หากเราเลือก Ony Draw และเลือกประเภทปลายสปริงแลว จะปรากฏขอความดงันี้

Specify starting point: <Osnap on> {เปดโหมด OSNAP คลิกตรงเริ่มตนหรือจุดศูนยกลางของสปริง (1)}

Specify point in direction of spring axis [Flip]: {คลิกตรงจุดศูนยกลาง เพ่ือกําหนดทิศทางของแกนสปริง (2)}

Specify supportpoint of fixed end [Axis]: {คลิกจุดรองรับแขนสปริงดานท่ีอยูกับท่ี (3)}Specify direction of torsion: {เล่ือนเมาส แลวสังเกตุทิศทางของแรงบิด แลวคลิกซาย}Specify lever: {เล่ือนเมาสเพ่ือกาํหนดทิศทางของแขนอกีดานหน่ึง แลวคลิกซายจะปรากฏไดอะล็อค

ดังรูปท่ี 11.55 เมื่อกําหนดคาตางๆ บนไดอะล็อคและออกจากไดอะล็อคจะปรากฏขอความตอไป}Topical Length (0 - 360) <0>: {เล่ือนเมาส แลวสังเกตุทิศทางของแขน เราสามารถกําหนดมุมได

0 ถึง 360 องศา จะปรากฏ Torsion spring ดังรูปท่ี 11.53 ตามตองการ}

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.54

Tangent ends Bent ends Tangent ends Bent endsFixed Tangential,Movable bended

Fixed bended,Movable Tangential

Wire diameter = เสนผาศูนยกลางขดลวด, Outer diameter = เสนผาศูนยกลางนอกของสปริง, TotalNumber of Coils = จํานวนรอบของคอยลสปริง, Ls1 =ปลายแขนดานอยูกับที,่ Ls2 =ปลายแขนดานเคลื่อนที,่ R = รัศมีตนแขน, Helix Direction = ทิศทางการหมุนซาย/ขวา

หากเลือกสรางสปริงดวยวิธ ีStandard หรือ Modified Design เมื่อปรากฏไดอะล็อค Torsion Springเราจะตองกาํหนดคา Lever และ Fixed ใหเปนตวัเลขทีป่ราศจากทศนยิมและควรจะกําหนดคาใหเทากนัมิฉะนั้น โปรแกรมจะปรากฏขอความ No Spring Selected ซึ่งจะคนหาสปริงไมพบตามเงื่อนไข

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.55

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39284

Page 37: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 285

N o t e

N o t e

คําส่ัง Content 3D4Springs4Belleville | ambell3d | ใชสําหรับขึน้รูปสปริงแบบ Belleville Spring Washer เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.56 เหมือนกับคําส่ัง Content 3D4Springs4Compression ซ่ึงมีวิธีการเลือกสปริง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.56

Torsion อยู 3 แบบเชนเดยีวกนั หากตองการคํานวณความแขง็แรงและเลือกสปริงมาตรฐาน ใหเลือกปุม Standards หากตองการคาํนวณความแขง็แรง เลือกสปริงมาตรฐานและดดัแปลงรูปแบบของ

สปริง ใหเลือกปุม Modified Design หากไมตองการคํานวณแตตองการวาดสปริงโดยกําหนดคณุสมบัตขิองสปริงดวยตนเอง ใหเลือกปุม Only Draw วธิีทีง่ายและเร็วทีสุ่ดคอืวธิ ีOnly Drawหากเราเลือก Ony Draw จะปรากฏขอความ Specify starting point: ใหคลิกตรงจดุศูนยกลางเร่ิมตนของขดสปริง จะปรากฏขอความ Specify point in direction of spring axis: ใหคลิก ณ ตําแหนงใดๆทีแ่กนสปริงจะพาดผาน จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.57 เมือ่กําหนดคาตางๆ แลวคลิกบนปุม Finishจะปรากฏสปริงดังรูปที ่11.57 (ขวา)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.57

Thickness = ความหนาแหวน, Chamfer = ลบมมุตดั, De = เสนผาศนูยกลางนอก, Di = เสนผาศนูยกลางใน, n=จํานวนแหวน, i = จํานวนชุด, h0 = ระยะผลักของสปริง, I0 = ขนาดของเซกเมนต, L0 =ความยาวรวมทั้งหมด

เราสามารถคลิกบนปุม เพ่ือเลอืกรูปแบบของการเร่ิมตนเขยีนสปริงจะปรากฏไดอะลอ็คดงัรูปที่11.57 (ขวา)

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39285

Page 38: MDT7_chap-11

286 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง Content 3D4Calculation4FEA | amfea3d | \Exercise\11-286-1.dwg

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับวเิคราะหความแขง็แรงของวสัดทุีก่ําหนดใหกบัพารทดวยวธิ ีFinite Element Analysisเพือ่ที่เราจะสามารถออกแบบพารทไดมขีนาดเล็กทีสุ่ดและสามารถทนตอแรงกระทาํตางๆ ไดโดยไมทําใหพารทนัน้บดิเบอืนจนเสียรูปทรงหรือแตกหกัได เมือ่เรียกใชคําส่ังนีจ้ะปรากฏขอความ Select3D-Body: ใหคลิกบนพารททีต่องการคํานวณ FEA จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่ 11.58

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.58

Single Load เปนแรงกระทาํแบบจดุ(Point Load) เมื่อคลิกปุมนีจ้ะปรากฏขอความ Select a surface ใหคลิกบนผิวหนาทีต่องการกําหนดแรงกระทําจะปรากฏขอความ Specify point or [Dialog]: เล่ือนเคอรเซอรเพือ่กําหนดตําแหนงแรงกระทาํ แลวคลิกซาย จะปรากฏขอความ Specify angle or[Change x-axis/Xyz-components/Base plane/Two points] <Default>:เราสามารถเลือกตัวเลือก X จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.59เราสามารถระบุแรงกระทําตามแนวแกน X,Y,Z ไดโดยเทยีบจากWCS หรือ UCS รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.59

Uniform Load เปนแรงกระทําสม่ําเสมอตามความยาวของเสนขอบที่กําหนด(Line Load) เมือ่คลิกบนปุมนีจ้ะปรากฏ Specify face... คลิกบนผิวหนาทีม่เีสนขอบทีต่องการวาง Uniform Load จะปรากฏ Specify start pointon loop ใช Osnap คลิกที่จดุเร่ิมตน Specify end point on loop: ใช Osnapคลิกทีจ่ดุส้ินสุด จะปรากฏ Specify direction ใหคลิกขวา หากทศิทางถูกตองจะปรากฏ Specify angle or [Change x-axis/Xyz-components/Base plane/

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39286

Page 39: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 287

Two points] <Default>: พิมพตัวเลือก X จะปรากฏไดอะล็อค ดงัรูปที่11.59 เราสามารถระบุแรงกระทํามีหนวยเปน N/mm ตามแนว แกนX,Y,Z ไดโดยเทยีบจาก WCS หรือ UCS ไดตามตองการArea Load เปนแรงกระทําบนพื้นที(่Pressure)ของผิวหนาทีถู่กเลือก เราสามารถสรางวัตถุ 2 มิติแบบปดเพื่ อกําหนดขอบเขตของพื้นที่ที่ถูกแรงกระทํา เมื่อคลิกบนปุ มนี้ จะปรากฏSpecify face ใหคลิกบนผิวหนาที่ตองการกําหนดแรงกระทํา จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.60คลิกปุม Entity ในกรณีทีเ่ราไดสรางวัตถุ 2 มติิแบบปดไวบนผิวหนาที่ตองการกําหนดขอบเขตของแรงกระทําไวกอนแลว เมื่อปรากฏขอความ Select border for force or support ใหคลิกบนวตัถุ 2 มติทิี่เราไดสรางไวกอนแลวหรือคลิกบนปุม ในกรณีทีต่องการกาํหนดขอบเขตแรงกระทาํเปนวงกลมหรือคลิกบนปุม เพือ่เขียนเสนโพลีไลนแบบปดกําหนดขอบเขตของแรงกระทาํหรือคลิกในปุม Whole Face ในกรณีที่ตองการใหแรงกระทาํบนพื้นที่ทัง้หมดของผิวหนาทีถู่กเลือก

Single Fixed Support กําหนดจุด Point Support เพื่อค้ํายันจุดใดๆ บนพารท 3 มติไิมใหสามารถเคล่ือนทีเ่มือ่ถูกแรงกระทาํ

Uniform Fixed Support กําหนดเสนขอบ Line Support เพือ่ค้าํยันเสนขอบใดๆ บนพารท 3 มติไิมใหสามารถเคล่ือนทีเ่มือ่ถูกแรงกระทาํ

Area Fixed Support กําหนดผิวหนา Area Support เพือ่ค้ํายันพืน้ทีข่องผิวหนาใดๆ บนพารท 3 มติไิมใหสามารถเคล่ือนทีเ่มือ่ถูกแรงกระทาํ เมือ่เลือกผิวหนาแลว จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.60 เราสามารถที่จะใชพื้นที่ทั้งหมด(Whole Face)ของผิวหนาหรือเลือกวัตถุ 2 มิติที่มีอยูแลว(Entity) หรือเขยีนเสนโพลีไลน(Polyline)เพือ่กําหนดของเขตของพืน้ทีท่ี่ถูกค้ํายันใหม

Single Movable Support กําหนดจดุ Point Support แบบเคล่ือนทีไ่ดเพือ่ค้ํายันจดุใดๆ บนพารท 3 มติิ แตสามารถเคล่ือนที่ไดเมือ่ถูกแรงกระทํา

Uniform Movable Support กําหนดเสนขอบ Line Support เพือ่ค้าํยันเสนขอบใดๆ บนพารท 3 มติิ แตสามารถเคล่ือนทีไ่ดเมือ่ถูกแรงกระทาํ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.60

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39287

Page 40: MDT7_chap-11

288 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

N o t e

N o t e

Area Movable Support กําหนดผิวหนา Area Support เพือ่ค้ํายันพืน้ทีข่องผิวหนาใดๆ บนพารท 3 มติ ิแตสามารถเคล่ือนทีไ่ดเมือ่ถูกแรงกระทาํ เมือ่เลือกผิวหนาแลว จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.60 เราสามารถทีจ่ะใชพืน้ทีท่ัง้หมด(Whole Face)ของผิวหนาหรือเลือกวตัถุ 2 มติทิีม่อียูแลว (En-tity) หรือเขียนเสนโพลีไลน(Polyline)เพือ่กําหนดของเขตของพืน้ทีท่ี่ถูกค้ํายันใหม

เราใชปุม Edit Value สําหรับแกไข Point Load, Line Load และ Area Load ทีไ่ดสรางไปแลวหรือใชปุมMove เพ่ือเคลื่อนยาย Load หรือ Support หรือใชปุม Copy เพ่ือคดัลอก Load หรือ Support หรือใชปุมRotate เพ่ือเปลี่ยนทิศทางการหันเหของ Load หรือ Support หรือใชปุม Delete เพ่ือลบ Load หรือSupport

Material คลิกบนปุม Table จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.61 (ซาย) แสดงมาตรฐานตางๆ ของวัสดุ เมื่อเลือกมาตรฐานแลว จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.61 (ขวา) ใหเลือกวสัดทุีต่องการนาํไปใชในการคํานวณ FEA

หากเราตองการใชวสัดทุี่ไมปรากฏในมาตรฐานทีโ่ปรแกรมกําหนดมาให เราสามารถใชคําสัง่ Content3D4Parts Library สรางวัสดุใหมเพ่ิมเขาไปในมาตรฐานใหมีคุณสมบัติทางวิศวกรรมตามตองการ

Calculate หลังจากกําหนด Load กําหนด Support และกําหนด Materialใหกับพารทแลว ใหคลิกบนปุมนี ้ เพือ่ใหโปรแกรมทาํการคาํนวณ FEAเราสามารถคลิกใหปรากฏเคร่ืองหมาย √ หนาเช็คบอกซ Auto Refiningซ่ึงโปรแกรมจะสราง Mesh ความถ่ีสูงบริเวณทีม่ ีStress สูง เพือ่เพิม่ความแมนยําในการคาํนวณใหโดยอัตโนมตั ิเราสามารถกาํหนดขนาด Mesh ไดในอิดทิบอกซ

หลังจากรัน Calculation แลว โปรแกรมจะรายงานผล Reaction force ณ จุด Support ทุกๆ จุด

Refine ใชในกรณีทีโ่ปรแกรมคาํนวณ(Calculate)ผลออกมาแลว ปรากฏวาพบจดุวิกฤต(Critical point) ใชปุมนีใ้นการเพิม่จาํนวน Mesh ณ จุดดงักลาวเพือ่เพิม่ความแมนยําในการคํานวณซ่ึงจะใชกบัจดุทีม่ ีStress สูงๆ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.61

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39288

Page 41: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 289

Graphic Results คลิกบนปุมนี ้หากตองการแสดงผลลัพทจากการคาํนวณในรูปแบบของกราฟกแสดงโซนของสีทีแ่ตกตาง ซ่ึงสีแตละสีทีป่รากฏบนพารทจะบอกคา Stress วามคีาเทาใดจะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่ 11.63 เราสามารถเลือกแสดงผลลัพท Von MisesStress, Tresca Stress, Main Stress, ShearStress และ Displacement ดงัรูปที ่11.64

แสดง Meshing บริเวณStress สูงซ่ึงมีการใชAuto Refiningแสดง Load และ Support

แสดง Meshing โดยไมใชAuto Refining

LoadSupport

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.62

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.63

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.64 Von Mises Stress สูงสุด = 281.42 N/mm2

Yield Point = 413.69 N/mm2

Tresca Stress สูงสุด = 302.115 N/mm2 Main Stress Maximum = 281.2 N/mm2

Shear Stress XY สูงสุด = 64.04 N/mm2 Resulting Displacement สูงสุด = 4.3 mm

Safety Factor =

= 413.69/281.42Von Mises Stress

Yield Stress

= 1.47

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39289

Page 42: MDT7_chap-11

290 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e Safety factor = 1.47 ทีไ่ดจากการคํานวณนี ้แสดงใหเห็นวา Stress สงูสดุทีเ่กดิขึน้อยูในชวงทียั่งไมถงึจดุYield Point ของวสัด ุช้ินงานจะบดิรูปเมือ่ถกูแรงกระทาํ แตยังคงกลบัสูสภาพเดมิได ยังไมยืดออกอยางถาวร เนื่องจากยังไมถึงจุด Yield Point อยางไรก็ตาม Safety factor ที่ไดบอกใหเราทราบวายังไมมีความปลอดภยัเพียงพอและยังมคีวามเสีย่งอยางสูงทีพ่ารทยืดตวัอยางถาวรหรืออาจจะถงึจุดแตกหักไดเนื่องจากวัสดุของพารทจริงๆ อาจจะไมสมบรูณ 100% อาจจะมีรูโพรงเล็กๆ หรือมีเนื้อวัสดุไมสม่ําเสมอ ซึง่เปนเหตทุําใหม ีStress สูงกวาทีเ่ราคํานวณดวยวธิี FEA นี้ได ดงันั้น เราจะตองเพ่ิม Safetyfactor ใหสูงขึน้ เมื่อเราเพ่ิม Safety factor ใหสงูขึน้ Stress สูงสุดจะตองมคีาต่ําลงกวาคาทีเ่ราคํานวณไดหากเราใช Safty factor = 4 ความเคน(Stress)สูงสุดจะตองไมเกิน 413.69/6 = 103 N/mm2 เราจะตองกลบัไปแกไขรูปทรงของพารทใหม ซึง่อาจจะ เพ่ิมความหนาหรือสรางสวนโคง Fillet ใหแกพารทตรงจดุทีม่ ีStress สูงสุด แลวจงึกลับไปรัน Calculation ใหมจนกระทัง่ผลของ Stress ทีไ่ดต่ํากวาหรือเทากบั103 N/mm2 จงึจะอยูในเกณฑทีป่ลอดภยั แตจะเพียงพอหรือไมนัน้ เราตองตรวจสอบการกาํหนด Safetyfactor จากกฎระเบียบในการออกแบบทางดานวิศวกรรมดวย

Single or Multiple Section Results ใชปุมนีสํ้าหรับสรางภาพตัดเซคช่ันเดยีวหรือหลายๆ เซคช่ันภายในพารท เพือ่ใหเราสามารถมองเหน็ Stressที่เกิดขึ้นภายในเนื้อวัสดุของพารท จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.65(ซาย) หากตองการตดัหลายๆ สวน ใหเลือก Multiple Cuts กําหนดระยะหางระหวางเซคช่ันใน Distance between Cuts เลือก Up to End of Partหากตองการตดัตั้งแตหวัจรดทายหรือจะระบจุาํนวนเซคช่ันใน n = ก็ไดเมื่อกําหนดคาตางๆ แลวออกจากไดอะล็อค จะปรากฏขอความบอกใหเรากําหนดจดุ 3 จดุ เพือ่กําหนดระนาบตดั เราสามารถใช Osnap ตามจดุตางๆ บนพารทเพือ่กําหนดระนาบตดัได

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.65

Section Results ใชปุมนีสํ้าหรับสรางภาพตดัเซคช่ันเดยีว โดยยังคงกราฟกแสดงสีตางๆ ดานหนึ่งของพารทไวดังรูปที่ 11.66 เมื่อคลิกบนปุมนี้จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.66 (ซาย) เมือ่เลือกประเภท Stress แลวออกจากไดอะล็อค โปรแกรมจะใหเรากําหนดจุด 3 จุดซ่ึงจะกําหนดระนาบตัด ซ่ึงจะปรากฏดงัรูปที ่11.66 (ขวา)

Displacement แสดง Mesh ทีบ่ดิรูปเนือ่งจากถูกแรงกระทาํ

at Point ใชปุมนี ้หากตองการทราบวาจดุใดจดุหนึง่บนพารทมคีา Stress เทาใดและม ีDisplacement เทาใด โดยใชเมาสคลิก ณ ตําแหนงทีเ่ราตองการทราบคา

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39290

Page 43: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 291

คําส่ัง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.66

Min/Max Valuesหากตองการทราบคาสูงสุดและต่ําสุดของ Stress ประเภทตางๆ และของDisplacement เราสามารถคลิกบนปุมนี ้จะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.67

Delete Solution ใชสําหรับลบผลของการคํานวณทั้งหมด เราสามารถเลือกที่จะไมลบLoad และ Support กไ็ดเชนเดียวกนั

File คลิกบนปุมนี้ เพื่อสรางเทกซไฟล .txt รายงานผลของ Stress และ Dis-placement ของแตละ Node บน Mesh อยางละเอียด เราสามารถใชNotepad เปดไฟลออกมา เพือ่สงขอมลูทัง้หมดในไฟลไปยังเคร่ืองพิมพ

Content 3D4Parts Library | amstdplib | ใชคําส่ังนีใ้นการแกไขหรือเพิม่เตมิพารทมาตรฐาน(Standard parts)หรือวสัด(ุStandard materials)ใหมเขาไปในฐานขอมลูซ่ึงเก็บบันทึกมาตรฐานตางๆ ที่โปรแกรมกําหนดมาให อาทิ เชน ISO, DIN, JIS,ANSI, AS, SS, BSI และอ่ืนๆ เปนตน คําส่ังนีจ้ดัวาเปนคําส่ังทีสํ่าคญัมาก เนือ่งจากเราสามารถสรางพารทมาตรฐานและวัสดุมาตรฐานใหมขึน้มาใชงานดวยตนเองได ตวัอยาง เชน รูเจาะมาตรฐาน ISO273 Close ทีส่รางจากคําส่ัง Content 3D4Holes4Though Holes มขีนาดใหญทีสุ่ดคอื M150 (NominalDiameter) นัน่หมายถึงเราจะไมสามารถเจาะรูบนพารททีม่ขีนาดเสนผาศูนยกลางใหญกวา อาท ิ เชนM160, 180 หรือ M200 เปนตน นอกจากเราจะเพิม่เตมิรูเจาะมาตรฐานใหมขนาด M160, M180 และM200 เขาไปในฐานขอมลูเสียกอน จงึจะสามารถเจาะรูทีม่ขีนาดใหญกวาทีก่ําหนดมาในมาตรฐาน ISO273 Close ได อีกตัวอยางหนึ่ง หากเราใชคําส่ัง Content 3D4Fasteners4Screws เขยีนสกรูแบบHex Head Type มาตรฐาน DIN 931-1 (Regular Thread) จะมีขนาดสกรูใหญที่สุดเพียง M39 เราสามารถเพิม่ขนาดสกรู M40 และขนาดอ่ืนๆ ทีใ่หญหรือเล็กกวา M39 ซ่ึงยังไมปรากฏในฐานขอมลูเพิม่เตมิเขาไปใหมได อีกตัวอยางหนึง่ หากเราจําเปนตองใชวัสดุ(Materials)ทีม่คีณุสมบตัทิางวิศวกรรม

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.67

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39291

Page 44: MDT7_chap-11

292 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.68

ไมตรงกับมาตรฐานทีโ่ปรแกรมกาํหนดมาใหในคําส่ัง Content 3D4Calculations4FEA เราสามารถนําวสัดจุากมาตรฐานใดมาตรฐานหนึง่มาแกไขหรือเพิ่มเติมวัสดใุหมที่เราตองการได

เมือ่ใชคําส่ังนีจ้ะปรากฏไดอะล็อคดงัรูปที ่11.68 ใหเลือกมาตรฐานของ Stardard parts ทีต่องการแกไขโดยคลิกขวาบนมาตรฐาน ISO-657/1 - 1989 (ซ่ึงเปนมาตรฐานรูปเหล็กฉาก)หรือคลิกขวาบนมาตรฐานอ่ืนๆ ของ Standard parts ทีต่องการแกไขเพิม่เตมิ และเลือกคําส่ัง Edit Valuetable จะปรากฏหนาตางของโปรแกรม Autodesk VAL - Editor ซ่ึงแสดงคณุสมบตัิของเหล็กฉากทกุขนาดทีม่อียูในมาตรฐานนีด้งัรูปที ่11.69 ขอมลูในคอลัมนทีเ่ราไมควรแกไขปรับแตงคอืคอลัมน RID Orig. Number,Rest Status, Part Status และคอลัมน IDN Dent Number เพราะขอมลูในคอลัมนดังกลาวไมไดเปนตวั

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.69

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39292

Page 45: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 293

กําหนดขนาดตางๆ ของพารทมาตรฐาน แตจะใชในการอางอิงของโปรแกรม แตขอมลูทีเ่ราสามารถแกไขปรับแตงไดนัน้อยูในคอลัมน MAS Mass (kg/m), G_D Designation, G_IR Radius r1, G_ERRadius r2, G_H Height และคอลัมน G_T Thickness ซ่ึงขอมลูในคอลัมนเหลานีจ้ะเปนตัวกําหนดคุณสมบตัิและขนาดของพารทมาตรฐานหรือเหล็กฉากโดยตรง

หากเราตองการแกไขมาตรฐานของเหล็กฉากขนาด 70x70x6 ในเรคคอรดที่ 21 ดังรูปที่ 11.69 ซ่ึงโปรแกรมกําหนดคาความหนามาใหเทากับ 7 ม.ม. ในคอลัมน G_T Thickness หากเราตองการแกไขความหนาเปน 6 ม.ม. ซ่ึงเปนคาทีถู่กตอง ใหดับเบิล้คลิกบนตวัเลข 7.00 ทีป่รากฏในเรคคอรด 21 และคอลัมน G_T Thickness แลวพมิพคา 6 เขาไปแทนที ่ แลวใชคําส่ัง Files4Save ของหนาตาง AutodeskVAL - Editor เพือ่บันทึกการเปล่ียนแปลงลงในไฟลฐานขอมลูของพารทมาตรฐาน เมือ่เราไดแกไขความหนาของเหล็กฉากแลว หากมกีารเรียกใชคําส่ัง Content 2D4Steel Shapes หรือ Content 3D4

Steel Shapes เพือ่สอดแทรกเหล็กฉากและมกีารเลือกใชมาตรฐาน ISO-657/1 - 1989 จะทาํใหความหนาของเหล็กฉากทัง้ 2 มติแิละ 3 มติเิปล่ียนแปลงไปตามคาที่เราแกไขใหมดวย

หากเราตองการเพิม่ขนาดใหมของเหล็กฉากคอื 300x300x50 ซ่ึงเหล็กฉากขนาดดงักลาวนียั้งไมมอียูในเรคคอรดของมาตรฐาน ISO-657/1 - 1989 (ขนาดใหญทีสุ่ดมเีพยีง 250x250x35 ซ่ึงอยูในเรคคอรดที่50) เราสามารถเพิ่มเรคคอรดใหมไดโดยคลิกขวาบนเรคคอรดสุดทาย ในที่นี้คือเรคคอรดที่ 50 จะปรากฏเคอรเซอรเมนดูังรูปที ่11.70 (ซาย) แลวเลือกคาํส่ัง Append Row จะปรากฏเรคคอรใหมดงัรูปที่11.70 (ขวา) สังเกตวุาโปรแกรมไดสรางเรคคอรด 51 พรอมทัง้กาํหนดสถานะในคอลัมน Rest Status,Part Status มาให แตยังไมมขีอมลูของพารทในคอลัมนตางๆ ซ่ึงอยูทางดานขวา ในการปอนขอมลูของ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.70

เหล็กฉากใหมเขาไปในเรคคอรด 51 นี ้ เราจะตองคัดลอกขอมลูจากเรคคอรดทีม่อียูแลว โดยไฮไลทเฉพาะขอมลูในคอลัมน MAS Mass (kg/m), G_D Designation, G_IR Radius r1, G_ER Radius r2,G_H Height และคอลัมน G_T Thickness ใหปรากฏดงัรูปที ่ 11.71 (บน) แลวใชคําส่ัง Edit4Copyแลวคลิกบนชองแรกทีไ่ฮไลทในเรคคอรด 51 แลวใชคําส่ัง Edit4Paste จะปรากฏดงัรูปที ่11.71 (ลาง)สังเกตวุาในขณะนีเ้รคคอรด 50 และ 51 มขีอมลูของพารทเหมอืนกนัทัง้หมด เร่ิมแกไขขอมลูเหล็กฉาก

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.71

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39293

Page 46: MDT7_chap-11

294 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

ในเรคคอรด 51 โดยดบัเบิล้คลิกขอมลูตวัเลขทีอ่ยูในเรคคอรด 51 แลวแกไขคาตางๆ ใหปรากฏดงัรูปที่11.72 เมือ่กําหนดคาตางๆ ซ่ึงกําหนดขนาดของสวนตางๆ ของเหล็กฉากแลว อาจจะมเีรคคอรดใหมที่

ไมตองการเพิม่เตมิขึน้มาหลังกดปุม Q เราสามารถลบเรคคอรดนัน้ได โดยคลิกขวาบนเรคคอรดที่ตองการลบ แลวเลือกคําส่ัง Delete Rows เมือ่เพิม่ขนาดตางๆ ของเหล็กฉากเสร็จเรียบรอยแลว ใหใชคําส่ัง Files4Save ของหนาตาง Autodesk VAL - Editor เพื่อบันทึกการเปล่ียนแปลงลงในไฟล

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.72

ฐานขอมลูของพารทมาตรฐาน เมือ่เราไดเพิม่เตมิเหล็กฉากขนาดใหม 300x300x40 เขาไปในฐานขอมลูแลว หากมกีารเรียกใชคําส่ัง Content 2D4

Steel Shapes หรือ Content 3D4Steel Shapesเพื่ อสอดแทรกเหล็กฉากและมีการเลือกใชมาตรฐาน ISO-657/1 - 1989 จะมเีหล็กฉากขนาดใหม 300x300x40 ปรากฏเพิ่ มเติมเข าในไดอะล็อคดังรูปที่ 11.73 รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.73

เราสามารถใชวธิีการแกไขและเพ่ิมเตมิพารทใหมเขาไปในฐานขอมูลไดกบัพารทประเภทอืน่ๆ ไดเชนเดียวกัน อาทิ เชน Hole, Center Hole, Slot, Screw, Bolt, Nut, Washer, Pin, Rivet, Drill Bushing,Clevis Pin, Roller Bearing, Plain Bearing, Thrust Washer, Shaft Seal, O-Ring, Steel Shape, Springและ Material

ในการสรางวสัดใุหมเขาไปในฐานขอมลู เราสามารถใชวธิเีดยีวกนักับวธิีการเพิม่ขนาดเหล็กฉากทีไ่ดกลาวมาแลว ในขณะทีอ่ยูบนไดอะล็อคดงัรูปที ่11.68 ใหเลือกมาตรฐาน DIN แลวเลือก DIN Materialดงัรูปที ่11.74 แลวเลือกคําส่ัง Edit Valuetable จะปรากฏหนาตาง Autodesk VAL - Editor ซ่ึงแสดงคณุสมบตัิของวสัดุทัง้หมดทีม่อียูในมาตรฐานเหมอืนกบัหนาตางดงัรูปที ่ 11.69 เราสามารถใชวธิีในการเพิม่ขนาดของเหล็กฉากทีไ่ดแสดงตวัอยางไปแลว เปนบรรทดัฐานในการสราง Material ใหมเพิม่เขาไปในฐานขอมลูวสัดมุาตรฐานได โดยคลิกขวาบนเรคคอรด 266 แลวเลือกคาํส่ัง Append Row จะปรากฏ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.74

เรคคอรด 267 โดยยังไมปรากฏขอมลูตางๆ ของวสัด ุใหไฮไลทขอมลูในเรคคอรด 266 ในคอลัมน WH1 ถึง RHO แลวใชคําส่ังEdit4Copy แลวคลิกบนชองแรกที่ไฮไลทในเรคคอรด 267แลวใชคําส่ัง Edit4Paste แลวแกไขขอมูลในเรคคอรด 267ใหปรากฏดงัรูปที ่11.75 แลวใชคาํส่ัง Files4Save ของหนาตางAutodesk VAL - Editor เพื่อบนัทึกการเพิม่เตมิวัสดใุนไฟลฐานขอมลู เราจะไดวัสดุใหมในมาตรฐาน DIN ซ่ึงจะปรากฏใหเลือกใชงานในคําส่ัง Content 3D4Calculations4FEA

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39294

Page 47: MDT7_chap-11

การใช Power Pack เสริมประสิทธิภาพในการทํางาน 295

คําส่ัง

N o t e

คําส่ัง Content 3D4Change Representation | amstdprep | \Exercise\11-295-1.dwg

ใชคาํส่ังนีสํ้าหรับเปล่ียนโหมดการแสดงผลใหแกพารททีถู่กเลือกจากโหมดมาตรฐาน(Standard)เปนโหมดแสดงรายละเอียด(Detailed) ในทํานองเดียวกันจากโหมดแสดงรายละเอียด(Detailed)เปน

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.75

เราควรเลอืกทีจ่ะแสดงผลพารทมาตรฐานในโหมด Standard ซึง่จะชวยใหการแสดงผลเร็วกวากรณทีีม่ีพารทในแอสเซมบลีจํานวนมากๆ

Assist4Options | amoptions | ใชคําส่ังนี้ แลวเลือกแถบคําส่ัง AM:Standard Parts จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.78 เราสามารถกาํหนดคาเร่ิมตนตาง ๆเพือ่ควบคมุการสรางพารทมาตรฐานในคอลัมนคาํส่ัง Content 2D และ Content 3D

โหมดแสดงผลแบบ Standard โหมดแสดงผลแบบ Detailed

โหมดมาตรฐาน(Standard) เมื่อเรียกคําส่ังออกมาใชงานจะปรากฏขอความ Select objects: ใหเลือกพารทมาตรฐานทีต่องการเปล่ี ยนโหมดการแสดงผล แลวคลิกขวา จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที 11.76 เราสามารถเลือก Standard หรือDetailed ไดตามตองการ แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค จะปรากฏดงัรูปที ่ 11.77

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.76

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.77

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39295

Page 48: MDT7_chap-11

296 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Use Standard Parts Layer หากปรากฏเคร่ืองหมาย √ หนาเช็คบอกซ โปรแกรมจะสรางพารทมาตรฐานในเลเยอร AM_ON

2D Hide Background ทําใหวตัถุ 2 มติทิีอ่ยูดานหลังของ Standard parts ไมปรากฏใหเหน็

2D Draw Centerlines สอดแทรกพารทมาตรฐาน 2 มติพิรอมเสนเซ็นเตอรไลนใน Drawing

2D Representation กําหนดโหมดแสดงผลพารทมาตรฐาน 2 มติิ Symbolic, Simplified หรือStandard

3D Representation กําหนดโหมดแสดงผลพารทมาตรฐาน 3 มติิ Standard หรือ Detailed

Standard Settings หากตองการเพิม่เตมิมาตรฐานใหม เราจะตองติดตัง้โปรแกรมใหม โดยใชแผน CD-ROM บรรจุโปรแกรม Mechanical Deskop ซ่ึงจะปรากฏมาตรฐานใหมในชองหนาตาง Selected Standard หากไมตองการนาํไปใชงาน เราจะตองยายมาตรฐานเขาไปอยูในชองหนาตาง Available Standard

Selection Group หากปรากฏเคร่ืองหมาย √ หนา Hole-Close, Hole-Nomal, Hole-Loose,Thread-Fine, Thread-Regular เราจะสามารถเลือกรูเจาะและเกลียวได

Enforce Projection Length Rules for Screw Connection กําหนดความยาวในการฉายเสนเซ็นเตอรไลนสําหรับ Screw Connection เสนเซ็นเตอรไลนทีย่ื่นออกไปจาก Screw Connection จะมคีวามยาว 1.5 เทาของความยาว Nut ทีอ่ยูในScrew Connection

เปนอันวาเราไดศึกษาการใชคําส่ังตางๆ ของ Power Pack ในสวนของ 3 มติมิาทัง้หมดแลว คําส่ังในคอลัมน Content 2D เปนคําส่ังที่เกี่ยวของกบัการเขียนแบบ 2 มติซ่ึิงชวยอํานวยความสะดวกในการใชงาน AutoCAD Mechanical 2004 ดังนัน้ จงึไมขอกลาวไวในทีน่ี้

รูปท่ี 1.1รูปที่ 11.78

chap-11-3.pmd 12/10/2549, 23:39296