MDT7_chap-04

26
หลังจากที ่เราไดสรางระนาบสเกทชใหอยูในตําแหนงและหันเหไปในทิศทางที ่ตองการ เมื ่อเขียนวัตถุ 2 มิติบนระนาบสเกทชและแปลงวัตถุ 2 มิติใหกลายเปนสเกทชแลว เราควรที่จะบังคับสเกทชให สมบรูณ(Fully Constrained Sketch) เพื่อควบคุมการแปลงเปลี่ยนของสเกทชใหเปนไปตามที่เรา กําหนด แตถาหากเรายังไมตองการบังคับสเกทช เราก็สามารถขามขั ้นตอนนี้ไปได แลวลงมือสราง ฟเจอรแบบตางๆ ใหกับสเกทชไดทันที อาทิ เชน Extrude, Revolve, Loft, Sweep และอื่นๆ แตถา หากตอไปเราตองการยอนกลับไปแกไขขนาดและรูปทรงของสเกทชใหม เราก็จะตองกลับไปบังคับ สเกทชนั้นเสียกอน มิฉะนั้นจะสามารถแกไขสเกทชนั้นได ตามหลักการที่ถูกตองแลว เราควรจะบังคับ สเกทชใหสมบรูณเสียกอนจึงลงมือที่จะสรางฟเจอรตางๆ แตก็ไมไดหมายความวาถาเราไมบังคับ สเกทชหรือบังคับสเกทชแลวแตยังไมสมบรูณ เราจะไมสามารถสรางฟเจอรได การสรางฟเจอรเพื่อ แปลงสเกทชใหเปน 3 มิติสามารถทําไดทันทีหลังจากที่เราแปลงวัตถุ 2 มิติใหเปนสเกทชแลว อยางไรก็ตาม เราควรฝกใหเกิดทักษะและความเคยชินในการบังคับสเกทชใหสมบรูณเสียกอน เพื่อให งายตอการกลับมาแกไขเปลี่ยนแปลงในภายหลัง ใน Mechanical Desktop มีการบังคับสเกทชอยู 2 แบบคือการบังคับสเกทชดวยรูปทรง(Geometric Constraints)และการบังคับสเกทชดวยขนาด(Dimension Constraints)ดังรูปที4.1 การบังคับสเกทช ดวยรูปทรงจะมีสัญลักษณการบังคับสเกทช H, V, F และสัญลักษณอื่นๆ กํากับอยู บนเสนที่ถูกบังคับ นอกจากนี้ยังมีหมายเลข , , , , , , กํากับอยู บนเสนสวนประกอบทั้งหมดของ บทที4 การบังคับสเกทช (Constraints) การบังคับสเกทชดวยรูปทรง (Geometric Constraints) การบังคับสเกทชดวยขนาด (Dimension Constraints) รูปที1.1 รูปที4.1 chap-04.pmd 12/10/2549, 23:32 65

Transcript of MDT7_chap-04

Page 1: MDT7_chap-04

หลังจากทีเ่ราไดสรางระนาบสเกทชใหอยูในตําแหนงและหนัเหไปในทศิทางทีต่องการ เมือ่เขยีนวตัถุ2 มิติบนระนาบสเกทชและแปลงวัตถุ 2 มิติใหกลายเปนสเกทชแลว เราควรที่จะบังคับสเกทชใหสมบรูณ(Fully Constrained Sketch) เพื่อควบคุมการแปลงเปล่ียนของสเกทชใหเปนไปตามที่เรากําหนด แตถาหากเรายังไมตองการบงัคบัสเกทช เรากส็ามารถขามขัน้ตอนนีไ้ปได แลวลงมือสรางฟเจอรแบบตางๆ ใหกบัสเกทชไดทันที อาท ิ เชน Extrude, Revolve, Loft, Sweep และอ่ืนๆ แตถาหากตอไปเราตองการยอนกลับไปแกไขขนาดและรูปทรงของสเกทชใหม เรากจ็ะตองกลับไปบงัคบัสเกทชนัน้เสียกอน มฉิะนัน้จะสามารถแกไขสเกทชนัน้ได ตามหลักการทีถู่กตองแลว เราควรจะบงัคบัสเกทชใหสมบรูณเสียกอนจงึลงมอืทีจ่ะสรางฟเจอรตางๆ แตก็ไมไดหมายความวาถาเราไมบังคับสเกทชหรือบงัคบัสเกทชแลวแตยังไมสมบรูณ เราจะไมสามารถสรางฟเจอรได การสรางฟเจอรเพือ่แปลงสเกทชใหเปน 3 มิติสามารถทําไดทันทีหลังจากที่เราแปลงวัตถุ 2 มิติใหเปนสเกทชแลวอยางไรกต็าม เราควรฝกใหเกดิทกัษะและความเคยชินในการบงัคบัสเกทชใหสมบรูณเสียกอน เพือ่ใหงายตอการกลับมาแกไขเปล่ียนแปลงในภายหลัง

ใน Mechanical Desktop มีการบังคับสเกทชอยู 2 แบบคือการบังคับสเกทชดวยรูปทรง(GeometricConstraints)และการบังคับสเกทชดวยขนาด(Dimension Constraints)ดงัรูปที ่4.1 การบังคบัสเกทชดวยรูปทรงจะมสัีญลักษณการบงัคบัสเกทช H, V, F และสัญลักษณอ่ืนๆ กาํกับอยูบนเสนทีถู่กบงัคบันอกจากนียั้งมหีมายเลข , , , , , , กํากบัอยูบนเสนสวนประกอบทัง้หมดของ

บทที่ 4 การบังคับสเกทช(Constraints)

การบังคับสเกทชดวยรูปทรง (Geometric Constraints)การบังคับสเกทชดวยขนาด (Dimension Constraints)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.1

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3265

Page 2: MDT7_chap-04

66 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

สเกทชซ่ึงสัญลักษณเหลานี้เปนสัญลักษณการบังคับสเกทชดวยรูปทรงดังรูปที่ 4.1 (ซาย) สวนการบังคับสเกทชดวยขนาดจะใชเสนบอกขนาดแบบพาราเมตริก(Parametric Dimensions)ควบคมุระยะหรือความยาวของเสนสวนประกอบของสเกทชดงัรูปที่ 4.1 (ขวา) ในการบงัคบัสเกทชใหสมบรูณ(Fully-constrained sketch) เราสามารถใชการบงัคบัสเกทชดวยรูปทรงและการบงัคบัสเกทชดวยขนาดผสมผสานกนัไดโดยไมจาํเปนตองเรียงลําดบักอนหรือหลัง เราจะบงัคับสเกทชแบบใดกอนกไ็ด

การบงัคบัสเกทชดวยรปูทรง(Geometric Constraints)เมือ่เราใชคําส่ังใดๆ ในการสรางสเกทช อาท ิเชน Single , Profile , Split Line , Cut Line

, Split Line , Break Line , 2D Path โปรแกรมจะทําการบังคับสเกทชดวยรูปทรงใหโดยอัตโนมตั ิ โดยจะนบัจาํนวนเสนทัง้หมด แลวกําหนดหมายเลขใหกบัเสนแตละเสนโดยเร่ิมนบัจากเสนหมายเลข , , , , .... พรอมกนันี ้โปรแกรมจะบงัคับเสนตางๆ ใหเปล่ียนแปลงไดเฉพาะภายใตในเงือ่นไขทีก่ําหนด โดยจะใสสัญลักษณการบงัคบัสเกทชกาํกบัเสนสวนประกอบสเกทชตางๆตวัอยาง เชน ถาหากเสนสวนประกอบของสเกทชเปนเสนในแนวนอน โปรแกรมกจ็ะล็อค(Lock) เสนนัน้ใหกลายเปนเสนในแนวนอน(Horizontal) โดยจะมตีวัอักษร H กํากับ ในขณะที่ปรากฏตวัอักษรH บนเสนอยูนัน้ เราจะไมสามารถเปล่ียนแปลงเสนดงักลาวใหเอียงทํามมุอ่ืนๆ ไดจนกวาเราจะกาํจดัตวัอักษร H ออกไปจากเสนนัน้เสียกอน ในทํานองเดียวกัน ถาหากเสนสวนประกอบของสเกทชเปนเสนในแนวตัง้ โปรแกรมกจ็ะล็อค(Lock)เสนนัน้ใหกลายเปนเสนในแนวตัง้(Vertical) โดยจะมตีวัอักษรV กํากบั ในขณะทีป่รากฏตวัอักษร V บนเสนอยูนัน้ เราจะไมสามารถเปล่ียนแปลงเสนดงักลาวใหเอียงทํามมุอ่ืนๆ ไดจนกวาเราจะกาํจดัตวัอักษร V ออกไปจากเสนเสียกอน นอกจากสัญลักษณทัง้สองทีไ่ดกลาวเปนตัวอยางมานี้ ยังมีสัญลักษณอ่ืนๆ ที่โปรแกรมจะกําหนดใหกับเสนสวนประกอบของสเกทชโดยอัตโนมัติ เสนสวนประกอบของสเกทชอยูภายใตเงื่อนไขของสัญลักษณนั้น โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

H โหมด Horizontal บงัคบัใหเสนตรงอยูในแนวนอน

V โหมด Vertical บงัคบัใหเสนตรงอยูในแนวตัง้

L โหมดPerpendicular บงัคบัเสนสองเสนใหตัง้ฉากซ่ึงกนัและกนั

P โหมด Parallel บงัคับเสนตรงสองเสนใหขนานกนั

T โหมด Tangent บงัคบัใหเสนตรงสัมผัสกบัเสนโคงหรือเสนโคงสัมผัสกบัเสนโคง

C โหมด Collinear บังคบัเสนตรงสองเสนใหอยูในระดบัหรืออยูในแนวเดยีวกนั

N โหมด Concentric บงัคบัเสนโคงหรือวงกลมสองเสนใหมจีดุศูนยกลางเดยีวกนั

J โหมด Project บงัคบัใหจดุบนเสนฉายเขาไปหาเสนตรง เสนโคง วงกลม วงรีหรือเสนโคงสไปลน

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3266

Page 3: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 67

- โหมด Join บงัคบัใหเสนตรง เสนโคง วงกลม วงรีหรือเสนโคงสไปลนเช่ือมโยงเขากบัจดุตางๆ บนเสนอ่ืนๆ ไมมสัีญลักษณกํากบั

X โหมด X Value บังคับใหจดุปลายของเสนทีถู่กเลือก ใชคาคอรออรดิเนทในแนวแกน X ของปลายเสนทีถู่กเลือกอีกเสนหนึง่

Y โหมด Y Value บังคับใหจดุปลายของเสนทีถู่กเลือก ใชคาคอรออรดิเนทในแนวแกน Y ของปลายเสนทีถู่กเลือกอีกเสนหนึง่

R โหมด Radius บังคับใหเสนโคงหรือวงกลมสองเสนมรัีศมเีทากนั

E โหมด Equal Length บังคับใหเสนตรงสองเสนมคีวามยาวเทาๆ กนั

M โหมด Mirror บงัคบัใหเสนตรง เซกเมนทของเสนโคงสไปลนหรือเสนขอบของพารทใหอยูในตําแหนงไดสัดสวนพลิกกลับแบบกระจกเงากับเสนอ่ืนๆ

F Fix บังคับเสนสวนประกอบของสเกทชไมใหมกีารเปล่ียนแปลงหรือไมใหมกีารเคล่ือนยายตําแหนง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.2

หากเราเขียนวัตถุ 2 มิติดวยขนาดและรูปทรงจริง หลังจากทีเ่ราแปลงวตัถุ 2 มติิใหเปนสเกทชแลว โปรแกรมจะกําหนดการบั งคับสเกทชด วยรูปทรง(GeometricConstraints) ใหอยางสมบรูณโดยอัตโนมตัิดงัรูปที ่4.2 เรียกไดวาเราไมจาํเปนตองเสียเวลาบังคับสเกทชดวยรูปทรงดวยตนเองเพราะโปรแกรมไดสราง Constraints มาใหอยางสมบรูณแลว แตก็มีขอแมวาเราตองเขียนสเกทชนั้นดวยขนาดและรูปทรงจริง(Full scale) ซ่ึงก็เปนวิธีการเขียนช้ินงานธรรมดาๆ ใน AutoCAD นัน่เอง

ถึงแมวาโปรแกรมไดสรางการบงัคบัสเกทชดวยขนาด(Geometric Constraints)มาใหอยางสมบรูณแลวเรายังสามารถทีจ่ะแกไขเปล่ียนแปลงหรือเพิม่เตมิ Constraints ไดดวยตนเอง เพือ่ควบคุมการเปล่ียนแปลงของเสนสวนประกอบตางๆ ของสเกทชใหอยูในแนวทางใหมที่เราเปนผูกําหนดดังรูปที่ 4.3แตถาเราไมตองการแกไข Constraints ที่โปรแกรมสรางมาให เราก็สามารถเลือกที่จะใชการบังคับสเกทชดวยขนาดมาชวยในการบงัคบัสเกทชใหสมบรูณได หลังจากที่เราแปลงหนาตัดของวตัถุ 2มติิใหเปนสเกทชแลว ถึงแมวาเราไมจาํเปนทีจ่ะตองสรางการบงัคับสเกทชดวยรูปทรงดวยตนเองเราควรทีจ่ะทราบความหมายและการใชงานการบังคบัสเกทชดวยขนาดใหเปนทีเ่ขาใจเสียกอน เพือ่ที่เราจะสามารถแกไขเพิม่เตมิ Constraints ที่โปรแกรมสรางมาใหไดอยางถูกตอง

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3267

Page 4: MDT7_chap-04

68 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

จากสเกทชในรูปที ่4.3 ซ่ึงแสดงการบงัคบัส เก ทช ด ว ย รู ปท รง ( G e o m e t r i cConstraints) สังเกตุวาเสนสวนประกอบของสเกทชทุกเสนมีหมายเลขกํากับเร่ิมตนนบัตัง้แต 0 (ศูนย) ถึง 15 นอกจากนี้บนเสนทกุๆ เสนยังมสัีญลักษณการบงัคบัสเกทชดวยขนาดกํากับ ซ่ึงสัญลักษณที่กํากับเสนจะแสดงความหมายให เราทราบวาเสนหมายเลขใดถูกบังคับไวในลักษณะใดบาง

เมื่อเราเขาใจความหมายของสัญลักษณตางๆ ที่กํากับเสนแตละเสนแลว เราจะสามารถทราบไดวาสเกทชนั้นถูกบังคับไดสมบรูณหรือไม หากยังขาดการบังคับ ณ จุดใด เราก็สามารถที่จะกําหนดGeometric Constraints ไดดวยตนเอง

โดยปกต ิหลังจากทีเ่ราไดแปลงวัตถุ 2 มติใิหเปนสเกทชแลว หากเราตองการเรียกสญัลักษณการบงัคบัสเกทชดวยรูปทรง(Geometric Constraints)ออกมาปรากฏ เราสามารถใชคําสัง่ Part42D Constraints4Show Contraints แลวคลิกบนเสนสวนประกอบของสเกทช

เสนหมายเลข (0) (ศูนย) เปนเสนโคงมสัีญลักษณ M5-7, N1, T13, R5 กํากบัดงันี้

M5-7 เสนโคง (0) ถูกบงัคบัใหพลิกกลับแบบ Mirror มตีําแหนงรับกบัเสนโคง (5) โดยมเีสนตรง (7) เปนเสนแกนกลาง(Mirror Line)

N1 เสนโคง (0) ถูกบงัคบัใหมจีดุศูนยกลางเดยีวกนักับวงกลม (1)

T13 เสนโคง (0) ถูกบงัคบัใหสัมผัส(Tangent)กับเสนตรง (13)

R5 เสนโคง (0) ถูกบงัคบัใหมรัีศมเีทากับเสนโคง (5)

เสนหมายเลข (1) เปนวงกลมมีสัญลักษณ R12, N0 กํากับดงันี้

R12 วงกลม (1) ถูกบงัคับใหมรัีศมเีทากบัวงกลม (12)

N0 วงกลม (1) ถูกบงัคบัใหมจีดุศูนยกลางเดยีวกนักับเสนโคง (0)

เสนหมายเลข (2) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ L3 กํากับดงันี้

L3 เสนตรง (2) ถูกบงัคบัใหตัง้ฉากกบัเสนตรง (3)

เสนหมายเลข (3) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ P15, L6, L2 กํากับดงันี้

P15 เสนตรง (3) ถูกบงัคับใหขนานกับเสนตรง (15)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.3

0

1

2

3

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3268

Page 5: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 69

L6 เสนตรง (3) ถูกบงัคบัใหตัง้ฉากกบัเสนตรง (6)

L2 เสนตรง (3) ถูกบงัคบัใหตัง้ฉากกบัเสนตรง (2)

เสนหมายเลข (4) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ C10, H กํากับดงันี้

C10 เสนตรง (4) ถูกบงัคับใหอยูในแนวเดียวกนักับเสนตรง (10)

H เสนตรง (4) ถูกบงัคับใหอยูในแนวนอน

เสนหมายเลข (5) เปนเสนโคงมสัีญลักษณ M0-7, N12, T13, R0 กํากับดงันี้

M0-7 เสนโคง (5) ถูกบงัคบัใหพลิกกลับแบบ Mirror มตีําแหนงรับกบัเสนโคง (0) โดยมเีสนตรง (7) เปนเสนแกนกลาง(Mirror Line)

N12 เสนโคง (5) ถูกบังคับใหมจีดุศูนยกลางเดยีวกนักบัวงกลม (12)

T13 เสนโคง (5) ถูกบงัคบัใหสัมผัส(Tangent)กับเสนตรง (13)

R0 เสนโคง (5) ถูกบงัคบัใหมรัีศมเีทากับเสนโคง (0)

เสนหมายเลข (6) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ P11, L3 กํากบัดงันี้

P11 เสนตรง (6) ถูกบงัคับใหขนานกับเสนตรง (11)

L3 เสนตรง (6) ถูกบงัคบัใหตัง้ฉากกบัเสนตรง (3)

เสนหมายเลข (7) เปนเสนประเซ็นเตอรมสัีญลักษณ V, J, M0-5 กํากับดงันี้

V เสนประเซ็นเตอร (7) ถูกบงัคบัใหอยูในแนวดิง่

J เสนตรง (6) และเสนตรง (3) ถูกบังคบัใหฉาย(Project)ไปบนจดุใดๆ บนเสนประเซ็นเตอร (7)

M0-5 เสนประเซ็นเตอร (7) ถูกบงัคบัใหเปนเสนศูนยกลางในการพลิกกลับแบบ Mirror ระหวางเสนโคง (0) และเสนโคง (5)

เสนหมายเลข (8) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ V, Y9, E14 กํากบัดงันี้

V เสนตรง (8) ถูกบงัคับใหอยูในแนวดิง่

Y9 จดุปลายบนของเสนตรง (8) ถูกบงัคบัใหอยูในระดบัความสูงในแนวแกน Y เดยีวกนักบัจดุปลายบนของเสนตรง (9)

E14 เสนตรง (8) ถูกบงัคับใหมคีวามยาวเทากับเสนตรง (14)

เสนหมายเลข (9) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ V, Y8 กํากับดงันี้

4

5

6

7

8

9

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3269

Page 6: MDT7_chap-04

70 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

V เสนตรง (9) ถูกบงัคับใหอยูในแนวดิง่

Y8 จดุปลายบนของเสนตรง (9) ถูกบงัคบัใหอยูในระดบัความสูงในแนวแกน Y เดยีวกนักบัจดุปลายบนของเสนตรง (8)

เสนหมายเลข (10) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ F, C4, H กํากับดงันี้

F จดุปลายเสนตรง (9) และ (10) เปนจดุทีถู่กยึดใหอยูกบัที่

C4 เสนตรง (10) ถูกบงัคับใหอยูในแนวเดียวกนักบัเสนตรง (4)

H เสนตรง (10) ถูกบงัคับใหอยูในแนวนอน

เสนหมายเลข (11) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ P6 กํากับดงันี้

P6 เสนตรง (11) ถูกบงัคบัใหขนานกบัเสนตรง (6)

เสนหมายเลข (12) เปนวงกลมมสัีญลักษณ R1, N5 กํากับดงันี้

R1 วงกลม (12) ถูกบงัคบัใหมรัีศมเีทากบัวงกลม (1)

N5 วงกลม (12) ถูกบงัคบัใหมจีดุศูนยกลางเดียวกันกับเสนโคง (5)

เสนหมายเลข (13) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ T5, H, T0 กํากบัดงันี้

T5 เสนตรง (13) ถูกบงัคบัใหสัมผัส(Tangent)กับเสนโคง (5)

H เสนตรง (13) ถูกบงัคับใหอยูในแนวนอน

T0 เสนตรง (13) ถูกบงัคบัใหสัมผัส(Tangent)กับเสนโคง (0)

เสนหมายเลข (14) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ E8, V กํากับดงันี้

E8 เสนตรง (14) ถูกบงัคบัใหมคีวามยาวเทากบัเสนตรง (8)

V เสนตรง (14) ถูกบงัคับใหอยูในแนวดิง่

เสนหมายเลข (15) เปนเสนตรงมสัีญลักษณ P3 กํากับดงันี้

P3 เสนตรง (15) ถูกบงัคบัใหขนานกบัเสนตรง (3)

เมือ่เราไดรูจกัและเขาใจความหมายของสัญลักษณกํากบัเสนแตละเสนของสเกทชทัง้หมดแลว ตอไปเราจะเร่ิมศึกษาคาํส่ังทีเ่กี่ยวของกบัการบังคบัสเกทชดวยรูปทรง โดยมรีายละเอียดดงัตอไปนี้

Part42D Constraints4Show Constraints | amdt_show_cons | \Exercise\04-071-1.dwg

10

11

12

13

14

15

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3270

Page 7: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 71

N o t e

คําส่ัง

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับแสดงสัญลักษณการบงัคบัสเกทชดวยรูปทรง(Geometric Constraints) เมือ่เรียกคาํส่ังออกมาใชงาน หากมสีเกทชเพยีงรูปเดยีว จะปรากฏสัญลักษณการบงัคบัสเกทชดวยรูปทรงบนสเกทชของพารทใชงานทนัท ีแตถามสีเกทชใชงานมากกวา 1 รูป จะปรากฏขอความ Select sketch for whichto display constraints: เราจะตองคลิกบนสเกทชที่ตองการแสดงสัญลักษณเสียกอน และจะปรากฏขอความ Enter an option [All/Select/Next/eXit] <eXit>: หากตองการแสดงสัญลักษณทัง้หมด ใหพมิพตวัเลือก A หากตองการแสดงสัญลักษณเพียงบางจดุ ใหพมิพ S แลวคลิกลงบนเสนทีต่องการ

Part42D Constraints4Delete Constraints| amdelcon | \Exercise\04-071-2.dwg

ใชคาํส่ังนีสํ้าหรับลบ Constraints ออกจากสเกทช เมือ่เรียกคาํส่ังนี ้จะปรากฏขอความ Select or [Size/All]: ใหคลิกลงบนสัญลักษณ Constraints ทีต่องการลบ หากขนาดของสัญลักษณทีป่รากฏมขีนาดเล็กจนเกนิไป เราสามารถเลือกตวัเลือก S จะปรากฏไดอะล็อค Constraint Display Size เราสามารถปรับขนาดสัญลักษณใหมขีนาดตามตองการ หากตองการลบสัญลักษณทัง้หมด ใหพิมพตวัเลือก A เพือ่ลบสัญลักษณทัง้หมด

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.4กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.5กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

หากเราไมตองการใช Constraints ทีโ่ปรแกรมสรางมาใหโดยอตัโนมตั ิเราสามารถลบ Constraints ทิง้ไดแลวเพ่ิม Constraints ใหมเขาไปแทนที ่ ตวัอยาง เชน หากเราไมตองการใหรัศมขีองเสนโคง (6) เทากับรัศมเีสนโคง (3) เรากส็ามารถใชคําสัง่นีล้บ R6 บนเสน (3) หรือลบ R3 บนเสน (6) ซึง่จะทําใหเราสามารถกําหนดรัศมีใหกับเสนโคง (3) และ (6) ที่มีความแตกตางกันได

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3271

Page 8: MDT7_chap-04

72 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

คําส่ัง

คําส่ัง

คําส่ัง

Part42D Constraints4Vertical | amaddcon | | jj \Exercise\04-72-2.dwg

คลิกบนเสนตรง (1) เสนตรงจะถูกบงัคบัใหอยูในแนวดิง่ จะปรากฏสัญลักษณ V บนเสน

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.6

Part42D Constraints4Horizontal | amaddcon | | jj \Exercise\04-072-1.dwg

คลิกบนเสนตรง (1) เสนตรงจะถูกบงัคับใหอยูในแนวนอน จะปรากฏสัญลักษณ H บนเสน

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.7

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

Part42D Constraints4Perpendicular | amaddcon | | jj \Exercise\04-072-3.dwg

เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be reoriented: คลิกบนเสนตรงทีไ่มไดถูกบงัคบัหรือเสนที่ตองการใหเกดิการเปล่ียนแปลง (1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be made perpendicular to: ใหคลิกบนเสนทีต่องการบังคับใหตัง้ฉาก (2) จะปรากฏสัญลักษณ L บนเสนตรงทัง้สอง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.8

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

Part42D Constraints4Parallel | amaddcon | | jj \Exercise\04-073-1.dwg

1

1

1

2

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3272

Page 9: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 73

คําส่ัง

คําส่ัง

เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be reoriented: คลิกบนเสนตรงทีไ่มไดถูกบงัคบัหรือเสนทีต่องการใหเกดิการเปล่ียนแปลง (1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be made parallel to: ใหคลิกบนเสนทีต่องการบงัคบัใหขนาน (2) จะปรากฏสัญลักษณ P บนเสนตรงทัง้สอง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.10

กอนใชคําสัง่

หลังใชคําสัง่

Part42D Constraints4Tangent | amaddcon | | jj \Exercise\04-073-2.dwg

เมื่อปรากฏขอความ Select object to be reoriented: คลิกเสนตรงหรือเสนโคงที่ตองการใหเกิดการเปล่ียนแปลง (1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be made tangent to: ใหคลิกบนเสนทีต่องการบงัคบัใหสัมผัส (2) จะปรากฏสัญลักษณ T บนเสนตรงและเสนโคง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.9

กอนใชคําสัง่

หลังใชคําสัง่

Part42D Constraints4Collinear | amaddcon | | jj \Exercise\04-073-3.dwg

เมื่อปรากฏขอความ Select object to be reoriented: คลิกเสนตรงที่ตองการใหเกิดการเปล่ียนแปลง(1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be made colinear to: ใหคลิกบนเสนทีต่องการบังคับใหอยูในแนวเดยีวกนั (2) จะปรากฏสัญลักษณ C เพือ่บงัคบัใหเสนตรง 2 เสนอยูในแนวเดยีวกนั

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.11

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

1

2

1

2

1

2

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3273

Page 10: MDT7_chap-04

74 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

คําส่ัง

คําส่ัง Part42D Constraints4Concentric | amaddcon | | jj \Exercise\04-074-1.dwg

เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be reoriented: คลิกบนวงกลมหรือเสนโคงทีต่องการใหเกดิการเปล่ียนแปลง (1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be made concentric to: ใหคลิกบนเสนโคงหรือวงกลมที่ตองการบังคับใหมจีดุศูนยกลางเดยีวกนั (2) จะปรากฏสัญลักษณ N บนเสนทัง้สอง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.12กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

Part42D Constraints4Project | amaddcon | | jj \Exercise\04-074-2.dwg

เมือ่ปรากฏขอความ Specify a point to project: ใหเรียกออฟเจกทสแนปในโหมด End แลวคลิกบนจดุปลายเสน (1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be projected to: ใหคลิกบนเสนโคงหรือเสนตรง(2) ที่ตองการฉาย(Project)จุด จะปรากฏสัญลักษณ J เพื่อบอกใหทราบวาจุดปลายเสนจะถูกบังคับใหอยูบนเสนที่ถูกเลือกเสมอ

12

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.13กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

12

Part42D Constraints4Join | amaddcon | | jj \Exercise\04-074-3.dwg

ใชสําหรับเช่ือมตอจดุปลายของเสน 2 เสนเขาดวยกนั โดยจะไมปรากฏสัญลักษณใดๆ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.14กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่12

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3274

Page 11: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 75

คําส่ัง

N o t e

คําส่ัง

N o t e ในการใชงาน Join เราตองเรียกออฟเจกทสแนปในโหมด End ออกมาใชงานทัง้จุดที่ (1) และ (2) ดวย

ในขณะทําการบังคับสเกทชดวยรูปทรง เราควรสังเกตุสัญลักษณ F วาอยูตรงจุดใด เพราะสัญลักษณF เปนตวักาํหนดจุดยึดซึ่งไมสามารถเปลีย่นแปลงได หากเราคลกิเสนทีต่อเนือ่งจากจดุยึด คําสัง่ในการบังคับสเกทชอาจจะไมสามารถทํางานตามที่เราตองการได ดังนั้น เราอาจจะตองใชคําสั่ง Part42DConstraints4Delete Constraints ลบสญัลักษณ F ออกไปเสยีกอน จงึจะสามารถบงัคบัสเกทชได

Part42D Constraints4X Value | amaddcon | | jj \Exercise\04-075-1.dwg

เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be reoriented: คลิกใกลจดุปลายเสนตรงหรือจดุปลายเสนโคงหรือวงกลมที่ตองการใหเกดิการเปล่ียนแปลง (1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object x value is based on:ใหคลิกใกลจดุปลายเสนตรง (2) หรือปลายเสนโคงหรือวงกลมทีต่องการบงัคบัใหจดุดังกลาวมคีาในแนวแกน X เทากนั จะปรากฏสัญลักษณ X บนเสนทัง้สอง

1

2 รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.15

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

Part42D Constraints4Y Value | amaddcon | | jj \Exercise\04-075-2.dwg

เมือ่ปรากฏขอความ Select object to be reoriented: คลิกใกลจดุปลายเสนตรงหรือจดุปลายเสนโคงหรือวงกลมที่ตองการใหเกดิการเปล่ียนแปลง (1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object y value is based on:ใหคลิกใกลจดุปลายเสนตรง (2) หรือปลายเสนโคงหรือวงกลมทีต่องการบงัคบัใหจดุดังกลาวมคีาในแนวแกน Y เทากนั จะปรากฏสัญลักษณ Y บนเสนทัง้สอง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.16กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

1

2

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3275

Page 12: MDT7_chap-04

76 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

คําส่ัง

คําส่ัง Part42D Constraints4Radius | amaddcon | | jj \Exercise\04-076-1.dwg

เมื่อปรากฏขอความ Select object to be resized: คลิกบนเสนโคงหรือวงกลมที่ตองการใหเกิดการเปล่ียนรัศม ี(1) เมือ่ปรากฏขอความ Select object radius is based on: ใหคลิกบนเสนโคงหรือวงกลม(2) รัศมขีองเสนโคงหรือวงกลม (1) จะเทากบัรัศมขีองเสนโคงทีว่งกลม (2) และจะปรากฏสัญลักษณR บนเสนทั้งสอง ซ่ึงบอกใหเราทราบวาเสนโคงหรือวงกลมทัง้สองมรัีศมเีทากนั

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.17กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

1 2

Part42D Constraints4Equal Length | amaddcon | | jj \Exercise\04-076-2.dwg

ใชสําหรับบังคับใหเสนตรง 2 เสนมคีวามยาวเทากนั จะปรากฏสัญลักษณ E บนเสนทัง้สอง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.18

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

1

2

Part42D Constraints4Mirror | amaddcon | | jj \Exercise\04-076-3.dwg

เมือ่ปรากฏขอความ Select axis to mirror about: ใหคลิกบนเสนแกนกลาง (1) เมื่อปรากฏขอความSelect sketch segment(to change) or [Define axis]: ใหคลิกบนเสนตรงหรือเสนโคง (2) ทีต่องการใหเกดิการเปล่ียนแปลง เมือ่ปรากฏขอความ Select arc (reflected from): ใหคลิกบนเสนโคง (3) ซ่ึงใชเปนเสนในการพลิกกลับแบบกระจกเงา จะปรากฏสัญลักษณ M บนเสนทัง้สอง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.19

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

1

23

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3276

Page 13: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 77

คําส่ัง Part42D Constraints4Fix | amaddcon | | jj \Exercise\04-077-1.dwg

ใชสําหรับกําหนดจุดยึด(Fix Point) เพื่อปองกนัมใิหเกิดการเปล่ียนแปลง ใหคลิกตรงจดุปลายเสนที่ตองการกําหนดเปนจดุยึด จะปรากฏสัญลักษณ F ตรงจดุทีไ่มสามารถเคล่ือนทีไ่ด

1

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.20กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

การบงัคบัสเกทชดวยขนาด(Dimension Constraints)การบังคับสเกทชดวยขนาดคือการใชเสนบอกขนาดแบบพาราเมตริก(Parametric Dimensions)เขยีนเสนบอกขนาดเพือ่กาํหนดความยาวหรือระยะหางของเสนสวนประกอบตางๆ ของสเกทช หากมีการเปล่ียนแปลงคาตวัเลขบอกขนาด จะทาํใหความยาวหรือระยะหางทีเ่สนบอกขนาดนัน้ควบคมุอยูเปล่ียนแปลงไปดวยโดยอัตโนมัติ

การบังคบัสเกทชดวยขนาด(Dimension Constraints)จะมคีวามสัมพนัธโดยตรงกบัการบังคบัสเกทชดวยรูปทรง(Geometric Constraints)เสมอ ดงันัน้ กอนการบงัคบัสเกทชดวยขนาด เราควรทีจ่ะใชคําส่ังPart42D Constraints4Show Constraints เพือ่ตรวจสอบวา เราจะตองเขียนเสนบอกขนาดตรงจุดใด และไมตองเขียนเสนบอกขนาดตรงจุดใดบาง เพื่อที่จะทําใหสเกทชไดรับการบังคับอยางสมบรูณ(Fully-constrained sketch) ตวัอยาง เชน หากเราบงัคบัสเกทชดวยขนาด โดยเขยีนเสนบอกขนาดรัศม ีลงบนเสนโคง (0) ดงัรูปที ่4.21 (ซาย) เราไมจาํเปนตองเขยีนเสนบอกขนาดรัศมลีงบนสวน

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.21

โคง (5) ซํ้าอีก เนือ่งจากบนเสนโคง (0) มสัีญลักษณ R5 และบนเสนโคง (5) มสัีญลักษณ R0 นัน่หมายถึงเสนโคงทัง้สองถูกบงัคบัใหมรัีศมเีทากนั หากเราเปล่ียนแปลงขนาดรัศมขีองเสนโคง (0) กจ็ะมผีลทําใหรัศมขีองสวนโคง (5) เปล่ียนแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมตัิดงัรูปที ่ 4.4 (ขวา) ในทํานองเดยีวกนั หากเราเขยีนเสนบอกขนาดลงบนเสนโคง (5) และมกีารเปล่ียนแปลงรัศมใีหม รัศมขีองเสน

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3277

Page 14: MDT7_chap-04

78 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

โคง (0) ก็จะเปล่ียนตามไปดวย อยางไรกต็าม เราจะไมสามารถเขยีนเสนบอกขนาดลงบนเสนโคง (0)และเสนโคง (5) เพือ่กําหนดรัศมทีี่แตกตางกัน ยกเวนในกรณีทีเ่สนโคง (0) ไมปรากฏสัญลักษณ R5และเสนโคง (5) ไมปรากฏ R0 เราจงึจะบงัคบัสเกทชดวยขนาดบนเสนโคงทัง้สองพรอมๆ กนัได

อีกตวัอยางหนึง่ หากเราบงัคบัสเกทชดวยขนาดโดยเขยีนเสนบอกขนาดแบบ Linear จากเสนเซ็นเตอรไลน (7) ไปยังจดุศูนยกลางของวงกลม (1) เพือ่กําหนดระยะหางดังรูปที ่4.22 (ซาย) จะทาํใหระยะหาง

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.22

จากวงกลม (12) ไปยังเสนประเซ็นเตอร (7) เปล่ียนแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมตั ิ เพราะวงกลม (12)มสัีญลักษณ N5 จงึถูกบงัคบัใหมจีดุศูนยกลางเดยีวกนักบัเสนโคง (5) สวนเสนโคง (5) มสัีญลักษณM0-7 จงึถูกบงัคบัใหพลิกกลับแบบกระจกเงากบัเสนโคง (0) ซ่ึงจะตองมรีะยะหางเทากับเสนโคง (0)เสมอ สวนเสนโคง (0) มสัีญลักษณ N1 จงึถูกบงัคับใหมศูีนยกลางเดยีวกนักับวงกลม (1) ดังนั้น หากเราแกไขเปล่ียนแปลงระยะหางระหวางเสนเซ็นเตอรไลน (7) กบัจดุศูนยกลางของวงกลม (1) ใหม จะทําใหระยะหางของวงกลม (0) และสวนโคง (1) เปล่ียนแปลงระยะหางใหเทากันตามไปดวยโดยอัตโนมตัดิังรูปที่ 4.5 (ขวา) เพราะฉะนัน้เราจงึเขยีนเสนบอกขนาดไวดานใดดานหนึง่เพยีงดานเดยีวก็เพยีงพอ การบงัคบัสเกทชดวยขนาด ณ จดุนัน้กจ็ะสมบรูณ

อีกตวัอยางหนึง่ หากเสนตรง 2 เสนถูกบงัคบัดวย Equal Length ทัง้คู อาท ิเชน เสนตรง (14) มสัีญลักษณE8 เสนตรง (8) มสัีญลักษณ E14 ดังรูปที่ 4.22 เราสามารถทีจ่ะเขยีนเสนบอกขนาดเพือ่บอกความยาวเสนบนเสนตรงเสนใดเสนหนึ่งเทานัน้ เราจะไมสามารถเขยีนเสนบอกขนาดทีก่ําหนดความยาวเสนใหมคีวามแตกตางกนัได ตราบใดทีเ่สนตรง (14) มสัีญลักษณ E8 เสนตรง (8) มสัีญลักษณ E14 อยูนอกเสียจากวา เราจะใชคําส่ัง Part42D Constraints4Delete Constraints เพือ่ลบสัญลักษณ E8และ E14 บนเสนตรงทัง้สองออกไปเสียกอน เราจงึจะสามารถเขยีนเสนบอกขนาดเพือ่บงัคบัใหเสนตรงทัง้สองมคีวามยาวที่ไมเทากันได

หากมีการบังคับสเกทชดวยรูปทรงซึ่งปรากฏสัญลักษณ L (ตั้งฉาก) บนเสนตรงสองเสน เราจะไมสามารถเขยีนเสนบอกขนาดบอกคามมุทีน่อยกวาหรือมากกวา 90 องศาได ในกรณอีืน่ ๆกม็หีลกัการเชนเดยีวกนั ถามสีญัลกัษณการบงัคับสเกทชดวยรูปทรงกํากบัอยู เราจะไมสามารถบงัคบัสเกทชดวยขนาดทีฝ่าฝนการบงัคับสเกทชดวยรูปทรงได จนกวาเราจะกําจดัสญัลกัษณการบงัคบัสเกทชดวยรูปทรงนัน้ออกไปเสียกอน เพ่ือทีจ่ะสามารถบงัคบัสเกทชดวยขนาดตรงจดุนัน้ได ในทํานองเดยีวกัน ถาเสนบอกขนาด พาราเมตริกบงัคบัเสนสวนประกอบของสเกทชอยู เรากจ็ะไมสามารถบงัคับสเกทชดวยรูปทรงตรงจดุนัน้ได หากการบงัคบัสเกทชดวยรูปทรงนัน้ฝาฝนการบงัคบัสเกทชดวยขนาด

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3278

Page 15: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 79

คําส่ัง

เมื่อเราพอที่จะเขาใจหลักการบังคับสเกทชดวยขนาดบางแลว ตอไปเราจะศึกษาคําส่ังตางๆ ในการเขยีนเสนบอกขนาดแบบพาราเมตริก ซ่ึงบังคบัระยะหาง ความยาว มมุ รัศมแีละเสนผาศูนยกลางของเสนสวนประกอบตางๆ ของสเกทช โดยมรีายละเอียดดงัตอไปนี้

Part4Dimensioning4Power Dimensioning | ampowerdim | \Exercise\04-079-1.dwg

ใชสําหรับเขยีนเสนบอกขนาดพาราเมตริก ซ่ึงบงัคับเสนสวนประกอบตางๆ ของสเกทชโดยตรง โดยเขยีนเสนบอกขนาดแบบตางๆ อาทิ เชน Linear, Aligned, Angular, Radius, Diameter ดงัรูปที ่4.23เมือ่เรียกคาํส่ังนีอ้อกมาใชงานจะปรากฏขอความดงัตอไปนี้

(Single) Specify first extension line origin or

[Angular/Options/Baseline/Chain/Update] <Select>: {คลิกเพ่ือกําหนดจุดท่ี 1 ของเสนบอกขนาด จะปรากฏขอความ Specify second extension line origin ใหคลิกจุดท่ี 2 และคลิกเพ่ือกําหนดตําแหนงของตัวเลขบอกขนาดหรือคลิกขวาหรือQ เพ่ือเลือกตัวเลือก Select}

<Select>: เมือ่คลิกขวาเพื่อใชตัวเลือกนี้ ใหคลิกบนเสนตรงหรือเสนโคงทีต่องการใหขนาด แลวเล่ือนเมาส เพื่อเลือกรูปแบบของเสนบอกขนาด แลวคลิกเพือ่กําหนดตาํแหนงตวัเลขบอกขนาด

Angular พมิพ A เพือ่เลือกการบอกขนาดแบบเชิงมมุ แลวคลิกเสนตรง 2 เสน และคลิก เพือ่กําหนดตําแหนงตวัเลขบอกขนาด

Options พิมพ O จะปรากฏไดอะล็อค Power Dimensioning เพื่อใหเรากําหนดรูปแบบของเสนบอกขนาด อาท ิ เชน จาํนวนจุดทศนิยม พิกัดความเผ่ือพกิัดสวมของเพลา เปนตน

Baseline สรางเสนบอกขนาดซอนเปนระดับช้ันตอจากเสนบอกขนาดที่มอียูแลวเมื่อปรากฏขอความ Select base dimension: คลิกบนเสนบอกขนาดที่ตองการใชเปนฐาน แลวคลิกเพื่อกําหนดตําแหนงตวัเลขบอกขนาด

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.23

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3279

Page 16: MDT7_chap-04

80 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

Chain สรางเสนบอกขนาดแบบตอเนื่อง(Continuous)จากเสนบอกขนาดที่มีอยูแลวในระดับเดยีวกนั เมือ่ปรากฏขอความ Select base dimension: คลิกบนเสนบอกขนาดที่ตองการใชเปนฐาน แลวคลิกเพื่อกําหนดตําแหนงของเสนบอกขนาด

Update ปรับปรุงพิกัดความเผ่ือ พิกัดสวมของเพลา เมื่อมีการเปล่ียนสีตัวเลขบอกขนาด และคาสูงต่ําของพกิัดความเผ่ือ เมือ่มกีารยืด(Stretch)สเกทช

หลังจากที่คลิกเพื่อกําหนดตําแหนงของจุดเร่ิมตน จุดส้ินสุดและตําแหนงตัวเลขบอกขนาดของเสนบอกขนาดแลว จะปรากฏไดอะล็อค Power Dimensioning ดงัรูปที ่4.24หากเราคลิกขวาในชองหนาตาง เราสามารถเลือกฟอนท เลือกสี กําหนดความสูงและคณุสมบัติ อ่ืนๆ ของตัวเลขบอกขนาด บนไดอะล็อคนี ้ เรายังสามารถกาํหนดหนวยวัดสํารอง เลือกรูปแบบตางๆ ของเสน

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.24

บอกขนาด แกไขคาตัวเลขบอกขนาดหรือปอนสมการ(Expression) กําหนดตวัเลขหลังจดุทศนิยม(Precision) คดัลอกรูปแบบเสนบอกขนาดไปยังเสนบอกขนาดอ่ืนๆ (Apply to) หรือคัดลอกรูปแบบจากเสนบอกขนาดอ่ืนมาใชงาน(Copy from) หากเราคลิกขวาบนอิดทิบอกซ Expression หรือ Precision

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.25

ดงัรูปที ่4.25 เราสามารถทีจ่ะเลือกคาทีโ่ปรแกรมตัง้มาให(PresetValves) หรือเลือกระยะจากวัตถุใดมาใชงาน(Measure)หรือนําคาจากเสนบอกขนาดอ่ืนๆ มาใชงานแบบเช่ือมโยงความสัมพนัธ(Associate to) หรือเรียกไดอะล็อค Equation Assistant ออกมาใชงานหรือเรียกคาํส่ัง Pan, Zoom และ 3D Orbit ออกมาใชงานโดยที่ไมตองออกจากไดอะล็อค

หากคลิกบนแถบคําส่ัง Geometry ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่4.26 (ซาย) แสดงสวนประกอบตางๆ ของเสนบอกขนาดหากเราตองการแกไขเปล่ียนแปลงสวนประกอบใดของเสนบอกขนาด ใหใชเมาสคลิกบนรูปสวนประกอบของเสนบอกขนาดนัน้บนไดอะล็อค เราสามารถเลือกที่จะปด/เปดเสนบอกขนาด(Dimension lines) เปล่ียนรูปแบบหัวลูกศร ซอนสวนขา(Extension lines) ปด/เปดเสนทีอ่ยูดานใน(Force line inside) และกําหนดระยะหางของตัวเลขบอกขนาดจากเสนบอกขนาด

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3280

Page 17: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 81

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.26

หากคลิกบนแถบคําส่ัง Unit ไดอะล็อคจะปรากฏดงัรูปที ่ 4.26 (ขวา) เราสามารถทีจ่ะกาํหนดหนวยวัดระยะ Scientific, Decimal, Engineering, Architectural, Fractional เปนตน นอกจากนี้ยังสามารถกําหนดสเกลแฟคเตอรสําหรับคูณคาของตัวเลขบอกขนาดที่โปรแกรมวัดได ถาโปรแกรมรายงานคาตวัเลขบอกขนาดออกมาเทากับ 5 หากเราตองการใหปรากฏตวัเลขบอกขนาด 50 บนพืน้ทีว่าดภาพเราสามารถปอนคา 10 เขาไปใน Linear Scale เราสามารถกําหนดคาในการปดเศษของจุดทศนิยม(Round Off) ในกรณีที่คาของตวัเลขบอกขนาดรายงานออกมาเปนตัวเลขทีไ่มลงตวั เราสามารถระบุคาที่ใกลที่สุดที่ตองการใหมกีารปดเศษ

หากเราคลิกบนปุม (Add Fit) ไดอะล็อค Power Dimensioning จะขยายออกดงัรูปที ่4.27 (ซาย)เราสามารถที่จะกําหนดสัญลักษณพิกัดสวม(Fits)ของเพลาโดยพิมพสัญลักษณพิกัดสวมของเพลา

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.27

เขาไปในอิดทิบอกซ Symbol หรือคลิกบนรูปไอคอนตัวอยางจะปรากฏไดอะล็อคใหเราเลือกรูปแบบตางๆ ของพิกัดสวมไดดังรูปที่ 4.27 (ขวา) หากตองการกําหนดพิกัดสวมใหกับรูเจาะหรือแบร่ิง(Hole)และเพลา(Shaft) ใหคลิกบนปุม จะปรากฏไดอะล็อค Fits คลิกบนปุม Matingจะปรากฏดงัรูปที ่4.28 ซ่ึงแสดงพกิัดสวม

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.28

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3281

Page 18: MDT7_chap-04

82 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

N o t e

N o t e

ระหวางแบร่ิงกบัเพลา 3 แบบคือ 1. Clearance (เมือ่แบร่ิงกบัเพลาประกอบกนัแลวมชีองวางตามพิกดัความเผ่ือทีก่ําหนด) 2. Transition (สามารถมชีองวางและม ีOverlap ระหวางเพลาและแบร่ิงจงึเปนไดทัง้สวมแบบมชีองวางหรือแบบสวมอัด) 3. Interference (เนือ่งจากพกิดัต่ําสุดและสูงสุด Minimum และMaximum limit of size ของเพลามขีนาดใหญกวา Minimum และ Maximum limit of size ของแบร่ิงการประกอบจงึตองทําแบบสวมอัด) เราสามารถดจูากสีของ Chart เพือ่ทีจ่ะไดทราบวาพิกดัทีเ่ราเลือกเปนแบบใด สีน้ําเงนิแสดงสีของรูเจาะหรือแบร่ิง สีเขยีวแทนเพลา สีฟาแกมเขยีวแทนพกิดัสวมแบบมชีองวาง(Clearance) สีแดงสดแทนพกิดัสวมแบบ Transition สวนสีแดงอิฐแทนพกิัดสวมแบบ Interference

หากคลิกบนปุม จะปรากฏดงัรูปที ่4.29 เราสามารถกําหนดพกิดัความเผ่ือ โดยสามารถกาํหนดคาสูงสุด(Upper)และคาต่ําสุด(Lower)และจาํนวนตัวเลขหลังจดุทศนยิม(Precision) หรือคลิกบนรูปไอคอนตัวอยางเพื่อเลือกรูปแบบของพิกัดความเผ่ือ(Tolerance Type)แบบตางๆ ไดตามตองการ รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.29

เมือ่เราคลิกบนปุม Apply to หรือปุม Copy from แลวคลิกบนเสนบอกขนาดที่ตองการคดัลอกรูปแบบจะปรากฏไดอะลอ็คใหเราเลือกวา เราตองการคดัลอกขอมลูใดไปยังเสนบอกขนาดอืน่ๆ หรือมายังเสนบอกขนาดใชงาน ซึง่จะปรากฏไดอะลอ็คดงัรูปที ่4.30 หากเราไมตองการคดัลอกขอมลูใด ใหปลดเคร่ืองหมาย √ ออกจากเช็คบอกซของขอมลูนัน้ อาท ิเชน หากเราไมตองการคดัลอกคาของตวัเลขบอกขนาดแตตองการคดัลอกคณุสมบัตอิืน่ๆ ของเสนบอกขนาด ก็ใหปลดเคร่ืองหมาย √ ออกจากเช็คบอกซนัน้

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.30

ตามที่โปรแกรมกําหนดมาใหเสนบอกขนาดแบบพาราเมตริก(Parametric Dimension)จะมสีีเขียวตามคุณสมบัติของเลเยอรของเสนบอกขนาด โดยจะถูกเก็บไวในเลเยอร AM_5

ใน Mechanical Desktop บนไดอะลอ็คทกุๆ ไดอะลอ็คทีม่ีอดิิทบอกซสําหรับกําหนดคาตาง ๆ ปรากฏอยู เราสามารถคลิกขวาบนอิดิทบอกซตางๆ เพ่ือเรียกช็อทคัทเมนูซึ่งบรรจุคําสั่ง Preset Valves,Measure, Associate to, Equation Assistant, Pan, Zoom และ 3D Orbit ออกมาใชงานไดโดยที่ไมตองออกจากไดอะลอ็คทีก่ําลงัทํางานคางอยู

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3282

Page 19: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 83

N o t e

คําส่ัง

N o t e

N o t e คําสั่ง Part4Dimensioning4Power Dimensioning นีค้อนขางสะดวกในการใชงาน โดยเฉพาะอยางย่ิง เมือ่เรากําหนดตาํแหนงของตวัเลขบอกขนาด โปรแกรมจะสแนป็เพ่ือกําหนดระยะหางระหวางสวนขา(Extension lines)ของเสนบอกขนาดทัง้สองกบัตวัเลขบอกขนาด(Use Distance Snap) ซึง่ทําใหเราสามารถกาํหนดตาํแหนงตวัเลขบอกขนาดของเสนบอกขนาดทุก ๆเสนใหอยูในระดับเดียวกัน

หากเราเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสัง่นีแ้ลว ปรากฏวาเสนบอกขนาดปรากฏมีขนาดเลก็มากหรือใหญมากจนเกินไปไมเหมาะสมกับขนาดของสเกทช เราสามารถใชคําสัง่ Assist4Format4DimensionStyle แลวคลกิช่ือสไตล AM_ISO คลกิบนปุม Modify คลกิแถบคาํสัง่ Fit ปอนคาสเกลแฟคเตอรใหมทีเ่หมาะสมเขาไปใน Use overall scale of หากเสนบอกขนาดเดมิปรากฏมขีนาดเลก็เกนิไปใหเพ่ิมคาสเกลแฟคเตอร อาท ิเชน 2, 4, 8, 16 เปนตน หากเสนบอกขนาดเดมิปรากฏมขีนาดใหญเกนิไปใหลดคาสเกลแฟคเตอร อาทิ เชน 0.5, 0.2, 0.1, 0.05 เปนตน แลวออกจากไดอะล็อคทั้งหมด เสนบอกขนาดจะปรับขนาดใหมโดยอตัโนมตัิ

Part4Dimensioning4New Dimension | ampardim | | ii \Exercise\04-083-1.dwg

คําส่ังนีไ้มมไีดอะล็อคเหมอืนกับคําส่ัง Part4Dimensioning4Power Dimensioning แตสามารถใชสําหรับเขยีนเสนบอกขนาดพาราเมตริกซ่ึงบงัคบัเสนสวนประกอบตางๆ ของสเกทชโดยตรงเชนเดยีวกนั อาท ิเชน เสนบอกขนาดแบบ Linear, Aligned, Angular, Radius, Diameter, Ordinate, และแบบParallel ไดดงัรูปที ่4.31 เมือ่เรียกคาํส่ังนีอ้อกมาใชงานจะปรากฏขอความดังตอไปนี้

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.31

กอนใชคําสัง่

หลังใชคําสัง่

คําสั่งนี้ไมสามารถสแนปเพ่ือกําหนดระยะหางระหวางตัวเลขบอกขนาดกับช้ินงานใหมีระยะเทาๆกันทุกเสน (Distance Snap) เหมือนกับการเขียนเสนบอกขนาดดวย Part4Dimensioning4PowerDimensioning ดังนั้น เราจะตองใชสายตากะขนาดระยะหางดวยตนเอง

Select first object: {คลิกตรงจุดเริ่มตนของสวนขาแรกของเสนบอกขนาดหรือคลิกบนเสนท่ีตองการใหขนาดไดโดยตรง}

Select second object or place dimension: {คลิกจุดส้ินสุดเพ่ือกําหนดสวนขาท่ีสองของ

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3283

Page 20: MDT7_chap-04

84 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

คําส่ัง

N o t e

เสนบอกขนาด}Specify dimension placement: {คลิก ณ ตําแหนงท่ีตองการวางตัวเลขบอกขนาด}Enter dimension value or [Undo/Hor/Ver/Align/Par/aNgle/Ord/Diameter/pLace] <0>:

{ปอนคาตัวเลขบอกขนาดท่ีตองการหรอืเลือกตัวเลือกเพ่ือเปล่ียนรปูแบบของเสนบอกขนาด}

Undo พมิพ U เพือ่ยกเลิกวตัถุทีถู่กเลือกและจะปรากฏ Select first object: อีกคร้ัง

Hor พมิพ H เพือ่เขยีนเสนบอกขนาดในแนวนอน

Ver พมิพ V เพือ่เขยีนเสนบอกขนาดในแนวดิง่

Align พมิพ A เพือ่เขยีนเสนบอกขนาดเอียงตามระนาบวัตถุ

Par พมิพ P เพือ่เขยีนเสนบอกขนาดใหขนาน โดยตองคลิกบนวัตถุ 2 ช้ิน

aNgle พมิพ N เพือ่เขยีนเสนบอกขนาดเชิงมมุ

Ord พิมพ O เพื่อเขียนเสนบอกขนาดแบบออรดิเนท โดยอางอิงจากจุดแรกเมือ่ปรากฏขอความ Select next object for ordinate dimension: ใหคลิกบนวัตถุตอไปที่ตองการเขียนเสนบอกขนาดแบบออรดิเนท แลวปอนคาระยะหางไดตามตองการ

Diameter พมิพ D เพือ่เขยีนเสนบอกขนาดแบบเสนผาศูนยกลาง โดยตองคลิกเพือ่เลือกวัตถุ 2 ช้ิน

pLace พมิพ L เพือ่ยายตาํแหนงตวัเลขบอกขนาดไปยังตําแหนงใหม

หากเราเขียนเสนบอกขนาดดวยคําสั่งนีแ้ลว ปรากฏวาเสนบอกขนาดปรากฏมขีนาดเลก็มากหรือใหญมากจนเกินไปไมเหมาะสมกับขนาดของสเกทช เราสามารถใชคําสั่ง Assist4Format4DimensionStyle แลวคลิกช่ือสไตล AM_ISO คลิกบนปุม Modify คลิกแถบคําสั่ง Fit ปอนคาสเกลแฟคเตอรใหมทีเ่หมาะสมเขาไปใน Use overall scale of หากเสนบอกขนาดเดิมปรากฏมขีนาดเลก็เกนิไปใหเพ่ิมคาสเกลแฟคเตอร อาท ิเชน 2, 4, 8, 16 เปนตน หากเสนบอกขนาดเดมิปรากฏมขีนาดใหญเกนิไปใหลดคาสเกลแฟคเตอร อาท ิเชน 0.5, 0.2, 0.1, 0.05 เปนตน แลวออกจากไดอะลอ็คทั้งหมด เสนบอกขนาดจะปรับขนาดใหมโดยอตัโนมตัิ

Part4Dimensioning4Power Edit | ampoweredit | ใชคําส่ังนีสํ้าหรับแกไขคาของตวัเลขบอกขนาด เปล่ียนฟอนท สี รูปแบบตวัอักษรและคุณสมบตัอ่ืินๆของเสนบอกขนาด เมื่อเรียกคาํส่ังนี้ออกมาใชงาน แลวคลิกบนเสนบอกขนาด จะปรากฏไดอะล็อคPower Dimensioning ขึน้มาบนจอภาพดงัรูปที ่4.24

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3284

Page 21: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 85

คําส่ัง

คําส่ัง

N o t e คําสัง่นีม้กีารใชงานเหมอืนกบัคําสัง่ Power Dimensioning ทกุประการ ดงันัน้ เราสามารถดรูายละเอยีดการใชงานในคําสั่ง Part4Dimensioning4Power Dimensioning

Part4Dimensioning4Edit Dimension | ammoddim | \Exercise\04-085-1.dwg

ใชคําส่ังนีสํ้าหรับแกไขเปล่ียนแปลงคาของตวัเลขบอกขนาด เมือ่เรียกคําส่ังนีอ้อกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select dimension to change: ใหคลิกบนเสนบอกขนาดทีต่องการแกไข จะปรากฏขอความEnter dimension value <60.04364828>: พมิพคาตวัเลขบอกขนาดหรือตวัแปรหรือสมการ เพื่อสรางความสัมพนัธไดตามตองการ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.32กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

Part4Dimensioning4Dimension As Parameters | amdt_dimaspar | \Exercise\04-085-2.dwg

โดยปกต ิตวัเลขบอกขนาดของเสนบอกขนาดพาราเมตริกซ่ึงควบคมุระยะหรือความยาวของเสนสวนประกอบของสเกทชจะปรากฏเปนตวัเลขแสดงคาระยะหางหรือความยาวดงัรูปที ่4.33 (ซาย) อันทีจ่ริงตวัเลขบอกขนาดแตละตัวมตีวัแปร(Variable)สําหรับเกบ็คาตวัเลขของเสนบอกขนาดกํากบัอยู แตเราจะไมทราบวาตวัแปรนัน้มช่ืีอใด เพราะวาโปรแกรมจะตัง้ช่ือตวัแปรมาใหโดยอัตโนมตั ิทกุคร้ังทีม่กีารเขยีนเสนบอกขนาดแบบพาราเมตริก โดยช่ือของตวัแปรทีโ่ปรแกรมตัง้มาใหโดยอัตโนมตั ิจะเร่ิมจากd0, d1, d2, d3, d4, ..... เรียงลําดบัตามตวัเลข เราสามารถใชคําส่ังนีสํ้าหรับเปล่ียนโหมดการแสดงผลใหแสดงช่ือตวัแปรแทนคาของตวัเลขบอกขนาดไดดงัรูปที ่ 4.33 (ขวา)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.33

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3285

Page 22: MDT7_chap-04

86 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

N o t e

N o t e

คําส่ัง

คําส่ัง

N o t e เหตุที่เราควรทราบวาเสนบอกขนาดใดมีช่ือตัวแปรใดกํากับอยู ก็เพราะวา เราสามารถที่จะสรางความสัมพันธระหวางตวัแปรตางๆ ของเสนบอกขนาดแบบพาราเมตริกได ตวัอยาง เชน d2=d1/2 นัน่หมายถึงเราสามารถนําคาของตัวแปร d1 มาหารดวย 2 แลวนําคานั้นไปใชงานในตัวแปร d2 นั่นก็จะทําใหคาของตัวแปร d2 จะมีคาเทาคร่ึงหนึง่ของคาของตวัแปร d1 เสมอ ไมวาเราจะเปลี่ยนคาตัวแปร d1 ไปเปนเทาใดก็ตาม

Part4Dimensioning4Dimension As Numbers | amdt_dimasnum | \Exercise\04-086-1.dwg

หากตัวเลขบอกขนาดของเสนบอกขนาดไมแสดงคาเปนตวัเลข ซ่ึงอาจจะปรากฏเปนตวัแปรดงัรูปที่4.33 (ขวา) หรือปรากฏเปนสมการดงัรูปที ่4.34 (ขวา) เราสามารถใชคําส่ังนีเ้พือ่เปล่ียนโหมดการแสดงผลกลับเปนคาตัวเลขเชนเดิม

Part4Dimensioning4Dimension As Equations | amdt_dimasequ | \Exercise\04-086-1.dwg

ใชสําหรับเปล่ียนโหมดการแสดงผลตวัเลขบอกขนาดใหปรากฏเปนสมการ แสดงทัง้ตวัแปร(Variable)และคาของตวัเลขบอกขนาดหรือสมการ เมือ่ใชคําส่ังนี ้ตัวเลขบอกขนาดจะปรากฏดงัรูปที ่4.34 (ขวา)

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.34

กอนใชคําสัง่ หลังใชคําสัง่

จากรูปที่ 4.34 (ขวา) เราจะมองเห็นช่ือตัวแปรและคาของตัวแปรซึ่งอาจจะเปนคาตัวเลขหรือตัวแปรดวยกนัหรือสมการ สังเกตวุาตวัแปร d2 มีความสัมพันธกบั d1 เพราะวา d2=d1/2 นั่นหมายถึง d2 มีคาเทากบั d1 หารดวย 2 สวนตวัแปร d3 กม็คีวามสมัพันธโดยตรงกบั d0 เพราะวา d3=d0 นัน่หมายถงึคาของd3 จะมคีาเปลี่ยนแปลงไปตาม d0 และทัง้สองจะมคีาเทากนัเสมอ สวนตวัแปร d4 ก็มคีวามสมัพันธกบัd1 เพราะวา d4 มีคาเทากับ d1 หารดวย 4 สวนตัวแปร d5 มีความสัมพันธกับ d0 เพราะวา d5=d0x20/18 นัน่หมายถงึคาของ d5 จะเทากบั d0 คณู 20 หาร 18 หากเราเปลีย่นแปลงคา d0 ตวัแปร d3 และตวัแปรd5 จะเปลี่ยนแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมตัิ

ในการสรางสมการเพ่ือกําหนดความสัมพันธใหกับตวัแปร เราใชคําสัง่ Part4Dimensioning4EditDimension หรือ Part4Dimensioning4Power Edit แลวปอนช่ือตวัแปรหรือพิมพสมการเพ่ือกําหนดความสมัพันธใหกับเสนบอกขนาดไดตามตองการ

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3286

Page 23: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 87

N o t e

การใช Preset Value ชวยในการกาํหนดขนาดในขณะทีไ่ดอะล็อคใดๆ ของ Mechanical Desktop กําลังปรากฏอยูในพื้นทีว่าดภาพ เราสามารถคลิกขวาบนอิดทิบอกซตางๆ ทีต่องการใหเรากาํหนดคา ไมวาจะเปนคา Distance, Angle, Draft Angle,Offset, Radius, Diameter, Thickness, Distance, Expression และอ่ืนๆ เปนตน เมือ่ปรากฏช็อทคทัเมนูเราก็สามารถเลือก Preset Values แลวเลือกคาตางๆ ที่โปรแกรมไดกําหนดมาให เพื่อนํามาใสในอิดิทบอกซที่เราไดคลิกขวา โดยเราไมตองเสียเวลาพิมพคาที่ตองการเขาไปในอิดิทบอกซตางๆเหลานัน้ดงัรูปที ่ 4.35

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.35

เมื่อปรากฏช็อทคัทเมนูแลว เรายังสามารถเรียกใชคําสั่งอื่นๆ ได อาทิ เชน Pan, Zoom, 3D Orbit โดยที่ไมตองจากคําสั่งหรือปดไดอะล็อคนั้นกอน ทําใหเกิดความคลองตัวในการจัดตําแหนงหรือหมุนมุมมองช้ินงานไดสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น

การใช Measure ชวยในการกาํหนดขนาดเชนเดยีวกันกับการใช Preset Values หากเราตองการกาํหนดคาใหกับอิดทิบอกซในไดอะล็อคตางๆอาทิ เชน Distance, Angle, Draft Angle, Offset, Radius, Diameter, Thickness, Distance, Expressionและอ่ืนๆ เราไมจาํเปนทีจ่ะตองพมิพคาตวัเลขหรือสมการเขาไปในอิดิทบอกซเหลานัน้ หากเรายังไมทราบคาทีแ่นนอน ซ่ึงเราอาจจะตองการกาํหนดคาใหมคีวามยาวเทากบัเสนตรงเสนใดหนึง่ของสเกทชหรือพารท แตเราไมทราบวาเสนตรงเสนนั้นมคีวามยาวเทาใด เราสามารถคลิกขวาบนอิดิทบอกซที่ตองการกําหนดคา แลวเลือก Measure แลวเลือก 2 points (3 points สําหรับมุม) แลวคลิกจดุ 2 จุดบนพื้นที่วาดภาพหรือเลือก Select edge แลวคลิกบนเสนสวนประกอบของสเกทชหรือเสนขอบ(Edge)ของพารท โปรแกรมจะนําคาระยะหางระหวางจุด 2 จุดหรือความยาวเสนขอบของพารทมาใสในอิดิทบอกซใหโดยอัตโนมตัิ

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.36

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3287

Page 24: MDT7_chap-04

88 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

การใช Associate to ชวยในการกาํหนดขนาดเชนเดียวกันกับการใช Preset Values หากเราตองการกาํหนดคาใหกับอิดทิบอกซในไดอะล็อคตางๆของ Mechanical Desktop อาท ิเชน Distance, Angle, Draft Angle, Offset, Radius, Diameter, Thickness,Distance, Expression และอ่ืนๆ เราสามารถสรางความสัมพันธกับเสนบอกขนาดอ่ืนๆ ที่มีอยูแลวโดยคลิกขวาบนอิดทิบอกซทีต่องการกาํหนดคา แลวเลือก Associate to แลวคลิกบนเสนบอกขนาดที่ตองการสรางความสัมพนัธ จะปรากฏคาของเสนบอกขนาดหรือตวัแปรหรือสมการซ่ึงมคีาเทากบัเสนบอกขนาดทีถู่กเลือก ถาเสนบอกขนาดที่ถูกเลือกมตีัวแปร d0 จะปรากฏ d0 บนอิดิทบอกซที่เราไดคลิกขวาดวย

การใช Equation Assistance ชวยในการกาํหนดขนาดในขณะทีป่รากฏไดอะล็อคใดๆ ของ Mechanical Desktop หากเราตองการสรางความสัมพนัธใหกบัคาของอิดิทบอกซใดๆ อาท ิ เชน Distance, Angle, Draft Angle, Offset, Radius, Diameter, Thickness,Distance, Expression เราสามารถสรางความสัมพนัธกบัเสนบอกขนาดอ่ืนๆ ทีม่อียูแลว โดยคลิกขวาบนอิดิทบอกซที่ตองการกําหนดความสัมพันธ แลวเลือกคําส่ัง Equation Assistant... จะปรากฏไดอะล็อค Equation Assistant ดงัรูปที ่4.37

d3*sin(d2)+d4 เปนอิดิทบอกซที่เราตองการสรางความสัมพันธ ในที่นี้ d3*sin(42)+d4ถาเราดูคาของตัวแปรจากตารางดังรูปที่ 4.37 เราจะเห็นวา d3=20, d4=37.5 หากแทนคาในสมการ 20*sin(75)+37.5 จะไดผลลัพธเทากับ 56.82

Result แสดงผลลัพธของสมการทีเ่ราสรางขึน้ใชงาน

Equate ตดัความสัมพันธแลวนําคาของตวัแปรหรือสมการไปใชงาน

Active Part Variables แสดงรายช่ือตัวแปรทีจ่ะมผีลเฉพาะพารทใชงานเทานัน้ ไมสามารถนําไปใชกบัพารทช้ินอ่ืนๆ ในแอสเซมบลี

รูปท่ี 1.1รูปที่ 4.37

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3288

Page 25: MDT7_chap-04

การบังคับสเกทช (Constraints) 89

N o t e

N o t e

Global Variables แสดงรายช่ือตัวแปรที่สามารถนําไปใชงานรวมกันระหวางพารททัง้หมดในแอสเซมบลี สามารถใชไดกับพารททกุๆ ช้ินในแอสเซมบลี

หากเราตองการนําคาของตวัแปรใดไปสรางสมการ ใหดบัเบิล้คลกิบนช่ือตวัแปรทีป่รากฏบนตารางของไดอะล็อค Equation Assistant เราสามารถเลือกใชฟงช่ัน sin, cos, tan, sqrt, pi และฟงช่ันอื่นๆ จากไดอะล็อค นอกจากนี้ เรายังสามารถเรียกใชเคร่ืองหมายโอเปอเรเตอร +, -, *, /, ^, % ไดเชนเดียวกัน

หากเราไดสรางความสมัพันธระหวางตวัแปรขึน้มาแลว เราสามารถตรวจสอบตวัแปรนั้นได โดยเรียกไดอะล็อค Equation Assistant ขึ้นมาใหมอีกคร้ัง สมการที่เราไดสรางขึ้นคร้ังกอน ก็จะปรากฏบนไดอะล็อค Equation Assistant เราก็สามารถตรวจสอบความถกูตองของความสมัพันธได

ในบทนีเ้ราไดศึกษาหลักและวธิกีารบงัคบัสเกทชดวยรูปทรงและการบงัคบัสเกทชดวยขนาดมาทัง้หมดเรียบรอยแลว เราอาจจะพอเขาใจในหลักการบงัคับสเกทชบางแลว แตกอ็าจจะยังไมทราบ วิธทีีจ่ะนาํไปใชงานจริง อยางไรกต็าม หลังจากทีเ่ราไดศึกษาคาํส่ังทัง้หมดในตอนที ่1 ของหนังสือเลมนี ้และไดทดลองทําตามแบบฝกหัดทายเลมทัง้หมดแลว จะทําใหเราเขาใจวธิีการบงัคับสเกทชดวยรูปทรงและการบงัคบัสเกทชดวยขนาดมากขึน้ เพราะในแบบฝกหดัตางๆ ไดมกีารแสดงขัน้ตอนการบงัคบัสเกทชในทุกๆ แบบฝกหดัไวอยางละเอียด เราจะสามารถศึกษาเพิม่เตมิในระหวางการทาํแบบฝกหัด เพือ่ใหเกิดทักษะและความเขาใจและสามารถนําตัวอยางไปใชในงานจริงไดอีกดวย แตกอนที่จะเร่ิมทําแบบฝกหัดได เรายังมคีําส่ังอีกหลายคําส่ังทีใ่ชสําหรับแปลงสเกทชใหกลายเปนพารท 3 มติิซ่ึงจะตองศึกษาอยางละเอียดเสียกอนในบทตอไป

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3289

Page 26: MDT7_chap-04

90 คูมือการใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

chap-04.pmd 12/10/2549, 23:3290