Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf ·...

16

Transcript of Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf ·...

Page 1: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน
Page 2: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

Content PEA Talk 4 สัมภาษณ์ผู้ชนะการแข่งขันทักษะด้าน GIS GIS Society 6 กิจกรรมเด่น PEA GIS ในช่วงไตรมาส Read Me 8 Back to Basic : ระบบพิกัดบนพ้ืนผิวโลก InStyle by GIS 10 7 สิ่งดีๆ เมื่อเริ่มต้นปีใหม่ Tips & Trick 12 การแสดงเฉพาะข้อมูลที่สนใจบนแผนที่ Arc Map IT Trends 14 การกลับมาอีกครั้งของของปุ่ม start ใน Windows 10

โดยการสนับสนุนจาก กองแผนที่ระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โทรศัพท์ 0 2590 9497

เว็ปไซต์ : http://extranet.pea.co.th/asp/gisp2/ Face book : http://www.facebook.com/peagisclub

พิมพ์ท่ี : กองการพิมพ์ ฝ่ายธุรการ

สวัสดีปี ใหม่ 2558 ค่ะ ในวโรกาสมหามงคล เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 ที่ผ่ านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของปวงชนชาวไทยได้ทรงเจริญพระชนมายุครบ 87 พรรษา พวกเราชาว PEA MAP ขอถวายพระพรขอให้พระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน มีพระสุขพลานามัยดีขึ้นในเร็ววัน พร้อมกันนี้ได้น้อมน าบทเพลงพระราชนิพนธ์มาเพ่ืออ านวยพรปีใหม่และเป็นสิริมงคลแก่ทุกท่านด้วยค่ะ

กองบรรณาธิการ

Let’s Talk ………..

Page 3: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

บทเพลงพระราชนิพนธ์อันดับที่ 13 ซึ่งทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2495 โดยมีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทานพรปีใหม่แก่บรรดาพสกนิกรไทย จึงทรงพระราชนิพนธ์เพลง “พรปีใหม่” และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ เป็นผู้นิพนธ์ค าร้อง

ให้บรรดาเราท่านรื่นรมย์

ต่างสุขสมนิยมยินด ี

ให้บรรดาปวงท่านสุขศรี

ให้ชาวไทยล้วนมีโชคชัย

ทุกวันทุกคืนชื่นชมให้สมฤทัย

ผองชาวไทยจงสวัสด ี

ตลอดไปนับแต่บัดนี้

สวัสดีวันปีใหม่เทอญ ...

พรปีใหม่

สวัสดีวันปีใหม่พา

ฤกษ์ยามดีเปรมปรีด์ิชื่นชม

ข้าวิงวอนขอพรจากฟ้า

โปรดประทานพรโดยปรานี

ให้บรรดาปวงท่านสุขสันต์

ให้รุ่งเรืองในวันปีใหม่

ตลอดปีจงมีสุขใจ

ให้สิ้นทุกข์สุขเกษมเปรมปรีดิ์

Page 4: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

MAP Talk ในฉบับนี้จะขอแนะน ำทีมที่ได้รับรำงวัลชนะเลิศกำรแข่งขันทักษะกำรปฏิบัติงำนครั้งที่ 26 ประจ ำปี 2557 ในหัวข้อ “เทคนิคกำรสร้ำงแผนที่ GIS with GPS” ณ ศูนย์ฝึกปฏิบัติกำรไฟฟ้ำแรงสูง อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ระหว่ำงวันที่ 3 – 5 ก.ย. ที่ผ่ำนมำ โดยทีมจำก กฟต.3 และ กฟต.1 เป็นทมีที่ได้รับรำงวัลชนะเลิศ ก่อนอ่ืนเรำมำรู้จักพวกเขำกันก่อนนะคะ

ทีม กฟต.3 ประกอบด้วย 1. นายอ านาจ มีข า วศก.5 ผบค.กฟอ.จะนะ 2. นายศราวุฒิ ช่วยรอด วศก.5 ผปบ.กฟจ.นธ. “เราจัดทีมที่มีความถนัดคนละด้าน และเตรียมผู้แข่งขันส ารองอีก 2 คน โดยแบ่งหน้าที่กัน คือดูระดับน า และป้อนข้อมูล ลงเคร่ือง Leica ซึ่งได้น าประสบการณ์จาก

ให้ได้ระดับน า รวมทั งดูการกระจายของดาวเทียมด้วย”

ทีม กฟต.1 ประกอบด้วย 1. นายกฤษฎา เจะมะ วศก.4

ผมต.กฟจ.ระนอง 2. นายพัฒนพงศ์ อินทร พชง.3

ผบค.กฟจ.ระนอง

“ปกติจะใช้งาน GIS ประจ าอยู่แล้วทั งในส่วนของระบบงาน FAC หรือ DM แต่ส่วนใหญ่ใช้ Garmin 60 ในการส ารวจเนื่องจากเหมาะกับสภาพภูมิประเทศ แต่ในการ config GPS Garmin 60 และ Lieca GS20 จะคล้ายๆ กัน ซึ่งการเตรียมตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน Lieca GS20 มาศึกษา”

การแข่งขันปีที่แล้วมา ปรับปรุง และฝึกซ้อมแบบ On the Job Training พร้อมทั งเพิ่มเทคนิคในการจับพิกัดให้มีความแม่นย าสูงโดยวางเสา

นอกจำกนี้เรำยังมีโอกำสได้สัมภำษณ์ในมุมมองระบบงำน GIS ทั้งจำกผู้บริหำรและพนักงำนที่ได้รับรำงวัล ตำมไปอ่ำนควำมเห็นดีๆ กันเลยค่ะ

กผป. ต.3 : GIS เป็นส่วนสนับสนุนที่ส าคัญของทุกระบบงาน ซึ ่ง สอดคล้องกับน โยบายที ่ใ ห้ระบบงานทุกอย่าง run บน GIS

กฟอ.จะนะ : GIS ช่วยให้สามารถเข้าไปดูข้อมูลของอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าได้ทุกแห่งที่ต้องการ สะดวกมากครับ

กฟจ.ระนอง : GIS เป็นเครื่องมือสนับสนุนงานติดตั งอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า ท าให้ทราบค่าพิกัด และเดินทางไปถึงอุปกรณ์ได้ง่าย

มุมมองด้ำน GIS

กผป. ต.3 : ระบบ GIS ช่วยลดเวลาการท าประมาณการในงานออกแบบ ซึ ่ง เราผล ักด ันให้ท ุก กฟฟ . ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน โดยได้พัฒนา Website เพื่อให้ผู้ ใช้งานใช้ตรวจสอบข้อมูล และสามารถเปรียบเทียบเชื่อมโยงกับระบบ SAP ช่วยลดปัญหาการใช้งาน Application License ที่มีอยู่จ ากัดได้มาก

แนวทำงในกำรผลักดันงำนด้ำน GIS

ไม่มีรูปศราวุฒเิลย

ให้เขตส่งรูปรางวัลชัดๆ มาใหม่

Page 5: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

ที่มำของค ำว่ำ “HAPPy Touch Smart life”

กฟอ.จะนะ : ปัจจุบันเรามีการไฟฟ้าในสังกัด 3 แห่ง ที่อยู่ในพื นที่เสี่ยงภัย จึงมีการขยายผลการใช้งาน GIS ร่วมกับ GPS ในการน าทางเพื่อหาต าแหน่ง (GPS Route to Meter) เพื่อให้ท างานได้เร็วขึ น ลดโอกาสที่พนักงานจะเกิดอันตรายได้มาก

กฟจ.ระนอง : น า GIS ไปช่วยสนับสนุนการใช้งานทุกระบบใน PEA และจากที่ได้น า GIS เข้ามาช่วยในการบริการผู้ใช้ไฟ ในระบบ One Touch Service ท าให้ลูกค้ามีความพอใจในการบริการของเรามากขึ น ปัจจุบันมีการน าระบบ GIS มาช่วยในการวางแผนติดตามหนี โดยการน าเข้าข้อมูล meter จากระบบ GIS เข้าไปยัง GPS สามารถเดินทางไปยังบ้านลูกค้าได้ง่ายยิ่งขึ น

กผป. ต.3 : PEA ต้องใช้ประโยชน์จากระบบให้เต็มที่ และ ควรมองแนวทางการพัฒนาระบบ GIS เพื่อสนบัสนนุงานบริการผู้ใช้ไฟ ไม่ควรให้แต่ละหน่วยงานพัฒนากันเอง กฟอ.จะนะ : เราควรเน้นการน า GIS มาใช้ประโยชน์ในการบริการลูกค้า และยิ่งถ้าข้อมูล GIS มีความสมบูรณ์และเชื่อมต่อกับ SAP ก็จะท าให้ลูกค้าสามารถทราบข้อมูล และมีความพึงพอใจยิ่งขึ น

กฟจ.ระนอง : ผมอยากให้ กผร. จัดฝึกอบรมการประยุกต์ ใช้งาน GIS กับระบบงานต่างๆ ของ PEA เช่น การคัดกรองตรวจสอบมิเตอร์แต่ละกลุ่ม ทั งมิเตอร์ศูนย์หน่วย และมิเตอร์ผู้ใช้ไฟรายใหญ่ 100% เป็นต้น

ข้อเสนอแนะส ำหรับงำนด้ำน GIS ผู้ปฏิบัติงำนที่ได้รับรำงวัลชนะเลิศ กำรบริหำรจัดกำรที่มีผลให้ชนะงำนแข่งขัน

ทักษะกำรใช้งำน GPS

กฟอ.จะนะ : พนักงานเปน็ผู้ส ารวจข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าด้วยตัวเอง จึงมีทักษะด้าน GPS และมีความภูมิใจในข้อมูลที่ได้มา ส่งผลให้มีความพยายามน า GIS มาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด โดยเราได้น าข้อมูล GIS มาใช้กับ GPS เพื่อน าทางค้นหาต าแหน่งมิเตอร์ช ารุดหรือมิเตอร์ศูนย์หน่วย

กฟจ.ระนอง : เรามีนโยบายในการพิจารณาความดีความชอบส าหรับพนักงานที่ให้ความสนใจ และประสบความส าเร็จในการน า GIS มาช่วยในการท างาน

กผป. ต.3 : ผู้บริหารได้กระตุ้นให้จัดท าข้อมูล GIS ซึ่งมีการน าเสนอความก้าวหน้า ของการน าเข้าข้อมูลในการประชุมประจ าเดือน โดยต้องมีความถูกต้องถึง 95 % และ ผผร. ได้สนับสนุนการอบรม และให้ค าปรึกษาผ่านทั ง Facebook, Line หรือให้น างานเข้ามาท าที่ กฟข.

นโยบำยกับกำรน ำ GIS ไปใช้ในกำรสนับสนุนกำรปฏิบตัิงำนในพื้นที่

Page 6: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

คุณพันธุ์ฑพิย ์กุลแพทย ์ อก.ผร.

คณาจารย์จากส านักบริการคอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เข้าเยี่ยมชมระบบภูมิสารสนเทศระบบไฟฟ้า (PEA GIS) เมื่อวันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม 2557 ณ ห้อง GIS Center ชั้น 5 อาคาร LED ส านักงานใหญ่ มีนางพันธุ์ฑิพย์ กุลแพทย์ อก.ผร. พร้อมคณะให้การต้อนรับ และน าเสนอการบูรณาการระบบ GIS พร้อมทั้งตอบข้อซักถาม

คณาจารย ์ส านกับรกิารคอมพวิเตอร ์

สถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกลา้เจา้คณุทหารลาดกระบงั

เข้าเยีย่มชมโครงการ PEA GIS

Page 7: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

แล้วน ามาสร้างแผนที่ด้วยซอฟต์แวร์ Arc GIS โดยทีมที่มีคะแนนสูงสุดและได้รับรางวัลเหรียญทอง 2 ทีม คือ กฟจ.จะนะ และ กฟจ.ระยอง

การแขง่ขนัทกัษะการปฏบิตัิงานดา้น GIS ในงาน

มหกรรมคณุภาพ PEA ครั้งที ่26 ประจ าป ี2557

ในการแข่งขันทักษะการปฏิบัติงานในงานมหกรรมคุณภาพ PEA ครั้งที่ 26 ประจ าปี 2557 เมื่อวันที่ 4-5 ส.ค. 2557 ณ ศูนย์ฝึกปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ได้จัดให้มีการแข่งขันเทคนิค การสร้างแผนที่ GIS ด้วย GPS เป็นปีที่ 2 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการแข่งขันรวมทั้งสิ้น 17 ทีม โดยใช้เครื่อง GPS เก็บข้อมูลพิกัดภาคสนาม

Page 8: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

แฟนคลับ Read me คงจะจ ำกันได้นะคะ ว่ำเรำสำมำรถน ำ GIS หรือระบบภูมิสำรสนเทศมำใช้งำนได้

หลำกหลำย ไม่ว่ำจะเป็นกำรใช้งำนในชีวิตประจ ำวัน เช่น กำรค้นหำสถำนที่ หรือเส้นทำง รวมถึงกำรใช้ GPS น ำทำง ซึ่งปัจจุบัน PEA เองก็ได้น ำมำใช้งำนด้วย เช่น กำรวิเครำะห์ข้อมูลกำรใช้ไฟในแต่ละพื้นที่ กำรน ำ GPS Tracking มำใช้ติดตำมรถยนต์และวิเครำะห์วำงแผนเส้นทำงขนส่งและปฏิบัติงำน

Read me ฉบับนี้จะชวนเพื่อนๆ ไปรื้อฟื้นควำมรู้ทำงภูมิศำสตร์สมัยมัธยม เพื่อให้เข้ำใจระบบ GIS มำกข้ึนค่ะ

เส้นเมริเดียน (Meridian) คือเส้นของลองติจูด หรือเส้นแวง เป็นเส้นตรงที่เริ่มต้นจำกขั้วโลกเหนือจรดขั้วโลกใต้ มีเส้นเริ่มต้นที่ลำกผ่ำนเมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ เรียกว่ำเส้นไพรม์เมริเดียน (Prime Meridian) ก ำหนดให้เป็น 0° และนับไปทำงตะวันออก 180° และทำงตะวันตก -180°

ระบบพิกัดที่ใช้อ้ำงอิงก ำหนดต ำแหนง่บนแผนที่ที่นิยมใช้กับแผนที่ในปจัจุบนั มีอยู่ด้วยกัน 2 ระบบ คือ 1) ระบบพิกัดภูมิศำสตร์ (Geographic Coordinate) 2) ระบบพิกัดกริด (Grid Coordinate)

1) ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ก ำหนดต ำแหน่งต่ำงบนพื้นโลก ด้วยวิธีกำรอ้ำงอิงบอกต ำแหน่งเป็นค่ำระยะเชิงมุมของละติจูด (Latitude) และ ลองติจูด (Latitude) ตำมระยะเชิงมุมที่ห่ำงจำกศูนย์ก ำเนิด (Origin) ที่แกนกลำงของโลก ซึ่งเมื่อน ำละติจูดและลองติจูดมำรวมกันก็จะได้ระบบพิกัดภูมิศำสตร์บนพื้นโลก (Earth’s Grid) ดังภำพ

เส้นเส้นศูนย์สูตร (Equator) เป็นเส้นสมมุติที่ลำกผ่ำนศูนย์กลำงวงกลมในแนวนอน และตั้งฉำกกับแกนหมุนของโลกมีค่ำมุมเป็น 0° และมีเส้นละติจูด หรือเส้นรุ้ง เป็นเส้นแบ่งส่วนย่อยมีค่ำมุมสูงสุดที่ 90° ที่ขั้วโลก

ดังนั้นกำรใช้ค่ำระยะเชิงมุมของละติจูดอ้ำงอิง บอกต ำแหน่งต่ำงๆ นอกจำกจะก ำหนดเรียกค่ำวัดเป็น องศำ ลิปดำ และฟิลิปดำ แล้วจะบอกซีกโลกเหนือหรือใต้ก ำกับด้วยเสมอ เช่น PEA ส ำนักงำนใหญ่ มีพิกัดที่ 13° 51' 5.5764“ เหนือ 100° 33' 29.0232“ตะวันตก หรือแปลงเป็นองศำทศนิยม ได้ เท่ ำกับ 13.851549 , 100.558062 เป็นต้น

สูตร ค่าทศนิยม = องศา + (นาที/60) + (วินาที/3600)

By rainbow

Page 9: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

2) ระบบพิกัดกริด UTM (Universal Transvers Mercator) เป็นระบบตำรำงกริดที่มีขนำดเท่ำกันใช้ในกำรก ำหนดต ำแหน่งและใช้อ้ำงอิง ในกำรบอกต ำแหน่ง ที่นิยมใช้กับแผนที่ในกิจกำรทหำรของประเทศต่ำงๆ เกือบ ทั่วโลกในปัจจุบัน เพรำะเป็นระบบตำรำงกริดที่มีขนำดรูปร่ำงเท่ำกันทุกตำรำง และมีวิธีกำรก ำหนดบอกค่ำพิกัดเป็นระยะทำงที่ง่ำยและถูกต้อง โดยมีจุดศูนย์ก ำเนิดอยู่ท่ีจุดตัดกันระหว่ำงเส้นศูนย์สูตรกับเส้นไพรม์เมริเดียน (Prime Meridian) ของแต่ละโซน

กำรอ่ำนค่ำพิกัด มี 2 ค่ำที่เป็นจุดตัดกันคือเส้นกริดตั้ง (แกน X ทำงตะวันออก) และ เส้นกริดรำบ (แกน Y ทำงเหนือ) เช่น ค่ำพิกัด PEA ส ำนักงำนใหญ่ (ซึ่งอยู่ Zone 47 ) คือ 47P 668382.273 E 1531856.670 N

ท่ีมา http://th.wikipedia.org

ประเทศไทยได้ใช้เส้นโครงแผนที่แบบ UTM ในกำรท ำแผนที่กิจกำรทหำรภำยใน ประเทศจำกรูปถ่ำยทำงอำกำศเมื่อ พ.ศ.2496 โดยท ำเป็นแผนที่มำตรำส่วน 1:50,000 ชุด 708 และปรับปรุงใหม่เป็นชุด L 7017 ที่ใช้ในปัจจุบัน

เขียนโยงเข้ากบัระบบของงาน PEA GIS เร่ือง Datum ??

ระบบภูมิสำรสนเทศเพื่อกำรบริกำรผู้ใช้ไฟของกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค :PEA MAP เองมีกำรแสดงระบบพิกัดแผนที่ทั้ง 2 ระบบ คือ ระบบพิกัดภูมิศำสตร์ที่แสดงค่ำละติจูด ลองติจูด และ ระบบพิกักริด UTM โดยท่ำนผู้อ่ำนสำมำรถเข้ำไปซ้อมอ่ำนค่ำพิกัดในเว็บไซด์ http:// ลองคลิกเข้ำไปดูกันนะคะ

http://map.pea.co.th

Page 10: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

สวัสดีปีใหม่ 2558 ค่ะ..... ปีเก่าผ่านไป ปีใหม่ก าลังจะมาถึง และช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านจากปีเก่าเข้าสู่

ปีใหม่เช่นนี้ จะเป็นเวลาที่หลายคนก าลังครุ่นคิดตั้งใจท าสิ่งต่างๆ เพื่อเป็นการเร่ิมต้นสิ่งที่ดีในชีวิต และ Instyle By GIS ฉบับนี้ มีบทความเกี่ยวกับ 7 สิ่งที่ควรท า เพื่อเป็นการเริ่มต้นที่ดีมาฝากคุณผู้อ่าน เพื่อปีใหม่ปีนี้เป็นปีที่ดีของทุกๆ คนค่ะ

Instyle By GIS

7 สิ่งดีๆ เม่ือเริ่มตน้ปีใหม่ หัวเราะวันละ 5 นาทีในทุกๆ เช้า

การหัวเราะเป็นการหลั่งสาร Endrophine สารแห่งความสุข นอกจากนี้การหัวเราะยังเป็นการออกก าลังทุกส่วนของใบหน้า ช่วยให้หัวใจเพิ่มการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ได้มากขึ้น ช่วยลดอาการปวดศีรษะ ลดการอ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย ว่าแล้ววันนี้ก็อย่าลืมหัวเราะกันนะคะ

อ่านหนังสือในเวลาว่าง การอ่านหนังสือนอกจากจะเป็นการเพิ่มเติมความรู้แล้ว ยังเป็นการสร้างบันดาลใจใหม่ๆ ให้กับชีวิต บางครั้งยังได้ ไอเดียดีๆ เพื่อน าไปใช้กับการท างานอีกด้วย

อ่านหนังสือในเวลาว่าง การอ่านหนังสือนอกจากจะเป็นการเพิ่มเติมความรู้แล้ว ยังเป็นการสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ ให้กับชีวิต บางครั้งยังได้ไอเดียดีๆ เพื่อน าไปใช้กับการท างานอีกด้วย

Likes

หัวเราะในทุกๆ เช้า การหัวเราะเป็นการหลั่งสาร Endrophine สารแห่งความสุข นอกจากน้ีการหัวเราะยังเป็นการออกก าลังทุกส่วนของใบหน้า ลดอาการปวดศีรษะ ลดการอ่อนเพลีย

Page 11: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

หัวเราะวันละ 5 นาทีในทุกๆ เช้า การหัวเราะเป็นการหลั่งสาร Endrophine สารแห่งความสุข นอกจากนี้การหัวเราะยังเป็นการออกก าลังทุกส่วนของใบหน้า ช่วยให้หัวใจเพิ่มการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ได้มากขึ้น ช่วยลดอาการปวดศีรษะ ลดการอ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย ว่าแล้ววันนี้ก็อย่าลืมหัวเราะกันนะคะ

อ่านหนังสือในเวลาว่าง การอ่านหนังสือนอกจากจะเป็นการเพิ่มเติมความรู้แล้ว ยังเป็นการสร้างบันดาลใจใหม่ๆ ให้กับชีวิต บางครั้งยังได้ ไอเดียดีๆ เพื่อน าไปใช้กับการท างานอีกด้วย

เขียนบันทึกประจ าวัน ปัจจุบันเรามักเสพติด Social Network กันอย่ า ง ม า ก เ ร า นิ ย ม พิ ม พ์ เ ล่ า เ รื่ อ ง ที่เกิดขึ้นฉพาะหน้าลงบน Facebook หรือ Twitter ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีความแตกต่างกับบันทึกประจ าวันที่เราสามารถบันทึกเรื่องที่เราจดจ าผ่านความทรงจ าเป็นตัวอักษร เมื่อเราย้อนกลับมาอ่าน จะเห็นพัฒนาการในชีวิต และสิ่งเหล่านี้มีคุณค่าเสมอ

ดูพวกสารคดีให้บ่อย วัตถุประสงค์ของสารคดีมุ่งน าเสนอเนื้อหาที่เป็นสาระและข้อเท็จจริง สอดแทรกความรู้ที่สามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวัน อีกทั้งยังมีความคิดสร้างสรรค์ที่น าใช้ประโยชน์ได้

ดูสารคดีให้บ่อย วัตถุประสงค์ของสารคดีมุ่งน าเสนอเนื้อหาที่เป็นสาระและข้อเท็จจริง สอดแทรกความรู้ที่สามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวัน อีกทั้งยังมีความคิดสร้างสรรค์ที่น าใช้ประโยชน์ได้

เขียนบันทึกประจ าวัน ปัจจุบันเรามักเสพติด Social Network กันอย่างมาก เรานิยมพิมพ์เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าลงบน Facebook หรือ Twitter ซึ่ งแตกต่ างกับบันทึกประจ าวันที่เราสามารถบันทึกเรื่องที่เราจดจ าผ่านความทรงจ าดีๆ

เริ่มต้นประหยัดและออมเงิน การออมเงินคือการลงทุนในอนาคตที่ชาญฉลาด การไม่เหลือเงินเก็บเลย เป็นสัญญาณอันตรายส าหรับการใช้เงิน การเก็บออมเงินเป็นการสร้างหลักประกันให้กับชีวิต เพื่อไว้ใช้ในยามเจ็บป่วยและในวัยชรา และเป็นเงินลงทุนในเวลาที่เราต้องการ

ไปท่องเที่ยวเมื่อมีโอกาส การท างานแต่ละวันแสนวุ่นวายและเหน็ดเหนื่อย หากเราได้หยุดพักผ่อนบ้างคงเป็นเรื่องดี การท่องเที่ยวเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กับเรา รวมถึงได้เรียนรู้สิ่งแปลกใหม่ ทั้งเรื่องราวของประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม และธรรมชาติ

เรียนภาษาต่างประเทศเพ่ิมเติม นอกจากได้เรียนรูภ้าษาเพิ่มขึ้นแล้ว ได้ฝึกฝนทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน ในรูปแบบท่ีแตกต่างกัน แล้วยังช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคอัลไซเมอร์ เพิ่มความสามารถในการรับรู้แยกแยะข้อมูลในชีวิตประจ าวัน แถมยังได้เพื่อนใหม่ๆอีกด้วยนะเออ

ในแต่ละปีที่ผ่านไป มีทั้งเรื่องราวทั้งดีและไม่ดีให้เราได้พบเจอ และเรียนรู้เพื่อที่จะเข้าใจมันมากๆ ขึ้นไปตามจ านวนปีที่เพิ่มขึ้น Instyle By GIS หวังใจว่า บทความสั้นๆ นี้จะเป็นทั้งก าลังใจ และแนวคิดดีๆ เพื่อการเริ่มต้นที่ดีในปีต่อๆ ไป พบกันใหม่ใน PEA MAP ฉบับหน้า สวัสดีปีใหม่ค่ะ

Page 12: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

บ่อยครั้งที่เราเรียกใช้ข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ Arc Map แล้วพบว่าชั้นข้อมูลที่แสดงอยู่นั้นมากเกินความต้องการ ดังนั้น Tip & Tricks ฉบับนี้จะมาแนะน าการตั้งเงื่อนไขให้แสดงเฉพาะข้อมูลตามความสนใจ เพื่อช่วยซ่อนข้อมูลที่ไม่จ าเป็นไว้ชั่วคราว โดยข้อมูลดังกล่าวไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงไป และท าให้ดูแผนที่ได้ง่ายขึ้น

วิธีที่ 1 ก ำหนดเงื่อนไขแบบ Definition Query เพื่อให้แสดงเฉพาะสิ่งที่ต้องการบนแผนที่ จากตัวอย่างต้องการให้แสดงโรงแรมประเภท Guesthouse เท่านั้น

1. คลิกขวาที่ Layer “Hotels” แล้วเลือกค าสั่ง Properties

2. เลือกแบบ Definition Query แล้วสั่ง Query Builder เพื่อสร้างการแสดงข้อมูลบนแผนที่

3. ที่หน้าต่าง Query Builder เลือก Field ที่ต้องการและใส่ SQL statement เพื่อเลือกประ เภทข้อมูลที่สนใจเช่น “SUB_CODE”=“20420” (ฟิลด์ SUB_CODE เป็นการแบ่งประเภทของโรงแรม และเลือกรหัสข้อมูล 20420 ซึ่งหมายถึงโรงแรมประเภท Guesthouse) ก็จะได้ข้อมูล Guesthouse ตามภาพ

ตามตัวอย่างภาพด้านซ้าย จุดสีฟ้าเป็นข้อมูลต าแหน่งที่ตั้งของสถานที่ประเภทโรงแรมทั้งหมด ส่วนภาพด้านขวาจะแสดงเฉพาะจุดต าแหน่งโรงแรมประเภท Guesthouse ที่ได้จากการก าหนดเงื่อนไขง่ายๆ ดังนี้

Page 13: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

1. เลือกค าสั่ง Selection > Select by Attributes เพื่อเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการ 2. เลือก Layer “Hotels” และก าหนดเงื่อนไข “SUB_CODE”=“20420” แล้วเลือก OK จุดต าแหน่ง Guesthouse

ทั้งหมดจะถูกเลือกเป็นสีฟ้าบนแผนที่ 3. คลิกขวาที่ Layer “Hotels” > Selection > Create Layer from Selected Features เพื่อสร้าง Layer ชั่วคราว

จากข้อมูลที่ถูกเลือกไว้

วิธีที่ 3 กำรตั้งเงื่อนไขแบบ Clipped Extent Data Frame

วิธีที่ 2 กำรตั้งเงื่อนไขแบบ Create Layer From Selected Features

วิธีที่กล่าวมานี้ มีข้อดีคือ ไม่เปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บ สะดวกในการใช้งานและแสดงผลชัดเจนไม่ซับซ้อน เหมาะกับงานที่ขนาดไม่ใหญ่มากเนื่องจากการตั้งเงื่อนไขในรูปแบบดังกล่าวจะยังคงดึงข้อมูลทั้งหมดมาแต่ลดการแสดงผลลง หากขนาดของข้อมูลใหญ่มาก การตัดข้อมูลออกมาเป็นชั้นข้อมูลใหม่อาจจะเหมาะสมมากกว่า ซึ่งชาว PEA MAP สามารถเลือกมาใช้ให้เหมาะสมกับงาน เช่น การหามิเตอร์ในฐานข้อมูล โดยให้แสดงเฉพาะมิเตอร์ศูนย์หน่วย เป็นต้น

หวังว่า Tips & Trick ฉบับนี้น่าจะเปน็ประโยชนก์ับเพื่อนๆ นะคะ สุขสันต์เดือนธันวาคมส่งท้ายปีเก่าค่ะ

ขอขอบคุณข้อมูลจาก ESRI Thailand

เป็นการสร้างชั้นข้อมูลใหม่แบบชั่วคราวจากเคร่ืองมือ Selection เพื่อให้แสดงเฉพาะข้อมูลส่วนที่สนใจเท่านั้น

คือการให้แผนที่แสดงเฉพาะข้อมูลที่อยู่ภายในพื้นที่ที่ก าหนด

1. คลิกขวาที่ Data Frame > Properties 2. เลือกแถบ Data Frame ที่เมนู Clip Options เลือก Clip to Shape 3. กดปุ่ม Specify Shape เพื่อก าหนดเงื่อนไขที่ต้องการ 4. ที่หน้าต่าง Data Frame Clipping เลือก Outline of Features และ

เลือก Layer เป็นชื่อพื้นที่ แล้วกด OK แผนที่ก็จะแสดงเฉพาะข้อมูลในพื้นที่ที่ก าหนด

Page 14: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

งพูดได้อย่างเต็มปากว่า Windows 8 ไม่ประสบความส าเร็จ เหมือนอย่างที่ Windows 7 ได้เคยท าไว้ ซึ่งสาเหตุมาจากการที่ Microsoft ตัดปุ่ม Start ออก และออกแบบมาให้เน้นการใช้งานในรูปแบบ Touch Screen มากเกินไป ซึ่งการใช้งาน Windows 8 นั้น mouse และ keyboard ไม่ตอบโจทย์เท่าไหร่ ผู้ใช้ส่วนมากจึงยังคงเลือกที่จะอยู่กับ Windows ตัวเดิมต่อไป

แต่โชคดีที่ดูเหมือนว่า Microsoft จะรับฟังกระแสตอบรับ และน าปุ่ม Start กลับมาอีกครั้งใน Windows 10 และเพ่ิมลูกเล่นใหม่เข้ามาหลายอย่างที่น่าสนใจ ซึ่งตอนนี้ได้ปล่อย Window 10 เวอรชั่น Technical Preview ออกมาให้ผู้ใช้ดาวน์โหลดไปทดสอบการใช้งาน ก็มาลองดูกันว่า Windows 10 มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไป และลูกเล่นใหม่อะไรที่น่าสนใจบ้าง

Start สวัสดีปุ่ม Start อีกครั้ง ในที่สุดนายก็กลับมา กลับมาในรูปแบบใหม่ Start Screen ใน Windows 8 ได้ถูกผนวกกลับมาไว้บนหน้า Desktop อีกครั้ง และท าหน้าที่แสดงรายชื่อแอพฯ และโปรแกรมเหมือนที่มันเคยท า

ที่มา : http://www.itday.in.th

Page 15: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

Multitasking แ อ พ ฯ บ น Windows 10 จะท างานในหน้า Desktop อยู่แล้ว ดังนั้น การท างานระหว่างแอพฯ และโปรแกรมจึงไม่ต้องมีการสลับหน้าจออีกต่อไป! เพราะทั้งคู่ท างานอยู่บนหน้าจอเดียวกัน

Live Tiles ใน Windows 10 จะแสดงอยู่ในปุ่ม Start

Virutal Desktop ลูกเล่นใหม่ที่เพ่ิมเข้ามาใน Windows 10 เป็นการสร้างหน้าจอ Desktop เพ่ิมขึ้นมา ซึ่งเราสามารถสลับหน้าจอไปมาได้ตลอดเวลา มีประโยชน์เวลาที่เราท างานหลากหลายอย่างพร้อมกัน แต่อาจจะเป็นลูกเล่นที่จ าเป็นส าหรับผู้ใช้บางคนเท่านั้นนะ

Charms ใน windows 10 แถบเมนู Charms เหมือนจะหายไปจากขอบด้านขวาแล้ว แต่ที่จริงมันยังอยู่ เพียงแต่ว่าแบบเดิมจะปรากฏ เมื่อเราเอานิ้วลากออกมาจากขอบด้านขวา หรือเอา mouse ไปวางไว้ใกล้ๆ แต่ใน Windows 10 เราจะต้องกดค าสั่งปุ่ม Windows + C ในการเรียกออกมา แต่ถ้าเราก าลังใช้งาน Metro Application อยู่ Charms จะปรากฏขึ้นมาในรูปแบบใหม่ที่ดูดีข้ึน โดยจะแสดงอยู่ที่มุมซ้ายบนของแอพฯแทน

เราสามารถจัดเรียงได้ตามต้องการเหมือนเวอร์ชั่นก่อน ซึ่งดีกว่า Windows 8 ที่ต้องสลับไปอีกหน้าจอนึงเลย

สรุปว่า Windows 10 ให้ความรู้สึกเหมือนน า Windows 7 และ Windows 8 มารวมไว้ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม ในด้านการใช้งานผ่านจอ Touch Screen ยังคงไม่มีอะไรใหม่ แต่เวอร์ชั่นนี้เป็นการปรับปรุงการใช้งานผ่าน mouse และ keyboard ให้ดีขึ้นมากกว่าเดิมมากกว่าค่ะ

Page 16: Let - การไฟฟ้าส่วน ...extranet.pea.co.th/asp/gisp2/download/JC/9.pdf · ตัวในการแข่งขันก็จะไป download คู่มือการใช้งาน

ร่วมสนุกกับการท่องเว็ป PEA MAP พร้อมลุ้นรับ NUVI 2575, Power Bank และของรางวัลอีกมากมาย เพียงท าตามกติกาง่ายๆ

1. คลิกเข้าไปที่เวปไซต์ “ http://map.pea.co.th ” 2. ลงทะเบียนก่อนเริ่มใช้งานครั้งแรก 3. ค้นหาต าแหน่งร้าน PEA ชวนชิม, สถานที่น่าสนใจ หรือ

บ้านของเพ่ือนๆ แล้วก าหนดเป็นต าแหน่งค้นหาเส้นทาง (ต้นทาง) 4. ค้นหาต าแหน่งส านักงาน PEA แล้วเพ่ิมเป็นต าเหน่งค้นหาเส้นทาง (ปลายทาง) 5. ค้นหาเส้นทางการเดินทางระหว่างจุดเริ่มต้นกับส านักงาน PEA 6. เพียงเท่านี้ก็จะได้หน้าจอแสดงแผนที่เส้นทางมายังส านักงาน PEA พร้อมรายละเอียดเส้นทางและ

ระยะทางตามตัวอย่าง 7. Capture หน้าจอ พร้อมชื่อและเบอร์โทร ส่งมาที่ E-mail : [email protected] ภายใน

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 นะคะ

ตัวอย่าง

แอบกระซิบว่า กิจกรรมนี้เพ่ือนๆ ใช้เพียงค าสั่งย่อยใน “เมนูค้นหาต าแหน่งน่าสนใจ” เท่านั้นค่ะ หรือหากเพ่ือนๆ สนใจจะใช้งานบริการข้อมูลด้านอื่นๆ ของเรา ก็เข้าไป Download คู่มือการใช้งานระบบ PEA MAP บริการประชาชนในเวปไซต์ กผร. (http://intra.pea.co.th/dpsg) กันได้เลยค่ะ

เส้นทาง

กิจกรรมรว่มสนกุสง่ทา้ยปเีกา่ต้อนรบัปใีหม่ กับ PEA MAP