Lesson3 keep

28
L/O/G/O บทที่ 3 การจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ และบริการสารสนเทศ สมร ตาระพันธ์

Transcript of Lesson3 keep

Page 1: Lesson3 keep

L/O/G/O

บทที่ 3 การจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ

และบริการสารสนเทศ

สมร ตาระพันธ์

Page 2: Lesson3 keep

วิธีการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ

1. จัดเก็บตามเลขหมู่ - ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey) - ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC)

3. การจัดเก็บตามล าดับเลขทะเบียน

2. การจัดเก็บวารสาร

นิยมจัดเก็บแบ่งเป็น 3 ประเภท

Page 3: Lesson3 keep

จะใช้ส าหรับจัดเก็บ

- หนังสือทั่วไป - หนังสือสารคดีวิชาการ

-หนังสืออ้างอิง -หนังสือส าหรับเด็ก

-รวมเรื่องสั้น -นวนิยาย

1. จัดเก็บตามเลขหมู่หนังสือ คือ การจัดหนังสือที่มีเนื้อเรื่อง หรือแบบประพันธ์คล้ายคลึงหรือแบบเดียวกันไว้ที่เดียวกัน เพื่อประโยชน์ส าหรับผู้ใช้/ผู้ให้บริการ

Page 4: Lesson3 keep

ประโยชน์ของการจัดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ

- หนังสือทุกเล่มมีสัญลักษณ์/ต าแหน่งจัดวางแน่นอน ค้นหาง่าย - หนังสือท่ีมีเนื้อหาเหมือนกันสัมพันธ์กัน แบบเดียวกัน อยู่ใกล้เคียงกัน สามารถค้นหาง่าย - ค้นคืนได้ง่าย / มีระเบียบแบบแผน สะดวกในการให้บริการ

Page 5: Lesson3 keep

ระบบการจัดหมู่หนังสือ 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ – (D.C.) (Dewey Decimal Classification)

2. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน – (L.C.) (Library of Congress Classification)

Page 6: Lesson3 keep

ระบบทศนิยมดิวอี ้

- ผู้คิดค้นการจัดหมวดหมู่นี้คือ เมลวิล ดิวอี้ (Mevil Dewey)

- เป็นระบบที่ใช้ตัวเลขในระบบทศนิยมแทนเนื้อหาของหนังสือ จากน้อยไปหามาก จากหมวดใหญ่ > หมวดย่อย >หมู่ย่อย

- แบ่งเป็น 10 หมวดใหญ่ (Classes) >>9 หมวดย่อย (Division)>>10 หมู่ย่อย (Section)

Page 7: Lesson3 keep

000 เบ็ดเตล็ด ความรู้ทั่วไป 500 วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ 100 ปรัชญา 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 200 ศาสนา 700 ศิลปและการบันเทิง 300 สังคมศาสตร์ 800 วรรณคดี 400 ภาษาศาสตร์ 900 ประวัติศาสตร์

แบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 10 หมวดหมู่ใหญ่

Page 8: Lesson3 keep

610 แพทยศาสตร ์ 660 วิศวกรรมเคมี 620 วิศวกรรมศาสตร์ 670 โรงงาน/ผลิตภัณฑ์จากโรงงาน 630 เศรษฐศาสตร์ 680 ผลิตภัณฑ์จากโรงงานเฉพาะ 640 บ้านและครอบครวั 690 อาคารและการก่อสร้าง 650 บริหาร /ประชาสัมพันธ์

แบ่งครั้งที่ 2 แบ่งออกเป็น 9 หมวดย่อย

600 เทคโนโลยี(วิทยาศาสตร์ประยุกต์

Page 9: Lesson3 keep

แบ่งครั้งที่ 3 แบ่งออกเป็น 10 หมู่ย่อย

600 เทคโนโลย(ีวิทยาศาสตร์ประยุกต)์ 610 แพทยศาสตร์

611 กายวิภาคศาสตร์

612 สรีระวิทยา 613 สุขวิทยา 614 สาธารณสุขศาสตร์ 615 อายุรเวช 616 อายุรศาสตร์ 617 ศัลยศาสตร์ 618 สูติศาสตร์ฯ 619 (ยังไม่ก าหนด)

Page 10: Lesson3 keep

ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน – (L.C.) (Library of Congress Classification)

ผู้พัฒนาคือ Dr.Herbert Putnum ซึ่งเป็นของหอสมุดรัฐสภาอเมริกา

Page 11: Lesson3 keep

A หนังสืออ้างอิงท่ัวไป หนังสือพิมพ์ วารสาร B ปรัชญา ตรรกวิทยา C ประวัติอารยธรรม D ประวัติศาสตร์ทั่วไป G ภูมิศาสตร์ทั่วไป มานุษยวิทยา การบันเทิง ฯลฯ

แบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 20 หมวดหมู่ใหญ่

ตัวอักษร A-Z ยกเว้น I,O,W,X,Y

Page 12: Lesson3 keep

H สังคมศาสตร์ (ทั่วไป)

แบ่งครั้งที่ 2 เพิ่มอักษรเข้าไปอีก 1 ตัว

HA สถิติ HB ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ HC ประวัติและภาวะเศรษฐศาสตร์ HD ประวัติและภาวะเศรษฐกิจ HE การขนส่ง การคมนาคม ฯลฯ

Page 13: Lesson3 keep

HF การค้า

แบ่งครั้งที่ 3 เพิ่มตัวเลขอารบิค ตามล าดับ ตั้งแต่ 1-9999เข้าไปในบางหมู่

HF 5410 วารสาร สมาคม สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง HB 5411 การประชุม HF 5412 พจนานุกรม ฯลฯ

Page 14: Lesson3 keep

TX คหกรรมศาสตร์

แบ่งครั้งที่ 4 ใช้จุด . คั่น และตามด้วยตัวอักษาและตัวเลข

TX คหกรรมศาสตร์ TX 361 อาหารและโภชนาการ TX 361.A3 ผู้สูงอาย ุTX 361.C3 เด็ก ฯลฯ

Page 15: Lesson3 keep

สัญลักษณ์ที่ใช้ร่วมกับเลขหมู่หนังสือ

Page 16: Lesson3 keep
Page 17: Lesson3 keep

• หนังสือส าหรับเด็ก ใช้ อักษร ย แทน ย่อมาจาก เยาวชน

E แทน ย่อมาจาก Easy Book

• นวนิยาย ใช้ อักษร น แทน ย่อมาจาก นวนิยาย

Fic แทน ย่อมาจาก Fiction

ม83ป

E

Bu973L

ป46ป

1-2536

ล.1 ฉ.2

Fic

He488F

2-1996

v2. C1.

Page 18: Lesson3 keep

• รวมเรื่องสั้น ใช้ รส แทน ย่อมาจาก รวมเรื่องสั้น

รส

ป46ม

ฉ.1

SC

M326A

C.1

Page 19: Lesson3 keep

หนังสืออ้างอิง

อ ย่อมาจาก หนังสืออ้างอิง

Ref ย่อมาจาก Reference

030

ร62ห

Ref

030

En

Page 20: Lesson3 keep

วิทยานิพนธ ์ วจ ย่อมาจาก วิจัย

Res ย่อมาจาก Research

วจ

023.2

ช32ผ

ฉ.2

Res

471.82

Sa243L

c.3

Page 21: Lesson3 keep

สัญลักษณ์ที่ใช้แทนวัสดุไม่ตีพิมพ์

• VC = วิดีทัศน ์• TC = เทปคาสเซ็ท • MAP = แผนที่ • MD = หุ่นจ าลอง • CDA = แผ่นเพลงซีด ี

Page 22: Lesson3 keep

• PD = แผ่นเสียง

• PIC = รูปภาพ

• PP = จุลสาร

• SL = สไลด์

• SCC = School Catalog

• MP = ภาพยนตร ์

• CP = กฤตภาค

• CDR = ซีดีรอมให้เนื้อหาเฉพาะตัวอักษร

• CDM = ซีดีรอมให้เนื้อหาแบสื่อผสม

Page 23: Lesson3 keep

เลขเรียกหนังสือ (Call Number)

Page 24: Lesson3 keep

เลขเรียกหนังสือ (Call Number)

• คือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนหนังสือ /วัสดุชนิดต่าง ๆ

แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ

1. หนังสือภาษาไทย

2. หนังสือภาษาอังกฤษ

3. สัญลักษณ์พิเศษ

Page 25: Lesson3 keep

025.42

ร63ก

เลขหมู่

พยัญชนะตัวแรก ของชื่อผู้แต่ง

เลขประจ าผู้แต่ง

พยัญชนะตัวแรก ของชื่อหนังสือ

ส่วนประกอบของเลขเรียกหนังสือภาษาไทย

Page 26: Lesson3 keep

027.4

In61I

1-1997

c.1

เลขหมู่ อักษรสองตัวแรกของ

นามสกุลผู้แต่ง

ครั้งที่พิมพ ์ปีพิมพ์

ฉบับที่

ส่วนประกอบของเลขเรียกหนังสือภาษาอังกฤษ

Page 27: Lesson3 keep

รส

ป46ม

สัญลักษณ์พิเศษ ประจ ากลุ่มหนังสือ

อักษรตัวแรก ของชื่อผู้แต่ง

เลขประจ าผู้แต่ง

อักษรตัวแรก ของชื่อหนังสือ

ส่วนประกอบเลขเรียกหนังสือรวมสัญลักษณ์พิเศษ

Page 28: Lesson3 keep

กิจกรรมท้ายบท • สืบคน้ขอ้มูลใน WEB OPAC

ท่ีเป็นระบบจดัหมู่ดิวอ้ี (DEWEY) เช่น ม.ราชภฎัเลย

• สืบคน้ระบบจดัหมู่หอสมุดรัฐสภาอเมริกนั (LC)

เช่น ม.ขอนแก่น

• http://kkulib.kku.ac.th/

Union Catalog

• http://uc.thailis.or.th/