Lec0709 - NEW.ppthome.npru.ac.th/piya/Signal/file/Lec0709 - NEW.pdfรศ.ดร.ป ยะ...

50
สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ญญาณและระบบ การแปลงฟูเรียร์ที่ต ่อเนื่องทางเวลา (79) Assoc.Prof.Piya Kovintavewat, Ph.D. Data Storage Technology Research Center Nakhon Pathom Rajabhat University http://home.npru.ac.th/piya

Transcript of Lec0709 - NEW.ppthome.npru.ac.th/piya/Signal/file/Lec0709 - NEW.pdfรศ.ดร.ป ยะ...

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม

    มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

    สญัญาณและระบบการแปลงฟเูรยีรท์ีต่อ่เนือ่งทางเวลา(7‐9)

    Assoc.Prof.Piya Kovintavewat, Ph.D.Data Storage Technology Research CenterNakhon Pathom Rajabhat University http://home.npru.ac.th/piya 

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Outlineการแปลงฟูเรียร์ที่ต่อเนื่องทางเวลาของสัญญาณไม่เป็นคาบการแปลงฟูเรียร์ของสัญญาณคาบที่ต่อเนื่องทางเวลาคุณสมบัติการแปลงฟูเรียร์ที่ต่อเนื่องทางเวลาทฤษฎีบทพลังงานของเรย์ลีผลตอบสนองเชิงความถี่ของระบบ LTI ที่ต่อเนื่องทางเวลาตัวอย่างการประยุกตใ์ช้งานการกรองสัญญาณ

    2

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    บทนํา

    อนุกรมฟูเรียร์ ⇒ แทนสัญญาณคาบให้อยู่ในรูปของผลรวมเชิงเส้นของเลขชี้กําลังเชิงซ้อนสัญญาณไม่เป็นคาบ ⇒ แทนด้วยผลรวมเชิงเส้นของเลขชีก้ําลังเชิงซ้อนได้โดยอาศัยการแปลงฟูเรียร์ (Fourier transform)สัญญาณไม่เป็นคาบ ⇒ สัญญาณคาบที่มีคาบเวลาอนันต์

    การแปลงฟูเรียร์ ⇒ แปลงสัญญาณในโดเมนเวลาให้อยู่ในรูปของสัญญาณในโดเมนความถี่ที่เรียกว่าสเปกตรัม (spectrum)การวิเคราะห์สัญญาณในโดเมนความถี่จะง่ายกว่าการวิเคราะห์ในโดเมนเวลา

    สเปกตรัม ⇒ ช่วยในการออกแบบอุปกรณ์ในระบบสื่อสารต่างๆสัญญาณในโดเมนความถี่บอกให้ทราบถึงแบนด์วิดท์และรูปร่างสเปกตรัมของสัญญาณ ⇒ ช่วยทําให้เข้าใจคุณสมบัติต่างๆ ของสัญญาณมากขึน้ เช่น วงจรกรองแต่ละแบบจะยอมให้สัญญาณช่วงแถบความถี่หนึ่งผ่านไปได้ ในขณะที่จะเกิดการลดทอนในอีกช่วงแถบความถี่หนึ่ง

    3

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    CtFT: continuous-time Fourier transform

    สัญญาณไม่เป็นคาบ ⇒ สัญญาณคาบที่มีคาบเวลาเท่ากับอนันต์พิจารณา

    4

    t

    ( )x t

    1T1T−

    t

    ( )px t

    1T1T−

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    สัญญาณคาบ เขียนให้อยู่ในรูปของอนุกรมฟเูรียร์ที่ต่อเนื่องทางเวลาได้คือ

    5

    ( ) ( )0 0/2

    /2

    1 T

    jk t jk tp k k p

    k T

    x t a e a x t e dtT

    ω ω∞

    =−∞ −

    = ⇔ =∑ ∫

    ( )px t

    0 2 /Tω π=

    ( )01

    ka X jkTω=

    ( ) ( ) ( )0 00 0 01 1

    2jk t jk t

    pk k

    x t X jk e X jk eT

    ω ωω ω ωπ

    ∞ ∞

    =−∞ =−∞

    = =∑ ∑

    แทนค่า ak ลงในสมการ xp(t) จะได้

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 6

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    คู่การแปลงฟูเรียร์

    7

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    สเปกตรัมฟูเรียร์

    8

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    การลู่เข้าของการแปลงฟูเรียร์

    9

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 1

    10

    ( )x t

    t0

    1

    0.368

    1/ a

    ( )X jω

    ωaa−

    12a

    1/ a( )X jω∠

    / 4π

    / 4π−a−

    a

    / 2π

    / 2π−

    ω

    สญัญาณเลขชีก้ําลงั

    สเปกตรัมเชิงแอมพลจิดู สเปกตรัมเชิงเฟส

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 11

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 2

    12

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 13

    สญัญาณใดๆ ไมส่ามารถเป็นได้ทัง้สญัญาณที่มีเวลาจาํกัด

    และสญัญาณที่มีแถบความถี่จาํกัด

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 3

    14

    สญัญาณพลัส์รูปสี่เหลี่ยมและสญัญาณซงิก์

    เป็นคูก่ารแปลงฟเูรียร์ซึง่กนัและกนั

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Exercise 1

    15

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    การแปลงฟเูรยีรข์องสญัญาณคาบทีต่อ่เนือ่งทางเวลา

    การแปลงฟูเรียร์ ⇒ ใช้ในการแปลงสัญญาณคาบที่ต่อเนื่องทางเวลาให้เป็นสัญญาณในโดเมนความถี่ได้ โดยอาศัยฟังก์ชันไดแร็กเดลตา

    16

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 17

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 18

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 4

    19

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 20

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 5จงหาผลการแปลงฟเูรียร์ของสัญญาณคาบรปูคลื่นสี่เหลี่ยม

    21

    0 2TTT−2T−t

    ( )x t

    1T

    ( )X jω

    0 0ω

    1Tπ

    ω1T

    π

    1T−

    0ω−

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 22

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 23

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    คณุสมบตัิ CtFTคู่การแปลงฟูเรียร์

    คุณสมบัติเชิงเส้น

    คุณสมบัติการเลื่อนเวลา

    คุณสมบัติการเลื่อนความถี่

    คุณสมบัติการพับทางเวลา

    คุณสมบัติอนุพันธ์

    24

    ( ) ( )CtFTx t X jω←⎯⎯→ ( ) ( )CtFTy t Y jω←⎯⎯→

    ( ) ( ) ( ) ( )CtFTax t by t aX j bY jω ω+ ←⎯⎯→ +

    ( ) ( )( )0 0j t CtFTe x t X jω ω ω←⎯⎯→ −

    ( ) ( )00 j tCtFTx t t e X jω ω−− ←⎯⎯→

    ( ) ( )CtFTx t X jω− ←⎯⎯→ −

    ( ) ( ) ( )n

    nCtFTn

    d x tj X j

    dtω ω←⎯⎯→

    ( ) ( ) ( )n

    n CtFTn

    d X jjt x t

    ω− ←⎯⎯→

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    คุณสมบัติการสเกลทางเวลา

    คุณสมบัติการคูณ

    คุณสมบัติการทําคอนโวลูชัน

    คุณสมบัติการสังยคุ

    25

    ( ) 1CtFT jx t X ωαα α

    ⎛ ⎞←⎯⎯→ ⎜ ⎟⎝ ⎠

    ( ) ( )CtFTx t X jω∗ ∗←⎯⎯→ −

    ( ) ( ) ( ) ( )CtFTx t y t X j Y jω ω∗ ←⎯⎯→

    ( ) ( )1/x t t Tα α= ∏

    t0 1

    214

    12

    −14

    1

    0.5α =

    1α =2α =

    0

    ( )X jω

    2

    1

    0.5

    11−ω

    2π− ππ−4π− 4π

    ( ) ( ) ( ) ( )CtFTx t y t X j Y jω ω←⎯⎯→ ∗

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    คุณสมบัติทวิภาวะ

    คุณสมบัติการหาปริพันธ์

    พื้นที่ใต้กราฟ

    26

    ( ) ( )CtFTx t X jω←⎯⎯→

    ( ) ( ) ( ) ( )1 0t

    CtFTx d X j Xj

    τ τ ω π δ ωω−∞

    ←⎯⎯→ +∫

    ( ) ( )2CtFTX t x jπ ω←⎯⎯→ −

    ( ) ( ) ( ) ( )1 0 CtFTx t x t X j djt

    ω

    π δ θ θ−∞

    − + ←⎯⎯→ ∫

    ( ) ( )0x t dt X∞

    −∞

    =∫

    ( ) ( )1 02

    X j d xω ωπ

    −∞

    =∫

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    ความสัมพันธข์องพาร์ซิวาล

    ทฤษฎีบทพลังงานของเรย์ลี

    27

    ( ) ( )2 212

    x t dt X j dω ωπ

    ∞ ∞

    −∞ −∞

    =∫ ∫

    ( ) ( )2 21 2

    x t dt E X j dE ω ωπ

    ∞ ∞

    −∞ −∞

    ⇔ == ∫ ∫

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 28

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 29

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 5

    30

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Exercise 2

    31

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 6

    32

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 33

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    ผลตอบสนองเชงิความถีข่องระบบ LTI ทีต่อ่เนือ่งทางเวลา

    ระบบ LTI ถูกกําหนดโดยสมการเชิงอนุพันธ์ที่มีค่าสัมประสิทธิค์งตัวแบบเชิงเส้น

    การหาผลตอบสนองเชิงความถี่

    34

    ( ) ( )0 0

    k kN M

    k kk kk k

    d y t d x ta b

    dt dt= ==∑ ∑ สมการเชิงอนพุนัธ์อนัดบั N

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Exercise 3

    35

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 36

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    การสง่สญัญาณทีไ่มม่คีวามผดิเพีย้นสัญญาณที่ส่งผ่านระบบ LTI จะไม่มีความผิดเพีย้น ก็ต่อเมื่อสัญญาณเอาต์พุตต้องมีรูปร่างเหมือนกับสัญญาณอินพุต แต่อาจมีแอมพลิจูดเปลี่ยนไปหรืออาจมีการหน่วงเวลาของสัญญาณสัญญาณเอาต์พุตของระบบต้องอยู่ในรูปของ

    หาผลการแปลงฟูเรยีร์

    37

    ( ) ( )dy t Kx t t= − ( ) ( )dj tY j Ke X jωω ω−=

    ( ) ( )dj tY j Ke X jωω ω−=

    เมื่อ K คือค่าคงตัว และ td คือปริมาณเวลาที่ถูกหน่วง

    ระบบ LTI ไม่ก่อให้เกิดความผิดเพีย้น ก็ต่อเมื่อ ( ) ( ) ( )d j H jj tH j Ke H j e ωωω ω ∠−= =

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Example 7

    38

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 39

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Exercise 4

    40

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 41

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    Exercise 8

    42

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 43

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 44

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    การกรองสญัญาณเป็นตัวดําเนินการพื้นฐานที่สําคัญในระบบการประมวลผลสัญญาณ เป็นกระบวนการที่ทาํให้แอมพลิจูดของสัญญาณในโดเมนความถี่เปลี่ยนแปลงไปหรือทําให้หมดไป ระบบ LTI มีลักษณะเป็นวงจรกรองที่ทาํหน้าที่เลือกความถี่ของสัญญาณอินพุต

    วงจรกรองเลือกความถี่อุดมคติวงจรกรองเลือกความถี่อุดมคติ ⇒ ยอมให้แถบความถี่ชุดหนึ่งผ่านไปได้ทัง้หมด ในขณะที่ไม่ยอมให้แถบความถี่อีกชุดหนึ่งผ่าน ช่วงแถบความถี่ที่วงจรกรองยอมให้ผ่านไปได้เรียกว่าแถบความถี่ผา่น (pass bandช่วงแถบความถี่ที่ไม่ยอมให้ผ่านไปได้เรียกว่าแถบความถี่หยุด (stop band)”

    45

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 46

    ωcω−

    (ก) วงจรกรองผ่านตํา่อดุมคติ

    1( )H jω

    ωcω−

    (ข) วงจรกรองผ่านสงูอดุมคติ

    1

    ( )H jω

    ω1ω−

    (ค) วงจรกรองแถบผ่านอดุมคติ

    1

    ( )H jω

    2ω2ω−ω

    1ω−

    (ง) วงจรกรองแถบหยุดอดุมคติ

    1( )H jω

    2ω2ω−

    วงจรกรองอดุมคติ ⇒ ไมส่ามารถสร้างเป็นวงจรอิเลก็ทรอนิกส์ได้จริงในทางปฏิบตั ิเนื่องจากสเปกตรัมเชิงแอมพลจิดู

    ของวงจรกรองอดุมคตเิหลา่นัน้มีการเปลี่ยนแปลงอยา่งฉบัพลนั

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์

    วงจรกรองเลือกความถี่ในทางปฏิบัติ

    47

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 48

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 49

    R

    C

    ( )x t ( )y t

    ( )i t

    L ( )H jω

    f

    Lf

    0.707

    1

    HfRf

    ความถี่เรโซแนนท์

    แบนด์วิดท์

    ความถี่ (Hz)

    B

  • สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมรศ.ดร.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์ 50

    ( )x t ( )y t

    ( )i t