Java for Beginners – 2. OOP

29
ผศ.ดร.อนันตกุล อินทรผดุง โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี) Programable Logic Control (PLC)

Transcript of Java for Beginners – 2. OOP

Page 1: Java for Beginners – 2. OOP

ผศ.ดร.อนนัตกลุ อินทรผดุง

โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี)Programable Logic Control (PLC)

Page 2: Java for Beginners – 2. OOP

What is a equipment ?

Page 3: Java for Beginners – 2. OOP

ตัวอย่างอุปกรณ์ต่าง ๆที่ใช้ PLC ควบคุม

Page 4: Java for Beginners – 2. OOP

ตัวอย่างอุปกรณ์ต่าง ๆที่ใช้ PLC ควบคุม

Page 5: Java for Beginners – 2. OOP
Page 6: Java for Beginners – 2. OOP

ตัวอย่างอุปกรณ์ต่าง ๆที่ใช้ PLC ควบคุม

Page 7: Java for Beginners – 2. OOP

การจ าแนกขนาดของ PLC

ขนาดของ PLC จ านวน I/O สูงสุด หน่วยความจ าโปรแกรม

ขนาดเล็ก (Small size) ไม่เกิน 128 / 128 4 Kbyte (2,000 Statements)

ขนาดกลาง (Medium size) ไม่เกิน 1024 / 1024 16 Kbyte (8,000 Statements)

ขนาดใหญ่ (Large size) ไม่เกิน 2048 / 2048 64 Kbyte (32,000 Statements)

ขนาดใหญ่มาก (Very large size)

ประมาณ 8192 / 8192

256 Kbyte (128,000 Statements)

Page 8: Java for Beginners – 2. OOP

ประเภทของ PLC

แบบบล็อกของออมรอนรุ่น CP1H แบบโมดลูลา่ร์

Page 9: Java for Beginners – 2. OOP

PLC History

Page 10: Java for Beginners – 2. OOP

ประวตัิและความเป็นมา

PLC เริ่มพัฒนาขึ้นในปี 1968 (General Motors) ต้องการเปลี่ยนระบบควบคุมด้วยรีเลย์ให้เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ PLC ตัวแรกใช้ชื่อว่า 084 เพราะมันเป็นโครงการที่ 84 ของ Bedford Associates ซึ่ง PLC เริ่มใช้งานในปี 1969 เป็นต้นมา จากนั้น Bedford Associates ได้พัฒนาสินค้าในเชิงพาณิชย์ขึ้นชื่อรุ่น 184 อุตสาหกรรมยานยนต์ยังคงเป็นหนึ่งของผู้ใช้งาน PLC รายใหญ่ที่สุด

Modicon 184

Page 11: Java for Beginners – 2. OOP

What do the individual words mean?

Page 12: Java for Beginners – 2. OOP

โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์

ข้อดีของการควบคุมด้วย PLC– มีความยืดหยุ่นสูง ใช้ในการควบคุมระบบต่าง ๆ ได้รวดเร็วและง่าย– มีความสามารถด้านค านวณจึงใช้กับงานที่ซับซ้อนได้– อุปกรณ์มีความน่าเชื่อถือสูงและมีอายุการใช้งานยาวนาน– เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการท างานได้ง่าย– ต้นทุนต่ าส าหรับระบบที่ซับซ้อนข้อเสียของการควบคุมด้วย PLC– ต้องใช้เวลามากเกินในการต่อสายไฟ– ยากในการทดแทนด้วยระบบใหม่– เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น อาจใช้เวลาในการแก้ไขปัญหานาน และต้องใช้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ

Page 13: Java for Beginners – 2. OOP

ตัวอย่างอุปกรณ์ต่าง ๆที่ใช้ PLC ควบคุม

Programmable Logic Controllers (PLC) เป็นการน าคอมพิวเตอร์มาตรวจสอบสัญญาณอินพุตต่าง ๆ เพื่อใช้ในการควบคุม (เปิด / ปิด) ให้เครื่องจักรท างานได้อย่างอัตโนมัติ

Page 14: Java for Beginners – 2. OOP

PLC Overview

Page 15: Java for Beginners – 2. OOP

PLC I/O

Page 16: Java for Beginners – 2. OOP

PLC Ladder Logic

Page 17: Java for Beginners – 2. OOP

ลอจิกแลดเดอร์

ลอจิกแลดเดอร์ คือ วิธีการสร้างโปรแกรมของ PLC ซึ่งพัฒนามาจากวงจรรีเลย์แบบดั้งเดิม ปัจจุบันระบบควบคุมสมัยใหม่ยังคงมีรีเลย์ใช้งานอยู่ แต่ไม่ได้ใช้ส าหรับท าหน้าที่ควบคุมการท างานของเครื่องจักรรีเลย์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สนามแม่เหล็กเพื่อควบคุมการสับเปลี่ยนหรือตัดต่อวงจร

Page 18: Java for Beginners – 2. OOP

Program Scan:

Page 19: Java for Beginners – 2. OOP

การใช้ PLC ทดแทนวงจรรีเลย์

Page 20: Java for Beginners – 2. OOP

รูปแบบค ำสัง่ในกำรเขียนควบคุม

สามารถเขียนได้ 3 วิธี1.ภาษาแลดเอดอรล์อจิก (Ladder Logic Editor: LAD)

2.ภาษาฟังก์ชันบล็อกไดอะแกรม (Function Block Diagram Editor :FBD)

3.สเตดเมนด์ลิสต์ (Statement List Editor : STL)

Page 21: Java for Beginners – 2. OOP

วงจรควบคุมรีเลยอ์ยำ่งง่ำย

Page 22: Java for Beginners – 2. OOP

การเขียนโปรแกรม

Page 23: Java for Beginners – 2. OOP

Assignment

จงออกแบบวงจรรีเลย์ที่ก าหนดให้เป็นวงจรแลคเดอร์

มาตรฐาน IEC1131 บิต

ดิจิตอล อินพุต IX หรือ I

ดิจิตอล เอาท์พุต QZ หรือ Q

หน่วยความจ า MX หรือ M

ก าหนดให้S1 = I1S2 = l2K1 = Q1

LAMP = Q2

Page 24: Java for Beginners – 2. OOP

โปรแกรม Mnemonic ที่เทียบกับแลดเดอร์

แบบที่ LAD

แบบที่ STL

Page 25: Java for Beginners – 2. OOP

โปรแกรม SFC

Page 26: Java for Beginners – 2. OOP

หลักการท างานเบื้องต้นของ PLC

Page 27: Java for Beginners – 2. OOP

โปรแกรม Structured Text

Page 28: Java for Beginners – 2. OOP

สรุป

PLC ถูกพัฒนาขึ้นโดยการเลียนแบบการท างานของวงจรรีเลยแ์บบด้ังเดิม โดยน าระบบคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งาน จึงท าให้วงจรควบคุมที่ต้องใช้อุปกรณ์ต่างๆมากมายถูกยุบอยู่ในรูปแบบโปรแกรมลอจิกแลดเดอร์ต่อมาได้มีการพัฒนาการสร้างโปรแกรมในรูปแบบอื่นๆ ที่สามารถใช้กับโปรเซสหรือกระบวนการที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งเราจะกล่าวถึงในภายหลัง

ชมกรณตีวัอยา่ง

Page 29: Java for Beginners – 2. OOP

Reference

[1] https://www.youtube.com/watch?time_continue=1&v=pru6NNioeco

[2] http://www.stepyourway.com/2018/01/23/ตอนที่-1-โปรแกรมเมเบิ้ลล/

[3] ภัทร พงศ์กิตติคุณ.(2555).นิวเมตกิส์และไฮดรอลิกส.์กรุงเทพฯ ซีเอ็กบุคส์ จ ากัด (มหาชน)

[4] https://นิวเมติก.com/ฝึกเขียนโปรแกรม-plc/

[5] https://library.automationdirect.com/plc-handbook/