Hibiscus sabdariffa Thin Layer...

1
องค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa) ด้วยเทคนิค Thin Layer Chromatography ภคพร สาทลาลัย อุทัยวรรรณ ด้วงเงิน สุรัตน์วดี จิวะจินดา มณี ตันติรุ่งกิจ และอรวรรณ ชวนตระกูล งานวิจัยนี้ได้รับทุนโครงการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ ประจาปี 2555 กระเจี๊ยบแดงเป็นสมุนไพรที่นำมำทำเป็นเครื่องดื่มแล้วให้รสชำติดี มีสีสวยและเป็นที่นิยมของ คนจำนวนมำก นอกจำกรสชำติที่ดีแล้วยังมีสรรพคุณหลำยอย่ำง เช่น ทำให้สดชื่น ลดควำมดันโลหิต และไขมันในเส้นเลือด ช่วยต้ำนอนุมูลอิสระ และมีฤทธิ์เป็นยำระบำยอ่อนๆ คัดเลือกตัวอย่ำงกระเจี๊ยบแดง ที่มีกลีบเลี้ยงเฉดสีต่ำงๆ สกัดในตัวทำละลำย 95% Ethanol ได้สำรสกัดหยำบ (crude) วิเครำะห์องค์ประกอบทำงเคมีเบื้องต้นของสำรสกัดจำกกลีบเลี้ยง แต่ละเฉดสีด้วยเทคนิค TLC โดยใช้ mobile phase 3 ระบบ ผลการวิจัย องค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดง 4 เฉดสี [สีขาว (W), สีชมพู (P), สีแดง (R) และสีแดงเข้ม (DR)] ด้วยวิธี TLC โดยใช้ acetic acid:water:n-butanol เป็น mobile phase ในอัตราส่วน 1:5:4 (ก), 1:2:4 (ข) และ 1:2:7 (ค) ในปี 2555 มีรำยงำนกำรวิจัยว่ำ ผงกลีบเลี้ยง กระเจี๊ยบแดงแห้งมีฤทธิ์ยับยั้งกำรสร้ำงสำรพิษ อะฟลำทอกซิน แต่ไม่ยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ รำ Aspergillus flavus และ A. parasiticus (El-Nagerabi และคณะ, 2012) ในปี 2550 มีรำยงำนกำรวิจัยว่ำ น้ำจำกกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงที่มีสี อ่อนกว่ำจะมีฤทธิ์ในกำรยับยั้ง แบคทีเรียได้ดีกว่ำที่มีสีเข้ม (Obadina และ Oyewole, 2007) ประกอบกับคณะผู้วิจัยจำกศูนย์วิจัยและ พัฒนำพืชผักเขตร้อนได้ปรับปรุงพันธุกระเจี๊ยบแดงและได้กระเจี๊ยบแดงที่มี กลีบเลี้ยงเฉดสีต่ำงๆ กันจำกสีแดงเข้ม ไปจนถึงสีขำว ศึกษำเปรียบเทียบองค์ประกอบ ทำงเคมีของสำรสกัดจำกกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงเฉดสี ต่ำงๆ ที่ได้จำกกำรปรับปรุงพันธุ์ โดยใช้เทคนิค Thin Layer Chromatography (TLC) วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อ 1. ประสิทธิภำพของสำรสกัดจำกกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงเฉดสีต่ำงๆ ในกำรยับยั้งกำรเจริญและกำรสร้ำงพิษสำรอะฟลำทอกซินของ เชื้อรำ Aspergillus spp. 2. พัฒนำต่อไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ควบคุมและลดกำรปนเปื้อนสำรพิษ อะฟลำทอกซินในผลิตภัณฑ์กำรเกษตรที่มีโอกำสเกิดเชื้อรำได้ง่ำย จำกกำรศึกษำองค์ประกอบทำงเคมีของสำรสกัดจำกกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดง ด้วยเทคนิค TLC พบว่ำกระเจี๊ยบแดงแต่ละเฉดสีมีองค์ประกอบทำงเคมีที่แตกต่ำง กันในจุดทีA, B และ C และจำกกำรทดสอบสภำวะในกำรแยกสำรด้วย mobile phase 3 ระบบ พบว่ำระบบที่เหมำะสมในกำรทดลองนี้คือ 1:2:7 (acetic acid:H 2 O:n-butanol) สำรที่จุด A น่ำจะมีสำร 2 ชนิดอยู่รวมกัน โดยชนิดหนึ่งเป็นสำรในกลุ่มแอนโธ ไซยำนิน และอีกชนิดหนึ่งที่มองเห็นเมื่อใช้ 10% H 2 SO 4 นั้นน่ำจะเป็นสำร กลุ่มอื่น สำรที่จุด B ว่ำน่ำจะเป็นสำรในกลุ่มไทรเธอปีนส์ สำรที่จุด C น่ำจะเป็นสำรในกลุ่มที่มีโครโมฟอร์ เช่น double bond หรือ aromatic ring สรุปผลการวิจัย Visible light: จะเห็นแถบสีน้ำเงินและม่วงที่เข้มมำกในจุดของกลีบเลี้ยงสีแดง เข้ม (DR) และลดลงในจุดกลีบเลี้ยงสีแดง (R) และสีชมพู (P) ตำมลำดับ และมองไม่ เห็นแถบสีน้ำเงินและม่วงในจุดกลีบเลี้ยงสีขำว (W) UV 254 nm: พบว่ำมีแถบสำรที่ดูดกลืนแสงปรำกฏเพิ่มขึ้นจำกกำรมองด้วยตำ เปล่ำ และปรำกฏแถบสำรในจุดของกลีบเลี้ยงทุกเฉดสี ยกเว้น ที่จุด A, B และ C UV 365 nm: พบว่ำมีแถบสำรที่สะท้อนแสงปรำกฏเพิ่มขึ้นจำก UV 254 nm และแถบที่เพิ่มขึ้นนั้นในกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงแต่ละเฉดสีมีลักษณะไม่แตกต่ำงกัน Stain ด้วย10% H 2 SO 4 : พบว่ำมีแถบสำรปรำกฏเพิ่มเห็นเป็นสีน้ำตำลเข้ม ที่บริเวณจุด A และปรำกฏในกลีบเลี้ยงทุกเฉดสี จึงคำดว่ำแถบสำรนี้น่ำจะเป็นสำรที่พบ เพิ่มขึ้นจำกกำรทำปฏิกิริยำกับกรด H 2 SO 4 และมีค่ำ Rf ใกล้เคียงกับสำรที่จุด และยัง พบว่ำแถบสำรที่บริเวณจุด B จะปรำกฏเห็นเป็นสีชมพู จึงคำดว่ำแถบสำร B นี้น่ำจะ เป็นสำรในกลุ่มไทรเธอปีนส์ (triterpenes) -ที่จุด A จะเห็นแถบปรำกฏในทุกเฉดสี ยกเว้นในกลีบเลี้ยงสีขำว (W) และจะสังเกตเห็น แถบเข้มชัดเจนในกลีบเลี้ยงสีแดงเข้ม (DR) ลดลงในสีแดง (R) และชมพู (P) ตำมลำดับ -ที่จุด B จะเห็นแถบปรำกฏเฉพำะในกลีบเลี้ยงสีแดงเข้ม (DR) -ที่จุด C จะเห็นแถบปรำกฏในทุกเฉดสี แต่ไม่ปรำกฏในกลีบเลี้ยงสีแดงเข้ม (DR) และจะ สังเกตเห็นแถบเข้มชัดเจนในกลีบเลี้ยงสีขำว ( W) ลดลงในสีชมพู ( P) และสีแดง ( R) ตำมลำดับ เอกสารอ้างอิง El-Nagerabi, S. A. F., Al-Bahry, S. N., Elshafie, A. E. and Alhilali, S. 2012. Effect of Hibiscus sabdariffa extract and Nigella sativa oil on the growth and aflatoxin B1 production of Aspergillus flavus and Aspergillus parasiticus strains. Food Control, 25, 59-63. Obadina, A. O. and Oyewole, O. B. 2007. Assessment of the antimicrobial potential of roselle juice (zobo) from different varieties of roselle calyx. Journal of Food Processing and Preservation, 31, 607-617. วิธีวิจัย

Transcript of Hibiscus sabdariffa Thin Layer...

Page 1: Hibiscus sabdariffa Thin Layer Chromatographyclgc.agri.kps.ku.ac.th/research/poster/clgc36/re_05.pdfLayer Chromatography (TLC) ว ตถ ประสงค เพ อเป นแนวทางในการศ

องค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงกระเจ๊ียบแดง

(Hibiscus sabdariffa) ด้วยเทคนิค Thin Layer Chromatography

ภคพร สาทลาลัย อุทัยวรรรณ ด้วงเงิน สุรัตน์วดี จิวะจินดา มณี ตันติรุ่งกิจ และอรวรรณ ชวนตระกูล

งานวจิยัน้ีได้รับทุนโครงการสนับสนุนทุนวจิยัเพ่ือพัฒนานักวจิยัรุน่ใหม่ ประจ าปี 2555

กระเจี๊ยบแดงเปน็สมุนไพรทีน่ ำมำท ำเปน็เครือ่งดืม่แลว้ใหร้สชำตดิ ีมีสสีวยและเป็นที่นยิมของ

คนจ ำนวนมำก นอกจำกรสชำตทิีด่ีแลว้ยงัมีสรรพคณุหลำยอยำ่ง เชน่ ท ำใหส้ดชื่น ลดควำมดันโลหติ

และไขมนัในเส้นเลอืด ชว่ยตำ้นอนมุลูอิสระ และมฤีทธิเ์ป็นยำระบำยออ่นๆ

คดัเลอืกตวัอยำ่งกระเจีย๊บแดง

ทีม่กีลบีเลีย้งเฉดสตีำ่งๆ สกดัในตวัท ำละลำย 95% Ethanol

ไดส้ำรสกดัหยำบ (crude) วเิครำะหอ์งคป์ระกอบทำงเคมเีบือ้งตน้ของสำรสกดัจำกกลบีเลีย้ง

แตล่ะเฉดสดีว้ยเทคนคิ TLC โดยใช้ mobile phase 3 ระบบ

ผลการวจัิย

องค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดง 4 เฉดสี [สขีาว (W), สีชมพู (P), สีแดง (R) และสแีดงเขม้ (DR)] ด้วยวิธี TLC โดยใช้ acetic acid:water:n-butanol เปน็ mobile phase ในอัตราส่วน 1:5:4 (ก), 1:2:4 (ข) และ 1:2:7 (ค)

ในปี 2555 มีรำยงำนกำรวิจัยว่ำ ผงกลีบเลี้ยง

กระเจี๊ยบแดงแห้งมีฤทธิ์ยับยั้งกำรสร้ำงสำรพษิ

อะฟลำทอกซิน แต่ไม่ยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ

รำ Aspergillus flavus และ A. parasiticus (El-Nagerabi และคณะ, 2012)

ในปี 2550 มีรำยงำนกำรวิจัยว่ำ

น้ ำจำกกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงที่มีสี

อ่อนกว่ำจะมีฤทธิ์ในกำรยับยั้ ง

แบคทีเรียได้ดีกว่ำที่มีสีเข้ม

(Obadina และ Oyewole, 2007)

ประกอบกบัคณะผูว้จิยัจำกศนูยว์จิยัและ

พัฒนำพืชผักเขตร้อนได้ปรับปรุงพันธุ์

กระเจี๊ยบแดงและได้กระเจี๊ยบแดงที่มี

กลีบเลี้ยงเฉดสีต่ำงๆ กันจำกสีแดงเข้ม

ไปจนถึงสีขำว

ศกึษำเปรยีบเทียบองคป์ระกอบทำงเคมขีองสำรสกดัจำกกลบีเลีย้งกระเจี๊ยบแดงเฉดสี

ตำ่งๆ ทีไ่ดจ้ำกกำรปรบัปรงุพันธุ ์โดยใชเ้ทคนคิ Thin

Layer Chromatography (TLC)

วตัถุประสงค์ เพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาต่อ 1. ประสทิธภิำพของสำรสกดัจำกกลบีเลีย้งกระเจีย๊บแดงเฉดสตีำ่งๆ

ในกำรยบัยัง้กำรเจรญิและกำรสรำ้งพษิสำรอะฟลำทอกซนิของ

เชือ้รำ Aspergillus spp.

2. พฒันำตอ่ไปเปน็ผลติภณัฑท์ีใ่ชค้วบคมุและลดกำรปนเปือ้นสำรพษิ

อะฟลำทอกซนิในผลติภณัฑก์ำรเกษตรทีม่โีอกำสเกดิเชือ้รำไดง้ำ่ย

จำกกำรศึกษำองค์ประกอบทำงเคมีของสำรสกัดจำกกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดง

ด้วยเทคนิค TLC พบว่ำกระเจี๊ยบแดงแต่ละเฉดสีมีองค์ประกอบทำงเคมีที่แตกต่ำง

กันในจุดที่ A, B และ C

และจำกกำรทดสอบสภำวะในกำรแยกสำรด้วย mobile phase 3 ระบบ

พบวำ่ระบบที่เหมำะสมในกำรทดลองนีค้ือ 1:2:7 (acetic acid:H2O:n-butanol)

สำรที่จุด A น่ำจะมีสำร 2 ชนิดอยู่รวมกัน โดยชนิดหนึ่งเป็นสำรในกลุ่มแอนโธ

ไซยำนิน และอีกชนิดหนึ่งที่มองเห็นเมื่อใช้ 10% H2SO4 นั้นน่ำจะเป็นสำร

กลุ่มอื่น

สำรที่จุด B ว่ำน่ำจะเป็นสำรในกลุ่มไทรเธอปีนส์

สำรที่จุด C น่ำจะเป็นสำรในกลุ่มที่มีโครโมฟอร์ เช่น double bond หรือ

aromatic ring

สรุปผลการวจัิย

Visible light: จะเห็นแถบสีน้ ำเงินและม่วงที่เข้มมำกในจุดของกลีบเลี้ยงสีแดงเข้ม (DR) และลดลงในจุดกลีบเลี้ยงสีแดง (R) และสีชมพู (P) ตำมล ำดับ และมองไม่

เห็นแถบสีน้ ำเงินและม่วงในจุดกลีบเลี้ยงสีขำว (W)

UV 254 nm: พบว่ำมีแถบสำรที่ดูดกลืนแสงปรำกฏเพิ่มขึ้นจำกกำรมองด้วยตำเปล่ำ และปรำกฏแถบสำรในจุดของกลีบเลี้ยงทุกเฉดสี ยกเว้น ที่จุด A, B และ C

UV 365 nm: พบว่ำมีแถบสำรที่สะท้อนแสงปรำกฏเพิ่มขึ้นจำก UV 254 nm

และแถบที่เพิ่มขึ้นนั้นในกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงแต่ละเฉดสีมีลักษณะไม่แตกต่ำงกัน

Stain ด้วย10% H2SO4: พบว่ำมีแถบสำรปรำกฏเพิ่มเห็นเป็นสีน้ ำตำลเข้ม ที่บริเวณจุด A และปรำกฏในกลีบเลี้ยงทุกเฉดสี จึงคำดว่ำแถบสำรนีน้ำ่จะเปน็สำรทีพ่บ

เพิ่มขึ้นจำกกำรท ำปฏิกิริยำกับกรด H2SO4 และมีค่ำ Rf ใกล้เคียงกับสำรที่จุด และยัง

พบว่ำแถบสำรที่บริเวณจุด B จะปรำกฏเห็นเป็นสีชมพู จึงคำดว่ำแถบสำร B นี้น่ำจะ

เป็นสำรในกลุ่มไทรเธอปีนส์ (triterpenes)

-ที่จุด A จะเห็นแถบปรำกฏในทุกเฉดสี ยกเว้นในกลีบเลี้ยงสีขำว (W) และจะสังเกตเห็น

แถบเข้มชัดเจนในกลีบเลี้ยงสีแดงเข้ม (DR) ลดลงในสีแดง (R) และชมพู (P) ตำมล ำดับ

-ที่จุด B จะเห็นแถบปรำกฏเฉพำะในกลีบเลี้ยงสีแดงเข้ม (DR)

-ที่จุด C จะเห็นแถบปรำกฏในทุกเฉดสี แต่ไม่ปรำกฏในกลีบเลี้ยงสีแดงเข้ม (DR) และจะ

สังเกตเห็นแถบเข้มชัดเจนในกลีบเลี้ยงสีขำว (W) ลดลงในสีชมพู (P) และสีแดง (R)

ตำมล ำดับ

เอกสารอ้างอิง El-Nagerabi, S. A. F., Al-Bahry, S. N., Elshafie, A. E. and Alhilali, S. 2012. Effect of Hibiscus sabdariffa extract and Nigella sativa oil on the growth and aflatoxin B1 production of Aspergillus flavus and

Aspergillus parasiticus strains. Food Control, 25, 59-63.

Obadina, A. O. and Oyewole, O. B. 2007. Assessment of the antimicrobial potential of roselle

juice (zobo) from different varieties of roselle calyx. Journal of Food Processing and Preservation,

31, 607-617.

วธีิวิจัย