Guideline Self BP Monitoring 2013

16
1

Transcript of Guideline Self BP Monitoring 2013

Page 1: Guideline Self BP Monitoring 2013

1

Page 2: Guideline Self BP Monitoring 2013

2

การตรวจติดตามภาวะความดันโลหิตด้วยตนเองหรือโดยอาสาสมัครสาธารณสุข

สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย กรมการแพทยกระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000โทรศัพท 0 2590 6395โทรสาร 0 2965 9844www.dms.moph.go.th/imrta

จดัพมิพและเผยแพร

พิมพคร้ังท่ี 2 กันยายน 2556จํานวน 30,000 เลมพิมพที่ ไอเดีย สแควร

Page 3: Guideline Self BP Monitoring 2013

- วัตถุประสงค 5 - ขอดีของการตรวจติดตามภาวะความดันโลหิต 5 ดวยตนเองหรือโดยอาสาสมัครสาธารณสุข

- การคํานวณหาคาเฉล่ียความดันโลหิต 9- การประเมินภาวะความดันโลหิตสูง 10- ภาคผนวก ก. การแบงระดับความดันโลหิต 11

- ภาคผนวก ข. ขอแนะนําในการลดความดันโลหิต 12 - ภาคผนวก ค. การใหความรูในการดูแลตนเอง 13 ดานอาหารกับโรคความดันโลหิตสูง

สารบัญ

Page 4: Guideline Self BP Monitoring 2013

4

คํานํา

โรคความดันโลหิตสูง เปนโรคเร้ือรังท่ีพบมากในคนไทย เปนฆาตกรเงียบเน่ืองจากในระยะแรกๆ จะไมมีอาการ จะตรวจพบโดยการตรวจสุขภาพประจําป หรือเจ็บปวยอื่นๆแลวพบวาเปนความดันโลหิตสูง หรือเกิดภาวะแทรกซอนไปท่ีระบบอวัยวะอื่นๆ แลว มีสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพไมเหมาะสมท้ังการบริโภคอาหารท่ีไมมีประโยชนหรือขาดสมดุล ขาดการออกกาํลังกาย มคีวามเครียดสะสม ดงัน้ัน การตรวจพบโดยเร็วดวยการตรวจสุขภาพอยางนอยปละคร้ัง และผูปวยที่ไดรับการตรวจวินิจฉัย เขาสูระบบการดูแลรักษาโดยเร็วและตอเน่ืองเปนวิธีที่ดีที่สุด ควบคูกับการดูแลตนเองที่บานโดยปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดและควบคุมความดันโลหิตใหไดตามเกณฑ การตรวจติดตามความดันโลหิตดวยตนเองหรือโดยอาสาสมัครสาธารณสุข เปนการดูแลตนเองท่ีบานท่ีสามารถทําไดงาย ผูปวยและญาติไดทราบถึงระดับความดันโลหิตในวิถีชีวิตตามปรกติที่เปนอยู จะชวยใหเกิดการเรียนรูที่จะปรับเปล่ียนการใชชีวิตเพื่อลดระดับความดันโลหิต ซ่ึงหากสามารถควบคุมความดันโลหิตไดตอเนื่องจะชวยใหผูปวยอยูในเกณฑที่ปลอดภัยจากการเกิดภาวะแทรกซอนที่สําคัญ ทั้งอัมพฤกษ อัมพาต กลามเน้ือหัวใจตาย ไตวาย หรือเสียชีวิตกอนวัยอันควร สามารถพ่ึงตนเองดานสุขภาพไดอยางเปนสุข ลดการใชยา ลดภาระคาใชจายของตนเองและครอบครัว

Page 5: Guideline Self BP Monitoring 2013

5

การตรวจติดตามภาวะความดันโลหิตด้วยตนเองหรือโดยอาสาสมัครสาธารณสุข

มีวัตถุประสงคเพื่อ1. ประเมินภาวะความดันโลหิตสูงเฉพาะท่ีสถานพยาบาล2. ประเมินภาวะความดันโลหิตสูงเฉพาะท่ีบาน3. ประเมินภาวะความดันโลหิต ในผูรับยาลดความดันโลหิตแลวมีภาวะดื้อยา 4. ตรวจติดตามภาวะความดันโลหิต

ขอดีของการตรวจติดตามภาวะความดันโลหิตดวยตนเองหรือโดยอาสาสมัครสาธารณสุข ไดแก 1. ชวยวนิจิฉยัภาวะความดันโลหิตสูงเฉพาะท่ีสถานพยาบาลหรือภาวะความดนั โลหิตสูงเฉพาะท่ีบาน 2. ผูปวยความดันโลหิตสูงมีการดูแลตนเอง เพ่ือควบคุมระดับความดันฯ ใหดีข้ึน 3. ชวยบอกการพยากรณโรคไดดีกวา การวัดความดันโลหิตเฉพาะท่ีสถาน พยาบาล

Page 6: Guideline Self BP Monitoring 2013

6

วิธีการวัดความดันโลหิตที่ถูกตอง

1. การเตรียมผูปวย - กอนทําการวัด 30 นาที ไมดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีคาเฟอีน เชน ชา กาแฟ และไมสูบบุหรี่ รวมท้ังถายปสสาวะใหเรียบรอย - นัง่พักในท่ีสงบ สบาย เปนเวลาอยางนอย 5 นาที กอนวัดความดันฯ - นั่งเกาอี้ หลังพิงพนักและไมตองเกร็งหลัง เทา 2 ขางวางราบกับพ้ืน - วัดความดันฯ โดยใหแขนชวงบนท่ีใชวัดความดันฯ วางบนท่ีรองแขน และอยูระดับเดียวกับหัวใจ ไมกํามือและไมพูดคุยขณะวัดความดันฯ

2. การเตรียมเคร่ืองมือ ใชเคร่ืองวัดความดันโลหิต ชนิดบอกตัวเลขอัตโนมัติ (ภาพท่ี 1) ที่ไดรับการตรวจเช็คมาตรฐานสม่ําเสมออยางนอยปละคร้ัง และใชผาพันแขนขนาดท่ีเหมาะสมกับแขนของผูปวย (สําหรับคนท่ัวไปจะใชผาพันแขนท่ีมีขนาด 12-13 ซม. X 35 ซม.)

ภาพท่ี 1 เคร่ืองวัดความดันโลหิต

Page 7: Guideline Self BP Monitoring 2013

7

3. วิธีการวัดความดันโลหิต 3.1 ใชผาพันแขนพันท่ีตนแขนเหนือขอพับ 2-3 ซม. และใหกึ่งกลางของถุงลมยาง ซ่ึงจะมีเคร่ืองหมายเปนจุดสังเกตท่ีขอบผา ใหอยูดานหนาขอพับแขน ตรวจสอบใหผาพันแขนอยูตําแหนงระดับเดียวกับหัวใจ 3.2 ขณะทําการวัดใหหนาจอของเคร่ืองวัดความดันโลหิตหันเขาหาผูวัด 3.3 กดปุมเปดเคร่ืองวดัความดนัโลหิตเพือ่เร่ิมทําการวัด เคร่ืองจะทาํการวัดโดยอัตโนมัติ รอจนเคร่ืองหยุด จะปรากฏคาของความดันโลหิตตัวบน/ตัวลาง และคาของอัตราการเตนของหัวใจ (ภาพท่ี 2)

คาความดันโลหิตตัวบนคาความดันโลหิตตัวลางคาอัตราการเตนของหัวใจ

ผาพันแขน

ปุมเปดเคร่ือง

ภาพท่ี 2 แสดงคาความดันโลหิตตัวบน/ตัวลาง

Page 8: Guideline Self BP Monitoring 2013

8

3.4 ควรทําการวัดอยางนอย 2 คร้ัง หางกันคร้ังละ 1-2 นาที และวัดเพิ่มเติมหาก 2 คร้ังแรกตางกันคอนขางมาก 3.5 จดบันทึกตัวเลขคาความดันฯ ตัวบนและตัวลางทุกคร้ังท่ีวัด ** ในผูที่วัดความดันโลหิตคร้ังแรก แนะนําใหวัดความดันฯท่ีแขนท้ังสองขาง และหากคาความดันฯ ตัวบนหรือตัวลางแขนท้ังสองขางตางกันเกิน 20 มม.ปรอท ใหไปพบพยาบาลหรือแพทย

4. การตรวจตดิตามความดันโลหติดวยตนเอง หรอืโดย อสม. ในผูปวยความดันโลหิตสูง

4.1 ควรตรวจติดตามความดันฯ ที่บานดวยตนเอง หรือโดย อสม. วันละ 2 เวลา ในชวงเชา (ภายในสองช่ัวโมงหลังต่ืนนอน และยังไมกินยาความดันฯ) และกอนนอน (สองช่ัวโมงกอนนอน) ติดตอกัน อยางนอย 4 วันทุกเดือน 4.2 จดบันทึกตัวเลขคาความดันฯ ตัวบนและตัวลาง ในแบบบันทึกท่ีกําหนด หรือในสมุดบันทึกสุขภาพประจําตัวผูปวย 4.3 นําคาความดันโลหิตท่ีไดมาคํานวณหาคาเฉล่ียของระดับความดันโลหิตและควรนําสมุดบันทึกคาความดันโลหิตท่ีบาน ไปใหแพทยหรือเจาหนาท่ีเม่ือไปรับยาตามนัด

Page 9: Guideline Self BP Monitoring 2013

9

1. คาความดันโลหิตท่ีวัดไดในวันแรก ไมตองนํามาคํานวณหาคาเฉล่ีย 2. นําคาความดันฯ ทั้งตัวบนและตัวลางของวันท่ี 2 ถึง 4 มาหาคาเฉล่ียความดันฯ ตัวบนและตัวลาง ซ่ึงคาเฉล่ียท่ีได จะเปนคาความดันโลหิตในวิถีชีวิตตามปรกติของผูปวยในเดือนนั้น

การคํานวณหาค่าเฉลี่ยความดันโลหิต

ตัวอยางการคํานวณ

1 120 80 122 82 128 82 122 84 2 122 80 124 84 122 80 128 78 3 130 84 126 83 126 84 120 86 4 126 82 125 82 120 80 130 84

วันท่ี

คาตัวบน คาตัวลางคาตัวบนคาตัวลาง คาตัวบน คาตัวลางคาตัวบนคาตัวลาง

วัดครั้งท่ี 1 วัดคร้ังท่ี 2 วัดครั้งท่ี 1 วัดครั้งท่ี 2

ชวงเชา ชวงกอนนอน

เฉล่ีย 125.5/82.5

คํานวนหาคาเฉล่ียได ดังน้ี*คาเฉล่ียความดันโลหิตตัวบน (ชวงเชา) = 122+130+126+124+126+125 = 125.5 6*คาเฉล่ียความดันโลหิตตัวลาง (ชวงเชา) = 80+84+82+84+83+82 = 82.5 6

124.3/82

*คาเฉล่ียความดันโลหิตตัวบน (ชวงกอนนอน) = 122+126+120+128+120+130 = 124.3 6*คาเฉล่ียความดันโลหิตตัวลาง (ชวงกอนนอน) = 80+84+80+78+86+84 = 82 6

Page 10: Guideline Self BP Monitoring 2013

10

การประเมินภาวะความดันโลหิต สามารถประเมินจากคาเฉล่ียท่ีคํานวณไดเปรียบเทียบกับเปาหมายการควบคุมความดันโลหิตตามแนวทางการรักษาของแพทย

การประเมินภาวะความดันโลหิตสูง

เปาหมายการควบคุมความดันโลหิตใหอยูในเกณฑปลอดภัยจากการเกิดภาวะแทรกซอน

• ควรมีระดับความดันโลหิตนอยกวา 135/85 มม.ปรอท ในผูปวย ความดันโลหิตสูงท่ัวไป • ควรมีระดับความดันโลหิตนอยกวา 130/80 มม.ปรอท ในผูปวย ที่เปนเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคไตเร้ือรัง ผูปวยโรค กลามเน้ือหัวใจตาย และผูปวยหลังเปนอัมพฤกษ อัมพาต

* ในกรณีที่ความดันฯ ต้ังแต 180/110 มม.ปรอท ขึ้นไป ควรรีบไปพบแพทย

ผูปวยท่ีควบคุมระดับความดันฯ ไมไดตามเปาหมาย หรือรักษาไมสมํ่าเสมอควรตรวจติดตามความดันฯ บอยข้ึน

และพบแพทยอยางสมํ่าเสมอ

Page 11: Guideline Self BP Monitoring 2013

11

ในผูใหญที่มีอายุ 18 ปขึ้นไป ระดับความดันโลหิตสามารถจําแนกดังน้ี

ตารางท่ี 1 ระดับของภาวะความดันโลหิต (มม.ปรอท)

ปกติปกติคอนขางสูง

ระดับท่ี 1 ความดันโลหิตสูงอยางออน

ระดับท่ี 2 ความดันโลหิตสูงปานกลาง

ระดับท่ี 3 ความดันโลหิตสูงรุนแรง

นอยกวา 120 120-139

140-159

160-179

มากกวาหรือเทากับ 180

นอยกวา 80 80-89

90-99

100-109

มากกวาหรือเทากับ 109

ระดับความดันโลหิตความดันโลหิตตัวบน

(มม.ปรอท)ความดันโลหิตตัวลาง

(มม.ปรอท)

ภาคผนวก ก

การแบงระดับความดันโลหิต

อาการของโรคหรือภาวะความดันโลหิตสูง • ระยะเร่ิมแรกสวนใหญจะไมมีอาการ ตรวจพบโดยการตรวจสุขภาพ ประจําปหรือตรวจพบโดยบังเอิญ • ปวดศรีษะบริเวณทายทอย มกัเปนในตอนเชา เวยีนศีรษะ มนึงง ตาพรา ออนเพลีย เลือดกําเดาไหล • มีอาการของระบบอวัยวะสําคัญถูกทําลาย - หัวใจ เชน เหน่ือยงาย บวมเทาสองขาง นอนราบแลวหายใจลําบาก - สมอง เชน ปวดหัว ตาพรา คล่ืนไส อาเจียน เปนอัมพาต - ไต เชน บวม ปสสาวะออกนอยลง

Page 12: Guideline Self BP Monitoring 2013

12

ภาคผนวก ข

- ควรรับประทานอาหารท่ีมแีคลเซียมเพ่ิมอยางนอย 1,000 มลิลิกรัมตอวนั เชน โยเกิรต ยาแคลเซียม เปนตน - การลดน้ําหนักโดยจํากัดแคลอรี และลดอาหารท่ีมีไขมันสูง ในคนอวน พบวา การลดน้ําหนัก 1 กิโลกรัม ความดันโลหิตตัวบนจะลดลง 1.6 มม.ปรอท และความดันโลหิตตัวลางจะลดลง 1.3 มม.ปรอท - การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอและตอเน่ืองโดยใชกลามเน้ือมัดใหญ เคล่ือนไหว เชน การเตนแอโรบิค เดินเร็ว วายน้ํา ชวยลดความดันลงได 4-9 มม.ปรอท - งดสูบบุหรี่และหลีกเล่ียงควันบุหรี่ ลดหรืองดเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล - ควบคุมอารมณโกรธ ลดความเครียด โดยการผอนคลาย ทําสมาธิ โยคะ - ลดหรือหลีกเล่ียงอาหารท่ีมีรสเค็ม และลดปริมาณเกลือหรือนํ้าปลาใน อาหารจะลดความดันโลหิตตัวบนได 10 มม.ปรอท และลดความดันโลหิต ตัวลางได 5 มม.ปรอท (เกลือ 1 ชอนชามีโซเดียม 2.3 กรัม) - หลีกเล่ียงอาหารที่มีเกลือปน เชน ของหมัก ของดอง ของตากแหง อาหารกระปอง อาหารท่ีมี ผงชูรส - ควรรับประทานอาหารท่ีมีโปแตสเซียม เชน กลวย สม ผลไม/ผักสด เพราะจะชวยปองกันการทําลายหลอดเลือด และลดโอกาสเกิดโรค หลอดเลือดสมอง

ขอแนะนําในการลดความดันโลหิต

ควรตรวจติดตามความดันโลหิตดวยตนเองหรือโดย อสม.

อยางสมํ่าเสมอ

Page 13: Guideline Self BP Monitoring 2013

13

การดูแลตนเองดานอาหารในผูปวยความดันโลหิตสูง

เรียวพลอย กาศพรอมชนิดา ปโชติการ

สารอาหารที่ควรระวังในผูปวยความดันโลหิตสูง อาหารที่มีโซเดียม (sodium) สูง ประมาณคร่ึงหนึง่ของโซเดียม สวนใหญไดจากเกลือแกง การไดรับโซเดียมในปริมาณมาก จะทําใหความดันโลหิตสูง การรับประทานโซเดียม 2.3 กรัม/วัน (เกลือ 1.8 ชอนชา) คาความดันโลหิตตัวบนจะสูงข้ึนเฉล่ีย 3-6 มิลลิเมตรปรอท ซ่ึงโซเดียมในเกลือแกงจะมีผลตอการเพ่ิมข้ึนของความดันโลหิตมากกวาโซเดียม ของอนุมูลอื่นๆ ที่มิใชเกลือแกง ปริมาณของโซเดียมท่ีแนะนําใหบริโภคไมเกิน 2,000 มิลลิกรัม อาหารท่ีมีโซเดียมสูงไดแก 1. อาหารท่ีมีเกลือมาก เชน ซอส นํ้าปลา กะป เตาเจ้ียว อาหารหมักดอง ฯลฯ 2. อาหารพวกผงชูรส หรือผงปรุงรสตางๆ ไดแก ผงชูรส ผงฟู สารกันบูด 3. ขนมกรุบกรอบท่ีมีเกลืออยูเปนจํานวนมาก 4. อาหารแปรรูป ไดแก ไสกรอก กุนเชียง แหนม อาหารทะเลทําเค็ม ฯลฯ 5. สารกันบูด หลายชนิดมโีซเดียมประกอบอยู เชนโซเดียมเบนโซเอต และโซเดียมโปรนิโอเนต ใชปองกันเช้ือราในขนมปงปอนด

ภาคผนวก ค

Page 14: Guideline Self BP Monitoring 2013

14

ไขมัน (lipid) การรับประทานอาหารท่ีมีไขมันมาก โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว มีรายงานวาปริมาณไขมันและชนิดของไขมนัอิม่ตัวมคีวามสัมพนัธตอการเพิม่ข้ึนของความดนัโลหิต ดงัน้ัน จงึควรควบคุมปริมาณไขมันและน้ําหนกัตัวรวมทัง้การเลือกชนิดของไขมันท่ีเหมาะสม เพื่อปองกันภาวะไขมันในเลือดสูง และควรงดไขมันอิ่มตัว ไขมันทรานซ และโคเลสเตอรอล โปรตีน (Protein) มวีจิยัรายงานวา การไดรับโปรตีนสูงมีผลตอการเพ่ิมข้ึนของความดันโลหิต ปริมาณโปรตีนท่ีแนะนําใหบริโภคตอวัน ประมาณ 0.8 - 1 กรัม ตอนํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม และควรกินเน้ือสัตวไมติดหนังไมติดมันคารโบไฮเดรต (carbohydrate) อาหารจําพวกคารโบไฮเดรตเชิงเด่ียว เชน นํ้าหวาน นํ้าอัดลม นํ้าตาล ไมพบวามีผลตอการเพ่ิมข้ึนของความดันโลหิตในมนุษย แตมีการเพ่ิมข้ึนของความดันโลหิตในหนูทดลองแอลกอฮอล (alcohol) เชน เหลา เบียร ไวน ซ่ึงมีผลโดยตรงตอความดันโลหิต เน่ืองจากมีสวนกระตุนใหหัวใจสูบฉีดแรงข้ึน

สารอาหารที่ควรเลือกบริโภค เพื่อปองกันความดันโลหิตสูงโพแทสเซียม (potassium) จากวิจัยรายงานวากลุมประชากรท่ีไดรับโพแทสเซียมจากอาหารมาก จะมีความดันโลหิตท้ังคาบนและลางต่ํากวากลุมท่ีไดรับโพแทสเซียมนอย ปริมาณโพแทสเซียมท่ีแนะนําใหบริโภคตอวัน ปริมาณ 800 -1,000 มิลลิกรัม อาหารท่ีมีโพแทสเซียมสูงไดแก ผัก และผลไม ดังน้ัน จึงควรรับประทานผัก ผลไม เปนประจํา และควรรับประทานผัก ผลไม หลากสี

Page 15: Guideline Self BP Monitoring 2013

15

ผักท่ีมีโพแทสเซียมสูง (250 – 450 มิลลิกรัม) - เห็ด หนอไมฝร่ัง บร็อคโคล่ี ดอกกะหลํ่า มันเทศ แครอท แขนงกะหล่ํา มันฝร่ัง ผักโขม ผักบุง ผักกวางตุง ใบผักคะนา ผักตําลึง ใบแคผลไมท่ีมีโพแทสเซียมสูง (201 – 450 มิลลิกรัม) - กลวยทุกชนิด ขนุน ทุเรียน ฝร่ัง กระทอน นอยหนา ลูกพลับ แคนตาลูป สมฮันนีดิว มะมวงสุก ลําไย ลูกพรุน นํ้าผลไมทุกชนิด มะขามหวาน กลวยตาก กีวีแมกนีเซียม (magnesium) ถาไดรับอาหารท่ีมีแมกนีเซียมสูง ความดันโลหิตจะต่ําลง ถาไดรับนอยความดันโลหิตจะสูงข้ึน ปริมาณแมกนีเซียมท่ีแนะนําใหบริโภค สําหรับคนไทยตอวัน 250 – 350 มิลลิกรัม เน่ืองจากมีงานวิจัยรายงานวาแมกนีเซียมมีผลตอการชวยขยายหลอดเลือด จงึทําใหความดันโลหิตลดลง อาหารท่ีมแีมกนีเซียมสูง ไดแก ผกัใบเขียวตาง ๆ ดงัน้ัน ผูทีรั่บประทานอาหารมังสวิรัตจิะมีความดันโลหิตต่ํากวาแคลเซียม (calcium) มมีากในผักใบเขียว และนม มกีารศึกษาพบวาการไดรับแคลเซียมนอยกวา 600 มลิลิกรัมตอวนั จะทําใหความดันโลหิตสูง ปริมาณแคลเซียมท่ีแนะนําใหบริโภค สําหรับคนไทยตอวนั 800 – 1,200 มลิลิกรัม แคลเซียมจะมีความสัมพนัธกบัระดับความดันโลหิตสูง การขาดแคลเซียมจะทําใหระดับแคลเซียมในเลือดตํา่ จงึเกิดการเพ่ิมข้ึนของระดับฮอรโมน พาราไทรอยด เม่ือระดับของฮอรโมนเพ่ิมข้ึนจะทําใหหลอดเลือดแดงเกิดการหดตัว แรงดันของเลือดจะเพิ่มข้ึน ทําใหความดันโลหิตสูงข้ึน

Page 16: Guideline Self BP Monitoring 2013

16

DAHS DIET (Dietary Approaches to Stop Hypertensions) - ลักษณะอาหารจะประกอบไปดวยผัก ผลไม ที่ใหแมกนีเซียม และโพแทสเซียมสูง นม และผลิตภัณฑที่มีไขมันต่ํา แตใหแคลเซียมสูง ธัญพืชถั่วเปลือกแข็งท่ีใหใยอาหารและแมกนีเซียมสูง จํากัดเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล ไมเกิน 1 ดร้ิง สําหรับผูหญิง และไมเกิน 2 ดริ้ง สําหรับผูชาย จํากัดอาหารท่ีมีโซเดียม ไมเกิน 2,000 มิลลิกรัม/วัน (เกลือ 1 ชอนชา) หรือ น้ําปลา 3 ชอนชา/วันไดมีงานวิจัยรายงานวาผูที่รับประทานอาหารในแบบของ DAHS DIET จะชวยปองกันไมใหเกิดโรคความดันโลหิตสูงได