Guideline for management of gout 2555

40
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ (Guideline for Management of Gout) โดย สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2555 (ปรับปรุงจากแนวทางเวชปฏิบัติภาวะกรดยูริกในเลือดสูงและโรคเกาต์ ปี พ.ศ. 2544)

description

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ (ประเทศไทย) ปี 2555 สมาคมรูมาติซั่มแห่งประเทศไทย แหล่งข้อมูล http://www.ninerx.com/smf/index.php/topic,2784.0.html

Transcript of Guideline for management of gout 2555

Page 1: Guideline for management of gout 2555

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์(Guideline for Management of Gout)

โดย

สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทยพ.ศ. 2555

(ปรับปรุงจากแนวทางเวชปฏิบัติภาวะกรดยูริกในเลือดสูงและโรคเกาต์ ปี พ.ศ. 2544)

Page 2: Guideline for management of gout 2555

ค�าน�า โรคเกาต์เป็นโรคข้ออักเสบเฉียบพลันท่ีพบบ่อยท่ีสุดเป็นผลจากภาวะกรดยูริกท่ีสูงในเลือดเป็น

เวลานานหลายๆปีท�าให้เกิดการตกผลึกของเกลือยูเรตในเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็น

เพศชายเริ่มต้นอาการตั้งแต่อายุ30ปีเป็นต้นไปส่วนเพศหญิงมักเริ่มต้นอาการในวัยหลังหมด

ประจ�าเดือนไปแล้วมีปัจจัยแวดล้อมหลายอย่างกระตุ้นให้เกิดการอักเสบเฉียบพลันข้ึนการวินิจฉัยโรค

อาศัยประวัติการตรวจร่างกายรวมทั้งระดับกรดยูริกท่ีสูงในเลือดและยืนยันด้วยการตรวจพบผลึก

เกลือยูเรตจากน�้าไขข้อการวินิจฉัยโรคได้ช้าและได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้องนอกจากจะส่งผลให้ผู้ป่วย

ต้องทนทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวดและเกิดความพิการจากข้อท่ีถูกท�าลายแล้วยังอาจท�าให้เสียชีวิต

จากภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะโรคไตวายในระยะท้ายได้ด้วยปัจจุบันมียาและผลิตภัณฑ์หลายชนิดใน

ท้องตลาดที่กล่าวอ้างสรรพคุณในการรักษาโรคนี้ยาส่วนใหญ่นี้ไม่เคยผ่านการศึกษาวิจัยหรือตรวจสอบ

ถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยมาก่อนเลยดังนั้นในปัจจุบันจึงพบผู้ป่วยโรคเกาต์ระยะท้ายหลาย

รายที่ต้องเผชิญกับผลข้างเคียงของยาหรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพเหล่านี้ จุดประสงค์ของการท�า

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์คือเพื่อให้แพทย์ผู้เกี่ยวข้องสามารถใช้เป็นแนวทางในการ

วินิจฉัยโรคสามารถให้ค�าแนะน�าและตัดสินใจเลือกใช้ยาหรือวิธีการรักษาโรคท่ีมีคุณภาพและมีความ

ปลอดภัยแก่ผู้ป่วยรวมทั้งเกิดความเหมาะสมและคุ้มค่าแก่ประเทศไทยมากที่สุด

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ฉบับใหม่นี้ทางสมาคมรูมาติสซ่ัมแห่งประเทศไทยได้

จัดท�าขึ้นโดยรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานการศึกษาที่น่าเชื่อถือล่าสุดรวมทั้งแนวทางปฏิบัติและข้อ

แนะน�าจากต่างประเทศในปัจจุบันมาปรับเปลี่ยนแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ของสมาคมฯ

ฉบับเดิมให้มีความสมบูรณ์และทันสมัยรวมท้ังเหมาะสมกับประเทศไทยมากยิ่งข้ึนอย่างไรก็ตาม

แนวทางเวชปฏิบัติฉบับนี้ไม่สามารถใช้เป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยโรคเกาต์ทุกรายได้เนื่องจากการ

ดูแลรักษาผู้ป่วยควรตั้งอยู่บนพื้นฐานข้อมูลทางคลินิกและการตัดสินใจของผู้ป่วยในแต่ละรายรวมทั้ง

สภาวะแวดล้อมและเศรษฐานะของประเทศแนวทางเวชปฏิบัติอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อความรู้

ทางการแพทย์มีความก้าวหน้ามากขึ้นและแบบแผนการรักษามีการปรับเปลี่ยนไปในอนาคตแนวทาง

เวชปฏิบัติฉบับนี้ไม่ได้รวมยาบางชนิดหรือวิธีการรักษาบางอย่างซ่ึงไม่ได้ข้ึนทะเบียนให้ใช้รักษาโรคเกาต์

แต่มีหลักฐานทางคลินิกว่าอาจมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคนี้ได้

แพทย์หญิงไพจิตต์อัศวธนบดี

นายกสมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย

วาระปีพ.ศ.2553-2555

Page 3: Guideline for management of gout 2555

คณะท�างานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทยแพทย์หญิงกนกรัตน์ นันทิรุจแพทย์หญิงกุลศิริ ธรรมโชตินายแพทย์เกียรติ ภาสภิญโญแพทย์หญิงขวัญฤทัย ศรีพวาทกุลแพทย์หญิงจินตาหรา มังคะละนายแพทย์ชยวี เมืองจันทร์นายแพทย์ชาติวุฒิ ค�้าชูนายแพทย์โชคชัย กิตติญาณปัญญาแพทย์หญิงโชติมา ศรศิริวงศ์แพทย์หญิงดวงกมล ผดุงวิทย์วัฒนาแพทย์หญิงทัศนีย์ กิตอ�านวยพงษ์นายแพทย์ธานี ตั้งอรุณสันติแพทย์หญิงธาริณี โรจน์สกุลกิจแพทย์หญิงนันทนา กสิตานนท์แพทย์หญิงนันทรัตน์ วงษ์วรอาภรณ์นายแพทย์บดินทร์ บุตรธรรมนายแพทย์ปฐพงศ์ โตวิวัฒน์แพทย์หญิงประภัสสร อัศวโสตถิ์แพทย์หญิงปริฉัตร เอื้ออารีวงศาแพทย์หญิงปวีณา เชี่ยวชาญวิศวกิจนายแพทย์พงศ์ธร ณรงค์ฤกษ์นาวินนายแพทย์พนัสพงษ์ จันทร์บรรเจิดแพทย์หญิงพรเพ็ญ อัครวัชรางกูรแพทย์หญิงพัสวี วนานุวัธนายแพทย์พีระวัฒน์ บุนยตีรณะแพทย์หญิงไพจิตต์ อัศวธนบดีแพทย์หญิงภัทริยา มาลัยศรีนายแพทย์ภาสกร แสงสว่างโชติแพทย์หญิงภิรดี ศรีจันทร์นายแพทย์ยุทธนา สงวนศักดิ์โกศล

Page 4: Guideline for management of gout 2555

นายแพทย์รัตตพล ภัคโชตานนท์แพทย์หญิงรัตนวดี ณนครแพทย์หญิงวันรัชดา คัชมาตย์นายแพทย์สมชาย เอื้อรัตนวงศ์แพทย์หญิงสหนันท์ เลิศสินกอบศิรินายแพทย์สิทธิชัย เนตรวิจิตรพันธ์นายแพทย์สิทธิชัย อุกฤษฏชนแพทย์หญิงสิริพร จุทองแพทย์หญิงสิริพร มานวธงชัยแพทย์หญิงสุจินต์ เลิศวิเศษนายแพทย์สุจิโรตถ์ หาญทวิชัยแพทย์หญิงสุมาภา ชัยอ�านวยนายแพทย์สุรชัย นิธิเกตุกุลนายแพทย์สุรวุฒิ ปรีชานนท์นายแพทย์สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ์แพทย์หญิงเสาวนีย์ เบญจมานุกูลนายแพทย์อนวรรถ ซื่อสุวรรณนายแพทย์อภิชาญ ช�านาญเวชแพทย์หญิงอรรจนี มหรรฆานุเคราะห์แพทย์หญิงอังครัตน์ ศุภชัยศิริกุลแพทย์หญิงอัจฉรา กุลวิสุทธิ์แพทย์หญิงอัญชลี ไทรงามแพทย์หญิงเอมวลี อารมย์ดี

ผู้ร่วมท�าประชาพิจารณ์ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทยราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทยราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย

ผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุขนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดน่านโรงพยาบาลเลิดสินโรงพยาบาลพะเยาโรงพยาบาลชุมแพอ�าเภอชุมแพจังหวัดขอนแก่น

Page 5: Guideline for management of gout 2555

ความจ�าเป็นของแนวทางเวชปฏิบัต.ิ............................................................................................................07

ค�าจ�ากัดความของภาวะกรดยูริกในเลือดสูง...............................................................................................09

แนวทางปฏิบัติ..............................................................................................................................................09

แนวทางการรักษา..........................................................................................................................................11

ภาคผนวก

ภาคผนวกที่ 1 การแบ่งระดับของหลักฐานการศึกษา(levelsofevidence)................................31

และข้อแนะน�า(gradingofrecommendations)

ภาคผนวกที่ 2 แผนผังแสดงแนวทางปฏิบัติภาวะกรดยูริกในเลือดสูง...............................................32

ภาคผนวกท่ี 3สาเหตุของภาวะกรดยูริกในเลือดสูง............................................................................33

ภาคผนวกที่ 4 แผนผังแสดงแนวทางปฏิบัติการรักษาข้ออักเสบเฉียบพลันในโรคเกาต์....................34

ภาคผนวกท่ี 5แนวทางปฏิบัติการรักษาโรคเกาต์ในระยะยาว...........................................................35

ภาคผนวกท่ี 6 ขนาดยาallopurinolในผู้ป่วยโรคเกาต์ที่มีการท�างานของไตบกพร่อง..................36

ภาคผนวกที่ 7 ตารางการท�า allopurinol desensitization............................................................37

ภาคผนวกท่ี 8 ยาท่ีมีคุณสมบัติสามารถลดระดับกรดยูริกในเลือด.....................................................38

ภาคผนวกท่ี 9 ขนาดยาcolchicineเพื่อป้องกันข้ออักเสบก�าเริบซ้�าในผู้ป่วยโรคเกาต์..................38

ที่มีการท�างานของไตบกพร่อง

สารบัญ

หน้า

Page 6: Guideline for management of gout 2555
Page 7: Guideline for management of gout 2555

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์(Guideline for Management of Gout)สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย

ความจ�าเปนของแนวทางเวชปฏิบัติ

โรคเกาต์เป็นโรคข้ออกัเสบทีพ่บบ่อยมากในเวชปฏบิตัิมอีบุตักิารณ์ร้อยละ1-2ในช่วง10ปี

ที่ผ่านมาพบอัตราของโรคเกาต์เพิ่มขึ้นถึง2เท่า1นอกจากนี้ยังพบเพ่ิมข้ึนตามอายุในเพศชาย

อายุมากกว่า65ปีพบได้ร้อยละ7และเพศหญิงอายุมากกว่า85ปีพบได้ร้อยละ32-3โรคเกาต์

มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด4กลุ่มอาการทางเมตาบอลิก(metabolic

syndrome)5และโรคเบาหวาน6การรักษาโรคอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยท�าให้ผู้ป่วยมีคุณภาพ

ชีวิตที่ดีขึ้นรวมทั้งลดภาวะแทรกซ้อนทางข้อและไตลง

เนื่องจากในปัจจุบันมียารักษาโรคเกาต์เกิดขึ้นใหม่หลายชนิดอีกทั้งมีการศึกษาถึง

แบบแผนการด�าเนินชีวิตและการดูแลรักษาตนเองกันอย่างกว้างขวางทางสมาคมรูมาติสซ่ัมแห่ง

ประเทศไทยจึงได้จัดท�าแนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเกาต์ข้ึนโดยปรับปรุงพัฒนา

แนวทางเวชปฏิบัติให้ทันสมัยและเหมาะสมกับประเทศไทยโดยหวังว่าจะช่วยท�าให้ประสิทธิภาพ

การรักษาโรคและการด�าเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคเกาต์ดีขึ้น

Page 8: Guideline for management of gout 2555

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ฉบับนี้ถูกสร้างข้ึนจากความร่วมมือของคณะ

กรรมการจัดท�าแนวทางเวชปฏิบัติโดยทั้งหมดเป็นอายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซ่ัมในสมาคม

รูมาติสซั่มแห่งประเทศไทยซึ่งได้ท�าการรวบรวมข้อมูลที่มีหลักฐานการศึกษา(ภาคผนวก

ที่1)จากelectronicdatabase(Medline)และsystematicreviewdatabase(Co-

chranesystematicreview)ที่เกี่ยวกับโรคเกาต์จนถึงเดือนสิงหาคมพ.ศ.2554รวมทั้งได้

ศึกษาจากแนวทางเวชปฏิบัติโรคเกาต์จากต่างประเทศ ทั้งนี้จะเลือกเฉพาะข้อมูลที่มีหลักฐาน

น่าเชื่อถือระดับสูงสุด

ข้อจ�ากัดของแนวทางเวชปฏิบัติ

แนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับโรคเกาต์ฉบับนี้ไม่สามารถใช้เป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยโรค

เกาต์ทุกรายได้เนื่องจากการดูแลรักษาผู้ป่วยควรตั้งอยู่บนพื้นฐานข้อมูลทางคลินิกรวมทั้งการ

ตัดสินใจของผู้ป่วยในแต่ละรายแนวทางเวชปฏิบัติอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เม่ือความรู้ทางการ

แพทย์มีความก้าวหน้ามากขึ้นและแบบแผนการรักษามีการปรับเปลี่ยนไปในอนาคตการดูแล

รักษาโดยยึดแนวทางเวชปฏิบัติฉบับนี้จะไม่ยืนยันว่าผู้ป่วยทุกรายจะประสบความส�าเร็จจากการ

รักษาแนวทางเวชปฏิบัตินี้ไม่ได้รวมยาบางชนิดหรือวิธีการรักษาบางอย่างซึ่งไม่ได้ขึ้นทะเบียน

ให้ใช้รักษาโรคเกาต์แต่มีหลักฐานทางคลินิกว่าอาจมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคเกาต์ได้การ

บันทึกข้อมูลอย่างละเอียดลงในเอกสารทางการแพทย์ของผู้ป่วยจะเป็นหลักฐานที่มีความส�าคัญ

เป็นอย่างมากหากการดูแลรักษาผู้ป่วยบางรายจะมีความแตกต่างไปจากแนวทางเวชปฏิบัติฉบับนี้

วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่มและแพทย์สาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็น

แนวทางในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเกาต์

2.เพื่อให้อายุรแพทย์และพยาบาลโรคข้อและรูมาติสซ่ัมรวมทั้งแพทย์และพยาบาลสาขา

อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการให้ค�าแนะน�าผู้ป่วยใช้ประเมินโรคและติดตามผลการ

รักษารวมทั้งเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนและผลข้างเคียงในผู้ป่วยโรคเกาต์

กลุ่มเปาหมาย

1.อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่มและแพทย์สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง

8 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 9: Guideline for management of gout 2555

2.แพทย์ทั่วไปพยาบาลวิชาชีพช�านาญการด้านการดูแลผู้ป่วยโรคข้อและบุคคลากร

ทางการแพทย์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ค�าจ�ากัดความของภาวะกรดยูริกในเลือดสูง

ภาวะกรดยูริกในเลือดสูงคือภาวะที่ร่างกายมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงกว่าปกติโดยเพศ

ชายมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงกว่า7มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรและเพศหญิงมีระดับกรดยูริกในเลือด

สูงกว่า6มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรหรือมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงกว่า6.8มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร

เมื่ออิงตามคุณสมบัติทางเคมีซึ่งมีการตกผลึกของเกลือยูเรตในเนื้อเยื่อเมื่อมีระดับกรดยูริกในเลือด

สูงกว่า6.8มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรที่37องศาเซลเซียส7-8

แนวทางปฏิบัติ

เนื่องจากผู้ป่วยที่มีภาวะกรดยูริกในเลือดสูงส่วนใหญ่จะไม่มีอาการแสดงทางคลินิกของ

โรคเกาต์จึงไม่แนะน�าให้ใช้ยาลดกรดยูริกในผู้ป่วยที่ภาวะกรดยูริกในเลือดสูงโดยที่ยังไม่มีอาการ

แสดงใดๆโดยมีแนวทางปฏิบัติดังต่อไปนี้(ภาคผนวกที่2)

1.ค้นหาและรักษาสาเหตุหรือโรคที่ท�าให้กรดยูริกในเลือดสูง(ภาคผนวกที่3) โดยการ

ซักประวัติตรวจร่างกายหรือส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติมในรายที่พบสาเหตุซึ่งสามารถ

แก้ไขได้ก็ให้แก้ไขหรือก�าจัดสาเหตุนั้นจากนั้นตรวจเลือดซ�้าอีก1-2ครั้งโดยมีระยะเวลาห่างกัน

1-2เดือนเพื่อตรวจว่าระดับกรดยูริกในเลือดได้ลดลงเป็นปรกติหรือไม่

2.พิจารณาส่งตรวจปริมาณกรดยูริกในปัสสาวะ24ช่ัวโมงเม่ือผู้ป่วยมีข้อบ่งช้ีข้อใดข้อ

หนึ่งดังต่อไปนี้

•มีประวัติครอบครัวเป็นนิ่วหรือเป็นโรคเกาต์ตั้งแต่อายุน้อย

•ตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ

•มีอายุน้อยกว่า30ปี

3.พิจารณาให้ยาลดกรดยูริกในเลือดเมื่อมีข้อบ่งชี้ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้

•มีปริมาณกรดยูริกในปัสสาวะมากกว ่า1100มิลลิกรัมต ่อวัน 11 (levelof

evidence,LoE4)

•มีแผนการรักษาด้วยยาเคมีบ�าบัดในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดหรือต่อมน�้าเหลืองทั้งนี้เพ่ือ

ป้องกันการเกิดภาวะtumorlysissyndrome

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 9

Page 10: Guideline for management of gout 2555

4.ค้นหาและท�าการรักษาโรคอื่นๆซึ่งมักพบร่วมกับโรคเกาต์เช่นโรคความดันโลหิตสูง

เบาหวานไขมันในเลือดสูงและกลุ่มอาการเมตาบอลิกเป็นต้น12

5.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด�าเนินชีวิตที่จะท�าให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงเช่นควบคุม

น�้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานหยุดดื่มสุรางดหรือลดอาหารบางชนิดที่จะท�าให้กรดยูริกใน

เลือดสูงขึ้น13-14

เกณฑ์การวินิจฉัยโรคเกาต์

เกณฑ์การวินิจฉัยโรคข้ออักเสบในโรคเกาต์ที่แน่นอน(definite)คือการตรวจพบผลึก

เกลอืโมโนโซเดยีมยเูรต(monosodiumuratecrystal)จากน�า้ไขข้อหรอืก้อนโทฟัสโดยมลีกัษณะ

เป็นรูปเข็มเมื่อตรวจผ่านกล้องจุลทรรศน์และมีคุณสมบัติเป็นnegativebirefringentเมื่อตรวจ

ผ่านกล้องจุลทรรศน์ชนิดcompensatedpolarizedlightในระยะที่มีการอักเสบเฉียบพลันจะ

พบผลึกดังกล่าวอยู่ในเซลล์เม็ดเลือดขาว15

ในกรณีที่ไม่สามารถท�าการตรวจน�้าไขข้ออาจใช้เกณฑ์การวินิจฉัยโรคเกาต์ของRome

(Romecriteria)16โดยอาศัยเกณฑ์2ใน3ข้อดังต่อไปนี้17-18

1.ข้อบวมเจ็บซึ่งเกิดขึ้นทันทีทันใดและหายภายใน2สัปดาห์

2.ระดับกรดยูริกในเลือดสูงกว่า7มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้ชายและมากกว่า6มิลลิกรัม

ต่อเดซิลิตรในผู้หญิง

3.พบก้อนโทฟัส(tophus)

ในกรณีที่สงสัยว่ามีข้ออักเสบติดเชื้อหรือเป็นข้ออักเสบจากผลึกเกลือชนิดอื่นร่วมด้วยควร

ท�าการตรวจน�้าไขข้อและการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคดังกล่าว

ด้วย17

อาการคลินิกของข้ออักเสบในโรคเกาต์

ข้ออักเสบในโรคเกาต์แบ่งเป็น3ระยะได้แก่

1.ระยะข้ออักเสบเฉียบพลัน(acutegoutyarthritis)

2.ระยะสงบ(intercriticalgout)คือระยะที่ไม่มีข้ออักเสบหรือหายจากข้ออักเสบซ่ึง

เป็นช่วงระหว่างการอักเสบในแต่ละครั้ง

3.ระยะเรื้อรังที่มีก้อนโทฟัส(chronictophaceousgout)

10 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 11: Guideline for management of gout 2555

จุดประสงค์ของการรักษา

1.ลดการอักเสบเฉียบพลันของข้อ

2.ลดความถี่ของข้ออักเสบ

3.ลดขนาดของก้อนโทฟัสและท�าให้ก้อนโทฟัสหายไป

4.ลดการท�าลายข้อและป้องกันความผิดรูปของข้อ

5.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตอันเนื่องจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง

แนวทางการรักษา

การรักษาโรคเกาต์ควรใช้ทั้งการรักษาโดยวิธีไม่ใช้ยาและใช้ยาร่วมกันซ่ึงจะมีประสิทธิภาพ

ดีกว่าการใช้วิธีใดวิธีหนึ่ง(1b,A)การรักษาจะต้องปรับให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเป็นรายๆไปโดย

ประเมินจาก

1.ปัจจัยเสี่ยงของโรคเกาต์ได้แก่ระดับของกรดยูริกในเลือดของผู้ป่วยความถี่ในการ

ก�าเริบของข้ออักเสบความผิดปกติทางภาพรังสีข้อและกระดูก19(2b,B)

2.ระยะของโรคได้แก่acutegout,intercriticalgout,chronicgout20(1b,A)

3.ปัจจัยเสี่ยงทั่วไปได้แก่อายุเพศความอ้วนการดื่มแอลกอฮอล์ยาซ่ึงมีผลต่อระดับ

กรดยูริกในเลือดdruginteractionและโรคร่วมอื่นๆ21(1b,B)

การรักษาโดยวิธีไม่ใช้ยา (Non-pharmacological therapy)

การรกัษาโดยวธิไีม่ใช้ยาประกอบด้วยการให้ความรูเ้กีย่วกบัโรคเกาต์และการให้ค�าแนะน�า

ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องแนวทางการรักษาที่ใช้ยาร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจะช่วยเพิ่ม

ประสิทธิภาพของการรักษาให้ดียิ่งขึ้น(4,D)

- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่ม

o ลดการรับประทานเนื้อสัตว์ที่มีสารพูรีน (purine)สูง เช่นอาหารทะเลหอย

เนื้อแดงสัตว์ปีกเครื่องในสัตว์และยีสต์22-23(2b,B)

o ลดผลไม้รสหวานและเครื่องดื่มที่ผสมน�้าตาลฟรุกโตส24(3,C)

o ลดการดื่มสุรา25(โดยเฉพาะเบียร์)(3,C)

o สามารถรับประทานนมพร่องมันเนย22โยเกิร์ตไขมันต�่า26น�้าเต้าหู้27ผลไม้ที่มีวิตามิน

ซีสูง28-29ได้(3,C)เนื่องจากสารพูรีนจากพืชจะเพ่ิมระดับกรดยูริกในเลือดไม่มาก(3,C)อย่า

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 11

Page 12: Guideline for management of gout 2555

งไรก็ตามผู้ป่วยบางรายที่มีโรคเกาต์ก�าเริบขึ้นภายหลังจากการรับประทานอาหารบางชนิดก็จะ

แนะน�าให้งดอาหารชนิดนั้นๆไป22

o มีข้อมูลว่าการรับประทานวิตามินซี500มิลลิกรัมต่อวันจะช่วยลดระดับกรดยูริกใน

เลอืดลงได้บ้าง30(1b,A)แต่ควรระมดัระวงัการใช้ในระยะยาวเนือ่งจากอาจท�าให้เกดินิว่ในระบบ

ทางเดินปัสสาวะตามมาได้31

- โรคร่วมและปัจจัยเสี่ยงของโรคเกาต์

o ควรให้การรักษาโรคร่วมและปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ(1b,A)เช่นภาวะไขมันในเลือดสูง32

ความดันโลหิตสูง33น�้าตาลในเลือดสูง34ความอ้วน35การสูบบุหรี่และโรคหลอดเลือดหัวใจ36-37

o ลดน�้าหนักในผู้ป่วยที่มีน�้าหนักเกินหรืออ้วนการลดน�้าหนักควรลดแบบช้าๆโดยตั้ง

เป้าหมายไว้ที่น�้าหนักในอุดมคติ(idealbodyweight)35,38-39(2b,B)การลดน�้าหนักอย่าง

รวดเร็วเกินไปอาจท�าให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงขึ้นและท�าให้เกิดข้ออักเสบก�าเริบตามมาได้40

o ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงซึ่งได้รับการรักษาด้วยยาขับปัสสาวะอยู่ควรเปลี่ยน

ยาขับปัสสาวะเป็นยาลดความดันโลหิตชนิดอื่นที่ไม่มีผลต่อระดับกรดยูริกในเลือด(4,D)โดยอาจ

เปลีย่นเป็นยาลดความดนัโลหติซึง่มฤีทธิเ์ร่งการขบักรดยรูกิออกทางปัสสาวะด้วย41(2b,B)ส�าหรบั

ผู้ป่วยซึ่งมีโรคหรือภาวะที่จ�าเป็นต้องใช้ยาขับปัสสาวะก็ไม่ต้องหยุดยาขับปัสสาวะ(4,D)ส�าหรับ

ผู้ป่วยโรคไขมันในเลือดสูงอาจพิจารณายาซ่ึงมีฤทธิ์เร่งการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะด้วย33

(1b,A)

o ผู้ป่วยที่มีประวัตินิ่วในทางเดินปัสสาวะหากไม่มีข้อห้ามควรแนะน�าให้ดื่มน�้าวันละ

มากกว่า2ลิตร

- หลีกเลี่ยงอุบัติเหตุต่อข้อหรือการออกก�าลังกายอย่างหักโหม(intensephysical

exercise)42(B)เนื่องจากจะท�าให้ข้ออักเสบก�าเริบขึ้นควรออกก�าลังกายในระดับปานกลาง

(moderatephysicalexercise)43

การรักษาโดยวิธีการใช้ยา (Pharmacological therapy)

ระยะข้ออักเสบเฉียบพลัน(ภาคผนวกที่4)6

ในระยะที่มีข้ออักเสบก�าเริบอย่างเฉียบพลันควรพักใช้ข้อ(4,D),ยกข้อให้สูง(4,D),และ

ประคบข้อด้วยน�้าแข็ง(icepack)44-45(1b,A)ควรเริ่มยาต้านการอักเสบให้เร็วที่สุดและหยุดยา

เมื่อข้อหายอักเสบแล้วโดยเลือกใช้ยาคอลจิซีน(colchicine)46และ/หรือยาต้านการอักเสบที่

ไม่ใช่สเตียรอยด์(non-steroidalanti-inflammatorydrugs,NSAIDs)1เป็นล�าดับแรกหาก

12 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 13: Guideline for management of gout 2555

ไม่มีข้อห้ามในการใช้(1b,A)ส�าหรับผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาลดกรดยูริกในเลือดอยู่แล้ว

ก็ควรให้ยาในขนาดเดิมต่อไปไม่ควรหยุดยาหรือเปลี่ยนแปลงขนาดของยาหรือเร่ิมให้ยาลดกรด

ยูริกในเลือดในขณะที่ยังมีข้ออักเสบอยู่47(4,D)เพราะจะท�าให้ข้ออักเสบหายช้า

ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs)

การรักษาด้วยNSAIDsควรให้ในขนาดต้านการอักเสบจนกระทั่งหายจากอาการอักเสบ

ส่วนใหญ่จะใช้เวลาไม่เกิน7วันยาทุกชนิดในกลุ่มนี้มีประสิทธิภาพของการรักษาเท่ากัน48

(1b,A)ไม่ควรใช้ยาแอสไพริน(aspirin)เนื่องจากมีผลต่อระดับกรดยูริกในเลือดควรหลีกเลี่ยง

indomethacinในผู้สูงอายุเนื่องจากมักก่อให้เกิดอาการปวดศีรษะซึมและมีผลข้างเคียงใน

ระบบทางเดินอาหารได้บ่อย2ควรหลีกเลี่ยงNSAIDsในผู้ป่วยมีภาวะหัวใจวายโรคตับและ

โรคไตท�างานบกพร่องไม่ควรใช้NSAIDsมากกว่า1ชนิดร่วมกันเพราะไม่ได้เพ่ิมประสิทธิภาพ

ของการรักษาแต่จะเพิ่มผลข้างเคียงให้มากข้ึนยกเว้นการใช้ร่วมกับแอสไพรินขนาดต�่าเพ่ือ

ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานยาได้อาจพิจารณา

ให้NSAIDsในรูปฉีดแทน49ในผู ้ป่วยที่ปัจจัยเสี่ยงต่อผลข้างเคียงในระบบทางเดินอาหาร

ควรให้ยาgastro-protectiveagentหรือprotonpumpinhibitorควบคู่ไปด้วย50-51(1a,A)

หรือพิจารณาให้ยาในกลุ่มcoxibsแทน15(1b,A)การใช้NSAIDsให้ค�านึงถึงความเสี่ยงของผล

ข้างเคียงในระบบหัวใจและหลอดเลือดไว้เสมอ52-53

ยาคอลจิซีน (Colchicine)

Colchicineเป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงในการรักษาข้ออักเสบเฉียบพลันในโรคเกาต์46

ขนาดที่แนะน�าคือ0.6มิลลิกรัมวันละ2-4ครั้ง54-55 ไม่แนะน�าให้ใช้ยาในขนาดสูงหรือ

รับประทานยาทุก2ชั่วโมงจนกระทั่งปวดข้อลดลงเนื่องจากจะท�าให้เกิดท้องเสียได้บ่อย54,56

(1b,A)ผลข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ท้องเสียปวดท้องคลื่นไส้และอาเจียนส่วนภาวะ

กดไขกระดูก,myopathyและneuropathy57พบได้น้อยส่วนใหญ่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่มีโรคตับ

หรือโรคไตร่วมด้วย58หากใช้ร่วมกับsimvastatinจะเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะrhabdomyolysis

ดังนั้นจึงควรติดตามอาการปวดเมื่อยและระดับเอ็นซัยม์กล้ามเนื้อ(creatinephosphokinase,

CPK)เมื่อต้องใช้ยา2ชนิดร่วมกันหรืออาจพิจารณาเปลี่ยนยาลดไขมันเป็นpravastatin

หรือfluvastatinแทนนอกจากนี้ยังต้องระมัดระวังการใช้ยาชนิดนี้ร่วมกับยาบางชนิดเช่น

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 13

Page 14: Guideline for management of gout 2555

clarithromycin59,erythromycin60,cyclosporine,ketoconazole,cimetidineเป็นต้น

เนื่องจากจะท�าให้เกิดภาวะเป็นพิษจากcolchicineขึ้น

ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroid)

คอร์ติโคสเตียรอยด์เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงในการรักษาโรคเกาต์ระยะข้ออักเสบ

เฉียบพลัน61-63จะพิจารณาใช้ในรายที่มีข้อห้ามในการให้NSAIDsหรือcolchicineเช่นมีภาวะ

ไตวายเลือดออกในทางเดินอาหารหรือเมื่อไม่ตอบสนองต่อยาต้านการอักเสบข้างต้น(1b,A)

ในรายที่มีข้ออักเสบเพียงข้อเดียวอาจพิจารณาฉีดยาคอร์ติโคสเตียรอยด์เข้าข้อ(intraarticular

corticosteroidinjection)64(2b,B)สิ่งที่ควรตระหนักก่อนให้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์คือจะต้อง

มั่นใจว่าไม่มีการติดเชื้อใดๆอยู่ในร่างกายในขณะนั้นขนาดของยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ที่ใช้รักษา

การอักเสบเทียบเท่ากับขนาดของเพรดนิโซโลน0.5มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อวันเมื่ออาการดีขึ้น

ให้รีบลดขนาดยาลงโดยเร็ว

ยาแก้ปวดชนิดอื่น

ยาแก้ปวดชนิดอื่นเช่นtramadolและกลุ่มยาระงับปวดที่อยู่ในกลุ่มสารเสพติด(opiate

analgesic)อาจช่วยบรรเทาอาการปวดอย่างรุนแรงในระยะสั้นได้เม่ือใช้ควบคู่กับcolchicine

หรือNSAIDs(4,D)

ระยะปลอดอาการ(intercriticalperiod)และระยะโรคเกาต์เร้ือรัง(chronicgout)

(ภาคผนวกที่5) 7

หลังจากข้ออักเสบเฉียบพลันทุเลาลงผู้ป่วยโรคเกาต์ทุกรายควรได้รับการประเมินเพื่อ

แก้ไขปัจจัยเสี่ยงหรือปัจจัยกระตุ้นต่างๆที่ท�าให้เกิดภาวะกรดยูริกในเลือดสูงรวมทั้งประเมิน

ความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของโรคเกาต์ได้แก่การก�าเริบของโรคข้ออักเสบการเกิดปุ่มโทฟัส

และโรคไตทั้งนี้ก็เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาให้ยาลดระดับกรดยูริกในเลือดในระยะยาว

ข้อบ่งชี้ของการใช้ยาลดกรดยูริกในเลือดส�าหรับผู้ป่วยโรคเกาต์ได้แก่มีข้ออักเสบก�าเริบ

เป ็นๆหายๆบ่อยกว ่า 2ครั้งต ่อป ี65; มีข ้ออักเสบเรื้อรัง;มีปุ ่มโทฟัส66 (Strengthof

Recommendation,SoRC);มีความผิดปกติทางภาพรังสีกระดูกและข้อซ่ึงเข้าได้กับโรคเกาต์;

มีuricacidnephropathy67(SoRB);มีภาวะไตบกพร่อง(SORB)และมีความจ�าเป็นต้องได้

รับยาขับปัสสาวะอย่างต่อเนื่อง68-69(SoRB)

14 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 15: Guideline for management of gout 2555

จุดมุ่งหมายในการให้ยาลดกรดยูริกในเลือดคือการละลายผลึกเกลือยูเรตออกจากเนื้อเยื่อ

และป้องกันไม่ให้มีการตกผลึกเกลือยูเรตเพ่ิมข้ึนทั้งนี้ควรท�าให้ระดับกรดยูริกในเลือดต�่ากว่า

จดุอิม่ตวัในเนือ้เยือ่โดยตัง้เป้าหมายให้อยูใ่นระดบัเท่ากบัหรอืต�า่กว่า6มลิลกิรมัต่อเดซลิติร21,70-71

(LoE3)ในกรณีอยู่ในระยะเรื้อรังที่มีก้อนโทฟัสแล้วอาจตั้งเป้าหมายลดระดับกรดยูริกในเลือดลง

มาเท่ากับหรือต�่ากว่า5มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร70,72-73

การเริ่มให้การรักษาด้วยยาลดระดับกรดยูริกในเลือดให้พิจารณาระหว่างประโยชน์

ที่จะได้รับกับความเสี่ยงของผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดข้ึนโดยประเมินจากสภาพผู้ป่วยประวัติ

ข้ออักเสบที่ผ่านมาโรคประจ�าตัวยาที่รับประทานอยู่และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆการเร่ิมให้ยาลดกรด

ยูริกในเลือดจะท�าภายหลังที่ข้ออักเสบหายสนิทแล้วเป็นเวลานาน1-2สัปดาห์ผู้ป่วยที่ได้ยา

ลดกรดยูริกในเลือดอยู่และเกิดข้ออักเสบก�าเริบขึ้นก็ให้การรักษาข้ออักเสบตามแนวทางการ

รักษาในระยะข้ออักเสบเฉียบพลันโดยคงขนาดของยาลดกรดยูริกในเลือดเท่าเดิมไม่ควรหยุด

หรือปรับขนาดยาลดกรดยูริกในเลือดในขณะที่ยังมีข้ออักเสบอยู่เนื่องจากจะท�าให้ข้ออักเสบ

หายได้ช้า(4,C)การให้ยาลดระดับกรดยูริกในเลือดควรเริ่มในขนาดต�่าก่อนแล้วค่อยๆปรับ

ขนาดยาเพิ่มขึ้นทุก1-4สัปดาห์ตามผลตอบสนองของระดับกรดยูริกในเลือดและผลข้างเคียงที่

เกิดขึ้น74

ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก (Uricostatic agent)

Allopurinol

Allopurinolเป็นยาที่มีcost-effectivenessสูงในการรักษาโรคเกาต์เร้ือรัง65(1b,A)

การรักษาจะเริ่มในขนาดต�่าก่อนคือ50–100มิลลิกรัมต่อวันแล้วปรับเพ่ิมขึ้นคร้ังละ

50–100มิลลิกรัมต่อวันทุก1–4สัปดาห์74จนสามารถควบคุมระดับกรดยูริกในเลือดได้ตาม

เป้าหมายขนาดยาสูงสุดที่ใช้คือ900มิลลิกรัมต่อวัน75-76เนื่องจากยามีactivemetabolite

ซึ่งมีระยะครึ่งชีวิต(halflife)ยาวดังนั้นจึงสามารถให้ยาวันละครั้งได้ยาชนิดนี้ถูกขับออกทาง

ไตดังนั้นในผู้ป่วยไตวายจึงควรปรับลดขนาดยาลงตามระดับการท�างานของไต77,78(ภาคผนวก

ที่6)8แต่ถ้าระดบักรดยรูกิในเลอืดยงัไม่ถงึเป้าหมายกอ็าจพจิารณาปรบัเพิม่ขนาดยาสงูกว่าระดบั

ที่แนะน�าไว้ได้แต่ควรเพิ่มครั้งละน้อยๆอย่างช้าๆพร้อมกับติดตามผลข้างเคียงของยาอย่าง

ใกล้ชิด78(3,C)หรือหากการท�างานของไตยังบกพร่องไม่มากโดยcreatinineclearance

(CCr)มากกว่า20มิลลิลิตรต่อนาทีก็อาจพิจารณาให้ยาที่ออกฤทธิ์เร่งการขับกรดยูริกทางไต

(uricosuricagents)เช่นbenzbromaroneร่วมกันก็ได้21,72

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 15

Page 16: Guideline for management of gout 2555

ผลข้างเคียงของยาได้แก่ผื่น(พบร้อยละ2)คลื่นไส้ท้องร่วงปวดศีรษะและกลุ่มอาการ

ภูมิคุ้มกันไวเกิน(allopurinolhypersensitivitysyndrome)ซ่ึงพบร้อยละ0.3โดยมีลักษณะ

ส�าคัญทางคลินิกคือไข้ผื่นแพ้ยาอย่างรุนแรง(Steven-Johnsonsyndrome,exfoliative

dermatitis,toxicepidermalnecrolysis)ตับอักเสบอย่างรุนแรงเม็ดเลือดขาวอีโอซิโนฟิล

เพิ่มขึ้น(eosinophilia)และการท�างานของไตบกพร่อง78การแพ้ยาชนิดนี้พบบ่อยในผู้ป่วย

ที่มีการท�างานของไตบกพร่อง77ผู ้ป่วยที่ใช้ยาแอมพิซิลิน(ampicillin)หรือยาขับปัสสาวะ

(thiazide)ร่วมด้วยในกรณีที่แพ้ยาอาจพิจารณาเปลี่ยนไปใช้ยาเร่งการขับกรดยูริกทางไต

(uricosuricagent)ก่อนหากใช้ไม่ได้ผลและเป็นกรณีแพ้ยาชนิดไม่รุนแรงควรส่งต่อให้

อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่มพิจารณาการท�าallopurinoldesensitization(ภาคผนวก

ที่7)9ต่อไปการใช้ยา6-mercaptopurineหรือazathioprineร่วมกับยาallopurinolจะท�า

ให้ระดับยา6-mercaptopurineหรือazathioprineในเลือดสูงข้ึนจึงควรลดขนาดยา6-

mercaptopurineหรือazathioprineลงเหลือร้อยละ30-50และติดตามจ�านวนเม็ดเลือด

ขาวในเลือดอย่างใกล้ชิด79การใช้ยาwarfarinร่วมกับallopurinolจะท�าให้ฤทธิ์ของwarfarin

มากขึ้นจึงต้องปรับลดขนาดยาwarfarinลงและติดตามค่าinternationalnormalizedratio

(INR)อย่างใกล้ชิด

กลุ่มยาเร่งการขับกรดยูริกทางไต (Uricosuric agents)

ยากลุ่มนี้จะพิจารณาในผู้ป่วยที่มีปริมาณกรดยูริกในปัสสาวะน้อยกว่า800มิลลิกรัมต่อ

วัน;ผู้ป่วยที่มีข้อห้ามในการใช้ยาหรือมีประวัติแพ้ยาallopurinol;หรือใช้ร่วมกับallopurinol

ในกรณีที่ใช้ยาallopurinolในขนาดเต็มที่แล้วยังไม่ได้ตามเป้าหมาย(SORB)อย่างไรก็ตามทั้ง

probenecidและsulfinpyrazoneต่างก็มีประสิทธิภาพในการลดระดับกรดยูริกในเลือดด้อย

กว่าallopurinol75(2a,B)

เนื่องจากยากลุ่มนี้เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดนิ่วกรดยูริกในทางเดินปัสสาวะได้(SoRB)จึง

ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีปริมาณกรดยูริกในปัสสาวะมากกว่า1000มิลลิกรัมต่อวัน(SoRB)รวมทั้ง

ควรหลีกเลี่ยงในผู ้ป่วยที่มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะอยู่หรือเคยมีประวัติอดีตเป็นนิ่วในทางเดิน

ปัสสาวะหากไม่มีข้อห้ามควรแนะน�าให้ดื่มน�้าวันละมากกว่า2ลิตรหรือเปลี่ยนสภาวะความ

เป็นกรดของปัสสาวะให้เป็นด่าง(alkalinization;urinepH6.5-7)โดยให้potassium

citrate80หรือpotassiumbicarbonate81หรือsodamint81-82

16 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 17: Guideline for management of gout 2555

Sulfinpyrazone

เป็นอนุพันธ์ของยาphenylbutazoneมีประสิทธิภาพในการลดระดับกรดยูริกในเลือด

และมีฤทธิ์ในการต้านการจับกลุ ่มของเกร็ดเลือด(anti-plateletaggregation)ยาชนิดนี้

สามารถลดการก�าเริบของข้ออักเสบและลดขนาดโทฟัสได้แต่ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีการท�างาน

ของไตบกพร่อง83-86โดยไม่แนะน�าให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีค่าCCrน้อยกว่า60มิลลิลิตรต่อนาทีขนาด

ที่ใช้ในการรักษาคือ200-800มิลลิกรัมต่อวันแบ่งให้วันละ2คร้ังโดยเร่ิมด้วยขนาด50

มิลลิกรัมวันละ2ครั้ง(SoRB)ผลข้างเคียงของยาได้แก่กระเพาะอาหารอักเสบเลือดออกใน

ทางเดินอาหารยับยั้งการท�างานของเกร็ดเลือดมีน�้าคั่งในร่างกายและสมรรถภาพการท�างาน

ของไตลดลง84ผลข้างเคียงที่พบได้น้อยได้แก่กดไขกระดูกและตับอักเสบมีปฏิกิริยากับยา

หลายชนิดเช่นsulfonamide,sulfonylurea,warfarin,และaspirinโดยแอสไพรินจะยับยั้ง

การขับกรดยูริกของยาsulfinpyrazone

Probenecid

เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงในการลดระดับกรดยูริกในเลือดแต่ด้อยกว่าsulfinpyrazone

(SoRB)มีประสิทธิภาพในการรักษาเฉพาะผู้ป่วยที่มีสมรรถภาพการท�างานไตปกติขนาดที่ใช้

ในการรักษา87คือ500-3000มิลลิกรัมต่อวันแบ่งให้วันละ2ครั้ง โดยเริ่มยาด้วยขนาด

250มิลลิกรัมวันละ2ครั้ง88ผลข้างเคียงได้แก่กระเพาะอาหารอักเสบกรดไหลย้อนไข้

ผื่นคันและนิ่วในทางเดินปัสสาวะยาprobenecidมีปฏิกิริยากับยาหลายชนิด เช ่น

methotrexate,ketorolac,furosemide,sulfonylurea,penicillin,ampicillin,nafcillin,

rifampicin, indomethacin,dapsone,heparin(โดยลดขบวนการเมตาบอลิซั่มของยา

heparin),aspirin(โดยยับยั้งการขับกรดยูริกของยาprobenecid)

Benzbromarone

เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงในการลดกรดยูริกในเลือดโดยมีประสิทธิภาพเทียบเท่า

allopurinol21,89-91(1b,A)และสูงกว่าprobenecid91(1b,A)นอกจากนี้ยังสามารถใช้ได้

ในผู้ป่วยที่มีสมรรถภาพการท�างานไตบกพร่องเล็กน้อยจนถึงปานกลาง21(CCrมากกว่าหรือ

เท่ากับ20มิลลิลิตรต่อนาที)88 รวมทั้งผู ้ป่วยเปลี่ยนถ่ายไต92ขนาดที่ใช้รักษาคือ25–200

มิลลิกรัมต่อวันวันละครั้ง93ผลข้างเคียงได้แก่ท้องเสียไม่รุนแรงแต่ผลข้างเคียงที่ส�าคัญคือ

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 17

Page 18: Guideline for management of gout 2555

hepaticnecrosisแม้จะพบเพียง1ใน17000รายแต่ก็เป็นสาเหตุที่ท�าให้ผู้ป่วยเสียชีวิต94-96

ดังนั้นจึงควรติดตามค่าการท�างานของตับอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะในช่วง6เดือนแรกหลังจากที่

ได้รับยาชนิดนี้นอกจากนี้ยังเสริมฤทธิ์ของwarfarinให้มากข้ึนจึงต้องปรับลดขนาดwarfarin

ลงรวมทั้งติดตามค่าINRอย่างใกล้ชิด97หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกับtroglitazoneเน่ืองจากอาจ

ส่งเสริมให้เกิดตับอักเสบอย่างรุนแรง98

ยาอื่นๆ

มีการศึกษาว่ายาที่ใช้รักษาโรคอื่นๆบางชนิดมีฤทธิ์ช่วยลดระดับกรดยูริกในเลือดลงได้(ภาค

ผนวกที่8)10เช่นยาlosartan34,99ซึง่เป็นยาลดความดนัโลหติ(2b,B)และfenofibrate32-33,100

ซึ่งเป็นยาลดไขมันในเลือด(1b,A)ต่างก็มีฤทธิ์เร่งการขับกรดยูริกทางไตได้จึงอาจพิจารณายา

เหล่านี้ในผู้ป่วยโรคเกาต์ที่มีความดันโลหิตสูงหรือไขมันในเลือดสูงร่วมด้วย

การให้ยาลดกรดยูริกมากกว่าหนึ่งชนิดร่วมกัน

ในกรณีที่ใช้ยาลดกรดยูริกในเลือดชนิดหน่ึงอยู่แล้วแต่ยังไม่สามารถลดกรดยูริกในเลือดลง

มาจนถึงระดับเป้าหมายอาจพิจารณายาลดกรดยูริกในเลือดอีกชนิดหนึ่งที่มีกลไกการออกฤทธิ์

แตกต่างกันมาใช้ร่วมกันเช่นใช้ยาallopurinolร่วมกับยาชนิดใดชนิดหนึ่งในกลุ่มเร่งการ

ขับกรดยูริกทางไตเป็นต้นโดยมีระดับหลักฐานการศึกษาซึ่งใช้allopurinolควบคู่กับยาเร่งการ

ขับกรดยูริกดังต่อไปนี้probenecid101 (2b,B),benzbromarone72,102 (2b,B)และ

sulfinpyrazone103(3,B)

การปองกันการก�าเริบซ�้า

ผู้ป่วยโรคเกาต์ซึ่งได้รับการรักษาด้วยยาลดกรดยูริกในระยะแรกอาจมีข้ออักเสบก�าเริบ

บ่อยขึ้น47,104-105จึงควรพิจารณาให้ยาcolchicine0.6–1.2มิลลิกรัมต่อวันร่วมกับยาลดกรด

ยูริกในเลือดเพื่อป้องกันการก�าเริบซ�้าและควรให้ยาcolchicineไปจนกระทั่งไม่มีข้ออักเสบเป็น

ระยะเวลานานอย่างน้อย6เดอืน106-108(1b,A)ในผูป่้วยทีม่ไีตบกพร่องควรปรบัลดยาcolchicine

ตามสมรรถภาพการท�างานของไต(ภาคผนวกที่9) 11ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถทนผลข้างเคียงของ

colchicineได้อาจพิจารณาเลือกใช้NSAIDsหรือcoxibหรือสเตียรอยด์ในขนาดต�่าแทนถ้าไม่

มีข้อห้ามใช้109(4,D)

18 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 19: Guideline for management of gout 2555

การติดตามระดับกรดยูริกในเลือด

ในระหว่างปรับขนาดยาลดกรดยูริกในเลือดนอกจากจะประเมินผลการรักษาจากอาการ

ทางคลินิกแล้วควรตรวจระดับกรดยูริกในเลือดทุก1-4สัปดาห์110จนกว่าระดับกรดยูริกในเลือด

จะลดลงได้ตามเป้าหมายหลังจากนั้นอาจประเมินห่างออกเป็นทุก3-6เดือนรวมทั้งติดตามค่า

การท�างานของไตและตับเป็นระยะๆ111(4,D)

การหยุดการรักษา

แนวทางเวชปฏิบัติส่วนใหญ่แนะน�าให้รับประทานยาลดระดับกรดยูริกในเลือดตลอด

ชีวิต12,112แต่อาจพิจารณาลดหรือหยุดยาในผู ้ป่วยที่มีระดับกรดยูริกในเลือดลดลงได้ตาม

เป้าหมายโดยที่ไม่มีโทฟัสและไม่เกิดข้ออักเสบขึ้นอีกเลยเป็นเวลานานหลายปีแต่ถ้าเกิดการ

ก�าเริบข้ออักเสบเฉียบพลันหรือเริ่มเกิดโทฟัสขึ้นอีกก็สามารถกลับมาเริ่มยาลดกรดยูริกในเลือด

ใหม่ได้111,113

การส่งปรึกษาอายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่ม

ควรพิจารณาส่งผู้ป่วยเพื่อปรึกษาอายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซ่ัมเม่ือไม่แน่ใจในการ

วินิจฉัยโรคว่าเป็นโรคเกาต์หรือไม่;ไม่สามารถควบคุมการอักเสบของข้อได้;ไม่สามารถควบคุม

ระดับกรดยูริกในเลือดได้ตามเป้าหมาย;มีภาวะหรือโรคร่วมที่เป็นอุปสรรคต่อการรักษา;หรือเกิด

ผลข้างเคียงหรือแพ้ยาลดกรดยูริกในเลือดอย่างรุนแรง

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 19

Page 20: Guideline for management of gout 2555

เอกสารอ้างอิง

1.WallaceKL,RiedelAA, Joseph-RidgeN,WortmannR. Increasing

prevalenceofgoutandhyperuricemiaover10yearsamongolderadultsina

managedcarepopulation.JRheumatol2004;31:1582-7.

2.LawrenceRC,HelmickCG,ArnettFC,etal.Estimatesoftheprevalence

ofarthritisandselectedmusculoskeletaldisordersintheUnitedStates.Arthritis

Rheum1998;41:778-99.

3.MikulsTR,FarrarJT,BilkerWB,FernandesS,SchumacherHR,Jr.,Saag

KG.Goutepidemiology:resultsfromtheUKGeneralPracticeResearchDatabase,

1990-1999.AnnRheumDis2005;64:267-72.

4.KrishnanE,BakerJF,FurstDE,SchumacherHR.Goutandtheriskof

acutemyocardialinfarction.ArthritisRheum2006;54:2688-96.

5.ChoiHK,FordES.Prevalenceofthemetabolicsyndromeinindividuals

withhyperuricemia.AmJMed2007;120:442-7.

6.ChoiHK,DeVeraMA,KrishnanE.Goutandtheriskoftype2diabetes

amongmenwithahighcardiovascularriskprofile.Rheumatology(Oxford)

2008;47:1567-70.

7.TerkeltaubRA.PathogenesisandTreatmentofCrystal-inducedInflam-

mation.In:WilliamJ.KoopmanLWM,ed.Arthritis&AlliedConditions.15thed:

LippincottWilliams&Wilkins;2005:2257-372.

8.Perez-RuizF,LioteF.Loweringserumuricacidlevels:what isthe

optimaltargetforimprovingclinicaloutcomesingout?ArthritisRheum2007;57:

1324-8.

9.MichaelA.BeckerMJ.Clinicalgoutandthepathogenesisofhyperuri-

cemia.In:williamJ.KoopmanLWM,ed.ArthritisandAlliedcondition15thed.

Philadelphia:LippincortWilliamandWilkins;2005.

10. JordanKM,CameronJS,SnaithM,etal.BritishSocietyforRheumatology

andBritishHealthProfessionalsinRheumatologyguidelineforthemanagement

ofgout.Rheumatology(Oxford)2007;46:1372-4.

20 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 21: Guideline for management of gout 2555

11. YuTF,GutmanAB.Principlesofcurrentmanagementofprimarygout.

AmJMedSci1967;254:893-907

12. WoitmannRL.GoutandHyperuricemia.In:GaryS.FiresteinRCB,Edward

D.HarrisJr.,IainB.Mclnnes,ShaunRuddy,JohnS.Sergented.Kelly’sTextbook

ofRheumatology8thed.Canada:Saunderscompany;2008.

13. ChoiHK.Aprescriptionforlifestylechangeinpatientswithhyperuricemia

andgout.CurrOpinRheumatol2010;22:165-72.

14. TerkeltaubR.Themanagementofgoutandhyperuricemia.In:MarcC.

HochbergAJS,JosefS.Smolen,MichaelE.Weinblatt,MichaelH.Weisman,ed.

Rheumatology.5thed.Philadelphia:Elsevier;2010.

15. ZhangW,DohertyM,BardinT,etal.EULARevidencebasedrecom-

mendationsforgout.PartII:Management.ReportofataskforceoftheEULAR

StandingCommitteeforInternationalClinicalStudiesIncludingTherapeutics

(ESCISIT).AnnRheumDis2006;65:1312-24.

16. O’SullivanJB.GoutinaNewEnglandtown.Aprevalencestudyin

Sudbury,Massachusetts.AnnRheumDis1972;31:166-9.

17. MalikA,SchumacherHR,DinnellaJE,ClayburneGM.Clinicaldiagnostic

criteriaforgout:comparisonwiththegoldstandardofsynovialfluidcrystal

analysis.JClinRheumatol2009;15:22-4.

18. Pelaez-BallestasI,HernandezCuevasC,Burgos-VargasR,etal.Diagnosis

ofchronicgout:evaluatingtheamericancollegeofrheumatologyproposal,

Europeanleagueagainstrheumatismrecommendations,andclinicaljudgment.

JRheumatol2010;37:1743-8.

19. YuTF.Theeffectofallopurinolinprimaryandsecondarygout.Arthritis

Rheum1965;8:905-6.

20. McCarthyGM,BarthelemyCR,VeumJA,WortmannRL.Influenceof

antihyperuricemictherapyontheclinicalandradiographicprogressionof

gout.ArthritisRheum1991;34:1489-94.

21. Perez-RuizF,CalabozoM,Fernandez-LopezMJ,etal.Treatmentof

chronicgoutinpatientswithrenalfunctionimpairment:anopen,randomized,

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 21

Page 22: Guideline for management of gout 2555

activelycontrolledstudy.JClinRheumatol1999;5:49-55.

22. ChoiHK,AtkinsonK,KarlsonEW,WillettW,CurhanG.Purine-richfoods,

dairyandproteinintake,andtheriskofgoutinmen.NEnglJMed2004;350:

1093-103.

23. KullichW,UlreichA,KleinG.[Changesinuricacidandbloodlipids

inpatientswithasymptomatichyperuricemiatreatedwithdiettherapyina

rehabilitationprocedure].Rehabilitation(Stuttg)1989;28:134-7.

24. ChoiHK,CurhanG.Softdrinks,fructoseconsumption,andtheriskof

goutinmen:prospectivecohortstudy.BMJ2008;336:309-12.

25. ChoiHK,AtkinsonK,KarlsonEW,WillettW,CurhanG.Alcoholintake

andriskofincidentgoutinmen:aprospectivestudy.Lancet2004;363:1277-81.

26. ChoiHK,LiuS,CurhanG.Intakeofpurine-richfoods,protein,anddairy

productsandrelationshiptoserumlevelsofuricacid:theThirdNationalHealth

andNutritionExaminationSurvey.ArthritisRheum2005;52:283-9.

27. GarrelDR,VerdyM,PetitClercC,MartinC,BruleD,HametP.Milk-and

soy-proteiningestion:acuteeffectonserumuricacidconcentration.AmJClin

Nutr1991;53:665-9.

28. GaoX,CurhanG,FormanJP,AscherioA,ChoiHK.VitaminCintakeand

serumuricacidconcentrationinmen.JRheumatol2008;35:1853-8.

29. ChoiHK,GaoX,CurhanG.VitaminCintakeandtheriskofgoutinmen:

aprospectivestudy.ArchInternMed2009;169:502-7.

30. HuangHY,AppelLJ,ChoiMJ,etal.TheeffectsofvitaminCsupple-

mentationonserumconcentrationsofuricacid:resultsofarandomizedcontrolled

trial.ArthritisRheum2005;52:1843-7.

31. BaxmannAC,DeOGMC,HeilbergIP.EffectofvitaminCsupplements

onurinaryoxalateandpHincalciumstone-formingpatients.KidneyInt2003;63:

1066-71.

32. FeherMD,HepburnAL,HogarthMB,BallSG,KayeSA.Fenofibrate

enhancesuratereductioninmentreatedwithallopurinolforhyperuricaemia

andgout.Rheumatology(Oxford)2003;42:321-5.

22 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 23: Guideline for management of gout 2555

33. BastowMD,DurringtonPN, IsholaM.Hypertriglyceridemiaand

hyperuricemia:effectsoftwofibricacidderivatives(bezafibrateandfenofibrate)

inadouble-blind,placebo-controlledtrial.Metabolism1988;37:217-20.

34. TakahashiS,MoriwakiY,YamamotoT,TsutsumiZ,KaT,FukuchiM.

Effectsofcombinationtreatmentusinganti-hyperuricaemicagentswith

fenofibrateand/orlosartanonuricacidmetabolism.AnnRheumDis2003;62:

572-5.

35. LyuLC,HsuCY,YehCY,LeeMS,HuangSH,ChenCL.Acase-control

studyoftheassociationofdietandobesitywithgoutinTaiwan.AmJClinNutr

2003;78:690-701.

36. KuoCF,SeeLC,LuoSF,etal.Gout:anindependentriskfactorforall-

causeandcardiovascularmortality.Rheumatology(Oxford)2010;49:141-6.

37. FeigDI,KangDH,JohnsonRJ.Uricacidandcardiovascularrisk.NEnglJ

Med2008;359:1811-21.

38. NichollsA,YablonskyH,ScottJT.Effectofweightreductiononlevels

ofuricacidinplasmaandurine.AnnRheumDis1973;32:280-1.

39. DesseinPH,ShiptonEA,StanwixAE,JoffeBI,RamokgadiJ.Beneficial

effectsofweightlossassociatedwithmoderatecalorie/carbohydraterestriction,

andincreasedproportionalintakeofproteinandunsaturatedfatonserumurate

andlipoproteinlevelsingout:apilotstudy.AnnRheumDis2000;59:539-43.

40. MaclachlanMJ,RodnanGP.Effectoffood,fastandalcoholonserum

uricacidandacuteattacksofgout.AmJMed1967;42:38-57.

41. PuigJG,MateosF,BunoA,OrtegaR,RodriguezF,Dal-ReR.Effectof

eprosartanandlosartanonuricacidmetabolisminpatientswithessential

hypertension.JHypertens1999;17:1033-9.

42. KnochelJP,DotinLN,HamburgerRJ.Heatstress,exercise,andmuscle

injury:effectsonuratemetabolismandrenalfunction.AnnInternMed1974;81:

321-8.

43. BoscoJS,GreenleafJE,KayeRL,AverkinEG.Reductionofserumuric

acidinyoungmenduringphysicaltraining.AmJCardiol1970;25:46-52.

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 23

Page 24: Guideline for management of gout 2555

44. SchlesingerN.Responsetoapplicationoficemayhelpdifferentiate

betweengoutyarthritisandotherinflammatoryarthritides.JClinRheumatol

2006;12:275-6.

45. SchlesingerN,DetryMA,HollandBK,etal.Localicetherapyduring

boutsofacutegoutyarthritis.JRheumatol2002;29:331-4.

46. AhernMJ,ReidC,GordonTP,McCredieM,BrooksPM,JonesM.Does

colchicinework?Theresultsofthefirstcontrolledstudyinacutegout.Aust

NZJMed1987;17:301-4.

47. RundlesRW,MetzEN,SilbermanHR.Allopurinol inthetreatment

ofgout.AnnInternMed1966;64:229-58.

48. AltmanRD,HonigS,LevinJM,LightfootRW.Ketoprofenversus

indomethacin inpatientswithacutegoutyarthritis:amulticenter,double

blindcomparativestudy.JRheumatol1988;15:1422-6.

49. ShresthaM,MorganDL,MoredenJM,SinghR,NelsonM,HayesJE.

Randomizeddouble-blindcomparisonoftheanalgesicefficacyofintramuscular

ketorolacandoral indomethacin inthetreatmentofacutegoutyarthritis.

AnnEmergMed1995;26:682-6.

50. KochM,DeziA,FerrarioF,CapursoI.Preventionofnonsteroidalanti-

inflammatorydrug-inducedgastrointestinalmucosal injury.Ameta-analysis

ofrandomizedcontrolledclinicaltrials.ArchInternMed1996;156:2321-32.

51. RostomA,DubeC,WellsG,etal.PreventionofNSAID-inducedgastro-

duodenalulcers.CochraneDatabaseSystRev2002:CD002296.

52. BresalierRS,SandlerRS,QuanH,etal.Cardiovasculareventsassociated

withrofecoxibinacolorectaladenomachemopreventiontrial.NEnglJMed

2005;352:1092-102.

53. AldingtonS,ShirtcliffeP,WeatherallM,BeasleyR.Systematicreviewand

metaanalysisoftheriskofmajorcardiovasculareventswithetoricoxibtherapy.

NewZealandMedicalJournal2005;118:U1684.

54. TerkeltaubRA,FurstDE,BennettK,KookKA,CrockettRS,DavisMW.

Highversuslowdosingoforalcolchicineforearlyacutegoutflare:Twenty-

24 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 25: Guideline for management of gout 2555

four-houroutcomeofthefirstmulticenter,randomized,double-blind,placebo-

controlled,parallel-group,dose-comparisoncolchicinestudy.ArthritisRheum;

62:1060-8.

55. MorrisI,VarugheseG,MattinglyP.Colchicineinacutegout.BMJ2003;

327:1275-6.

56. TerkeltaubRA,FurstDE,BennettK,KookKA,CrockettRS,DavisMW.

Highversuslowdosingoforalcolchicineforearlyacutegoutflare:Twenty-

four-houroutcomeofthefirstmulticenter,randomized,double-blind,placebo-

controlled,parallel-group,dose-comparisoncolchicine study.Arthritis

Rheum2010;62:1060-8.

57. KunclRW,DuncanG,WatsonD,AldersonK,RogawskiMA,PeperM.

Colchicinemyopathyandneuropathy.NEnglJMed1987;316:1562-8.

58. WallaceSL,SingerJZ,DuncanGJ,WigleyFM,KunclRW.Renalfunction

predictscolchicinetoxicity:guidelinesfortheprophylacticuseofcolchicine

ingout.JRheumatol1991;18:264-9.

59. McKinnellJ,TayekJA.Shorttermtreatmentwithclarithromycinresulting

incolchicine-inducedrhabdomyolysis.JClinRheumatol2009;15:303-5.

60. CaracoY,PuttermanC,RahamimovR,Ben-ChetritE.Acutecolchicine

intoxication--possible roleoferythromycinadministration. JRheumatol

1992;19:494-6.

61. GroffGD,FranckWA,RaddatzDA.Systemicsteroidtherapyforacute

gout:aclinicaltrialandreviewoftheliterature.SeminArthritisRheum1990;19:

329-36.

62. AllowayJA,MoriartyMJ,HooglandYT,NashelDJ.Comparisonoftriam-

cinoloneacetonidewithindomethacininthetreatmentofacutegoutyarthritis.

JRheumatol1993;20:111-3.

63. JanssensHJ,JanssenM,vandeLisdonkEH,vanRielPL,vanWeelC.

Useoforalprednisoloneornaproxenforthetreatmentofgoutarthritis:a

double-blind,randomisedequivalencetrial.Lancet2008;371:1854-60.

64. FernandezC,NogueraR,GonzalezJA,PascualE.Treatmentofacute

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 25

Page 26: Guideline for management of gout 2555

attacksofgoutwithasmalldoseof intraarticulartriamcinoloneacetonide.

JRheumatol1999;26:2285-6.

65. FerrazMB,O’BrienB.Acosteffectivenessanalysisofuratelowering

drugsinnontophaceousrecurrentgoutyarthritis.JRheumatol1995;22:908-14.

66. GutmanAB,YuTF.Protracteduricosurictherapyintophaceousgout.

Lancet1957;273:1258-60.

67. YuT,GutmanAB.Uricacidnephrolithiasisingout.Predisposingfactors.

AnnInternMed1967;67:1133-48.

68. BrestAN,HeiderC,MehbodH,OnestiG.Drugcontrolofdiuretic-in-

ducedhyperuricemia.JAMA1966;195:42-4.

69. NicoteroJA,ScheibET,MartinezR,RodnanGP,ShapiroAP.Prevention

ofhyperuricemiabyallopurinolinhypertensivepatientstreatedwithchlorothia-

zide.NEnglJMed1970;282:133-5.

70. ShojiA,YamanakaH,KamataniN.A retrospectivestudyof the

relationshipbetweenserumurate leveland recurrentattacksofgouty

arthritis:evidenceforreductionofrecurrentgoutyarthritiswithantihyperuricemic

therapy.ArthritisRheum2004;51:321-5.

71. SarawateCA,PatelPA,SchumacherHR,YangW,BrewerKK,BakstAW.

Serumuratelevelsandgoutflares:analysisfrommanagedcaredata.JClin

Rheumatol2006;12:61-5.

72. Perez-RuizF,CalabozoM,PijoanJI,Herrero-BeitesAM,RuibalA.Effectof

urate-loweringtherapyonthevelocityofsizereductionoftophiinchronicgout.

ArthritisRheum2002;47:356-60.

73. SchumacherHR.Crystal-inducedarthritis:anoverview.AmJMed1996;

100:46S-52S.

74. YamanakaH,TogashiR,HakodaM,etal.Optimalrangeofserumurate

concentrationstominimizeriskofgoutyattacksduringanti-hyperuricemic

treatment.AdvExpMedBiol1998;431:13-8.

75. ScottJT,HallAP,GrahameR.Allopurinolintreatmentofgout.BrMed

J1966;2:321-7.

26 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 27: Guideline for management of gout 2555

76. RodnanGP,RobinJA,TolchinSF.Efficacyofsingledailydoseallopurinol

ingoutyhyperuricemia.AdvExpMedBiol1974;41:571-5.

77. HandeKR,NooneRM,StoneWJ.Severeallopurinoltoxicity.Description

andguidelinesforpreventioninpatientswithrenalinsufficiency.AmJMed

1984;76:47-56.

78. Vazquez-MelladoJ,MoralesEM,Pacheco-TenaC,Burgos-VargasR.

Relationbetweenadverseeventsassociatedwithallopurinolandrenalfunction

inpatientswithgout.AnnRheumDis2001;60:981-3.

79. CumminsD,SekarM,HalilO,BannerN.Myelosuppressionassociated

withazathioprine-allopurinolinteractionafterheartandlungtransplantation.

Transplantation1996;61:1661-2.

80. PakCY,SakhaeeK,FullerC.Successfulmanagementofuricacid

nephrolithiasiswithpotassiumcitrate.KidneyInt1986;30:422-8.

81. TrinchieriA,EspositoN,CastelnuovoC.Dissolutionofradiolucentrenal

stonesbyoralalkalinizationwithpotassiumcitrate/potassiumbicarbonate.

ArchItalUrolAndrol2009;81:188-91.

82. AtsmonA,DeVriesA,LazebnikJ,SalingerH.Dissolutionofrenaluric

acidstonesbyoralalkalinizationandlargefluidintakeinapatientsuffering

fromgout.AmJMed1959;27:167-71.

83. BoelaertJ,LijnenP,RobbensE,etal.Impairmentofrenalfunctiondue

tosulphinpyrazoneaftercoronaryarterybypasssurgery:aprospectivedouble-

blindstudy.JCardiovascPharmacol1986;8:386-91.

84. WallsM,GoralS,StoneW.Acuterenalfailureduetosulfinpyrazone.

AmJMedSci1998;315:319-21.

85. FlorkowskiCM,ChingGW,FernerRE.Acutenon-oliguricrenalfailure

secondarytosulphinpyrazoneoverdose.JClinPharmTher1992;17:71.

86. BoelaertJ,SchurgersM,DaneelsR,LijnenP,AmeryA.Sulfinpyrazone:

riskforrenalinsufficiency.ArchInternMed1984;144:648-9.

87. BartelsEC,MatossianGS.Gout:six-yearfollow-uponprobenecid

(benemid)therapy.ArthritisRheum1959;2:193-202.

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 27

Page 28: Guideline for management of gout 2555

88. HahnPC,EdwardsNL.ManagementofHyperuricemia.In:Koopman

WJ,MorelandLW,eds.Arthritis&AlliedConditions.Fifteenthed:Lippincott

Williams&Wilkins;2005:2341-55.

89. HanvivadhanakulP,AkkasilpaS,DeesomchokU.Efficacyofbenzbro-

maronecomparedtoallopurinolinloweringserumuricacidlevelinhyperuricemic

patients.JMedAssocThai2002;85Suppl1:S40-7.

90. ReindersMK,HaagsmaC,JansenTL,etal.Arandomisedcontrolled

trialontheefficacyandtolerabilitywithdoseescalationofallopurinol

300-600mg/dayversusbenzbromarone100-200mg/dayinpatientswithgout.

AnnRheumDis2009;68:892-7.

91. ReindersMK,vanRoonEN,JansenTL,etal.Efficacyandtolerability

ofurate-loweringdrugsingout:arandomisedcontrolledtrialofbenzbromarone

versusprobenecidafterfailureofallopurinol.AnnRheumDis2009;68:51-6.

92. ZurcherRM,BockHA,ThielG.Excellenturicosuricefficacyofbenzbro-

maroneincyclosporin-A-treatedrenaltransplantpatients:aprospectivestudy.

NephrolDialTransplant1994;9:548-51.

93. Perez-RuizF,Alonso-RuizA,CalabozoM,Herrero-BeitesA,Garcia-

ErauskinG,Ruiz-LuceaE.Efficacyofallopurinolandbenzbromaroneforthe

controlofhyperuricaemia.Apathogenicapproachtothetreatmentofprimary

chronicgout.AnnRheumDis1998;57:545-9.

94. AraiM,YokosukaO,FujiwaraK,etal.Fulminanthepatic failure

associatedwithbenzbromaronetreatment:acasereport.JGastroenterol

Hepatol2002;17:625-6.

95. WagayamaH,ShirakiK,SugimotoK,etal.Fatalfulminanthepaticfailure

associatedwithbenzbromarone.JHepatol2000;32:874.

96. KaufmannP,TorokM,HanniA,RobertsP,GasserR,KrahenbuhlS.

Mechanismsofbenzaroneandbenzbromarone-inducedhepatic toxicity.

Hepatology2005;41:925-35.

97. TakahashiH,SatoT,ShimoyamaY,etal.Potentiationofanticoagulant

effectofwarfarincausedbyenantioselectivemetabolic inhibitionbythe

28 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 29: Guideline for management of gout 2555

uricosuricagentbenzbromarone.ClinPharmacolTher1999;66:569-81.

98. KunishimaC,InoueI,OikawaT,NakajimaH,KomodaT,KatayamaS.

ActivatingEffectofBenzbromarone,aUricosuricDrug,onPeroxisomeProliferator-

ActivatedReceptors.PPARResearch2007:5pages.

99. KamperAL,NielsenAH.Uricosuriceffectoflosartaninpatientswith

renaltransplants.Transplantation2001;72:671-4.

100. ElisafM,TsimichodimosV,BairaktariE,SiamopoulosKC.Effectof

micronizedfenofibrateandlosartancombinationonuricacidmetabolismin

hypertensivepatientswithhyperuricemia.JCardiovascPharmacol1999;34:60-3.

101. ReindersMK,vanRoonEN,HoutmanPM,BrouwersJR,JansenTL.

Biochemicaleffectivenessofallopurinolandallopurinol-probenecidinpreviously

benzbromarone-treatedgoutpatients.ClinRheumatol2007;26:1459-65.

102. MatzkiesF.[Longlastingnormalizationofuricacidaftercombination

therapywith300mgallopurinoland60mgbenzbromaroneinpatientswith

goutandhyperuricemia].MedKlin(Munich)1992;87:460-2.

103. KuzellWC,SeebachLM,GloverRP,JackmanAE.Treatmentofgoutwith

allopurinolandsulphinpyrazoneincombinationandwithallopurinolalone.Ann

RheumDis1966;25:634-42.

104. DelbarreF,AmorB,AuscherC,deGeryA.Treatmentofgoutwith

allopurinol.Astudyof106cases.AnnRheumDis1966;25:627-33.

105. BeckerMA,SchumacherHR,Jr.,WortmannRL,etal.Febuxostat

comparedwithallopurinolinpatientswithhyperuricemiaandgout.NEnglJ

Med2005;353:2450-61.

106. HollingworthP,ReardonJA,ScottJT.Acutegoutduringhypouricaemic

therapy:prophylaxiswithcolchicine.AnnRheumDis1980;39:529.

107. BorstadGC,BryantLR,AbelMP,ScroggieDA,HarrisMD,AllowayJA.

Colchicineforprophylaxisofacuteflareswheninitiatingallopurinolforchronic

goutyarthritis.JRheumatol2004;31:2429-32.

108. PaulusHE,SchlossteinLH,GodfreyRG,KlinenbergJR,BluestoneR.

Prophylacticcolchicinetherapyofintercriticalgout.Aplacebo-controlledstudy

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 29

Page 30: Guideline for management of gout 2555

ofprobenecid-treatedpatients.ArthritisRheum1974;17:609-14.

109. KotTV,DayRO,BrooksPM.Preventingacutegoutwhenstarting

allopurinoltherapy.ColchicineorNSAIDs?MedJAust1993;159:182-4.

110. KlinenbergJR,GoldfingerSE,SeegmillerJE.TheEffectivenessofthe

XanthineOxidaseInhibitorAllopurinolintheTreatmentofGout.AnnInternMed

1965;62:639-47.

111. Perez-RuizF,AtxotegiJ,HernandoI,CalabozoM,NollaJM.Usingserum

uratelevelstodeterminetheperiodfreeofgoutysymptomsafterwithdrawal

oflong-termurate-loweringtherapy:aprospectivestudy.ArthritisRheum2006;

55:786-90.

112. vanLieshout-ZuidemaMF,BreedveldFC.Withdrawaloflongterm

antihyperuricemictherapyintophaceousgout.JRheumatol1993;20:1383-5.

113. GastLF.Withdrawalof longtermantihyperuricemic therapy in

tophaceousgout.ClinRheumatol1987;6:70-3.

114.FamAG,DunneSM,IazzettaJ,PatonTW.Efficacyandsafetyof

desensitizationtoallopurinolfollowingcutaneousreactions.ArthritisRheum

2001;44:231-8.

30 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 31: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 1

การแบ่งระดับ¢องหลัก°านการศÖกษา (levels of evidence)และ¢Œอแนะน�า (grading of recommendations)

ระดับของหลักฐานการศึกษา (Levels of Evidence, LoE)

1a หลักฐานจาก meta-analysis ของการศึกษาที่เปน randomized controlled trials

(RCT)

1b หลักฐานจากการศึกษาที่เปน RCT อยางนอย 1 ฉบับ

2a หลักฐานจากการศึกษาที่เปน well-designed controlled study ซึ่ง

ไมมีrandomization อยางนอย 1 ฉบับ

2b หลักฐานจาก well-designed quasi-experimental study ชนิดอื่นๆอยางนอย 1

ฉบับ

3 หลักฐานจาก well-designed non-experimental descriptive studies

เชนcomparative studies, correlation studies and case control studies เปนตน

4 หลักฐานจากรายงานหรือความเห็นของคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญ และ / หรือ

ประสบการณทางคลินิกจากผูเชี่ยวชาญที่ไดรับการเชื่อถือ

ลําดับของขอแนะนํา (Grading of Recommendations, SoR)

A หลักฐานประเภทที่ 1

B หลักฐานประเภทที่ 2 หรือหลักฐานที่นอกเหนือจากประเภทที่ 1

C หลักฐานประเภทที่ 3 หรือหลักฐานที่นอกเหนือจากประเภทที่ 1 หรือ 2

D หลักฐานประเภทที่ 4 หรือหลักฐานที่นอกเหนือจากประเภทที่ 2 หรือ 3

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 31

Page 32: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 2

แ¼น¼ังแสดงแนวทางปฏิบัติภาวะกรดยูริกในเลือดสูง

32 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 33: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 3

สาเหตุ¢องภาวะกรดยูริกในเลือดสูง

มีการสรางสารพูรีนเพิ่มขึ้น มีการสลายกรดนิวคลีอิกเพิ่มขึ้น มีการขับกรดยูริกลดลง

• มีการเพิ่มขึ้นของเอ็นซัยม

phosphoribosyl pyrophos-

phate synthetase

• ขาดเอ็นซัยม hypoxanthine

guanine phosphoribosyl trans-

ferase

• ขาดเอ็นซัยม G-6-phosphatase

• ยาหรือสารบางชนิด เชน war-

farin, nicotinic acid, fructose

เปนตน

• โรคเลือด myeloproliferative

disease, polycythemia vera,

hemoglobinopathy, hemolytic

anemia, pernicious anemia

• โรคมะเร็ง multiple myeloma,

leukemia, lymphoma, sar-

coma

• ภาวะขาดออกซิเจนในเลือด

• โรคผิวหนังสะเก็ดเงิน (psoria-

sis)

• Sarcoidosis

• สุรา, fructose, และ cytotoxic

agent

• ภาวะขาดนํ้า

• ภาวะเลือดเปนกรด

• โรคความดันโลหิตสูง

• ภาวะไตวาย, polycystic kid-

ney, lead nephropathy

• Pre-eclampsia, eclampsia

• โรคทางตอมไรทอหรือเมตา

บอลิซั่มเชน hyperparathyroid-

ism, hypothyroidism, โรคเบา

หวาน, ภาวะไขมันในเลือดสูง

• สุราหรือยาบางชนิด เชน ยา

ขับปสสาวะ, แอสไพรินขนาด

ตํ่า (นอยกวา 2 กรัมตอวัน),

pyrazinamide, ethambutol, cy-

closporine, levodopa, nicotinic

acid เปนตน

• โรคอื่นๆ เชน Paget’s disease,

cystinuria เปนตน

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 33

Page 34: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 46

แ¼น¼ังแสดงแนวทางปฏิบัติการรักษา¢Œออักเสบเ©Õยบพลันในโรคเกาต์

34 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 35: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 57

แนวทางปฏิบัติการรักษาโรคเกาต์ในระยะยาว

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 35

Page 36: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 68

¢นาดยา allopurinol ใน¼ูŒป†วยโรคเกาต์ทÕ่มÕการท�างาน¢องไตบกพร่อง (´ั´á»Å§¨า¡ Hande KR.)77

คา creatinine clearance (มิลลิลิตรตอนาที) ขนาดยา

0 100 มิลลิกรัม ทุก 3 วัน

10 100 มิลลิกรัมทุก 2 วัน

20 100 มิลลิกรัมตอวัน

40 150 มิลลิกรัมตอวัน

60 200 มิลลิกรัมตอวัน

80 250 มิลลิกรัมตอวัน

100 300 มิลลิกรัมตอวัน

120 350 มิลลิกรัมตอวัน

140 400 มิลลิกรัมตอวัน

36 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 37: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 7 9

ตารางการท�า allopurinol desensitization114

วันที่ ขนาดยาตอวัน ปริมาณสารละลาย หรือจํานวนเม็ดยา

1-3 50 ไมโครกรัม 0.25 มิลลิลิตร ของสารละลาย

4-6 100 ไมโครกรัม 0.5 มิลลิลิตร ของสารละลาย

7-9 200 ไมโครกรัม 1 มิลลิลิตร ของสารละลาย

10-12 500 ไมโครกรัม 2.5 มิลลิลิตร ของสารละลาย

13-15 1 มิลลิกรัม 5 มิลลิลิตร ของสารละลาย

16-18 5 มิลลิกรัม 25 มิลลิลิตร ของสารละลาย

19-21 10 มิลลิกรัม 50 มิลลิลิตร ของสารละลาย

22-24 25 มิลลิกรัม 125 มิลลิลิตร ของสารละลาย

25-27 50 มิลลิกรัม 0.5 เม็ดของขนาดเม็ดยา 100 มิลลิกรัม

ตั้งแต่วันที่ 28 100 มิลลิกรัม 1 เม็ด ของขนาดเม็ดยา 100 มิลลิกรัม

วิธีการเตรียมสารละลายยา: นํายา allopurinol ขนาด 100 มิลลิกรัม จํานวน 2 เม็ด มาละลายนํ้า 100 มิลลิลิตร

จากนั้นนําสารละลาย 10 มิลลิลิตร มาผสมนํ้าใหเปน 100 มิลลิลิตร จะทําใหไดสารละลายยา allopurinol ที่มี

ความเขมขน 200 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร หรือ 1 มิลลิกรัมตอ5 มิลลิลิตร

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 37

Page 38: Guideline for management of gout 2555

ภาค¼นวกทÕ่ 8 10

ยาทÕ่มÕคุณสมบัติเร่งการ¢ับกรดยูริกออกทางไต

Acetoheximide Citrate Meclofenamic acid

Ascorbic acid Dicumarol Orotic acid

Amlodipine Diflunisal Phenolsulfonphthalein

Atorvastatin Estrogens Probenecid

Azapropazone Fenofibrates Phenylbutazone

Benzbromarone Glyceryl guaiacolate Salicylates (5gm/24hrs)

Calcitonin Glycine Sulfinpyrazone

Calcium ipodate Losartan

ภาค¼นวกทÕ่ 9 11

¢นาดยา colchicine เพื่อป‡องกัน¢Œออักเสบก�าเริบซ�éาใน¼ูŒป†วยโรคเกาต์ทÕ่มÕการท�างาน¢องไตบกพร่อง (ดัดแปลงจาก Terkeltaub RA.)

7

คา creatinine clearance (มิลลิลิตรตอนาที) ขนาดยา

> 50 0.6 มก. วันละ 2 ครั้ง

35-49 0.6 มก. วันละ 1 ครั้ง

10-34 0.6 มก. ทุก 2-3 วัน

< 10 ไมควรใชยา colchicine

หมายเหตุ: ผูปวยที่มีอายุมากกวา 70 ป ควรพิจารณาลดขนาดยา colchicine ลงรอยละ 50 จากขนาดที่แนะนําไว

38 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์

Page 39: Guideline for management of gout 2555

สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย

คณะกรรมการอ�านวยการ วาระปี พ.ศ. 2553-2555

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ 39

นายกสมาคมฯ แพทย์หญิงไพจิตต์ อัศวธนบดี

นายกรับเลือก นายแพทย์กิตติ โตเต็มโชคชัยการ

อุปนายกบริหาร แพทย์หญิงรัตนวดี ณนคร

ผู้ช่วยอุปนายกบริหาร แพทย์หญิงจีรภัทร วงศ์ชินศรี

อุปนายกวิชาการ แพทย์หญิงอัจฉรา กุลวิสุทธิ์

ผู้ช่วยอุปนายกวิชาการฝายแพทย์ นายแพทย์พงศ์ธร ณรงค์ฤกษ์นาวิน

ผู้ช่วยอุปนายกวิชาการฝายประชาชน นายแพทย์สูงชัย อังธารารักษ์

และสารสนเทศ

เลขาธิการ แพทย์หญิงทัศนีย์ กิตอ�านวยพงษ์

เหรัญญิก นายแพทย์พุทธิรัต ลิ่วเฉลิมวงศ์

กรรมการกลาง แพทย์หญิงมนาธิป โอศิริ

แพทย์หญิงเอมวลี อารมย์ดี

นายแพทย์สิทธิชัย อุกฤษฏชน

แพทย์หญิงนันทนา กสิตานนท์

แพทย์หญิงบุญจริง ศิริไพฑูรย์

Page 40: Guideline for management of gout 2555

ทÕ่ปรÖกษา วาระปี พ.ศ. 2553-2555

รศ.น.พ.มงคล วัฒนสุข

ศ.กิตติคุณน.พ.อุทิศ ดีสมโชค

รศ.พ.ญ.เล็ก ปริวิสุทธิ์

น.พ.สุรวุฒิ ปรีชานนท์

น.พ.อุดม วิศิษฏสุนทร

พลตรีรศ.พ.ญ.พรฑิตา ชัยอ�านวย

รศ.น.พ.ฐิตเวทย์ ตุมราศวิน

ศ.คลินิกน.พ.สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ์

ผศ.พ.ญ.กนกรัตน์ นันทิรุจ

ศ.พ.ญ.สุชีลา จันทร์วิทยานุชิต

ศ.น.พ.วรวิทย์ เลาห์เรณู

รศ.(พิเศษ)น.พ.สมชาย เอื้อรัตนวงศ์

40 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์