Gp 05 บทที่ 5...

28

Transcript of Gp 05 บทที่ 5...

Page 1: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Page 2: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

สอนโดย อาจารย ์ ดร . ว ิน ัย ผลเจร ิญ

โลกาภิว ัตน ์ก ับการเมอืง

ว ิทยาลยัการเม ืองการปกครองมหาว ิทยาล ัยมหาสารคาม

บทที่ 5 โลกาภิว ัตน ์ก ับชาติและชาติน ิยม

2

Page 3: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ ความสัมพนัธ์ระหว่างชาตินิยม รัฐชาติ

และการเมืองโลก ตามมมุมองมาตรฐานทั่วไป ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีรัฐอธิปไตยซึง่มีเขตแดนชัดเจนเกิดขึ้นใน

ยโุรป (ระบบเวสต์ฟาเลีย) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาตินิยม

เกิดขึ้นและต่อมาขยายไปทั่วยุโรป รัฐ- ชาติขยายตัว ความสมัพันธ์ระหว่าง

ประเทศจึงเปน็ความสัมพนัธ์ระหว่างรัฐ-ชาติต่างๆ

ต่อมา โลกาภิวัตน์ได้เขา้มาทำาลาย ระเบยีบทางการเมอืง คือบอ่นทำาลาย

อำานาจอธปิไตยเหนือดินแดนของรัฐ-ชาติ

GP บท

ที่ 5

3

Page 4: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ “ ” นิยาม ชาตินิยม ของ John Breuilly

(ผู้เขียนเนือ้หาบทนี้) ชาตินิยม (Nationalism) คอืแนวคดิที่

เห็นว่าโลกนั้นถูกแบง่ออกเป็นชาติต่างๆซึ่งทำาให้มีการเน้นความสำาคญัของอัต

ลักษณ์และความภักดีทางการเมอืง ซึง่ในทางกลับกันมันก็เรียกร้องต้องการการกำาหนดตนเองของชาติ

GP บท

ที่ 5

4

Page 5: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ นักชาตินิยมมองชาติแตกต่างกัน คนกลุ่มเดียวกันอาจถูกอ้างโดยนักชาตินิยมที่

ต่อสูข้ัดแยง้กัน เช่นนักชาตินิยมตุรกีอา้งว่าชาวเคิร์ดในตุรกีเปน็ชาวตุรกี

แต่นักชาตินิยมชาวเคริ์ดปฏิเสธคำากล่าวอ้างข้างต้น

(เปรียบเทียบคนไทย/ ความเปน็ไทย VS คนลาว/ความเป็นลาวในอดีต)

( เปรียบเทียบชาวไทยมุสลิม VS ชาวมลายมูุสลิม)

GP บท

ที่ 5

5

Page 6: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ ชาตินิยม ในฐานะที่เป็น

อุดมการณ์ (Ideology) คือเป็นโลกทัศน์/มุมมองทางการเมือง

อารมณ์ความรู้สกึ (Sentiments) คือเป็นการก่อรูปอัตลักษณ์ของประชาชน

การเมือง (Politics) คอืเป็นขบวนการที่เคลื่อนไหวเพื่อสร้างรัฐ-ชาติ

GP บท

ที่ 5

6

Page 7: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะชาตินิยมในฐานะที่เป็นอุดมการณ์

ชาตินิยมพลเมือง (Civic Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้าง

ความผูกพันกับรัฐ การเป็นสมาชิกของ รัฐเปน็ปัจจัยกำาหนดสญัชาติ เช่นที่เห็น

ได้ในผู้อพยพหลากหลายชาติพันธุใ์น สหรัฐอเมริกา (เทียบ: คนทุกชาติพนัธุ์ที่

เป็นพลเมืองไทยคือคนไทย) ชาตินิยมชาติพันธุ์ (Ethnic Nationalism) เป็นอุดมการณ์ที่สร้างความผูกพันกับกลุ่มชาติพนัธุเ์ฉพาะ

กลุ่ม ชาติมาก่อนรัฐ เช่นที่เห็นในการก่อตัวของรัฐ- ชาติในยโุรป (เทียบ: คน

“ ” ไทย เชื้อชาติไทย คอืคนไทย)

GP บท

ที่ 5

7

Page 8: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะชาตินิยมในฐานะที่เป็นอารมณ์ความรู้สกึ

ชาตินิยมชนชั้นนำา (Elite Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติ

แบบชนชั้นนำา มีคนรู้สกึร่วมน้อย ชาตินิยมมวลชน (Mass Nationalism) เป็นความรู้สึกรักชาติที่

ขยายออกไปถึงระดับมวลชน มีคนรู้สกึร่วมมาก

GP บท

ที่ 5

8

Page 9: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะชาตินิยมในฐานะที่เป็นการเมอืง

ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐเข้มแข็ง (State-Strengthening Nationalism) เป็น

ขบวนการผู้รักชาติที่ยอมรับรัฐที่มีอยู่ พยายามสร้างความเข้มแข็งให้รัฐ ทั้ง

ภายในด้วยการทำาชาติให้บริสทุธิ์และ ปฏิรูปการปกครอง และภายนอกด้วย

การอ้างซำ้าเรื่องเขตแดนและอำานาจที่ขยายออกไป

ชาตินิยมที่ทำาให้รัฐอ่อนแอ (State-Subverting Nationalism) เปน็ขบวนการผู้รักชาติที่ต้องการสร้างรัฐ

ใหม่ ด้วยการแยกออกจากรัฐเดิม หรือ ด้วยการรวมรัฐเล็กๆ เข้าด้วยกัน

GP บท

ที่ 5

9

Page 10: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ “ ” นิยาม ชาติ ของ Benedict

Anderson“ชาติคือชมุชนจินตกรรมการเมือง-และ

จินตกรรมขึ้นโดย มทีั้งอธปิไตยและมีขอบเขตจำากัดตั้งแต่กำาเนิด... ชาติถูก จินตกรรมขึ้นก็เพราะว่าสมาชิกของ

ชาติที่แม้จะเล็กที่สุด ก็ตาม แม้จะไม่เคยรู้จักเพือ่นสมาชิกร่วมชาติทั้งหมด

ของ ตน ไม่เคยพบเห็นพวกเขาเหล่า นั้นทั้งหมด หรือไม่เคยแม้กระทั่งได้ยิน

ชื่อเสียงเรียงนามพวกเขาเหล่านั้น ก็ตาม กระนั้นในจิตใจของแต่ละคนก็มี

”ภาพพจน์ของความเป็นชุมชนร่วม

GP บท

ที่ 5

10

Page 11: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ “ ” นิยาม ชาติ ของ Benedict

Anderson (ต่อ)“ชาติถูกจินตกรรมขึน้อย่างมีขอบเขต

จำากัด เพราะว่าแม้กระทั่งชาติที่ใหญ่โต ที่สุด ทีถึ่งแมจ้ะมีประชาชนพลเมืองเป็น

พันล้านคน ก็มเีขตแดนจำากัด สดุ เขตแดนก็ยงัมีชาติอื่นๆ อยู่ด้วย ไม่มี

ชาติใดที่จะจินตกรรมตนเองได้ว่ามี”เขตแดนครอบคลุมมนุษยชาติทั้งหมด

GP บท

ที่ 5

11

Page 12: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ “ ” นิยาม ชาติ ของ Benedict

Anderson (ต่อ)“ ชาติถูกจินตกรรมขึน้ให้มอีธปิไตย ก็เพราะความคิดเก่ียวกับชาติเกิดขึ้นมาในยคุสมยัแห่งภูมิธรรมและการปฏิวัติที่กำาลังบ่อนทำาลายความชอบธรรมของ

อาณาจักร และราชวงศ์ทีป่กครองกันมา ลดหลั่นเป็นแนวตั้งด้วย เทว

”โองการ

GP บท

ที่ 5

12

Page 13: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ “ ” นิยาม ชาติ ของ Benedict

Anderson (ต่อ)“ ท้ายที่สุด ชาติถูกจินตกรรมขึ้นเปน็

ชุมชน ก็เพราะชาติถูกทำาให้โดนใจว่าเป็นภราดรภาพอันลึกซึ้งและเป็นแนว

ระนาบ แม้ว่าจะมีความไม่เสมอภาค มีการกดขี่ขูดรีดดำารงอยู่ในแต่ละชาตินั้น

ก็ตาม ในที่สุดแล้ว ตลอดสองร้อยปีที่ ผ่านมา ภราดรภาพอันนี้แหละที่ทำาให้

เป็นไปได้ที่ผู้คนเปน็จำานวนมาหลายล้านคนเต็มใจที่จะยอมตายเพื่อจินต

”กรรมอันมีขอบเขตจำากัดนี้

GP บท

ที่ 5

13

Page 14: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะ ในการพิจารณาเรื่องชาติและชาตินิยม มีประเด็นพิจารณาดังนี้ชาติเกิดก่อน/ เปน็สาเหตุของชาตินิยมหรือว่าชาติเกิดหลัง/เปน็ผลลัพธ์ของชาตินิยม

ชาติเกิดขึ้นในยคุสมัยใหม่หรือว่าเกิดขึ้นก่อนยคุสมัยใหม่

อะไรเปน็ปจัจัยสำาคญัที่สดุต่อการเกิด ขึ้นของชาติ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ หรือ

การเมือง ปจัจัยภายใน (เช่นวัฒนธรรมร่วม) และ

ปัจจัยภายนอก (เช่นภัยคกุคามหรือการสนับจากมหาอำานาจ) มีความสมัพันธ์กันอยา่งไรในการก่อตัวของชาตินิยม

GP บท

ที่ 5

14

Page 15: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะพฒันาการของรัฐ- ชาติ (จำานวนของรัฐ- ชาตจิากอดีตถงึปจัจุบนั ปีค.ศ./จำานวนรัฐ-ชาติ/ชื่อรัฐ-ชาต)ิ1500/2/อังกฤษและฝรั่งเศส1800/6/อังกฤษ, ฝรั่งเศส, ฮอลแลนด์, สหรัฐอเมริกา, สเปนและโปรตเุกส

1900/30/มีเบลเยียม, เยอรมนี, อิตาล,ี เซอร์เบีย, โรมาเนีย, กรีซ, บราซิล, อาร์เจนตนิา, ญี่ปุน่ และ

แคนาดา ด้วย)

GP บท

ที่ 5

15

Page 16: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

อาร ัมภบท: มโนทัศน ์และว ิวาทะพฒันาการของรัฐ- ชาติ (ตอ่)

1923 สนันิบาตชาตมีิสมาชิก 45 ประเทศ

1945 มี 51 ประเทศร่วมก่อตั้งสหประชาชาติ

1950 สหประชาชาตมีิสมาชกิ 60 ประเทศ

1960 สหประชาชาตมีิสมาชกิ 99 ประเทศ

1970 สหประชาชาตมีิสมาชกิ 127 ประเทศ

2012 สหประชาชาตมีิสมาชกิ 193 ประเทศ

GP บท

ที่ 5

16

Page 17: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

ความขัดแย้งระหวา่งองักฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815

อำานาจระดับโลกอังกฤษและฝรั่งเศสแข่งขันกนัโดย

ใชก้ำาลงัทัง้ทางบกและทางทะเล สร้างสงครามตวัแทนขึ้นใน 3

ภูมิภาค คือยุโรป อินเดีย และ อเมริกาเหนือ แข่งกันควบคุมการ

คา้โลกและสนิคา้มวลชนคอืฝ้าย ยาสบู และนำ้าตาล

GP บท

ที่ 5

17

Page 18: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

ความขัดแย้งระหวา่งองักฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815

ความขัดแย้งระดับโลกและชาตนิยิม ในอังกฤษและฝรั่งเศส มีเสยีงเรียกร้องให้ยกเลกิอภิสทิธ์ิและให้รัฐบาล

รับผิดชอบต่อชาติ ชาตขิองพลเมืองตัง้อยู่บนผลประโยชน์ของ

ชนชัน้กลางทีข่ยายตัวออกไปความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศสทำาใหป้ระชาชนมองเหน็

ศตัรูชดัเจนขึ้น ความขัดแย้งใน ฝรั่งเศสรุนแรงกว่า นำาไปสูก่าร

ปฏิวัติ

GP บท

ที่ 5

18

Page 19: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

ความขัดแย้งระหวา่งองักฤษและ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1750-1815

ชาตินยิม การก่อตวัของรัฐ- ชาติ และ IR

ในอังกฤษและฝรั่งเศส ชาตนิยิม เป็นขบวนการ (การเมือง) สำาคัญ

แต่ทีอ่ื่นสว่นมากชาตนิยิมยังเปน็ เพียงแนวคิดทางวิชาการ เกดิการ

ปฏิวัตอิเมริกาใหเ้ป็นอิสระจากการ ควบคมุของอังกฤษ การพ่ายแพ้

ของนโปเลยีนทำาให้องักฤษเปน็เจ้าโลก

GP บท

ที่ 5

19

Page 20: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914อำานาจระดับโลก

อังกฤษเป็นมหาอำานาจทางทะเลผูกคา่เงินสกลุหลกัเข้ากับราคาของ

ทองคำา เร่งพฒันาอุตสาหกรรมมากขึ้นซ่ึงตามมาด้วยการเปลีย่นแปลง

ด้านการสือ่สาร (โทรเลข) และ การขนสง่ ( พลงัไอนำ้า เชน่เรือกล

ไฟ)

GP บท

ที่ 5

20

Page 21: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914ความขัดแย้งระดับโลกและชาตนิยิม

นักชาตนิิยมในอังกฤษและฝรั่งเศสละเลยชนชาติทีไ่ม่สำาคญัทาง

ประวัตศิาสตร์ (เชน่ชาวโรมาเนียและชาวสลาฟ) ยืนยันวา่พวกเขาตอ้งหลอมรวมกลนืกลายเข้ากับ

“ ” ชาตทิีเ่ป็น วัฒนธรรมระดับสูงทำาให้เกดิขบวนการชาตนิิยมที่เป็น

ปฏิกิริยาตอบโต้ ซ่ึงเน้นความ สำาคญัของวัฒนธรรมท้องถิ่น

ศาสนาของประชาชน และภาษาพดูของตน

GP บท

ที่ 5

21

Page 22: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914 ชาตินยิม การก่อตวัของรัฐ- ชาติ

และ IRความสำาเร็จของชาตนิยิมทีท่ำาให้

รัฐเข้มแข็ง ชาตนิยิมชนชั้นนำา และ ชาตนิยิมพลเมือง เชือ่มโยงกบั

สงครามทีมี่การใชเ้ทคโนโลยีและ การจัดองค์กรสมัยใหม่ แนวคิด

เสรีนิยมถูกเพกิเฉยเพราะชนชั้นนำา ตอ้งการสร้างรัฐ พฒันาเศรษฐกจิ

และขยายอำานาจแบบจักรวรรดิ IR เป็นเรื่องของการแข่งขันด้านอาวธุ

GP บท

ที่ 5

22

Page 23: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

Pax Britannica ค.ศ. 1815-1914นัยสำาคัญทีมี่ตอ่การเมืองโลก

ความขัดแย้งทางการเมืองทีข่ยาย ตวัทั่วโลกเป็นแบบชาตนิิยม

จักรวรรดิพยายามควบคุมส่วนอืน่ๆ ของโลก แตข่บวนการชาตนิิยมที่

เป็นปฏิปักษ์กับจักรวรรดิปฏิเสธ อำานาจของจักรวรรดิ ความขัดแย้ง

ขยายตวัจนกลายเปน็สงครามโลก

GP บท

ที่ 5

23

Page 24: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945อำานาจระดับโลก

ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา ขยายทั่วโลก ในปี 1917

สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้าควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมากขึ้น

สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก กว่าเดิม และรัฐก็เขา้ควบคุม

แทรกแซงประชากรและเศรษฐกิจเข้มข้นกว่าเดิม

เกิดวิกฤตเศรษฐกิจขยายทั่วโลก

GP บท

ที่ 5

24

Page 25: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945อำานาจระดับโลก

ช่วงแรกสงครามอยู่ในยุโรปแต่ต่อมา ขยายทั่วโลก ในปี 1917

สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม รัฐเข้าควบคุมประชากรและเศรษฐกิจมากขึ้น

สงครามโลกครั้งที่ 2 ขยายทั่วโลก กว่าเดิม และรัฐก็เขา้ควบคุม

แทรกแซงประชากรและเศรษฐกิจเข้มข้นกว่าเดิม

เกิดวิกฤตเศรษฐกิจขยายทั่วโลก

GP บท

ที่ 5

25

Page 26: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติินิ ิยม ริัฐ-ชาติิ และการเมิืองโลกในประวิัติ ิศาสตริ์

ยคุสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945ความขัดแยง้ระดับโลกและชาตินิยม

หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการนำาเอา หลักการกำาหนดตัวเองไปใช้ แต่ละรัฐ

ปกครองในนามของชาติที่ครอบงำาซึ่งระแวงชนกลุ่มน้อย

เกิดชาตินิยมที่สุดโต่งแบบ Fascism และ Nazism

ในโลกอาณานิคม การใช้กำาลังทหารและเน้นพัฒนาเศรษฐกิจทำาให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบขูดรีดมากขึ้น

ขบวนการชาตินิยมเกิดขึ้น ทั้งแนวเสรีนิยมและสงัคมนิยม

GP บท

ที่ 5

26

Page 27: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945 ชาตนิิยม การกอ่ตวัของรัฐชาติ และIRชาตนิิยมไม่ใชป่จัจัยเดียวที่ทำาให้

เกิดรัฐชาติขึ้น ทีส่ำาคญักว่าคอืการที่สงครามได้ทำาลายรัฐทีมี่หลายชาติลง

สนันิบาตชาตไิม่ประสบผลสำาเร็จIR มีความขัดแย้งทางอดุมการณ์มากขึ้น

GP บท

ที่ 5

27

Page 28: Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม

ชาติน ิยม ร ัฐ- ชาติ และการเม ืองโลกในประว ัตศิาสตร ์

ยุคสงครามโลก ค.ศ. 1914-1945นัยสำาคญัที่มีต่อการเมืองโลก

สงครามโลกเรียกร้องต้องการให้มี ยทุธศาสตร์การเมืองระดับโลก และ

สงครามโลกก็บ่อนทำาลายอำานาจอธิปไตยของรัฐ

โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจเฟือ่งฟขูึ้นมาอีก

เสรีประชาธิปไตยถูกคุกคามจาก มี ปฏิกิริยาตอบโตกับ ปอ้งกันตัวจาก และ

เผชิญกับคอมมิวนิสต์และฟาสซิสต์

GP บท

ที่ 5

28