Education core 2551

212
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช พุทธศักราช พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

Transcript of Education core 2551

Page 1: Education core 2551

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช พุทธศักราช พุทธศักราช ๒๕๕๑๒๕๕๑๒๕๕๑

กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: Education core 2551

สารบัญหนา

คํานํา....................................................................................................................................คําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรื่อง ใหใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ความนํา.............................................................................................................................. ๑วิสัยทัศน ............................................................................................................................. ๓หลักการ............................................................................................................................... ๓จุดหมาย............................................................................................................................... ๓สมรรถนะสําคัญของผูเรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค............................................... ๔ สมรรถนะสําคัญของผูเรียน..................................................................................... คุณลักษณะอันพึงประสงค......................................................................................

๔๕

มาตรฐานการเรียนรู............................................................................................................. ๕ตัวชี้วัด................................................................................................................................. ๖สาระการเรียนรู................................................................................................................... ๗สาระและมาตรฐานการเรียนรู............................................................................................. ๙กิจกรรมพัฒนาผูเรียน.......................................................................................................... ๑๖ระดับการศึกษา.................................................................................................................... ๑๗การจัดเวลาเรียน................................................................................................................... ๑๗โครงสรางเวลาเรียน............................................................................................................. ๑๘การจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ...................................................................... ๑๙การจัดการเรียนรู.................................................................................................................. ๒๐สื่อการเรียนรู....................................................................................................................... ๒๒การวัดและประเมินผลการเรียนรู......................................................................................... ๒๓ เกณฑการวัดและประเมินผลการเรียน........................................................................... ๒๔ เอกสารหลักฐานการศึกษา ........................................................................................... ๒๘ การเทียบโอนผลการเรียน............................................................................................. ๒๘การบริหารจัดการหลักสูตร................................................................................................. ๒๙มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด......................................................................................... ๓๐

- ภาษาไทย............................................................................................................ ๓๑- คณิตศาสตร........................................................................................................ ๔๗- วิทยาศาสตร....................................................................................................... ๗๕- สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม.................................................................... ๑๑๔

Page 3: Education core 2551

- สุขศึกษาและพลศึกษา........................................................................................ ๑๔๖- ศิลปะ.................................................................................................................. ๑๖๔- การงานอาชีพและเทคโนโลยี............................................................................. ๑๘๐- ภาษาตางประเทศ................................................................................................ ๑๙๐

เอกสารอางอิง...................................................................................................................... ๒๐๙

Page 4: Education core 2551

ความนํากระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ใหเปน

หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พรอมกันนี้ไดปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรใหมีความสอดคลองกับเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุงเนนการกระจายอํานาจทางการศึกษาใหทองถิ่นและสถานศึกษาไดมีบทบาทและมีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อใหสอดคลองกับสภาพ และ ความตองการของทองถิ่น (สํานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒)

จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใชหลักสูตรในชวงระยะ ๖ ปที่ผานมา (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สํานักผูตรวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล วองวาณิช และ นงลักษณ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบวา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เชน ชวยสงเสริมการกระจายอํานาจทางการศึกษาทําใหทองถิ่นและสถานศึกษามีสวนรวมและมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลอง กับความตองการของทองถิ่น และมีแนวคิดและหลักการในการสงเสริมการพัฒนาผูเรียนแบบองครวมอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกลาวยังไดสะทอนใหเห็นถึงประเด็นที่เปนปญหาและความไมชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในสวนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนําหลักสูตร สูการปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใชหลักสูตร ไดแก ปญหาความสับสนของผูปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาสวนใหญกําหนดสาระและผลการเรียนรู ที่คาดหวังไวมาก ทําใหเกิดปญหาหลักสูตรแนน การวัดและประเมินผลไมสะทอนมาตรฐาน สงผลตอปญหาการจัดทําเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมทั้งปญหาคุณภาพ ของผูเรียนในดานความรู ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงคอันยังไมเปนที่นาพอใจ

นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ไดชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการปรับเปลี่ยนจุดเนนในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให มีคุณธรรม และมีความรอบรูอยางเทาทัน ใหมีความพรอมทั้งดานรางกาย สติปญญา อารมณ และศีลธรรม สามารถกาวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนําไปสูสังคมฐานความรูไดอยางมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกลาวมุงเตรียมเด็กและเยาวชนใหมีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พรอมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรูพื้นฐานที่จําเปนในการดํารงชีวิต อันจะสงผลตอการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ , ๒๕๔๙) ซึ่ งแนวทางดังกลาวสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขาสูโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุงสงเสริมผูเรียนมีคุณธรรม รักความเปนไทย ใหมีทักษะการคิดวิเคราะห สรางสรรค มีทักษะดานเทคโนโลยี สามารถ

Page 5: Education core 2551

ทํางานรวมกับผูอื่น และสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมโลกไดอยางสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ , ๒๕๕๑)

จากขอคนพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒ ๕ ๔ ๔ ที่ ผ า น ม า ป ร ะ ก อ บ กั บ ข อ มู ล จ า ก แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห ง ช า ติ ฉบับที่ ๑๐ เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการใน การพัฒนาเยาวชนสูศตวรรษที่ ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพื่อนําไปสูการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเปาหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยไดมีการกําหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใชเปนทิศทางในการจัดทําหลักสูตร การเรียนการสอนในแตละระดับ นอกจากนั้นไดกําหนดโครงสรางเวลาเรียนขั้นต่ําของแตละกลุมสาระการเรียนรูในแตละชั้นปไวในหลักสูตรแกนกลาง และเปดโอกาสใหสถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนไดตามความพรอมและจุดเนน อีกทั้งไดปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผูเรียน เกณฑการจบการศึกษาแตละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และมีความชัดเจนตอการนําไปปฏิบัติ

เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ จัดทําขึ้นสําหรับทองถิ่นและสถานศึกษาไดนําไปใชเปนกรอบและทิศทางในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมีคุณภาพดานความรู และทักษะที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กําหนดไวในเอกสารนี้ ชวยทําใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ในทุกระดับเห็นผลคาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชวยใหหนวยงานที่เกี่ยวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางมั่นใจ ทําใหการจัดทําหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแตระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้ ง เปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู เรียนทุกกลุมเปาหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝาย ที่เกี่ยวของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทํางานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ในการวางแผน ดําเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสูคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว

Page 6: Education core 2551

วิสัยทัศนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปนกําลังของชาติใหเปน

มนุษยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ

หลักการ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้ ๑. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู เปนเปาหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล

๒. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาค และมีคุณภาพ

๓. เปนหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น

๔. เปนหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและการจัด การเรียนรู

๕. เปนหลักสูตรการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ๖. เปนหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม

ทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ

จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต

๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ

การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

Page 7: Education core 2551

๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข

สมรรถนะสําคัญของผูเรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมี

คุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังนี้

สมรรถนะสําคัญของผูเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ ๕ ประการ ดังนี้๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช

ภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม

๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น

๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม

Page 8: Education core 2551

คุณลักษณะอันพึงประสงคหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อให

สามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้๑. รักชาต ิ ศาสน กษัตริย๒. ซื่อสัตยสุจริต๓. มีวินัย๔. ใฝเรียนรู๕. อยูอยางพอเพียง๖. มุงมั่นในการทํางาน๗. รักความเปนไทย๘. มีจิตสาธารณะนอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคเพิ่มเติมใหสอดคลองตาม

บริบทและจุดเนนของตนเอง

มาตรฐานการเรียนรูการพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกําหนดใหผูเรียนเรียนรู ๘ กลุมสาระการเรียนรู ดังนี้ ๑. ภาษาไทย๒. คณิตศาสตร๓. วิทยาศาสตร ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม๕. สุขศึกษาและพลศึกษา๖. ศิลปะ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี๘. ภาษาตางประเทศในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนา

คุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรู ปฏิบัติได มีคุณธรรมจริยธรรม และคานิยม ที่พึงประสงคเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเปนกลไกสําคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยางไร รวมทั้งเปนเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกลาวเปนสิ่งสําคัญที่ชวยสะทอนภาพการจัดการศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรูกําหนดเพียงใด

Page 9: Education core 2551

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเร ียนพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผู เรียนในแตละระดับชั้น ซึ่ งสะทอนถึ งมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นํ าไปใช ในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑสําคัญสําหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผูเรียน

๑. ตัวชี้วัดชั้นป เปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนแตละชั้นปในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปที่ ๑ – มัธยมศึกษาปที่ ๓)

๒. ตัวชี้วัดชวงชั้น เปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปที่ ๔- ๖)

หลักสูตรไดมีการกําหนดรหัสกํากับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด เพื่อความเขาใจและใหสื่อสารตรงกัน ดังนี้

ว ๑.๑ ป. ๑/๒ป.๑/๒ ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ขอที่ ๒๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานขอที่ ๑ ว กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓ม.๔-๖/๓ ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขอที่ ๓๒.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานขอที่ ๒ต กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ

Page 10: Education core 2551

สาระการเรียนรู

สาระการเรียนรู ประกอบดวย องคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะ อันพึงประสงค ซึ่งกําหนดใหผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเปนตองเรียนรู โดยแบงเปน ๘ กลุมสาระการเรียนรู ดังนี้

องคความรู ทักษะสําคัญและคุณลักษณะ

ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วิทยาศาสตร : การนําความรู

และกระบวนการทางวิทยาศาสตร

ไปใชในการศึกษา คนควาหาความรู

และแกปญหาอยางเปนระบบ การคิด

อยางเปนเหตุเปนผล คิดวิเคราะห

คิดสรางสรรค และจิตวิทยาศาสตร

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข การเปนพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณคาของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ความรักชาติ และภมูิใจในความเปนไทย

ศิลปะ : ความรูและทักษะใน

การคิดริเริ่ม จินตนาการ

สรางสรรคงานศิลปะ

สุนทรียภาพและการเห็น

คุณคาทางศิลปะ

ภาษาไทย : ความรู ทักษะ

และวัฒนธรรมการใชภาษา

เพื่อ การสื่อสาร ความชื่นชม

การเห็นคุณคาภูมิปญญา ไทย และ

ภูมิใจในภาษาประจําชาติ

ภาษาตางประเทศ : ความรู

ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม

การใชภาษาตางประเทศในการ

สื่อสาร การแสวงหาความรู

และการประกอบอาชีพ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ความรู ทักษะ และเจตคติ

ในการทํางาน การจัดการ

การดํารงชีวิต การประกอบอาชพี

และการใชเทคโนโลยี

สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู

ทักษะและเจตคติในการสรางเสรมิ

สุขภาพพลานามัยของตนเองและ

ผูอื่น การปองกันและปฏิบัติตอ

สิ่งตาง ๆ ที่มีผลตอสุขภาพอยาง

ถูกวิธีและทักษะในการดําเนินชวีิต

คณิตศาสตร : การนําความรู

ทักษะและกระบวนการทาง

คณิตศาสตรไปใชใน

การแกปญหา การดําเนินชีวิต

และศึกษาตอ การมีเหตุมีผล

มีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร

พัฒนาการคิดอยางเปนระบบ

และสรางสรรค

Page 11: Education core 2551

คุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. รักชาต ิ ศาสน กษัตริย

๒. ซื่อสัตยสุจริต๓. มีวินัย

๔. ใฝเรียนรู๕. อยูอยางพอเพียง๖. มุงมั่นในการทํางาน

๗. รักความเปนไทย ๘. มีจิตสาธารณะ

สมรรถนะสําคัญของผูเรียน๑. ความสามารถในการสื่อสาร๒. ความสามารถในการคิด๓. ความสามารถในการแกปญหา๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จุดหมาย๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม

หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรูอันเปนสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต

๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน๑.กิจกรรมแนะแนว๒.กิจกรรมนักเรียน๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน

วิสัยทัศนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปนกําลังของชาติใหเปนมนุษยที่มีความ

สมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ

ความสัมพันธของการพัฒนาคุณภาพผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ๘ กลุมสาระการเรียนรู ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร ๓. วิทยาศาสตร ๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาตางประเทศ

คุณภาพของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Page 12: Education core 2551

สาระและมาตรฐานการเรียนรูหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดมาตรฐานการเรียนรูใน ๘ กลุมสาระการเรียนรู

จํานวน ๖๗ มาตรฐาน ดังนี้

ภาษาไทยสาระที่ ๑ การอานมาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา

ในการดําเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอานสาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราว

ในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูดมาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด

ความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรคสาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทยมาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง

ของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรมมาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยาง

เห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

คณิตศาสตรสาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการมาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริงมาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวาง

การดําเนินการตาง ๆ และใชการดําเนินการในการแกปญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหามาตรฐาน ค ๑.๔ เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช สาระที่ ๒ การวัดมาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัดมาตรฐาน ค ๒.๒ แกปญหาเกี่ยวกับการวัด

Page 13: Education core 2551

สาระที่ ๓ เรขาคณิตมาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติมาตรฐาน ค ๓.๒ ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)

และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหาสาระที่ ๔ พีชคณิตมาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชันมาตรฐาน ค ๔.๒ ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร

(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหา

สาระที่ ๕ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนมาตรฐาน ค ๕.๑ เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล มาตรฐาน ค ๕.๒ ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณได

อยางสมเหตุสมผลมาตรฐาน ค ๕.๓ ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและแกปญหา สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรมาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อ

ความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

วิทยาศาสตรสาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิตมาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของ

ระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิ วั ฒ น า ก า ร ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ ก า ร ใ ชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

Page 14: Education core 2551

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอมมาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสารมาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและ

แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๕ พลังงานมาตรฐาน ว ๕.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน

ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและ นําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกมาตรฐาน ว ๖.๑ เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ

ของกระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

Page 15: Education core 2551

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศมาตรฐาน ว ๗.๑ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธภายใน

ระบบสุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๗.๒ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู

การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบ ที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมสาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมมาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ

ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข

มาตรฐาน ส ๑.๒ เข าใ จ ตระ หนัก และ ปฏิ บั ติตน เป นศา ส นิก ชนที่ ดี และ ธํ ารง รัก ษ าพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

สาระที่ ๒ หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคมมาตรฐาน ส ๒.๑ เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และ

ธํารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอยางสันติสุข

มาตรฐาน ส ๒.๒ เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธํารงรักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

Page 16: Education core 2551

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตรมาตรฐาน ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช

ทรัพยากรที่มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ

มาตรฐาน ส ๓.๒ เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และความจําเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตรมาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถ

ใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบมาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและ

การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น

มาตรฐาน ส ๔.๓ เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความเปนไทย

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ตอ

กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

มาตรฐาน ส ๕.๒ เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึก และมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

สุขศึกษาและพลศึกษาสาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยมาตรฐาน พ ๑.๑ เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยสาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัวมาตรฐาน พ ๒.๑ เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนิน

ชีวิตสาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลมาตรฐาน พ ๓.๑ เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬามาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยาง

สม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

Page 17: Education core 2551

สาระที่ ๔ การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรคมาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกัน

โรคและการสรางเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพสาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิตมาตรฐาน พ ๕.๑ ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช

ยาสารเสพติด และความรุนแรงศิลปะ สาระที่ ๑ ทัศนศิลปมาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห

วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

สาระที่ ๒ ดนตรีมาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา

ดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกต ใชในชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศิลปมาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ

คุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา ของนาฏศลิปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

Page 18: Education core 2551

การงานอาชีพและเทคโนโลยีสาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัวมาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะ

การจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึก ในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว

สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยีมาตรฐาน ง ๒.๑ เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของ

เครื่องใช หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมี สวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน

สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาตรฐาน ง ๓.๑ เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระที ่ ๔ การอาชีพมาตรฐาน ง ๔.๑ เข าใจ มีทักษะที่ จํ า เป น มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชี พ

ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพภาษาตางประเทศ สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสารมาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็น

อยางมีเหตุผล

มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็นอยางมีประสิทธิภาพ

มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆ โดยการพูดและการเขียน

สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรมมาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใช

ไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะมาตรฐาน ต ๒.๒ เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของ

ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชอยางถูกตองและเหมาะสม

Page 19: Education core 2551

สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นมาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปน

พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลกมาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคมมาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ

และการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดานเพื่อความเปนมนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน แบงเปน ๓ ลักษณะ ดังนี้๑. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษสิ่งแวดลอม สามารถคิด

ตัดสินใจ คิดแกปญหา กําหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ทั้งยังเปนกิจกรรมที่ชวยเหลือและใหคําปรึกษาแกผูปกครองในการมีสวนรวมพัฒนาผูเรียน

๒. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนําผูตามที่ดี ความรับผิดชอบ

การทํางานรวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปนกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติดวยตนเองในทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะหวางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทํางาน เนนการทํางานรวมกันเปนกลุม ตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียน บริบทของสถานศึกษาและทองถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบดวย

๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร ๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่น

ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม มีจิตสาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนาตาง ๆ กิจกรรมสรางสรรคสังคม

Page 20: Education core 2551

ระดับการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดระดับการศึกษาเปน ๓ ระดับ ดังนี้๑. ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับนี้เปนชวงแรกของการศึกษา

ภาคบังคับ มุง เนนทักษะพื้นฐานดานการอาน การเขียน การคิดคํานวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดตอสื่อสาร กระบวนการเรียนรูทางสังคม และพื้นฐานความเปนมนุษย การพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางสมบูรณและสมดุลทั้งในดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคม และวัฒนธรรม โดยเนน จัดการเรียนรูแบบบูรณาการ

๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ – ๓) เปนชวงสุดทายของการศึกษาภาคบังคับ มุงเนนใหผูเรียนไดสํารวจความถนัดและความสนใจของตนเอง สงเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพสวนตน มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสรางสรรค และคิดแกปญหา มีทักษะในการดําเนินชีวิต มีทักษะการใชเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู มีความรับผิดชอบตอสังคม มีความสมดุลทั้งดานความรู ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนใชเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ

๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ – ๖) การศึกษาระดับน้ีเนนการเพิ่มพูนความรูและทักษะเฉพาะดาน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละคนทั้งดานวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการใชวิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนําความรูไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในการศึกษาตอและการประกอบอาชีพ มุงพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเปนผูนํา และผูใหบริการชุมชนในดานตาง ๆ

การจัดเวลาเรียน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดกําหนดกรอบโครงสรางเวลาเรียนขั้นต่ําสําหรับกลุมสาระการเรียนรู ๘ กลุม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมไดตามความพรอมและจุดเนน โดยสามารถปรับใหเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของผูเรียน ดังนี้

๑. ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖) ใหจัดเวลาเรียนเปนรายป โดยมีเวลาเรียนวันละ ไมเกิน ๕ ชั่วโมง

๒. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ – ๓) ใหจัดเวลาเรียนเปนรายภาค มีเวลาเรียนวันละไมเกิน ๖ ชั่วโมง คิดน้ําหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมงตอภาคเรียน มีคาน้ําหนักวิชา เทากับ ๑ หนวยกิต (นก.)

๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ - ๖) ใหจัดเวลาเรียนเปนรายภาค มีเวลาเรียน วันละไมนอยกวา ๖ ชั่วโมง คิดน้ําหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมง ตอภาคเรียน มีคาน้ําหนักวิชา เทากับ ๑ หนวยกิต (นก.)

Page 21: Education core 2551

โครงสรางเวลาเรียน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดกรอบโครงสรางเวลาเรียน ดังนี้

เวลาเรียน

ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตนระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลายกลุมสาระการเรียนรู/

กิจกรรม

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖

กลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๒๔๐(๖ นก.)

คณิตศาสตร ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๒๔๐(๖ นก.)

วิทยาศาสตร ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๒๔๐(๖ นก.)

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๒๔๐(๖ นก.)

สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐(๒นก.)

๘๐(๒ นก.)

๘๐(๒ นก.)

๑๒๐(๓นก.)

ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐(๒นก.)

๘๐(๒ นก.)

๘๐(๒ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

การงานอาชีพและ เทคโนโลยี

๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐(๒นก.)

๘๐(๒ นก.)

๘๐(๒ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

ภาษาตางประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๑๒๐(๓ นก.)

๒๔๐(๖ นก.)

รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน)๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๔๐

(๒๑ นก.)

๘๔๐(๒๑ นก.)

๘๔๐(๒๑ นก.)

๑,๕๖๐(๓๙ นก.)

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐

รายวิชา / กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพรอมและจุดเนน

ปละไมเกิน ๘๐ ชั่วโมง ปละไมเกิน ๒๔๐ ชั่วโมงไมนอยกวา ๑,๕๖๐

ชั่วโมง

รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไมเกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ป ไมเกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปรวม ๓ ป

ไมนอยกวา ๓,๖๐๐ ชั่วโมง

Page 22: Education core 2551

การกําหนดโครงสรางเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม สถานศึกษาสามารถดําเนินการ ดังนี้ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแตละกลุมสาระการเรียนรู ไดตามความ

เหมาะสม ทั้งนี้ ตองมีเวลาเรียนรวมตามที่กําหนดไวในโครงสรางเวลาเรียนพื้นฐาน และผูเรียนตองมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กําหนด

ระดับมัธยมศึกษา ตองจัดโครงสรางเวลาเรียนพื้นฐานใหเปนไปตามที่กําหนดและสอดคลองกับเกณฑการจบหลักสูตร

สําหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ใหจัดเปนรายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยพิจารณาใหสอดคลองกับความพรอม จุดเนนของสถานศึกษาและเกณฑการจบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑-๓ สถานศึกษาอาจจัดใหเปนเวลาสําหรับสาระ การเรียนรูพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

กิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่กําหนดไวในชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ปละ ๑๒๐ ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖ จํานวน ๓๖๐ ชั่วโมงนั้น เปนเวลาสําหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ในสวนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนใหสถานศึกษาจัดสรรเวลาใหผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้

ระดับประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ป จํานวน ๖๐ ชั่วโมงระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.๑-๓) รวม ๓ ป จํานวน ๔๕ ชั่วโมงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ป จํานวน ๖๐ ชั่วโมง

การจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ

การจัดการศึกษาบางประเภทสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เชน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสําหรับผูดอยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย สามารถนําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใชไดตามความเหมาะสม กับสภาพและบริบทของแตละกลุมเปาหมาย โดยใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด ทั้งนี้ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด

Page 23: Education core 2551

การจัดการเรียนรู

การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการสําคัญในการนําหลักสูตรสูการปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน เปนเปาหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน

ในการพัฒนาผู เ รี ยนใหมีคุณสมบัติตามเป าหมายหลักสูตร ผูสอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู จัดการเรียนรูโดยชวยใหผูเรียนเรียนรูผานสาระที่กําหนดไวในหลักสูตร ๘ กลุมสาระการเรียนรู รวมทั้งปลูกฝงเสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค พัฒนาทักษะตางๆ อันเปนสมรรถนะสําคัญใหผูเรียนบรรลุตามเปาหมาย

๑. หลักการจัดการเรียนรู

การจัดการเรียนรู เพื่ อใหผู เ รี ยนมีความร ูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักวา ผู เรียนมีความสําคัญที่สุด เชื่อวาทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ยึดประโยชนที่เกิดกับผูเรียน กระบวนการจัดการเรียนรูตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เนนใหความสําคัญทั้งความรู และคุณธรรม

๒. กระบวนการเรียนรู การจัดการเรียนรูที่ เนนผู เรียนเปนสําคัญ ผู เรียนจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่

หลากหลาย เปนเครื่องมือที่จะนําพาตนเองไปสูเปาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูที่จําเปนสําหรับผูเรียน อาทิ กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการเรียนรู จากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทําจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรูการเรียนรูของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย

กระบวนการเหลานี้เปนแนวทางในการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนควรไดรับการฝกฝน พัฒนา เพราะจะสามารถชวยใหผู เรียนเกิดการเรียนรูไดดี บรรลุเปาหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผูสอน จึงจําเปนตองศึกษาทําความเขาใจในกระบวนการเรียนรูตาง ๆ เพื่อใหสามารถเลือกใชในการจัดกระบวนการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ

๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู ผูสอนตองศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ

สําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน แลวจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลงเรียนรู การวัดและประเมินผล เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเปาหมายที่กําหนด

Page 24: Education core 2551

๔. บทบาทของผูสอนและผูเรียน การจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตร ทั้งผูสอนและผูเรียน

ควรมีบทบาท ดังนี้๔.๑ บทบาทของผูสอน ๑) ศึกษาวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคล แลวนําขอมูลมาใชในการวางแผน

การจัดการเรียนรู ที่ทาทายความสามารถของผูเรียน ๒) กําหนดเปาหมายที่ตองการใหเกิดขึ้นกับผูเรียน ดานความรูและทักษะ

กระบวนการ ที่เปนความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค ๓) ออกแบบการเรียนรูและจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพื่อนําผูเรียนไปสูเปาหมาย

๔) จัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู และดูแลชวยเหลือผูเรียนใหเกิดการเรียนรู ๕) จัดเตรียมและเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิปญญาทองถิ่น

เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน ๖) ประเมินความกาวหนาของผูเรียนดวยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ

ธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผูเรียน ๗) วิเคราะหผลการประเมินมาใชในการซอมเสริมและพัฒนาผูเรียน รวมทั้ง

ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง๔.๒ บทบาทของผูเรียน ๑) กําหนดเปาหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู เขาถึงแหลงการเรียนรู วิเคราะห สังเคราะหขอความรู

ตั้งคําถาม คิดหาคําตอบหรือหาแนวทางแกปญหาดวยวิธีการตาง ๆ ๒) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งทีไ่ดเรียนรูดวยตนเอง และนําความรูไปประยกุตใช

ในสถานการณตาง ๆ ๓) มีปฏิสัมพันธ ทํางาน ทํากิจกรรมรวมกับกลุมและครู ๔) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรูของตนเองอยางตอเนื่อง

Page 25: Education core 2551

สื่อการเรียนรู

สื่อการเรียนรูเปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียนเขาถึงความรู ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรูมีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยี และเครือขาย การเรียนรูตางๆ ที่มีในทองถิ่น การเลือกใชสื่อควรเลือกใหมีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรูที่หลากหลายของผูเรียน

การจัดหาสื่อการเรียนรู ผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทําและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใชอยางมีคุณภาพจากสื่อตางๆ ที่มีอยูรอบตัวเพื่อนํามาใชประกอบในการจัดการเรียนรูที่สามารถสงเสริมและสื่อสารใหผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยสถานศึกษาควรจัดใหมีอยางพอเพียง เพื่อพัฒนาใหผูเรียน เกิดการเรียนรูอยางแทจริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หนวยงานที่เกี่ยวของและผูมีหนาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรดําเนินการดังนี้

๑. จัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยสื่อการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และเครือขายการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาคนควาและการแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนรู ระหวางสถานศึกษา ทองถิ่น ชุมชน สังคมโลก

๒. จัดทําและจัดหาสื่อการเรียนรูสําหรับการศึกษาคนควาของผูเรียน เสริมความรูใหผูสอน รวมทั้งจัดหาสิ่งที่มีอยูในทองถิ่นมาประยุกตใชเปนสื่อการเรียนรู

๓. เลือกและใชสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอง กับวิธีการเรียนรู ธรรมชาติของสาระการเรียนรู และความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน

๔. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรูที่เลือกใชอยางเปนระบบ ๕. ศึกษาคนควา วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรูใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรูของผูเรียน๖. จัดใหมีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใชสื่อ

การเรียนรูเปนระยะๆ และสม่ําเสมอในการจัดทํา การเลือกใช และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรูที่ใชในสถานศึกษา

ควรคํานึงถึงหลักการสําคัญของสื่อการเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสูตร วัตถุประสงคการเรียนรู การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู การจัดประสบการณใหผูเรียน เนื้อหามีความถูกตองและทันสมัย ไมกระทบความมั่นคงของชาติ ไมขัดตอศีลธรรม มีการใชภาษาที่ถูกตอง รูปแบบการนําเสนอที่เขาใจงาย และนาสนใจ

Page 26: Education core 2551

การวัดและประเมินผลการเรียนรู

การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียน ใหประสบผลสําเร็จนั้น ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับไมวาจะเปนระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลที่เปนประโยชนตอการสงเสริมใหผูเรียนเกิด การพัฒนาและเรียนรูอยางเต็มตามศักยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู แบงออกเปน ๔ ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้

๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เปนการวัดและประเมินผลที่อยูในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอนดําเนินการเปนปกติและสม่ําเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมินอยางหลากหลาย เชน การซักถาม การสังเกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาส ใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผูปกครองรวมประเมิน ในกรณีที่ไมผานตัวชี้วัดใหมี การสอนซอมเสริม

การประเมินระดับชั้นเรียนเปนการตรวจสอบวา ผู เรียนมีพัฒนาการความกาวหนาในการเรียนรู อันเปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใด มีสิ่งที่จะตองไดรับการพัฒนาปรับปรุงและสงเสริมในดานใด นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอนใชปรับปรุงการเรียนการสอนของตนดวย ทั้งนี้โดยสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เปนการประเมินที่สถานศึกษาดําเนินการเพื่อตัดสินผล การเรียนของผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน นอกจากนี้เพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา วาสงผลตอการเรียนรูของผูเรียนตามเปาหมายหรือไม ผูเรียนมีจุดพัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนําผลการเรียนของผูเรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการ

Page 27: Education core 2551

สถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูปกครองและชุมชน

๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดําเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนดวยขอสอบมาตรฐานที่จัดทําและดําเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือดวยความรวมมือกับหนวยงานตนสังกัด ในการดําเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังไดจากการตรวจสอบทบทวนขอมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

๔. การประเมินระดับชาติ เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียน ในชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เขารับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตาง ๆ เพื่อนําไปใชในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปนขอมูลสนับสนุน การตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ

ขอมูลการประเมินในระดับตาง ๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือ ปรับปรุงแกไข สงเสริมสนับสนุนเพื่อใหผู เรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกตางระหวางบุคคลที่จําแนกตามสภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัยและพฤติกรรม กลุมผูเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุมผูเรียนที่มีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมินจึงเปนหัวใจของสถานศึกษาในการดําเนินการชวยเหลือผูเรียนไดทันทวงที ป ิดโอกาสใหผูเรียนไดรับการพัฒนาและประสบความสําเร็จในการเรียน

สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เปนขอกําหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใหบุคลากรที่เกี่ยวของทุกฝายถือปฏิบัติรวมกัน

เกณฑการวัดและประเมินผลการเรียน

๑. การตัดสิน การใหระดับและการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตัดสินผลการเรียน

ในการตัดสินผลการเรียนของกลุมสาระการเรียนรู การอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนนั้น ผูสอนตองคํานึงถึงการพัฒนาผูเรียนแตละคน

Page 28: Education core 2551

เปนหลัก และตองเก็บขอมูลของผูเรียนทุกดานอยางสม่ําเสมอและตอเนื่องในแตละภาคเรียน รวมทั้งสอนซอมเสริมผูเรียนใหพัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ

ระดับประถมศึกษา (๑) ผูเรียนตองมีเวลาเรียนไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด (๒) ผูเรียนตองไดรับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผานตามเกณฑที่สถานศึกษา

กําหนด (๓) ผูเรียนตองไดรับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา

(๔) ผูเรียนตองไดรับการประเมิน และมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด ในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

ระดับมัธยมศึกษา (๑) ตัดสินผลการเรียนเปนรายวิชา ผูเรียนตองมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมนอย

กวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ (๒) ผูเรียนตองไดรับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผานตามเกณฑที่สถานศึกษา

กําหนด (๓) ผูเรียนตองไดรับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา

(๔) ผูเรียนตองไดรับการประเมิน และมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด ในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถาผูเรียนมีขอบกพรองเพียงเล็กนอย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวาสามารถพัฒนาและสอนซอมเสริมได ใหอยูในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผอนผันใหเลื่อนชั้นได แตหากผูเรียนไมผานรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาใหเรียนซ้ําชั้นได ทั้งนี้ใหคํานึงถึงวุฒิภาวะและความรูความสามารถของผูเรียนเปนสําคัญ

๑.๒ การใหระดับผลการเรียน

ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถใหระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียน เปนระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบรอยละ และระบบที่ใชคําสําคัญสะทอนมาตรฐาน

การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น ใหระดับผลการประเมินเปน ดีเยี่ยม ดี และผาน

Page 29: Education core 2551

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผูเรียน ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด และใหผลการเขารวมกิจกรรมเปนผาน และไมผาน

ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชา ใหใชตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเปน ๘ ระดับ

การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น ใหระดับผลการประเมินเปน ดีเยี่ยม ดี และผาน

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผูเรียน ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด และใหผลการเขารวมกิจกรรมเปนผาน และไมผาน

๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเปนการสื่อสารใหผูปกครองและผูเรียนทราบความกาวหนา

ในการเรียนรูของผูเรียน ซึ่งสถานศึกษาตองสรุปผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานใหผูปกครองทราบเปนระยะ ๆ หรืออยางนอยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง

การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปนระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียนที่สะทอนมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู

๒. เกณฑการจบการศึกษา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดเกณฑกลางสําหรับการจบการศึกษาเปน ๓ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

๒.๑ เกณฑการจบระดับประถมศึกษา (๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสรางเวลาเรียน

ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด (๒) ผูเรียนตองมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผานเกณฑการประเมินตามที่สถานศึกษา

กําหนด (๓) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด

(๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด

(๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด

Page 30: Education core 2551

๒.๒ เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน (๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไมเกิน ๘๑ หนวยกิต โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน

๖๓ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากําหนด (๒) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปนรายวิชา

พื้นฐาน ๖๓ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา ๑๔ หนวยกิต (๓) ผู เรียนมีผลการประเมิน การอาน คิดวิเคราะหและเขียน ในระดับผาน เกณฑ

การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด (๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการประเมิน

ตามที่สถานศึกษากําหนด (๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมิน

ตามที่สถานศึกษากําหนด ๒.๓ เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ไมนอยกวา ๘๑ หนวยกิต โดยเปนรายวิชา

พื้นฐาน ๓๙ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากําหนด (๒) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปนรายวิชา

พื้นฐาน ๓๙ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไมนอยวา ๓๘ หนวยกิต (๓) ผูเรียนมีผลการประเมิน การอาน คิดวิเคราะหและเขียน ในระดับผานเกณฑ

การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด (๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการประเมิน

ตามที่สถานศึกษากําหนด (๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมิน

ตามที่สถานศึกษากําหนด

สําหรับการจบการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เชน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสําหรับผูดอยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ใหคณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผูที่เกี่ยวของ ดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักเกณฑในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ

Page 31: Education core 2551

เอกสารหลักฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เปนเอกสารสําคัญที่บันทึกผลการเรียน ขอมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวของกับพัฒนาการของผูเรียนในดานตาง ๆ แบงออกเปน ๒ ประเภท ดังนี้

๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ

ผูเรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน สถานศึกษาจะตองบันทึกขอมูลและออกเอกสารนี้ใหผูเรียนเปนรายบุคคล เมื่อผูเรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖) จบการศึกษาภาคบังคับ(ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓) จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖) หรือเมื่อลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี

๑.๒ ประกาศนียบัตร เปนเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผูจบการศึกษา ที่สถานศึกษาใหไวแกผูจบการศึกษาภาคบังคับ และผูจบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๑.๓ แบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา เปนเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและขอมูลของผูจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖) ผูจบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓) และผูจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖)

๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากําหนด เปนเอกสารที่สถานศึกษาจัดทําขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู และขอมูลสําคัญ

เกี่ยวกับผูเรียน เชน แบบรายงานประจําตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน และ เอกสารอื่น ๆ ตามวัตถุประสงคของการนําเอกสารไปใช

การเทียบโอนผลการเรียนสถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนในกรณีตางๆไดแก การยายสถานศึกษา

การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การยายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเขารับการศึกษาตอ การศึกษาจากตางประเทศและขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู ทักษะ ประสบการณจากแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว

การเทียบโอนผลการเรียนควรดําเนินการในชวงกอนเปดภาคเรียนแรก หรือตนภาคเรียนแรก ที่สถานศึกษารับผูขอเทียบโอนเปนผูเรียน ทั้งนี้ ผูเรียนที่ไดรับการเทียบโอนผลการเรียนตองศึกษาตอเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอยางนอย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู เรียนจากการเทียบโอนควรกําหนดรายวิชา/จํานวนหนวยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดําเนินการได ดังนี้

Page 32: Education core 2551

๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ใหขอมูลแสดงความรู ความสามารถของผูเรียน

๒. พิจารณาจากความรู ความสามารถของผู เรียนโดยการทดสอบดวยวิธีการตาง ๆ ทั้ง ภาคความรูและภาคปฏิบัติ

๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง

การเทียบโอนผลการเรียนใหเปนไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธิการ

การบริหารจัดการหลักสูตร

ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอํานาจใหทองถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของในแตละระดับ ตั้งแตระดับชาติ ระดับทองถิ่น จนถึงระดับสถานศึกษา มีบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใชและพัฒนาหลักสูตรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหการดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาและ การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะสงผลใหการพัฒนาคุณภาพผูเรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในระดับชาติ ระดับทองถิ่น ไดแก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หนวยงานตนสังกัดอื่น ๆ เปนหนวยงานที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เปนตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กําหนดในระดับชาติใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น เพื่อนําไปสูการจัดทําหลักสูตรของสถานศึกษา สงเสริมการใชและพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ใหประสบความสําเร็จ โดยมีภารกิจสําคัญ คือ กําหนดเปาหมายและจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ในระดับทองถิ่นโดยพิจารณาใหสอดคลองกับสิ่งที่ เปนความตองการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรูทองถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับทองถิ่น รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน สงเสริม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห และรายงานผลคุณภาพของผูเรียน

สถานศึกษามีหนาที่สําคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดําเนินการใชหลักสูตร การเพิ่มพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทําระเบียบการวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตองพิจารณาใหสอดคลอง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษา หรือหนวยงาน ตนสังกัดอื่นๆ ในระดับทองถิ่นไดจัดทําเพิ่มเติม รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น และความตองการของผูเรียน โดยทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

Page 33: Education core 2551

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

Page 34: Education core 2551

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ทําไมตองเรียนภาษาไทย

ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและเสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีตอกัน ทําใหสามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดํารงชีวิตรวมกัน ในสังคมประชาธิปไตยไดอยางสันติสุข และเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนสื่อแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เปนสมบัติล้ําคาควรแกการเรียนรู อนุรักษ และสืบสาน ใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป

เรียนรูอะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ และเพื่อนําไปใชในชีวิตจริง

การอาน การอานออกเสียงคํา ประโยค การอานบทรอยแกว คําประพันธชนิดตางๆ การอานในใจเพื่อสรางความเขาใจ และการคิดวิเคราะห สังเคราะหความรูจากสิ่งที่อาน เพื่อนําไป ปรับใชในชีวิตประจําวัน

การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถอยคําและรูปแบบตาง ๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะหวิจารณ และเขียนเชิงสรางสรรค

การฟง การดู และการพูด การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก พูดลําดับเรื่องราวตางๆ อยางเปนเหตุเปนผล การพูดในโอกาสตางๆ ทั้งเปนทางการและ ไมเปนทางการ และการพูดเพื่อโนมนาวใจ

หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของภาษาไทย การใชภาษาใหถูกตองเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแตงบทประพันธประเภทตางๆ และอิทธิพลของภาษาตางประเทศในภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอมูล แนวความคิด คุณคาของงานประพันธ และความเพลิดเพลิน การเรียนรูและทําความเขาใจบทเห บทรองเลนของเด็ก เพลงพื้นบานที่เปนภูมิปญญาที่มีคุณคาของไทย ซึ่งไดถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อใหเกิดความซาบซึ้งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ไดสั่งสมสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน

Page 35: Education core 2551

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ อานออกเสียงคํา คําคลองจอง ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง

คลองแคลว เขาใจความหมายของคําและขอความที่อาน ตั้งคําถามเชิงเหตุผล ลําดับเหตุการณ คาดคะเนเหตุการณ สรุปความรูขอคิดจากเรื่องที่อาน ปฏิบัติตามคําสั่ง คําอธิบายจากเรื่องที่อานได เขาใจความหมายของขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อานหนังสืออยางสม่ําเสมอ และ มีมารยาทในการอาน

มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจําวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน

เลารายละเอียดและบอกสาระสําคัญ ตั้งคําถาม ตอบคําถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิดความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดสื่อสารเลาประสบการณและพูดแนะนํา หรือพูดเชิญชวนใหผูอื่นปฏิบัติตาม และมีมารยาทในการฟง ดู และพูด

สะกดคําและเขาใจความหมายของคํา ความแตกตางของคําและพยางค หนาที่ของคํา ในประโยค มีทักษะการใชพจนานุกรมในการคนหาความหมายของคํา แตงประโยคงายๆ แตงคําคลองจอง แตงคําขวัญ และเลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ

เขาใจและสามารถสรุปขอคิดที่ไดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อาน รูจักเพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ซึ่งเปนวัฒนธรรมของทองถิ่น รองบทรองเลนสําหรับเด็กในทองถิ่น ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความสนใจได

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมาย

โดยตรงและความหมายโดยนัยของคํา ประโยค ขอความ สํานวนโวหาร จากเรื่องที่อาน เขาใจคําแนะนํา คําอธิบายในคูมือตางๆ แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสําคัญของเรื่องที่อานและนําความรูความคิดจากเรื่องที่อานไปตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตได มีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน และเห็นคุณคาสิ่งที่อาน

มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคํา แตงประโยคและเขียนขอความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถอยคําชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ยอความ จดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการตางๆ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอยางสรางสรรค และมีมารยาทในการเขียน

Page 36: Education core 2551

พูดแสดงความรู ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่องที่ฟงและดู ตั้งคําถาม ตอบคําถามจากเรื่องที่ฟงและดู รวมทั้งประเมินความนาเชื่อถือจากการฟงและดูโฆษณาอยางมีเหตุผล พูดตามลําดับขั้นตอนเรื่องตางๆ อยางชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นคนควาจากการฟง การดู การสนทนา และพูดโนมนาวไดอยางมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด

สะกดคําและเขาใจความหมายของคํา สํานวน คําพังเพยและสุภาษิต รูและเขาใจ ชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ชนิดของประโยค และคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชคําราชาศัพทและคําสุภาพไดอยางเหมาะสม แตงประโยค แตงบทรอยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพยยานี ๑๑

เขาใจและเห็นคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน เลานิทานพื้นบาน รองเพลงพื้นบานของทองถิ่น นําขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานไปประยุกตใชในชีวิตจริง และทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดได

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง เขาใจความหมาย

โดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสําคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อาน แสดงความคิดเห็นและขอโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ยอความ เขียนรายงานจากสิ่งที่อานได วิเคราะห วิจารณ อยางมีเหตุผล ลําดับความอยางมีขั้นตอนและความเปนไปไดของเรื่องที่อาน รวมทั้งประเมินความถูกตองของขอมูลที่ใชสนับสนุนจากเรื่องที่อาน

เขียนสื่อสารดวยลายมือที่อานงายชัดเจน ใชถอยคําไดถูกตองเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคําขวัญ คําคม คําอวยพรในโอกาสตางๆ โฆษณา คติพจน สุนทรพจน ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณตางๆ เขียนยอความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรูความคิดหรือโตแยงอยางมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาคนควาและเขียนโครงงาน

พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณ ประเมินสิ่งที่ไดจากการฟงและดู นําขอคิดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ไดจากการศึกษาคนควาอยางเปนระบบ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค และพูดโนมนาวอยางมีเหตุผลนาเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟง ดู และพูด

เขาใจและใชคําราชาศัพท คําบาลีสันสกฤต คําภาษาตางประเทศอื่นๆ คําทับศัพท และศัพทบัญญัติในภาษาไทย วิเคราะหความแตกตางในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสรางของประโยครวม ประโยคซอน ลักษณะภาษาที่เปนทางการ กึ่งทางการและไมเปนทางการ และแตงบทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย และโคลงสี่สุภาพ

Page 37: Education core 2551

สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน วิเคราะหตัวละครสําคัญ วิถีชีวิตไทย และคุณคาที่ไดรับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พรอมทั้งสรุปความรูขอคิดเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตองและเขาใจ ตีความ

แปลความ และขยายความเรื่องที่อานได วิเคราะหวิจารณเรื่องที่อาน แสดงความคิดเห็นโตแยงและเสนอความคิดใหมจากการอานอยางมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ และเขียนรายงานจากสิ่งที่อาน สังเคราะห ประเมินคา และนําความรูความคิดจากการอานมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ และ นําความรูความคิดไปประยุกตใชแกปญหาในการดําเนินชีวิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน

เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ โดยใชภาษาไดถูกตองตรงตามวัตถุประสงค ยอความจากสื่อที่มีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสรางสรรคโดยใชโวหารตางๆ เขียนบันทึก รายงานการศึกษาคนควาตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใชขอมูลสารสนเทศในการอางอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบตางๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของผูอื่นและนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง

ตั้งคําถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่อง ที่ฟงและดู วิเคราะหวัตถุประสงค แนวคิด การใชภาษา ความนาเชื่อถือของเรื่องที่ฟงและดู ประเมินสิ่งที่ฟงและดูแลวนําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิต มีทักษะการพูดในโอกาสตางๆ ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการโดยใชภาษาที่ถูกตอง พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาว และเสนอแนวคิดใหมอยางมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการฟง ดู และพูด

เขาใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใชคําและกลุมคําสรางประโยคไดตรงตามวัตถุประสงค แตงคําประพันธประเภท กาพย โคลง รายและฉันท ใชภาษาไดเหมาะสมกับกาลเทศะและใชคําราชาศัพทและคําสุภาพไดอยางถูกตอง วิเคราะหหลักการ สรางคําในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาตางประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส

วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณวรรณคดีเบื้องตน รูและเขาใจลักษณะเดนของวรรณคดี ภูมิปญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบาน เชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตรและวิถีไทย ประเมินคุณคาดานวรรณศิลป และนําขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกตใชในชีวิตจริง

Page 38: Education core 2551

สาระที่ ๑ การอานมาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. อานออกเสียงคํา คําคลองจอง และขอความสั้นๆ๒. บอกความหมายของคํา และขอความที่อาน๓. ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน๔. เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน๕. คาดคะเนเหตุการณ จากเรื่องที่อาน๖. อานหนังสือตามความสนใจ

๑. อานออกเสียงคํา คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง๒. อธิบายความหมายของคํา และขอความที่อาน๓. ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับ เรื่องที่อาน๔. ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อาน๕. แสดงความคิดเห็นและ

๑. อานออกเสียงคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว๒. อธิบายความหมายของคํา และขอความที่อาน๓. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อาน๔. ลําดับเหตุการณและคาดคะเน

๑. อานออกเสียง บทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และสํานวนจากเรื่องที่อาน๓. อานเรื่องสั้นๆ ตามเวลา ที่กําหนด และตอบคําถามจากเรื่องที่อาน๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากเรื่องที่อาน

๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยคและขอความที่เปนการบรรยาย และการพรรณนา๓. อธิบายความหมายโดยนัย จากเรื่องที่อานอยางหลากหลาย๔. แยกขอเท็จจริง

๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยคและขอความที่เปนโวหาร๓. อานเรื่องสั้นๆ อยางหลากหลาย โดยจับเวลา แลวถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น

๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตองเหมาะสม กับเรื่องที่อาน๒. จับใจความสําคัญจากเรื่องที่อาน๓. ระบุเหตุและผล และขอเท็จจริง กับขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน๔. ระบุ และอธิบาย คําเปรียบเทียบ

๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง๒. จับใจความสําคัญสรุปความและอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อาน๓. เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเขาใจในบทเรียนตางๆ ที่อาน๔. อภิปรายแสดงความคิดเห็น

๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตองและเหมาะสมกับเรื่องที่อาน ๒. ระบุความแตกตางของคําที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย๓. ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดของขอมูล ที่สนับสนุน จากเรื่องที่อาน

๑. อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดอยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่อง ที่อาน ๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อาน๓. วิเคราะหและวิจารณเรื่อง ที่อานในทุกๆ ดานอยางมีเหตุผล๔. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน และประเมินคาเพื่อนําความรู ความคิดไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต๕. วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล๖. ตอบคําถามจากการอานประเภทตางๆ ภายในเวลาที่กําหนด๗. อานเรื่องตางๆ แลวเขียน

Page 39: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

อยางสม่ําเสมอและนําเสนอเรื่องที่อาน๗. บอกความหมาย ของเครื่องหมาย หรือสัญลักษณสําคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจําวัน๘. มีมารยาท ในการอาน

คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน๖. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสม่ําเสมอและนําเสนอเรื่องที่อาน๗. อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่ง หรือขอแนะนํา๘. มีมารยาท ในการอาน

เหตุการณจากเรื่องที่อานโดยระบุเหตุผลประกอบ๕. สรุปความรูและขอคิด จากเรื่องที่อานเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน๖. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสม่ําเสมอและนําเสนอเรื่องที่อาน๗. อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา

๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อานโดยระบุเหตุผลประกอบ๖. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน๗. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยางสม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน๘. มีมารยาท ในการอาน

และขอคิดเห็น จากเรื่องที่อาน๕. วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ที่อานเพื่อนําไปใชในการดําเนินชีวิต ๖. อานงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนํา และปฏิบัติตาม๗. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยางสม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน

จากเรื่องที่อาน๕. อธิบายการนําความรูและความคิด จากเรื่องที่อานไปตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต๖. อานงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนํา และปฏิบัติตาม๗. อธิบายความหมาย ของขอมูลจากการอานแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ

และคําที่มีหลายความหมายในบริบทตางๆ จากการอาน๕. ตีความคํายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจากบริบท๖. ระบุขอสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโนมนาวใจ๗. ปฏิบัติตามคูมือแนะนําวิธีการใชงาน ของเครื่องมือหรือเครื่องใชในระดับที่ยากขึ้น

และขอโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน๕. วิเคราะหและจําแนกขอเท็จจริงขอมูลสนับสนุน และขอคิดเห็นจากบทความที่อาน๖. ระบุขอสังเกต การชวนเชื่อ การโนมนาว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน๗. อานหนังสือ บทความหรือคําประพันธอยางหลากหลาย

๔. อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความและรายงาน๕. วิเคราะห วิจารณ และประเมินเรื่อง ที่อานโดยใชกลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อใหผูอานเขาใจไดดีขึ้น ๖. ประเมินความถูกตองของขอมูล ที่ใชสนับสนุนในเรื่องที่อาน

กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ และรายงาน๘. สังเคราะหความรูจากการอาน สื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ๙. มีมารยาทในการอาน

Page 40: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๘. อธิบายความหมายของขอมูล จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ๙. มีมารยาท ในการอาน

๘. มีมารยาทในการอาน

๘. อานหนังสือตามความสนใจ และอธิบายคุณคาที่ไดรับ๙. มีมารยาทในการอาน

๘. วิเคราะหคุณคาที่ไดรับจากการอานงานเขียนอยางหลากหลาย เพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต๙. มีมารยาทในการอาน

และประเมินคุณคาหรือแนวคิดที่ไดจากการอาน เพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต๘. มีมารยาทในการอาน

๗. วิจารณความสมเหตุสมผล การลําดับความและความเปนไปไดของเรื่อง ๘. วิเคราะหเพื่อแสดงความคิดเห็นโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๙. ตีความและประเมินคุณคา และแนวคิด ที่ไดจากงานเขียน อยางหลากหลายเพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต๑๐ มีมารยาทในการอาน

Page 41: Education core 2551

สาระที่ ๒ การเขียนมาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและ รายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด๒. เขียนสื่อสารดวยคําและประโยคงายๆ๓. มีมารยาทในการเขียน

๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด๒. เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ๓. เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ๔. มีมารยาทในการเขียน

๑. คัดลายมือ ตัวบรรจง เต็มบรรทัด๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดอยางชัดเจน๓. เขียนบันทึกประจําวัน๔. เขียนจดหมายลาครู๕. เขียนเรื่องตามจินตนาการ๖. มีมารยาทในการเขียน

๑. คัดลายมือ ตัวบรรจง เต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด๒. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม๓. เขียนแผนภาพ โครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน๔. เขียน ยอความ จากเรื่องสั้นๆ

๑. คัดลายมือ ตัวบรรจง เต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด ๒. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม๓. เขียนแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน๔. เขียน ยอความจากเรื่องที่อาน

๑. คัดลายมือตัวบรรจง เต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด๒. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม๓. เขียนแผนภาพ โครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน ๔. เขียนเรียงความ

๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๒. เขียนสื่อสารโดยใชถอยคําถูกตอง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย ๓. เขียนบรรยายประสบการณโดยระบุสาระสําคัญ และรายละเอียดสนับสนุน๔. เขียนเรียงความ

๑. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๒. เขียนบรรยาย และพรรณนา๓. เขียนเรียงความ๔. เขียนยอความ๕. เขียนรายงาน

การศึกษาคนควา๖. เขียนจดหมายกิจธุระ

๑. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๒. เขียนขอความโดยใชถอยคําไดถูกตองตามระดับภาษา ๓. เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ โดยเลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องตางๆ

๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตอง มีขอมูลและสาระสําคัญชัดเจน ๒. เขียนเรียงความ ๓. เขียนยอความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ๕. ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง๖. เขียนรายงานการศึกษาคนควา เรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใชขอมูลสารสนเทศอางอิงอยางถูกตอง๗. บันทึกการศึกษาคนควา เพื่อนําไปพัฒนาตนเองอยางสม่ําเสมอ

Page 42: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๕. เขียนจดหมาย ถึงเพื่อน และบิดามารดา ๖. เขียนบันทึกและเขียนรายงาน จากการศึกษาคนควา ๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ๘. มีมารยาทในการเขียน

๕. เขียนจดหมาย ถึงผูปกครองและญาติ๖. เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นไดตรงตามเจตนา๗. กรอกแบบรายการตางๆ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการ๙. มีมารยาทในการเขียน

๕. เขียน ยอความจากเรื่องที่อาน๖. เขียนจดหมายสวนตัว๗. กรอกแบบรายการตางๆ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการและสรางสรรค๙. มีมารยาทในการเขียน

๕. เขียนยอความจากเรื่องที่อาน๖. เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ไดรับ๗. เขียนจดหมายสวนตัวและจดหมาย กิจธุระ๘. เขียนรายงานการศึกษาคนควา และโครงงาน๙. มีมารยาทในการเขียน

๗. เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล๘. มีมารยาทในการเขียน

๔. เขียนยอความ๕. เขียนจดหมายกิจธุระ๖. เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโตแยง อยางมีเหตุผล๗. เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยง ในเรื่องตางๆ ๘. กรอกแบบสมัครงานพรอมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรูและทักษะของตนเองที่เหมาะสมกับงาน

๘. มีมารยาทในการเขียน

Page 43: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๙. เขียนรายงานการศึกษคนควา และโครงงาน๑๐. มีมารยาทในการเขียน

Page 44: Education core 2551

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูดมาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพดูแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. ฟงคําแนะนํา คําสั่งงายๆ และปฏิบัติตาม๒. ตอบคําถามและเลาเรื่อง ที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง๓. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู๔. พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค๕. มีมารยาท ในการฟง การดู

๑. ฟงคําแนะนํา คําสั่งที่ซับซอน และปฏิบัติตาม๒. เลาเรื่อง ที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง๓. บอกสาระสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู๔. ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู๕. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก

๑. เลารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง๒. บอกสาระสําคัญจากการฟง และการดู๓. ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู๔. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟง

๑. จําแนกขอเท็จจริง และขอคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู๒. พูดสรุปความจาก การฟงและดู๓. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู๔. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟง

๑. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู๒. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู๓. วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล๔. พูดรายงานเรื่องหรือ

๑. พูดแสดงความรู ความเขาใจจุดประสงคของเรื่องที่ฟงและดู๒. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล จากเรื่องที่ฟงและดู๓. วิเคราะหความนาเชื่อถือจากการฟงและดูสื่อโฆษณาอยางมีเหตุผล๔. พูดรายงานเรื่องหรือ

๑. พูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู๒. เลาเรื่องยอจากเรื่องที่ฟงและดู๓. พูดแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคเกี่ยวกับเรื่อง ที่ฟงและดู๔. ประเมินความนาเชื่อถือของสื่อที่มีเนื้อหาโนมนาวใจ๕. พูดรายงาน

๑. พูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู๒. วิเคราะหขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และความนาเชื่อถือของขาวสารจากสื่อตางๆ๓. วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผลเพื่อนําขอคิดมาประยุกตใช ในการดําเนินชีวิต

๑. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟงและการดู๒. วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่ฟงและดู เพื่อนําขอคิดมาประยุกตใช ในการดําเนินชีวิต๓. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา

๑. สรุปแนวคิด และแสดง ความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ๒. วิเคราะห แนวคิด การใชภาษา และความนาเชื่อถือ จากเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล๓. ประเมินเรื่องที่ฟงและดู แลวกําหนดแนวทางนําไประยุกตใชในการดําเนินชีวิต๔. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟงและดู๕. พูดในโอกาสตางๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหมดวยภาษาถูกตองเหมาะสม๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

Page 45: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

และการพูด จากเรื่องที่ฟงและดู๖. พูดสื่อสารไดชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค๗. มีมารยาท ในการฟง การดูและการพูด

และดู๕. พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค๖. มีมารยาท ในการฟง การดู และการพูด

และดู๕. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

ประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟงการดู และการสนทนา๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

ประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟงการดู และการสนทนา๕. พูดโนมนาวอยางมีเหตุผล และนาเชื่อถือ๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

เรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

๔. พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค๕. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

๔. พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค๕. พูดโนมนาวโดยนําเสนอหลักฐานตาม ลําดับเนื้อหาอยางมีเหตุผล และนาเชื่อถือ๖. มีมารยาท ในการฟง การดู และการพูด

Page 46: Education core 2551

สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทยมาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย๒. เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา๓. เรียบเรียงคําเปนประโยคงาย ๆ๔. ตอคําคลองจองงายๆ

๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย๒. เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา๓. เรียบเรียงคําเปนประโยคไดตรงตามเจตนาของการสื่อสาร๔. บอกลักษณะคําคลองจอง๕. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน

๑. เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา๒. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค๓. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา ๔. แตงประโยคงายๆ๕. แตงคําคลองจองและคําขวัญ

๑. สะกดคําและบอกความหมายของคําในบริบทตางๆ๒. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค๓. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา๔. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา๕. แตงบทรอยกรองและคําขวัญ

๑. ระบุชนิด และหนาที่ของคํา ในประโยค๒. จําแนกสวนประกอบของประโยค๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน กับภาษาถิ่น๔. ใชคําราชาศัพท๕. บอกคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย๖. แตงบทรอยกรอง๗. ใชสํานวน ไดถูกตอง

๑. วิเคราะหชนิดและหนาที่ของคํา ในประโยค ๒. ใชคํา ไดเหมาะสม กับกาลเทศะและบุคคล๓. รวบรวมและบอกความหมายของคําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย๔. ระบุลักษณะของประโยค๕. แตงบทรอยกรอง๖. วิเคราะห และเปรียบเทียบ

๑. อธิบายลักษณะ ของเสียง ในภาษาไทย๒. สรางคํา ในภาษาไทย๓. วิเคราะหชนิดและหนาที่ของคําในประโยค๔. วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขียน๕. แตงบทรอยกรอง๖. จําแนก และใชสํานวนที่เปนคําพังเพย

๑. สรางคํา ในภาษาไทย๒. วิเคราะหโครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอน๓. แตงบทรอยกรอง๔. ใชคําราชาศัพท๕. รวบรวม และอธิบายความหมาย ของคําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย

๑. จําแนก และใชคํา ภาษาตางประเทศ ที่ใชในภาษาไทย๒. วิเคราะหโครงสรางประโยคซับซอน๓. วิเคราะหระดับภาษา๔. ใชคําทับศัพทและศัพทบัญญัติ๕. อธิบายความหมายคําศัพททางวิชาการและวิชาชีพ๖. แตงบทรอยกรอง

๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา๒. ใชคําและกลุมคําสรางประโยคตรงตามวัตถุประสงค๓. ใชภาษาเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคําราชาศัพทอยางเหมาะสม๔. แตงบทรอยกรอง๕. วิเคราะหอิทธิพลของภาษาตางประเทศและภาษาถิ่น๖. อธิบายและวิเคราะหหลักการสรางคําในภาษาไทย ๗. วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส

Page 47: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

และภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ

๖. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ

๖. บอกความหมายของสํานวน ๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได

สํานวนที่เปน คําพังเพยและสุภาษิต

และสุภาษิต

Page 48: Education core 2551

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรมมาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. บอกขอคิด ที่ไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสําหรับเด็ก๒. ทองจํา บทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองตามความสนใจ

๑. ระบุขอคิด ที่ไดจากการอาน หรือการฟงวรรณกรรมสําหรับเด็ก เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน๒. รอง บทรองเลนสําหรับเด็กในทองถิ่น๓. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

๑. ระบุขอคิดที่ไดจากการอานวรรณกรรมเพื่อนําไปใช ในชีวิตประจําวัน๒. รูจักเพลงพื้นบานและเพลงกลอมเด็ก เพื่อปลูกฝงความชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ่น๓. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อาน๔. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด

๑. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบาน หรือนิทานคติธรรม๒. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใช ในชีวิตจริง๓. รองเพลงพื้นบาน๔. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

๑. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน๒. ระบุความรูและขอคิดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนําไปใชในชีวิตจริง๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม๔. ทองจําบทอาขยาน

๑. แสดงความ คิดเห็นจาก วรรณคดี หรือวรรณกรรม ที่อาน๒. เลานิทานพื้นบานทองถิ่นตนเอง และนิทานพื้นบาน ของทองถิ่นอื่น๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดี

และวรรณกรรมที่อานและนําไป

ประยุกตใช ในชีวิตจริง ๔. ทองจํา

๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน๒. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานพรอมยกเหตุผลประกอบ๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน๔. สรุปความรูและขอคิดจากการอาน เพื่อประยุกตใช

๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานในระดับที่ยากขึ้น๒. วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่นที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อาน

๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น ในระดับที่ยากยิ่งขึ้น๒. วิเคราะหวิถีไทย และคุณคาจากวรรณคดี และวรรณกรรมที่อาน ๓. สรุปความรูและขอคิดจากการอาน เพื่อนําไปประยุกต ใชในชีวิตจริง๔. ทองจําและ

๑. วิเคราะหและวิจารณวรรณคด ี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเบื้องตน๒. วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทางประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของสังคมในอดีต๓. วิเคราะหและประเมินคุณคา ดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ๔. สังเคราะหขอคิดจากวรรณคด ี และวรรณกรรมเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง๕. รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบาน และอธิบายภูมิปญญาทางภาษา๖. ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามที่กําหนด

Page 49: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

และบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความสนใจ

ตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

บทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

ในชีวิตจริง๕. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

๔. สรุปความรูและขอคิด จากการอาน ไปประยุกตใชในชีวิตจริง๕. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

บอกคุณคาบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความสนใจและนําไปใชอางอิง

และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ และนําไปใชอางอิง

Page 50: Education core 2551

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ทําไมตองเรียนคณิตศาสตร

คณิตศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดมนุษย ทําใหมนุษยมีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือสถานการณไดอยางถี่ถวน รอบคอบชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ แกปญหา และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง เหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตรยังเปนเครื่องมือในการศึกษาทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและศาสตรอื่น ๆ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดําเนินชีวิต ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข

เรียนรูอะไรในคณิตศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรมุงใหเยาวชนทุกคนไดเรียนรูคณิตศาสตรอยางตอเนื่อง ตามศักยภาพ โดยกําหนดสาระหลักที่จําเปนสําหรับผูเรียนทุกคนดังนี้

จํานวนและการดําเนินการ ความคิดรวบยอดและความรูสึกเชิงจํานวน ระบบจํานวนจริงสมบัติเกี่ยวกับจํานวนจริง การดําเนินการของจํานวน อัตราสวน รอยละ การแกปญหาเกี่ยวกับจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง

การวัด ความยาว ระยะทาง น้ําหนัก พื้นที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หนวยวัดระบบตาง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราสวนตรีโกณมิติ การแกปญหาเกี่ยวกับการวัด และการนําความรูเกี่ยวกับการวัดไปใชในสถานการณตาง ๆ

เรขาคณิต รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพแบบจําลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation)ในเรื่องการเลื่อนขนาน (translation) การสะทอน (reflection) และการหมุน (rotation)

พีชคณิต แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ ฟงกชัน เซตและการดําเนินการของเซต การใหเหตุผล นิพจน สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต

การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน การกําหนดประเด็น การเขียนขอคําถาม การกําหนดวิธีการศึกษา การเก็บรวบรวมขอมูล การจัดระบบขอมูล การนําเสนอขอมูล คากลางและการกระจายของขอมูล การวิเคราะหและการแปลความขอมูล การสํารวจความคิดเห็น ความนาจะเปน การใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนในการอธิบายเหตุการณตางๆ และชวยในการตัดสินใจในการดําเนินชีวิตประจําวัน

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร การแกปญหาดวยวิธีการที่หลากหลาย การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และการเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ และความคิดริเริ่มสรางสรรค

Page 51: Education core 2551

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ มีความรูความเขาใจและความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับจํานวนนับไมเกินหนึ่งแสนและศูนย

และการดําเนินการของจํานวน สามารถแกปญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหาร พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ําหนัก ปริมาตร ความจุ เวลาและเงิน สามารถวัดไดอยางถูกตองและเหมาะสม และนําความรูเกี่ยวกับการวัดไปใชแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก รวมทั้ง จุด สวนของเสนตรง รังสี เสนตรง และมุม

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแบบรูป และอธิบายความสัมพันธได รวบรวมขอมูล และจําแนกขอมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดลอมใกลตัวที่พบเห็นใน

ชีวิตประจําวัน และอภิปรายประเด็นตาง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแทงได ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการ

แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตอง เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ มีความคิดริเริ่มสรางสรรคจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

มีความรูความเขาใจและความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับจํานวนนับและศูนย เศษสวน ทศนิยมไมเกินสามตําแหนง รอยละ การดําเนินการของจํานวน สมบัติเกี่ยวกับจํานวน สามารถแกปญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนนับ เศษสวน ทศนิยมไมเกินสามตําแหนง และรอยละ พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได สามารถหาคาประมาณของจํานวนนับและทศนิยมไมเกินสามตําแหนงได

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ําหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง และขนาดของมุม สามารถวัดไดอยางถูกตองและเหมาะสม และนําความรูเกี่ยวกับการวัดไปใชแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซึม พีระมิด มุม และเสนขนาน

Page 52: Education core 2551

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแบบรูปและอธิบายความสัมพันธได แกปญหาเกี่ยวกับแบบรูป สามารถวิเคราะหสถานการณหรือปญหาพรอมทั้งเขียนใหอยูในรูปของสมการเชิงเสนที่มีตัวไมทราบคาหนึ่งตัวและแกสมการนั้นได

รวบรวมขอมูล อภิปรายประเด็นตาง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง แผนภูมิแทงเปรียบเทียบ แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเสน และตาราง และนําเสนอขอมูลในรูปของแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง แผนภูมิแทงเปรียบเทียบ และกราฟเสน ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนเบื้องตนในการคาดคะเนการเกิดขึ้นของเหตุการณตาง ๆ ได

ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและเหมาะสม เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริง มีความเขาใจเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน รอยละ

เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม รากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริง สามารถดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนเต็ม เศษสวน ทศนิยม เลขยกกําลัง รากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริง ใชการประมาณคาในการดําเนินการและแกปญหา และนําความรูเกี่ยวกับจํานวนไปใชในชีวิตจริงได

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึม ทรงกระบอก และปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใชหนวยการวัดในระบบตาง ๆ เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และปริมาตรไดอยางเหมาะสม พรอมทั้งสามารถนําความรูเกี่ยวกับการวัดไปใชในชีวิตจริงได

สามารถสรางและอธิบายขั้นตอนการสรางรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชวงเวียนและสันตรง อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิตสามมิติซึ่งไดแก ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมได

มีความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติของความเทากันทุกประการและความคลายของรูปสามเหลี่ยม เสนขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และสามารถนําสมบัติเหลานั้นไปใชในการใหเหตุผลและแกปญหาได มีความเขาใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิต(geometric transformation)ในเรื่องการเลื่อนขนาน(translation) การสะทอน (reflection) และการหมุน (rotation) และนําไปใชได

สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

Page 53: Education core 2551

สามารถวิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของแบบรูป สถานการณหรือปญหา และสามารถใชสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว และกราฟในการแกปญหาได

สามารถกําหนดประเด็น เขียนขอคําถามเกี่ยวกับปญหาหรือสถานการณ กําหนดวิธีการศึกษา เก็บรวบรวมขอมูลและนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลม หรือรูปแบบอื่นที่เหมาะสมได

เขาใจคากลางของขอมูลในเรื่องคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของขอมูลที่ยังไมไดแจกแจงความถี่ และเลือกใชไดอยางเหมาะสม รวมทั้งใชความรูในการพิจารณาขอมูลขาวสารทางสถิติ

เขาใจเกี่ยวกับการทดลองสุม เหตุการณ และความนาจะเปนของเหตุการณ สามารถใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณและประกอบการตัดสินใจในสถานการณตาง ๆ ได

ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูกตอง และชัดเจน เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับระบบจํานวนจริง คาสัมบูรณของจํานวนจริง จํานวนจริงที่อยูใน

รูปกรณฑ และจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ หาคาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ และจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังโดยใชวิธีการคํานวณที่เหมาะสมและสามารถนําสมบัติของจํานวนจริงไปใชได

นําความรูเรื่องอัตราสวนตรีโกณมิติไปใชคาดคะเนระยะทาง ความสูง และแกปญหาเกี่ยวกับการวัดได

มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซต การดําเนินการของเซต และใชความรูเกี่ยวกับแผนภาพเวนน-ออยเลอรแสดงเซตไปใชแกปญหา และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการใหเหตุผล

เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธและฟงกชัน สามารถใชความสัมพันธและฟงกชัน

แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต และสามารถหาพจนทั่วไปได เขาใจ

ความหมายของผลบวกของ n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต และหาผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิตโดยใชสูตรและนําไปใชได

Page 54: Education core 2551

รูและเขาใจการแกสมการ และอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง รวมทั้งใชกราฟของสมการ อสมการ หรือฟงกชันในการแกปญหา

เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย เลือกใชคากลางไดเหมาะสมกับขอมูลและวัตถุประสงค สามารถหาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปอรเซ็นไทลของขอมูล วิเคราะหขอมูล และนําผลจากการวิเคราะหขอมูลไปชวยในการตัดสินใจ

เขาใจเกี่ยวกับการทดลองสุม เหตุการณ และความนาจะเปนของเหตุการณ สามารถใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณ ประกอบการตัดสินใจ และแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ ได

ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูกตอง และชัดเจน เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

Page 55: Education core 2551

สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการมาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๑. เขียนและอาน ตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับที่ไมเกินหนึ่งรอย และศูนย๒. เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไมเกินหนึ่งรอย และศูนย

๑. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับที่ไมเกินหนึ่งพันและศูนย๒. เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับ ไมเกินหนึ่งพันและศูนย

๑. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับที่ไมเกินหนึ่งแสน และศูนย๒. เปรียบเทียบ และเรียงลําดับ จํานวนนับไมเกินหนึ่งแสน และศูนย

๑. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับ ศูนย เศษสวน และทศนิยมหนึ่งตําแหนง๒. เปรียบเทียบ และเรียงลําดับ จํานวนนับและ ศูนย เศษสวน และทศนิยมหนึ่งตําแหนง

๑. เขียนและอานเศษสวน จํานวนคละ และทศนิยมไมเกินสองตําแหนง ๒. เปรียบเทียบ และเรียงลําดับเศษสวน และทศนิยมไมเกินสองตําแหนง ๓. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมและรอยละ เขียนรอยละในรูปเศษสวนและทศนิยม และเขียนทศนิยมในรูปเศษสวนและรอยละ

๑. เขียนและอานทศนิยม ไมเกินสามตําแหนง ๒. เปรียบเทียบ และเรียงลําดับ เศษสวน และทศนิยมไมเกินสามตําแหนง๓. เขียนทศนิยมในรูปเศษสวนและเขียนเศษสวนในรูปทศนิยม

๑ ๑. ระบุหรือยกตัวอยาง และเปรียบเทียบจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย เศษสวนและทศนิยม๒. เขาใจเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม และเขียนแสดงจํานวนใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร (scientific notation)

๑. เขียนเศษสวน ในรูปทศนิยม และเขียน ทศนิยมซ้ําใน รูปเศษสวน

๒. จําแนก จํานวนจริงที่ กําหนดใหและ ยกตัวอยาง จํานวน ตรรกยะ และจํานวน อตรรกยะ๓. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริง๔. ใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละในการแกโจทยปญหา

- ๑. แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆ ในระบบจํานวนจริง๒. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ คาสัมบูรณของจํานวนจริง ๓. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ

Page 56: Education core 2551

สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการมาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการดําเนินการตาง ๆและใชการดําเนินการในการแกปญหา

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม. ๖

๑. บวก ลบ และบวก ลบระคนของจํานวนนับไมเกินหนึ่งรอยและศูนย พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ๒. วิเคราะหและหาคําตอบของโจทยปญหาและโจทยปญหาระคนของจํานวนนับไมเกินหนึ่งรอย และศูนย พรอมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุ สมผลของคําตอบ

๑. บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับ ไมเกินหนึ่งพันและศูนย พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ๒. วิเคราะหและหาคําตอบของโจทยปญหาและโจทยปญหาระคน ของจํานวนนับ ไมเกินหนึ่งพันและศูนย พรอมทั้ง

ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ

๑. บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับไมเกินหนึ่งแสน และศูนย พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ๒. วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับไมเกินหนึ่งแสน และศูนย พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ และสรางโจทยได

๑. บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ จํานวนนับ และศูนย พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ ๒. วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ และศูนย พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ และสรางโจทยได

๑. บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณระคนของเศษสวน พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ๒. บวก ลบ คูณ และบวก ลบ คูณระคนของทศนิยมที่คําตอบเปนทศนิยมไมเกินสองตําแหนงพรอมทั้ งตระหนัก ถึงความสมเหตุสมผลของ คําตอบ

๑. บวก ลบ คูณ หารและบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสวน จํานวนคละ และทศนิยมพรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ๒.วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ เศษสวน จํานวนคละ ทศนิยม และรอยละ พรอมทั้งตระหนักถึง

๑. บวก ลบ คูณหารจํานวนเต็ม และนําไปใชแกปญหา ตระหนัก ถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธ ของการบวก กับการลบ การคูณกับ การหารของ จํานวนเต็ม

๑. หารากที่สอง และรากที่สาม ของจํานวนเต็ม โดยการแยกตัว ประกอบ และ นําไปใชในการ แกปญหาพรอมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคําตอบ ๒. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองและรากที่สามของ จํานวนเต็ม เศษสวนและ ทศนิยม บอกความสัมพันธของ การยกกําลังกับ การหารากของ จํานวนจริง

- ๑. เขาใจความหมาย และหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหาร จํานวนจริง จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ

Page 57: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖- - - ๓. บวกและลบ

เศษสวนที่มี ตัวสวนเทากัน

๓. วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ เศษสวน ทศนิยม และรอยละ พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ และสรางโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนนับได

ความสมเหตุ สมผลของคําตอบ และสรางโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนนับได

๒. บวก ลบ คูณหารเศษสวนและทศนิยม และนําไปใชแกปญหา ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธ ของการบวก กับการลบการคูณกับ การหารของเศษสวน และทศนิยม

- - -

Page 58: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- - - - - - ๓. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกําลังของจํานวนเต็ม เศษสวนและทศนิยม๔. คูณและหารเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม

- - -

Page 59: Education core 2551

สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการมาตรฐาน ค ๑.๓ ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหา

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- - - - ๑. บอกคา ประมาณใกลเคียงจํานวนเต็มสิบ เต็มรอย และเต็มพันของจํานวนนับ และนําไปใชได

๑. บอกคา ประมาณใกลเคียงจํานวนเต็มหลักตาง ๆ ของจํานวนนับ และนําไปใชได ๒. บอกคา ประมาณของทศนิยมไมเกินสามตําแหนง

๑. ใชการประมาณคาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมรวมถึงใชในการพิจารณาความสมเหตุ สมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณ

๑. หาคาประมาณของรากที่สอง และรากที่สามของจํานวนจริง และนําไปใชในการแกปญหา พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ

- ๑. หาคาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ และจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังโดยใชวิธีการคํานวณที่เหมาะสม

Page 60: Education core 2551

สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการมาตรฐาน ค ๑.๔ เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- - - - - ๑. ใชสมบัติ การสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และสมบัติการแจกแจงในการคิดคํานวณ ๒. หา ห.ร.ม และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ

๑. นําความรูและสมบัติ เกี่ยวกับ จํานวนเต็มไปใชในการแกปญหา

๑. บอกความเกี่ยวของของจํานวนจริง จํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ

- ๑. เขาใจสมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวก การคูณ

การเทากัน การไมเทากัน และนําไปใชได

Page 61: Education core 2551

สาระที่ ๒ การวัดมาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๑. บอกความยาว น้ําหนัก ปริมาตรและความจุโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน๒. บอก ชวงเวลา จํานวนวันและชื่อวันในสัปดาห

๑. บอกความยาวเปนเมตร และเซนติเมตร และเปรียบเทียบความยาวในหนวยเดียวกัน ๒. บอกน้ําหนักเปนกิโลกรัม และขีด และ เปรียบเทียบน้ําหนักในหนวย เดียวกัน ๓. บอกปริมาตรและความจุเปนลิตร และเปรียบ-เทียบปริมาตรและความจุ ๔. บอกจํานวน เงินทั้งหมดจาก เงินเหรียญและธนบัตร ๕. บอกเวลาบนหนาปดนาฬิกา (ชวง ๕ นาที)

๑. บอกความยาวเปน เมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เลือกเครื่องวัดที่เหมาะสมและเปรียบเทียบความยาว ๒. บอกน้ําหนักเปนกิโลกรัม กรัม และขีดเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม และเปรียบเทียบน้ําหนัก ๓. บอกปริมาตรและความจุเปนลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุในหนวย เดียวกัน

๑. บอกความ สัมพันธของหนวยการวัดความยาว น้ําหนัก ปริมาตรหรือความจุ และเวลา ๒. หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม- มุมฉาก

๓. บอกเวลาบน หนาปดนาฬิกา อานและเขียนเวลาโดย ใชจุด และบอกระยะเวลา ๔. คาดคะเนความยาว น้ําหนักปริมาตรหรือความจุ

๑. บอกความ สัมพันธของหนวยการวัด ปริมาตรหรือความจุ ๒.หาความยาวรอบรูป ของ รูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม ๓.หาพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยม - มุมฉากและรูปสามเหลี่ยม๔. วัดขนาดของมุม ๕. หาปริมาตรหรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

๑. อธิบายเสนทางหรือบอกตําแหนงของ สิ่งตางๆ โดยระบุทิศทาง และระยะทางจริงจากรูปภาพ แผนที่ และแผนผัง ๒. หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ๓. หาความยาวรอบรูป และพื้นที่ของรูปวงกลม

- ๑. เปรียบเทียบหนวยความยาว หนวยพื้นที่ในระบบเดียวกันและตางระบบ และเลือกใชหนวยการวัดไดอยางเหมาะสม๒. คาดคะเนเวลา ระยะทาง

พื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักได

อยางใกลเคียง และอธิบายวิธีการที่ใชในการคาดคะเน ๓. ใชการ คาดคะเน เกี่ยวกับการวัดในสถานการณตาง ๆ ไดอยาง เหมาะสม

๑. หาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก ๒. หาปริมาตรของปริซึมทรงกระบอก พีระมิด กรวยและทรงกลม๓. เปรียบเทียบหนวยความจุ หรือหนวยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือตางระบบ และเลือกใชหนวยการวัดไดอยางเหมาะสม๔. ใชการคาด คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม

๑. ใชความรูเรื่องอัตราสวน-ตรีโกณมิติของมุมในการคาดคะเนระยะทางและความสูง

Page 62: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๖. บอกวัน เดือน ป จากปฏิทิน

๔. บอกเวลาบนหนาปดนาฬิกา (ชวง ๕ นาที) อานและเขียนบอกเวลาโดยใชจุด ๕. บอกความ สัมพันธของ หนวยการวัด ความยาว น้ําหนัก และเวลา ๖. อานและเขียนจํานวนเงินโดยใชจุด

Page 63: Education core 2551

สาระที่ ๒ การวัดมาตรฐาน ค ๒.๒ แกปญหาเกี่ยวกับการวัด

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- ๑. แกปญหาเกี่ยวกับการวัด-ความยาว การชั่ง การตวง และเงิน

๑. แกปญหาเกี่ยวกับการวัด-ความยาว การชั่ง การตวง เงิน และเวลา๒. อานและเขียนบันทึกรายรับรายจาย๓. อานและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณที่ระบุเวลา

๑. แกปญหาเกี่ยวกับการวัด-ความยาว การชั่ง การตวง เงิน และเวลา ๒. เขียนบันทึกรายรับ รายจาย๓. อานและเขียนบันทึก กิจกรรมหรือเหตุการณ ที่ระบุเวลา

๑. แกปญหาเกี่ยวกับพื้นที่ ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม

๑. แกปญหาเกี่ยวกับพื้นที่ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและรูปวงกลม ๒. แกปญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยม -มุมฉาก๓. เขียนแผนผังแสดงตําแหนง ของสิ่งตาง ๆ และแผนผังแสดงเสนทาง การเดินทาง

- ๑. ใชความรูเกี่ยวกับ ความยาว และพื้นที่แกปญหา ในสถานการณ ตาง ๆ

๑. ใชความรูเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ

๑. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับระยะทางและความสูงโดยใชอัตราสวนตรีโกณมิติ

Page 64: Education core 2551

สาระที่ ๓ เรขาคณิตมาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๑. จําแนกรูปสามเหลี่ยมรูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี

๑. บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติวาเปนรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม หรือรูปวงรี๒. บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสามมิติวา เปนทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก ทรงกลมหรือทรงกระบอก ๓. จําแนกระหวางรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และ รูปวงกลมกับ ทรงกลม

๑. บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนสวนประกอบของสิ่งของที่มีลักษณะเปนรูปเรขาคณิตสามมิติ๒. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่กําหนดให๓. เขียนชื่อจุดเสนตรง รังสีสวนของเสนตรงมุม และเขียนสัญลักษณ

๑. บอกชนิดของมุม ชื่อมุม สวนประกอบของมุม และเขียนสัญลักษณ๒. บอกไดวาเสนตรงหรือสวนของเสนตรงคูใดขนานกัน พรอมทั้งใชสัญลักษณแสดง การขนาน ๓. บอกสวน ประกอบของรูปวงกลม

๑. บอกลักษณะและจําแนก รูปเรขาคณิตสามมิติชนิดตาง ๆ๒. บอกลักษณะความสัมพันธและจําแนก รูปสี่เหลี่ยม ชนิดตางๆ ๓. บอกลักษณะสวนประกอบความสัมพันธและจําแนกรูปสามเหลี่ยมชนิดตาง ๆ

๑. บอกชนิดของ รูปเรขาคณิต สองมิติที่เปนสวนประกอบ ของรูปเรขาคณิต สามมิติ ๒. บอกสมบัติของเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมชนิดตางๆ ๓. บอกไดวาเสนตรงคูใดขนานกัน

๑. สรางและบอกขั้นตอนการสรางพื้นฐานทางเรขาคณิต๒. สรางรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชการสรางพื้นฐานทางเรขาคณิตและบอกขั้นตอนการสรางโดยไมเนนการพิสูจน๓. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต

- ๑. อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลม

-

Page 65: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- ๔. บอกไดวารูปใดหรือสวนใดของสิ่งของมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก และจําแนกไดวาเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยม ผืนผา๕. บอกไดวารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใดเปนรูปที่มีแกนสมมาตร และบอกจํานวนแกนสมมาตร

๔. อธิบายลักษณะของ รูปเรขาคณิตสามมิติจากภาพที่กําหนดให๕. ระบุภาพ สองมิติที่ไดจากการมองดานหนา(front view) ดานขาง (side view) หรือดานบน (top view) ของรูป เรขาคณิตสามมิติที่กําหนดให

- - -

Page 66: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- - - - - - ๖. วาดหรือประดิษฐรูปเรขาคณิต สามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก เมื่อกําหนดภาพสองมิติที่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง และดานบนให

- - -

Page 67: Education core 2551

สาระที่ ๓ เรขาคณิตมาตรฐาน ค ๓.๒ ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- ๑. เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชแบบของรูปเรขาคณิต

๑. เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดใหในแบบตาง ๆ๒. บอกรูปเรขาคณิตตาง ๆ ที่อยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว

๑. นํารูปเรขาคณิต มาประดิษฐเปนลวดลายตาง ๆ

๑. สรางมุมโดยใชโพรแทรกเตอร๒. สรางรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปสามเหลี่ยมและรูปวงกลม๓. สรางเสนขนานโดยใชไมฉาก

๑. ประดิษฐทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากทรงกระบอก กรวย ปริซึมและพีระมิดจากรูปคลี่ หรือรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดให๒. สรางรูปสี่เหลี่ยมชนิดตาง ๆ

- ๑. ใชสมบัติเกี่ยวกับ ความเทากัน ทุกประการ ของรูป สามเหลี่ยม และสมบัติของเสนขนานในการใหเหตุผล และแกปญหา ๒. ใชทฤษฎีบทพีทาโกรัส และบทกลับ ในการให เหตุผลและ แกปญหา

๑. ใชสมบัติของ รูปสามเหลี่ยมคลายในการใหเหตุผล และการแกปญหา

-

Page 68: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๓. เขาใจเกี่ยวกับ การแปลง ทางเรขาคณิตใน เรื่องการเลื่อน ขนาน การสะทอน และการหมุนและ นําไปใช๔. บอกภาพที่เกิดขึ้นจากการ เลื่อนขนาน การสะทอนและการหมุนรูปตนแบบ และอธิบายวิธีการที่จะไดภาพที่ปรากฏ เมื่อกําหนดรูปตนแบบและภาพนั้นให

-

Page 69: Education core 2551

สาระที่ ๔ พีชคณิตมาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๑. บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่เพ่ิมขึ้นทีละ ๑ ทีละ ๒ และลดลงทีละ ๑ ๒. บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน อยางใดอยางหนึ่ง

๑. บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้น ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ และลดลงทีละ ๒ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ ๒. บอกรูปและความสัมพันธ ในแบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน อยางใดอยางหนึ่ง

๑. บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐ และลดลงทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐ และแบบรูปซ้ํา๒.บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน สองลักษณะ

๑. บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเทากัน ๒. บอกรูป และความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่กําหนดให

๑. บอกจํานวนและ ความสัมพันธในแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให

๑. แกปญหาเกี่ยวกับแบบรูป

๑ . วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของแบบรูปที่กําหนดให

- - ๑. มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดําเนินการของเซต๒. เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย๓. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ ความสัมพันธและฟงกชัน เขียนแสดงความสัมพันธและฟงกชันในรูปตาง ๆ เชน ตาราง กราฟ และสมการ๔. เขาใจความหมายของลําดับและหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัด๕. เขาใจความหมายของลําดับ เลขคณิต และลําดับเรขาคณิต หาพจนตางๆของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต และนําไปใช

Page 70: Education core 2551

สาระที่ ๔ พีชคณิตมาตรฐาน ค ๔.๒ ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหา

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ๖

- - - - - ๑. เขียนสมการจากสถานการณหรือปญหา และแกสมการพรอมทั้งตรวจคําตอบ

๑. แกสมการเชิงเสนตัวแปร-เดียวอยางงาย๒. เขียนสมการ เชิงเสน ตัวแปรเดียวจากสถานการณ หรือปญหา อยาง งาย๓. แกโจทย ปญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเสนตัวแปรเดียวอยางงาย พรอมทั้ง ตระหนักถึง ความสมเหตุ สมผลของ คําตอบ

๑. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียวพรอมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ๒. หาพิกัดของจุด และอธิบายลักษณะของ รูปเรขาคณิตที่เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน การสะทอน และ การหมุนบนระนาบในระบบพิกัดฉาก

๑. ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปร เดียว ในการแกปญหาพรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ ๒. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสน ๓. เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร

๑. เขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรแสดงเซตและนําไปใชแกปญหา ๒. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการใหเหตุผล โดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร๓. แกสมการ และอสมการ ตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง๔. สรางความสัมพันธหรือฟงกชันจากสถานการณหรือปญหา และนําไปใชในการแกปญหา๕. ใชกราฟของสมการ อสมการฟงกชัน ในการแกปญหา๖. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต โดยใชสูตรและนําไปใช

Page 71: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๔. เขียนกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก แสดงความ เกี่ยวของของ ปริมาณสอง ชุดที่กําหนดให๕. อานและแปลความหมายของกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉากที่กําหนดให

๔.อานและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร และกราฟอื่น ๆ๕. แกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร และนําไปใชแกปญหาพรอมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ

Page 72: Education core 2551

สาระที่ ๕ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนมาตรฐาน ค ๕.๑ เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- - ๑. รวบรวมและจําแนกขอมูล เกี่ยวกับตนเอง และสิ่งแวดลอม ใกลตัวที่พบเห็น ในชีวิตประจําวัน ๒. อานขอมูล จากแผนภูม-ิรูปภาพ และ แผนภูมิแทงอยางงาย

๑. รวบรวมและจําแนกขอมูล๒. อานขอมูล จากแผนภูม-ิรูปภาพ แผนภูมิแทง และตาราง ๓. เขียนแผนภูม-ิรูปภาพ และแผนภูมิแทง

๑. เขียนแผนภูมิแทงที่มีการยนระยะของเสนแสดงจํานวน๒. อานขอมูลจากแผนภูมิแทง-เปรียบเทียบ

๑. อานขอมูล จากกราฟเสนและแผนภูมิ-รูปวงกลม๒. เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน

- ๑. อานและนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลม

๑. กําหนดประเด็น และเขียนขอ คําถามเกี่ยวกับปญหาหรือสถานการณตางๆ รวมทั้งกําหนดวิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมขอมูลที่เหมาะสม๒. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐานและ ฐานนิยมของขอมูลที่ไมไดแจกแจงความถี่ และเลือกใชไดอยางเหมาะสม

๑. เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย๒. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปอรเซ็นไทลของขอมูล๓. เลือกใชคากลางที่เหมาะสมกับ ขอมูลและวัตถุประสงค

Page 73: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๓. นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสม๔. อาน แปลความหมาย และวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการนําเสนอ

Page 74: Education core 2551

สาระที่ ๕ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนมาตรฐาน ค ๕.๒ ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- - - - ๑. บอกไดวาเหตุการณที่ กําหนดใหนั้น- เกิดขึ้นอยางแนนอน- อาจจะเกิดขึ้นหรือไมก็ได- ไมเกิดขึ้นอยางแนนอน

๑. อธิบายเหตุการณโดยใช คําที่มีความหมายเชนเดียวกับคําวา- เกิดขึ้นอยางแนนอน- อาจจะเกิดขึ้นหรือไมก็ได- ไมเกิดขึ้นอยางแนนอน

๑. อธิบายไดวาเหตุการณที่กําหนดให เหตุการณใดจะมีโอกาสเกิดขึ้นไดมากกวากัน

๑. อธิบายไดวาเหตุการณที่กําหนดให เหตุการณใดเกิดขึ้นแนนอน เหตุการณใดไมเกิดขึ้นแนนอน และเหตุการณใดมีโอกาสเกิดขึ้นไดมากกวากัน

๑. หาความนาจะเปนของเหตุการณจากการทดลองสุมที่ผลแตละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นเทาๆ กัน และใชความรู เกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล

๑. นําผลที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชคาดการณในสถานการณที่กําหนดให๒. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณ และนําผลที่ไดไปใชคาดการณในสถานการณที่กําหนดให

Page 75: Education core 2551

สาระที่ ๕ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนมาตรฐาน ค ๕.๓ ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและแกปญหา

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

- - - - - - - - ๑. ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนประกอบการตัดสินใจในสถานการณตาง ๆ ๒. อภิปรายถึงความคลาดเคลื่อน ที่อาจเกิดขึ้นไดจากการนําเสนอ ขอมูลทางสถิติ

๑. ใชขอมูลขาวสาร และคาสถิติ ชวยในการตัดสินใจ๒. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปน ชวยในการตัดสินใจและแกปญหา

Page 76: Education core 2551

สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรมาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู ตาง ๆ ทาง คณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน

Page 77: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตอง๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ๖ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตอง๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ๖ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตอง๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ๖ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและเหมาะสม๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและเหมาะสม๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและเหมาะสม๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๕. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

Page 78: Education core 2551

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

ทําไมตองเรียนวิทยาศาสตรวิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของ

กับทุกคนทั้งในชีวิตประจําวันและการงานอาชีพตาง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใชและผลผลิตตาง ๆ ที่มนุษยไดใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและการทํางาน เหลานี้ลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่น ๆ วิทยาศาสตรชวยใหมนุษย ไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสําคัญในการคนควาหาความรู มีความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมูล ที่หลากหลายและมีประจักษพยานที่ตรวจสอบได วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมของโลกสมัยใหมซึ่งเปนสังคมแหงการเรียนรู (knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจําเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร เพื่อที่จะมีความรูความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษยสรางสรรคขึ้น สามารถนําความรูไปใชอยางมีเหตุผล สรางสรรค และมีคุณธรรม

เรียนรูอะไรในวิทยาศาสตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงหวังใหผูเรียนไดเรียนรูวิทยาศาสตรที่เนนการเชื่อมโยง

ความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู และการแกปญหาที่หลากหลาย ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูทุกขั้นตอน มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติจริงอยางหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยไดกําหนดสาระสําคัญ ไวดังนี้

สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสรางและหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การถายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ

ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลก ปจจัยที่มีผลตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดลอมตาง ๆ

สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร

Page 79: Education core 2551

แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง แรงนิวเคลียร การออกแรงกระทําตอวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนตการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณของแสง เสียง และวงจรไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงานการอนุรักษพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสรางและองคประกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณทางธรณี ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ

ดาราศาสตรและอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธของดวงอาทิตย ดวงจันทร และโลก ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ

ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การแกปญหา และจิตวิทยาศาสตร

Page 80: Education core 2551

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ เขาใจลักษณะทั่วไปของสิ่ งมีชีวิต และการดํารงชีวิตของสิ่ งมีชีวิตที่หลากหลาย

ในสิ่งแวดลอมทองถิ่น เขาใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว แรงในธรรมชาติ รูปของ

พลังงาน เขาใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ ดวงอาทิตย และดวงดาว ตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ และปรากฏการณตางๆ รอบตัว สังเกต สํารวจ

ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย และสื่อสารสิ่งที่เรียนรูดวยการเลาเรื่อง เขียน หรือ วาดภาพ

ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กําหนดให หรือตามความสนใจ

แสดงความกระตือรือรน สนใจที่จะเรียนรู และแสดงความซาบซึ้งตอสิ่งแวดลอมรอบตัว แสดงถึงความมีเมตตา ความระมัดระวังตอสิ่งมีชีวิตอื่น

ทํางานที่ไดรับมอบหมายดวยความมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย จนเปนผลสําเร็จ และทํางานรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ เขาใจโครงสรางและการทํางานของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธของ

สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน เขาใจสมบัติและการจําแนกกลุมของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทําให

สารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวิตประจําวัน การแยกสารอยางงาย เขาใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทํากับวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องตนของแรงลอยตัว

สมบัติและปรากฏการณเบื้องตนของแสง เสียง และวงจรไฟฟา เขาใจลักษณะ องคประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธของดวง

อาทิตย โลก และดวงจันทรที่มีผลตอการเกิดปรากฎการณธรรมชาติ ตั้งคําถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู คาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผนและสํารวจ

ตรวจสอบโดยใชเครื่องมือ อุปกรณ วิเคราะหขอมูล และสื่อสารความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบ

Page 81: Education core 2551

ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต และการศึกษาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กําหนดใหหรือตามความสนใจ

แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรู ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกยอง และ

เคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคน แส ดง ถึ ง ค วาม ซ า บซึ้ ง หวง ใ ย แส ดง พ ฤ ติก รรมเกี่ ย วกั บ ก ารใ ช กา รดูแล รัก ษ า

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟงความ

คิดเห็นของผูอื่น

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เขาใจลักษณะและองคประกอบที่สําคัญของเซลลสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของการทํางาน

ของระบบตางๆ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองตอสิ่งเราของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดลอม

เขาใจองคประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เขาใจแรงเสียดทาน โมเมนตของแรง การเคลื่อนที่แบบตางๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการอนุรักษพลังงาน การถายโอนพลังงาน สมดุลความรอน การสะทอน การหักเหและความเขมของแสง

เขาใจความสัมพันธระหวางปริมาณทางไฟฟา หลักการตอวงจรไฟฟาในบาน พลังงานไฟฟาและหลักการเบื้องตนของวงจรอิเล็กทรอนิกส

เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหลงทรัพยากรธรณี ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ และผลที่มีตอสิ่งตางๆ บนโลก ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ

เขาใจความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตรกับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยีตอคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม

ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผนและลงมือสํารวจตรวจสอบ วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของขอมูล และสราง องคความรู

Page 82: Education core 2551

สื่อสารความคิด ความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษา หาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ

แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรู โดยใช เครื่องมือและวิธีการที่ใหไดผลถูกตองเชื่อถือได

ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจําวันและการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกยองและเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคน

แสดงถึงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา มีสวนรวมในการพิทักษ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่น

ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เขาใจการรักษาดุลยภาพของเซลลและกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เขาใจกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวัฒนาการของ

สิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและปจจัยที่มีผลตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิต ในสิ่งแวดลอมตางๆ

เขาใจกระบวนการ ความสําคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอมนุษย สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

เขาใจชนิดของอนุภาคสําคัญที่เปนสวนประกอบในโครงสรางอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เขาใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคและสมบัติตางๆ ของสารที่มีความสัมพันธกับแรงยึดเหนี่ยว

เขาใจการเกิดปโตรเลียม การแยกแกสธรรมชาติและการกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ การนําผลิตภัณฑปโตรเลียมไปใชประโยชนและผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

เขาใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สําคัญของพอลิเมอรและสารชีวโมเลกุล เขาใจความสัมพันธระหวางปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบตางๆ สมบัติของคลื่นกล

คุณภาพของเสียงและการไดยิน สมบัติ ประโยชนและโทษของคลื่นแมเหล็กไฟฟา กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร

Page 83: Education core 2551

เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณทางธรณีที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

เขาใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพและความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ

เขาใจความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตางๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่สงผลใหมีการคิดคนความรูทางวิทยาศาสตรที่กาวหนา ผลของเทคโนโลยีตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม

ระบุปญหา ตั้งคําถามที่จะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกําหนดความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ สืบคนขอมูลจากหลายแหลง ตั้งสมมติฐานที่เปนไปไดหลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่เปนไปได

วางแผนการสํารวจตรวจสอบเพื่อแกปญหาหรือตอบคําถาม วิ เคราะห เชื่อมโยงความสัมพันธของตัวแปรตางๆ โดยใชสมการทางคณิตศาสตรหรือสรางแบบจําลองจากผลหรือความรูที่ไดรับจากการสํารวจตรวจสอบ

สื่อสารความคิด ความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

อธิบายความรูและใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ

แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรู โดยใชเครื่องมือและวิธีการที่ใหไดผลถูกตองเชื่อถือได

ตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกยอง อางอิงผลงาน ชิ้นงานที่เปนผลจากภูมิปญญาทองถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย

แสดงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา เสนอตัวเองรวมมือปฏิบัติกับชุมชนในการปองกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของทองถิ่น

แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณคาในการคนพบความรู พบคําตอบ หรือแกปญหาได ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอางอิงและเหตุผล

ประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรมตอสังคมและสิ่งแวดลอม และยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

Page 84: Education core 2551

สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวติมาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมชีีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู

สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิตตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖๑. เปรียบ เทียบความแตกตางระหวางสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งไมมีชีวิต ๒. สังเกตและอธิบายลักษณะและหนาที่ของ โครงสรางภายนอกของพืชและสัตว

๑. ทดลองและอธิบาย น้ํา แสง เปนปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของพืช ๒. อธิบายอาหาร น้ํา อากาศ เปนปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโตของพืชและสัตวและนําความรูไปใชประโยชน

- ๑. ทดลองและอธิบายหนาที่ของทอลําเลียงและปากใบของพืช ๒. อธิบาย น้ํา แกสคารบอน -ไดออกไซด แสง และ คลอโรฟลล เปนปจจัยที่จําเปนบางประการตอ การเจริญเติบโตและการสังเคราะหดวยแสงของพืช

๑. สังเกตและระบุสวนประกอบของดอกและ โครงสรางที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุของพืชดอก ๒. อธิบายการสืบพันธุของพืชดอก การขยาย พันธุพืช และนําความรูไปใชประโยชน

๑. อธิบายการเจริญเตบิโตของมนุษยจากวัยแรกเกิดจนถึงวัยผูใหญ

๒. อธิบายการทํางานที่สัมพันธกันของระบบยอยอาหาร ระบบหายใจ และระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย

๑. สังเกตและอธิบายรูปราง ลักษณะของเซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและเซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ๒. สังเกตและเปรียบเทียบสวน ประกอบสําคัญของ เซลลพืชและเซลลสัตว

๑. อธิบายโครงสรางและการทํางานของระบบ ยอยอาหารระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถายระบบสืบพันธุของมนุษยและสัตวรวมทั้งระบบประสาทของมนุษย

- ๑. ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลลของสิ่งมีชีวิต ๒. ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ํา ในพืช ๓. สืบคนขอมูลและอธิบายกลไกการควบคุมดุลยภาพของน้ํา แรธาตุ และอุณหภูมิของมนุษยและสัตวอื่น ๆ และนําความรูไปใชประโยชน ๔. อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกนัของรางกายและนําความรูไปใชในการดูแลรักษาสุขภาพ

Page 85: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๓. สังเกตและอธิบายลักษณะหนาที่และความสําคัญของอวัยวะภายนอกของมนุษย ตลอดจนการดูแลรักษาสุขภาพ

๓. สํารวจและอธิบาย พืชและสัตวสามารถ ตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส ๔. ทดลองและอธิบาย รางกายของมนุษยสามารถ ตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส๕. อธิบายปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย

- ๓. ทดลองและอธิบาย การตอบสนองของพืชตอแสง เสียง และการสัมผัส ๔. อธิบายพฤติกรรมของสัตวที่ตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ การสัมผัส และนําความรูไปใชประโยชน

๓. อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิด ๔. อธิบายการสืบพันธุและการขยายพันธุของสัตว ๕. อภิปราย วัฏจักรชีวิตของสัตว บางชนิด และนําความรูไปใชประโยชน

๓. วิเคราะหสารอาหารและอภิปรายความจําเปนที่รางกาย ตองไดรับสารอาหารในสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศและวัย

๓. ทดลองและอธิบายหนาที่ของสวน ประกอบ ที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว ๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผานเซลล โดยการแพรและออสโมซิส ๕. ทดลองหาปจจัยบางประการที่จําเปนตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช และอธิบายวาแสง คลอโรฟลลแกสคารบอนไดออกไซด น้ํา เปนปจจัยที่จําเปนตองใชในการสังเคราะหดวยแสง

๒. อธิบายความ สัมพันธของระบบตางๆ ของ มนุษยและนําความรูไปใชประโยชน ๓. สังเกตและอธิบายพฤติกรรมของมนุษยและสัตวที่ตอบสนองตอสิ่งเราภายนอกและภายใน ๔. อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของสัตวและนําความรูไปใชประโยชน

-

Page 86: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๖. ทดลองและอธิบายผลที่ไดจากการสังเคราะห ดวยแสงของพืช

๗. อธิบายความสําคัญของกระบวนการสังเคราะห ดวยแสง ของพืชตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ๘. ทดลองและอธิบายกลุมเซลลที่เกี่ยวของกับการลําเลียงน้ําของพืช

๕. ทดลอง วิเคราะห และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศและวัย ๖. อภิปรายผลของสารเสพติดตอระบบตาง ๆ ของรางกาย และแนวทางในการปองกันตนเองจาก สารเสพติด

Page 87: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๙. สังเกตและอธิบายโครงสรางที่เกี่ยวกับระบบลําเลียงน้ําและอาหารของพืช ๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสรางของดอกที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุของพืช ๑๑. อธิบายกระบวนการสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ

Page 88: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

แบบไมอาศัยเพศของพืช โดยใชสวนตางๆ ของพืชเพื่อชวยในการ ขยายพันธุ ๑๒. ทดลองและอธิบายการตอบ สนองของพืช ตอแสง น้ํา และการสัมผัส ๑๓. อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ เพิ่มผลผลิตของพืชและนําความรูไปใชประโยชน

Page 89: Education core 2551

สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวติมาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพ

ที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู และนําความรูไปใชประโยชนตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖๑. ระบุลักษณะของสิ่งมีชีวิตในทองถิ่นและนํามาจัดจําแนกโดยใชลักษณะภายนอกเปนเกณฑ

๑. อธิบายประโยชนของพืชและสัตวในทองถิ่น

- - - -๑. อภิปรายลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิตใกลตัว ๒. เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแม กับลูก

๑. สํารวจ เปรียบเทียบและระบุลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว ๒. อธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ของสิ่งมีชีวิตในแตละรุน

๑. สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหนวยพันธุกรรม หรือยีนในนิวเคลียส ๒. อธิบายความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ และกระบวนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

๑. อธิบายกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ๒. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพที่มีตอมนุษยและสิ่งแวดลอมและนําความรูไปใชประโยชน ๓. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษยและสิ่งแวดลอม ๔. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

Page 90: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๓. อธิบายลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูกวาเปนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และนําความรูไปใชประโยชน๔. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต บางชนิดที่สูญพันธุไปแลว และที่ดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบัน

๓. จําแนกพืชออกเปน พืชดอก และพืชไมมีดอก ๔. ระบุลักษณะของพืชดอกที่เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู โดยใชลักษณะภายนอกเปนเกณฑ ๕. จําแนกสัตวออกเปนกลุมโดยใชลักษณะภายในบางลักษณะและลักษณะภายนอกเปนเกณฑ

๓. อภิปรายโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนําความรูไปใชประโยชน๔. สํารวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในทองถิ่นที่ทําใหสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยูไดอยางสมดุล ๕. อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพ

Page 91: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

ที่มีตอมนุษย สัตว พืช และสิ่งแวดลอม ๖. อภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอการ ดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งแวดลอม

Page 92: Education core 2551

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอมมาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ

หาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖๑. สํารวจสิ่งแวดลอมในทองถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

๑. สํารวจระบบนิเวศตางๆในทองถิ่นและอธิบายความสัมพันธขององคประกอบภายในระบบนิเวศ

๑. สํารวจและอภิปรายความ สัมพันธ ของกลุมสิ่งมีชีวิตในแหลงที่อยูตาง ๆ

๒. อธิบายความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในรูปของโซอาหารและสายใยอาหาร ๓. สืบคนขอมูลและอธิบายความสัมพันธระหวางการดํารงชีวิตของ

๒. วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซอาหารและสายใยอาหาร

๑. อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ ๒. อธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต ๓. อธิบายความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และเสนอแนะแนวทางในการดูแลและรักษา

Page 93: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

สิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดลอมในทองถิ่น

๓. อธิบายวัฏจักรน้ํา วัฏจักรคารบอน และความสําคัญที่มีตอระบบนิเวศ ๔. อธิบายปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร ในระบบนิเวศ

Page 94: Education core 2551

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอมมาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ในทองถิ่นอยางยั่งยืนตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖๑. วิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอม ทรัพยากร ธรรมชาติ ในทองถิ่น และเสนอแนวทาง ในการ แกไขปญหา

๑. สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ และอภิปรายการใช ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น

๒. ระบุการใชทรัพยากรธรรมชาติ ที่กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น๓. อภิปรายและนําเสนอการใชทรัพยากร ธรรมชาติ อยางประหยัด คุมคา และมีสวนรวม ในการปฏิบัติ

๑. สืบคนขอมูลและอภิปรายแหลงทรัพยากร ธรรมชาติในแตละทองถิ่นที่เปนประโยชนตอการดํารงชีวิต ๒. วิเคราะหผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษยตอ การใชทรัพยากร ธรรมชาติ ๓. อภิปรายผลตอสิ่งมีชีวิต จากการเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดลอม ทั้งโดยธรรมชาติ และโดยมนุษย

๒. อธิบายแนวทาง การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ๓. อภิปรายการใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางยั่งยืน

๑. วิเคราะหสภาพปญหา สาเหตุของปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ทองถิ่น ระดับประเทศ และระดบัโลก ๒. อภิปรายแนวทางในการปองกัน แกไข ปญหา สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ๓. วางแผนและดําเนินการเฝาระวัง อนุรักษ และพัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากร ธรรมชาติ

Page 95: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๔. อภิปราย แนวทางในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๕. มีสวนรวมในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น

๔. วิเคราะหและอธิบายการใชทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕. อภิปรายปญหาสิ่งแวดลอมและเสนอแนะแนวทางการแกปญหา ๖. อภิปราย และมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษ สิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

Page 96: Education core 2551

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพนัธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร

สื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชนตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖๑. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด ตาง ๆ เกี่ยวกับความยืดหยุน ความแข็ง ความเหนียวการนําความรอน การนําไฟฟา และ ความหนาแนน

๑. สังเกตและระบุลักษณะที่ปรากฏหรือสมบัติของวัสดุที่ใชทําของเลน ของใชในชีวิตประจําวัน ๒. จําแนกวัสดุที่ใชทําของเลน ของใชในชีวิต ประจําวัน รวมทั้งระบุเกณฑที่ใชจําแนก

๑. ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของวัสดุที่นํามาทําของเลน ของใชในชีวิต ประจําวัน ๒. เลือกใชวัสดุและสิ่งของตางๆ ไดอยางเหมาะสมและปลอดภัย

๑. จําแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เปนสวนประกอบของของเลน ของใช ๒. อธิบายการใชประโยชนของวัสดุแตละชนิด ๒. สืบคน

ขอมูลและอภิปรายการนําวัสดุไปใชในชีวิต ประจําวัน

๑. ทดลองและอธิบาย สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแกส ๒. จําแนกสารเปนกลุมโดยใชสถานะหรือเกณฑอื่นที่กําหนดเอง๓. ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน โดยการรอน การตกตะกอน การกรองการระเหิด การระเหยแหง

๑. ทดลองและจําแนกสารเปนกลุมโดยใชเนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเปนเกณฑและอธิบายสมบัติของสารในแตละกลุม ๒. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใชแบบจําลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร ๓. ทดลองและอธิบายสมบัติความเปนกรดเบส ของสารละลาย

๑. สํารวจและอธิบายองคประกอบ สมบัติของธาตุและสารประกอบ ๒. สืบคนขอมูลและเปรียบเทียบสมบัติของธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสีและนําความรูไปใชประโยชน ๓. ทดลองและอธิบายการหลักการ

๑. สืบคนขอมูลและอธิบายโครงสรางอะตอม และสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ๒. วิเคราะหและอธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ความสัมพันธระหวางอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา๓. อธิบายการจัดเรียงธาตุและทํานายแนวโนมสมบัติของธาตุในตารางธาตุ๔. วิเคราะหและอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร๕. สืบคนขอมูลและอธิบายความสัมพันธระหวางจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค ของสาร

Page 97: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

แยกสารดวยวิธีการกรอง การตกผลึก การสกัด การกลั่น และโครมาโทกราฟ และนําความรูไปใชประโยชน

-๔. สํารวจและจําแนกประเภทของสารตางๆที่ใชในชีวิต ประจําวัน โดยใชสมบัติและการใชประโยชนของสารเปนเกณฑ ๕. อภิปรายการเลือกใชสารแตละประเภทไดอยางถูกตองและปลอดภัย

๔.ตรวจสอบคา pH ของสารละลายและนําความรู ไปใชประโยชน

Page 98: Education core 2551

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสารมาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร

สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชนตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖๑. ทดลองและอธิบายผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัสดุ เมื่อถูกแรงกระทํา หรือทําใหรอนขึ้นหรือทําใหเย็นลง ๒. อภิปรายประโยชนและอันตรายที่อาจ

๑. ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิด การละลายและเปลี่ยนสถานะ ๒. วิเคราะหและอธิบายการเปลี่ยนแปลง ที่ทําใหเกิด สารใหม และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป

๑. ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเขมขนเปนรอยละ และอภิปรายการนําความรูเกี่ยวกับสารละลายไปใชประโยชน

๑. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานเมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งอธิบายปจจัยที่มีผลตอการเกิด ปฏิกิริยาเคมี

๑. ทดลอง อธิบายและเขียนสมการ

ของปฏิกิริยาเคมีทั่วไป

ที่พบในชีวิตประจําวัน รวมทั้งอธิบาย

ผลของสารเคมีที่มีตอสิ่งมีชีวิตและ

สิ่งแวดลอม

๒. ทดลองและอธิบายอัตราการ

เกิดปฏิกิริยาเคมี ปจจัยที่มีผลตออัตรา

การเกิดปฏิกิริยาเคมี และนําความรูไป

ใชประโยชน

๓. สืบคนขอมูลและอธิบายการเกิด

ปโตรเลียม กระบวนการแยกแกส

ธรรมชาติ และการกลั่นลําดับสวน

น้ํามันดิบ

Page 99: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

๒. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยน-แปลงสมบัติ มวลและพลังงาน ของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะ และเกิด การละลาย

๓. อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่กอใหเกิดผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

๓. ทดลองและอธิบายปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร

๒. ทดลอง อธิบายและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาของสารตาง ๆ และนําความรูไปใชประโยชน

๓. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของสารเคมี ปฏิกิริยาเคมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

๔. สืบคนขอมูลและอภิปรายการนําผลิตภัณฑที่ไดจากการแยกแกสธรรมชาติและการกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบไปใชประโยชน รวมทั้งผลของผลิตภัณฑตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

๕. ทดลองและอธิบายการเกิดพอลิเมอร สมบัติของพอลิเมอร ๖. อภิปรายการนําพอลิเมอร ไปใชประโยชน รวมทั้งผลที่เกิดจากการผลิตและใชพอลิเมอรตอสิ่งมชีีวิตและสิ่งแวดลอม๗. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชนและปฏิกิริยาบางชนิดของคารโบไฮเดรต

๘. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชน และปฏิกิริยาบางชนิดของไขมันและน้ํามัน

Page 100: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๔. สืบคนขอมูลและอธิบายการใชสารเคมีอยางถูกตอง ปลอดภัย วิธีปองกันและแกไขอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใชสารเคมี

๙. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชน และปฏิกิริยาบางชนิดของโปรตีน และกรดนิวคลีอิก

Page 101: Education core 2551

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

อยางถูกตองและมีคุณธรรม

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. ทดลองและอธิบายการดึงหรือการผลักวัตถุ

๑. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรง ซึ่งอยูในแนวเดียวกันที่กระทําตอวัตถุ

๑. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธของแรงหลายแรง ในระนาบเดียวกันที่กระทําตอวัตถุ

๑. ทดลองและอธิบายแรงที่เกิดจากแมเหล็ก ๒. อธิบาย การนําแมเหล็กมาใช ประโยชน ๓. ทดลองและอธิบายแรงไฟฟาที่เกิดจากการถูวัตถ ุ บางชนิด

๑. ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทําตอวัตถุ ๒. ทดลองการตกของวัตถุสูพื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ

๒. ทดลองและอธิบายความดันอากาศ๓. ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว ๔. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว และการจมของวัตถุ

๑. สืบคนขอมูล และอธิบายปริมาณ สเกลาร ปริมาณเวกเตอร ๒. ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วและความเร็ว ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ

๒. อธิบายแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ ดวยความเร็วคงตัว

๑. อธิบายความเรงและผลของแรงลัพธที่ทําตอวัตถุ ๒. ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุ และนําความรูไปใชประโยชน ๓. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว ที่กระทําตอวัตถุ

๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรงกับ การเคลื่อนทีข่องวัตถุในสนามโนมถวง และอธิบายการนําความรูไปใชประโยชน ๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรงกับ การเคลื่อนทีข่องอนุภาคในสนามไฟฟา และนําความรูไปใชประโยชน๓. ทดลองและอธิบายความ สัมพันธระหวางแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนาม แมเหล็ก และนําความรูไปใชประโยชน ๔. วิเคราะหและอธิบายแรงนิวเคลียรและแรงไฟฟาระหวางอนุภาคในนิวเคลียส

Page 102: Education core 2551

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. ทดลองและอธิบาย แรงเสียดทานและนําความรูไปใชประโยชน

๑. ทดลองและอธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรง และนําความรูไปใชประโยชน ๒. ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง และนําความรูไปใชประโยชน ๓. สังเกต และอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปน แนวตรง และแนวโคง

๑. อธิบายและทดลองความ สัมพันธระหวางการกระจัด เวลา ความเรว็ ความเรงของการเคลื่อนที่ในแนวตรง ๒. สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล แบบวงกลม และแบบฮารมอนิกอยางงาย ๓. อภิปรายผลการสืบคนและประโยชนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล แบบวงกลม และแบบฮารมอนิกอยางงาย

Page 103: Education core 2551

สาระที่ ๕ พลังงานมาตรฐาน ว ๕.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. ทดลองและอธิบายไดวาไฟฟาเปนพลังงาน ๒. สํารวจและยกตัวอยางเครื่องใช ไฟฟาในบานที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานอื่น

๑. บอกแหลงพลังงานธรรมชาติที่ใชผลิตไฟฟา ๒. อธิบายความสําคัญของพลังงานไฟฟาและ เสนอวิธีการใชไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย

๑. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลงกําเนิด ๒. ทดลองและอธิบายการสะทอนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ ๓. ทดลองและจําแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหลงกําเนิดแสง

๑. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ ของเสียง๒. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสงู เสียงต่ํา ๓. ทดลองและอธิบายเสียงดัง เสียงคอย ๔. สํารวจและอภิปรายอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อฟงเสียงดังมาก ๆ

๑. ทดลองและอธิบายการตอวงจรไฟฟาอยางงาย๒. ทดลองและอธิบายตัวนําไฟฟาและฉนวน ไฟฟา๓. ทดลองและอธิบายการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม และนําความรูไปใชประโยชน

๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ๒. สังเกต และอธิบายการถายโอนความรอน และนําความรูไปใชประโยชน ๓. อธิบาย การดูดกลืน การคายความรอน โดยการแผรังสี และนําความรูไปใชประโยชน

๑. ทดลองและอธิบายการสะทอนของแสง การหักเหของแสง และนําความรูไปใชประโยชน ๒. อธิบายผลของความสวางที่มีตอมนุษยและสิ่งมีชีวิต อื่น ๆ

๑. อธิบายงาน พลังงานจลน พลังงานศักยโนมถวง กฎการอนุรักษพลังงาน และความสัมพันธระหวางปริมาณเหลานี้ รวมทั้งนําความรูไปใชประโยชน

๑. ทดลองและอธิบายสมบัติ ของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธระหวาง อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น๒. อธิบายการเกิดคลื่นเสียงบีตสของเสียง ความเขมเสียง ระดับความเขมเสียง การไดยินเสียง คุณภาพเสียง และนําความรูไปใชประโยชน ๓. อภิปรายผลการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีตอสุขภาพของมนุษย และการเสนอ วิธีปองกัน

Page 104: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน

๔. ทดลอง และอธิบาย การหักเหของแสงเมื่อผานตัวกลางโปรงใสสองชนิด ๕. ทดลอง และอธิบาย การเปลี่ยนแสงเปนพลังงานไฟฟาและนําความรู ไปใชประโยชน ๖. ทดลองและอธิบายแสงขาวประกอบดวยแสงสีตาง ๆ และนําความรูไปใชประโยชน

๔. ทดลองและอธิบายการตอหลอดไฟฟาทั้งแบบอนุกรม แบบขนาน และนําความรูไปใชประโยชน ๕. ทดลองและอธิบายการเกิดสนาม แมเหล็กรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟาผาน และนําความรูไปใชประโยชน

๔. อธิบายสมดุลความรอนและผลของความรอนตอการขยายตัวของสาร และนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน

๓. ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสงสี การมองเห็นสีของวัตถุ และนําความรูไปใชประโยชน

๓. คํานวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใช ไฟฟา และนําความรูไปใชประโยชน

๔. อธิบายคลื่นแมเหล็กไฟฟา สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา และนําเสนอผลการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับประโยชน และการปองกันอันตรายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟา ๕. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร ฟชชัน ฟวชัน และความสัมพันธระหวางมวลกับพลังงาน

Page 105: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๔. สังเกตและอภิปรายการตอวงจรไฟฟาในบานอยางถูกตองปลอดภัย และประหยัด ๕. อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และทดลองตอวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ที่มี ทรานซิสเตอร

๖. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับพลังงาน ที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรและผลตอสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม ๗. อภิปรายผลการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับโรงไฟฟานิวเคลียร และการนําไปใชประโยชน ๘. อธิบายชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี ๙. อธิบายการเกิดกัมมันตภาพ รังสีและบอกวิธีการตรวจสอบรังสีในสิ่งแวดลอม การใชประโยชน ผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

Page 106: Education core 2551

สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกมาตรฐาน ว ๖.๑ เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึน้บนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน

ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖๑. สํารวจ ทดลองและอธิบายองค ประกอบและสมบัติทางกายภาพของดินในทองถิ่น

๑. สํารวจและจําแนกประเภทของดินโดยใชสมบัติทางกายภาพเปนเกณฑ และนําความรู ไปใชประโยชน

๑. สํารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของน้ําจากแหลงน้ําในทองถิ่น และนําความรู ไปใชประโยชน ๒. สืบคนขอมูลและอภิปรายสวน ประกอบของอากาศและความสําคัญของอากาศ ๓. ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกตางของอุณหภูมิ

๑. สํารวจและอธิบายการเกิดดิน ๒.ระบุชนิดและสมบัติของดิน ที่ใชปลูกพืช ในทองถิ่น

๑. สํารวจ ทดลองและอธิบายการเกิดเมฆ หมอก น้ําคาง ฝน และลูกเห็บ ๒. ทดลองและอธิบายการเกิดวัฏจักรน้ํา๓. ออกแบบและสรางเครื่องมือ อยางงายในการวัดอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ

๑. อธิบาย จําแนกประเภทของหิน โดยใชลักษณะของหิน สมบัติของหินเปนเกณฑและนําความรูไปใชประโยชน ๒. สํารวจและอธิบาย การเปลี่ยนแปลงของหิน๓. สืบคนและอธิบายธรณีพิบัติภัย ที่มีผลตอมนุษยและสภาพแวดลอม ในทองถิ่น

๑. สืบคนและอธิบายองคประกอบและการ แบงชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก ๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวาง อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศที่มีผลตอปรากฏการณทางลมฟาอากาศ๓. สังเกต วิเคราะห และ อภิปรายการเกิด ปรากฏการณ

๑. สํารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหนาตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน๒. สํารวจ วิเคราะหและอธิบายการใชประโยชนและการปรับปรุงคุณภาพของดิน ๓. ทดลองเลียนแบบ เพื่ออธิบายกระบวนการเกิด และลักษณะองคประกอบของหิน

๑. สืบคนและอธิบายหลักการ ในการแบงโครงสรางโลก๒. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก๓. ทดลองเลียนแบบ และอธิบายกระบวนการเกิดภูเขา รอยเลื่อน รอยคดโคง แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด๔. สืบคนและอธิบายความ สําคัญของปรากฏการณทางธรณีวิทยาแผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ที่สงผลตอ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล อม๕. สํารวจ วิเคราะหและอธิบาย การลําดับชั้นหิน จากการวางตัว ของชั้นหิน ซากดึกดําบรรพ และโครงสรางทางธรณีวิทยา เพื่ออธิบายประวัติความเปนมา ของพื้นที่๖. สืบคน วิเคราะห และอธิบายประโยชนของขอมูลทางธรณีวิทยา

Page 107: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๔. ทดลองและอธิบายการเกิดลมและนําความรูไปใชประโยชนในชีวิต ประจําวัน

ทางลมฟาอากาศที่มีผลตอมนุษย๔. สืบคน วิเคราะห และแปลความหมายขอมูลจากการพยากรณอากาศ๕. สืบคน วิเคราะห และอธิบายผลของลมฟาอากาศตอการดํารง ชีวิตของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม

๔. ทดสอบ และสังเกตองคประกอบและสมบัติของหิน เพื่อจําแนกประเภทของหิน และนําความรูไปใชประโยชน ๕. ตรวจสอบและอธิบาย ลักษณะทางกายภาพของแร และการนําไปใชประโยชน

Page 108: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๖. สืบคน วิเคราะห และอธิบายปจจัยทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก รูโหวโอโซน และฝนกรด ๗. สืบคน วิเคราะหและอธิบายผลของภาวะโลกรอน รูโหวโอโซน และฝนกรด ที่มีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

๖ สืบคนและอธิบายกระบวนการเกิด ลักษณะและสมบัติของปโตรเลียม ถานหิน หินน้ํามัน และการนําไปใชประโยชน ๗. สํารวจและอธิบายลักษณะแหลงน้ําธรรมชาติ การใชประโยชนและการอนุรักษแหลงน้ําในทองถิ่น

Page 109: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๘. ทดลองเลียนแบบ และอธิบาย การเกิดแหลงน้ําบนดิน แหลงน้ําใตดิน ๙. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการผุพังอยูกับที่ การกรอน การพัดพา การทับถม การตกผลึกและผลของ กระบวนการดังกลาว๑๐. สืบคน สรางแบบจําลอง และ อธิบายโครงสรางและองคประกอบของโลก

Page 110: Education core 2551

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศมาตรฐาน ว๗.๑ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ และผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและ

จิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. ระบุวาในทองฟามีดวงอาทิตย ดวงจันทรและดวงดาว

๑. สืบคนและอภิปรายความสําคัญของดวงอาทิตย

๑. สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย ดวงจันทร การเกิดกลางวันกลางคืน และการกําหนดทิศ

๑. สรางแบบจําลองเพื่ออธิบายลักษณะของระบบสุริยะ

๑. สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ และปรากฏการณการขึ้นตกของดวงดาวโดยใชแผนที่ดาว

๑. สรางแบบจําลองและอธิบาย การเกิดฤดู ขางขึ้นขางแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา และนําความรูไปใชประโยชน

๑. สืบคนและอธิบายความสัมพันธระหวาง ดวงอาทิตยโลก ดวงจันทรและดาวเคราะหอื่น ๆ และผลที่เกิดขึ้นตอสิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก

๒. สืบคนและอธิบายองคประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ

๑. สืบคนและอธิบายการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะกาแล็กซี และเอกภพ

๒. สืบคนและอธิบายธรรมชาติและวัฒนาการของดาวฤกษ

Page 111: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๓. ระบุตําแหนงของกลุมดาว และนําความรูไปใชประโยชน

Page 112: Education core 2551

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศมาตรฐาน ว ๗.๒ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศท่ีนํามาใชในการสํารวจอวกาศ และทรัพยากรธรรมชาติดานการเกษตรและการสื่อสาร

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอมตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. สืบคนอภิปรายความกาวหนาและประโยชน ของเทคโนโลยีอวกาศ

๑. สืบคนและอภิปรายความกาวหนาของเทคโนโลยีอวกาศที่ใชสํารวจอวกาศ วัตถุทองฟา สภาวะอากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร

๑. สืบคนและอธิบายการสง และคํานวณความเร็วในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก๒. สืบคนและอธิบายประโยชนของดาวเทียมในดานตาง ๆ๓. สืบคนและอธิบายการสง และสํารวจอวกาศโดยใชยานอวกาศและสถานีอวกาศ

Page 113: Education core 2551

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบ

ที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑.ตั้งคําถามเกี่ยวกับ เรื่องที่จะศึกษา ตามที่ กําหนดใหหรือตาม ความสนใจ๒.วางแผน การสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิดของตนเองและของครู๓. ใชวัสดุอุปกรณในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกผลดวยวิธีงายๆ

๑.ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่อง ที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ๒.วางแผน การสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิด ของตนเองของกลุม และของครู๓. ใชวัสดุอุปกรณเครื่องมือที่เหมาะสมในการสํารวจ

๑.ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่อง ที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ๒.วางแผน การสังเกต เสนอวิธีสํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิดของตนเอง ของกลุมและคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจ ตรวจสอบ

๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ ที่จะศึกษา ตามที่กําหนดให และตามความสนใจ๒.วางแผน การสังเกต เสนอวิธีสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา และคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ๓. เลือกอุปกรณ ที่ถูกตองเหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบ

๑. ตั้งคําถาม เกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ ที่จะศึกษา ตามที่กําหนด ใหและตามความสนใจ๒.วางแผน การสังเกต เสนอการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา และคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ

๑.ตั้งคําถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ ที่จะศึกษา ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ๒.วางแผน การสังเกต เสนอการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา คาดการณ สิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ

๑. ตั้งคําถาม ที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่อง ที่สนใจ ไดอยาง ครอบคลุม และเชื่อถือได๒. สรางสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบไดและวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี

๑. ตั้งคําถาม ที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่อง ที่สนใจ ไดอยาง ครอบคลุม และเชื่อถือได๒. สรางสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบไดและวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี

๑. ตั้งคําถาม ที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่อง ที่สนใจ ไดอยาง ครอบคลุม และเชื่อถือได๒. สรางสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบไดและวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี

๑. ตั้งคําถามที่อยูบนพื้นฐาน ของความรูและความเขาใจ ทางวิทยาศาสตร หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถทําการสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควาไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได๒. สรางสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณสิ่งที่จะพบ หรือสรางแบบจําลอง หรือสรางรูปแบบ เพื่อนําไปสู การสํารวจตรวจสอบ๓. คนควารวบรวมขอมูลที่ตองพิจารณาปจจัยหรือตัวแปรสําคัญ ปจจัยที่มีผลตอปจจัยอื่น ปจจัยที่ควบคุมไมได และจํานวนครั้งของการสํารวจ ตรวจสอบ เพื่อใหไดผลที่มีความเชื่อมั่นอยางเพียงพอ

Page 114: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม. ๔ - ม. ๖

๔. จัดกลุมขอมูลที่ไดจากการสํารวจตรวจสอบและนําเสนอผล๕. แสดงความคิดเห็นในการสํารวจ ตรวจสอบ๖. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจตรวจสอบ โดยเขียนภาพหรือขอความสั้นๆ๗. นําเสนอผลงานดวยวาจาใหผูอื่นเขาใจ

ตรวจสอบ และบันทึกขอมูล๔. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบและนําเสนอผล๕. ตั้งคําถามใหมจากผลการสํารวจตรวจสอบ๖. แสดงความคิดเห็นเปนกลุมและรวบรวมเปนความรู๗. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ อยางตรงไปตรงมา โดยเขียนภาพ แผนภาพหรือคําอธิบาย๘. นําเสนอผลงานดวยวาจาใหผูอื่น เขาใจกระบวนการและผล ของงาน

๓. เลือกใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือที่เหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกขอมูล๔. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณไวและนําเสนอผล๕. ตั้งคําถามใหมจากผลการสํารวจตรวจสอบ๖. แสดงความคิดเห็นและรวบรวมขอมูลจากกลุมนําไปสูการสรางความรู๗. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจตรวจสอบตามความเปนจริง

๔. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณ นําเสนอ ผลสรุปผล๕. สรางคําถามใหมเพื่อการสํารวจตรวจสอบ ตอไป๖. แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู๗. บันทึกและอธิบาย ผลการสํารวจ ตรวจสอบอยาง ตรงไปตรงมา๘. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบายกระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ

๓. เลือกอุปกรณที่ถูกตองเหมาะสมในการสํารวจ ตรวจสอบใหไดขอมูลที่เชื่อถือได๔. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและ คุณภาพ และ ตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณไว นําเสนอผลและขอสรุป๕. สรางคําถามใหมเพื่อการสํารวจ ตรวจสอบตอไป๖. แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อธิบาย และสรุปสิ่งที่ได เรียนรู

๓. เลือกอุปกรณ และวิธีการสํารวจตรวจสอบที่ถูกตองเหมาะสมใหไดผลที่ครอบคลุมและเชื่อถือได๔. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณไว นําเสนอผลและขอสรุป๕. สรางคําถามใหมเพื่อการสํารวจ ตรวจสอบตอไป

๖. แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู

๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือ

ที่เหมาะสม๔. รวบรวมขอมูลจัดกระทําขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ๕.วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของประจักษพยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแยงกับสมมติฐานและความผิดปกติของ

๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือ

ที่เหมาะสม๔. รวบรวมขอมูลจัดกระทําขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ๕.วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของประจักษพยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแยงกับสมมติฐานและความผิดปกติของ

๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือ

ที่เหมาะสม๔. รวบรวมขอมูลจัดกระทําขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ๕.วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของประจักษพยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแยงกับสมมติฐานและความผิดปกติของ

๔. เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ ที่ใชในการสังเกต การวัด การสํารวจตรวจสอบอยางถูกตองทั้งทางกวางและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ๕. รวบรวมขอมูลและบันทึกผลการสํารวจตรวจสอบอยางเปนระบบถูกตอง ครอบคลุมทั้งในเชงิปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเปนไปได ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของขอมูล๖. จัดกระทําขอมูล โดยคํานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกตองและนําเสนอขอมูลดวยเทคนิควิธีที่เหมาะสม

Page 115: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม. ๔ - ม. ๖

มีแผนภาพประกอบคําอธิบาย๘. นําเสนอ จัดแสดง ผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผล ของงาน ใหผูอื่นเขาใจ

๗. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจ ตรวจสอบตามความเปนจริง มีการอางอิง

๘. นําเสนอ จัดแสดง ผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผล ของงาน ใหผูอื่นเขาใจ

๗. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจ ตรวจสอบตามความเปนจริง มีเหตุผล และมีประจักษพยานอางอิง๘. นําเสนอ จัดแสดง ผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา และเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผล ของงาน ใหผูอื่นเขาใจ

ขอมูลจากการสํารวจตรวจสอบ๖. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ๗. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใช ในสถานการณใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

ขอมูลจากการสํารวจตรวจสอบ๖. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ๗. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใช ในสถานการณใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

ขอมูลจากการสํารวจตรวจสอบ๖. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ๗. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใช ในสถานการณใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

๗. วิเคราะหขอมูล แปลความหมายขอมูล และประเมินความสอดคลองของขอสรุป หรือสาระสําคัญ เพื่อตรวจสอบ กับสมมติฐานที่ตั้งไว๘. พิจารณาความนาเชื่อถือ ของวิธีการและผลการสํารวจตรวจสอบ โดยใชหลักความคลาดเคลื่อน ของการวัดและ การสังเกต เสนอแนะการปรับปรงุวิธีการสํารวจตรวจสอบ๙. นําผลของการสํารวจตรวจสอบที่ได ทั้งวิธีการ และองคความรูที่ไดไปสราง คําถามใหม นําไปใชแกปญหา ในสถานการณใหมและในชีวิตจริง๑๐. ตระหนักถึงความสําคัญ ในการที่จะตองมีสวนรวมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผล การเรียนรูวิทยาศาสตร ที่นําเสนอตอสาธารณชนดวยความถูกตอง

Page 116: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม. ๔ - ม. ๖

๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสํารวจ ตรวจสอบ คนควาเพิ่มเติมจากแหลงความรูตาง ๆ ใหไดขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบ เมื่อมีขอมูลและประจักษพยานใหมเพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสํารวจ ตรวจสอบ คนควาเพิ่มเติมจากแหลงความรูตาง ๆ ใหไดขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบ เมื่อมีขอมูลและประจักษพยานใหมเพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสํารวจ ตรวจสอบ คนควาเพิ่มเติมจากแหลงความรูตาง ๆ ใหไดขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบ เมื่อมีขอมูลและประจักษพยานใหมเพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

๑๑. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบอยางมีเหตุผล ใชพยานหลักฐานอางอิงหรือคนควาเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอางอิงที่เชื่อถือได และยอมรับวาความรูเดิม อาจมีการเปลี่ยนแปลงได เมื่อมีขอมูลและประจักษ พยานใหมเพิ่มเติมหรอืโตแยงจากเดิม ซึ่งทาทายใหมีการตรวจสอบอยางระมัดระวัง อันจะนํามาสู การยอมรับ เปนความรูใหม๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

Page 117: Education core 2551

กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ทําไมตองเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชวยใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ

การดํารงชีวิตของมนุษยทั้งในฐานะปจเจกบุคคลและการอยูรวมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดลอม การจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เขาใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปจจัยตางๆ เกิดความเขาใจในตนเอง และผูอื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกตาง และมีคุณธรรม สามารถนําความรูไปปรับใชในการดําเนินชีวิต เปนพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

เรียนรูอะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมวาดวยการอยูรวมกันในสังคม ที่มีความ

เชื่อมสัมพันธกัน และมีความแตกตางกันอยางหลากหลาย เพื่อชวยใหสามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสมโดยไดกําหนดสาระตางๆไว ดังนี้

ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนําหลักธรรมคําสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยูรวมกันอยางสันติสุข เปนผูกระทําความดี มีคานิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยูเสมอ รวมทั้งบําเพ็ญประโยชนตอสังคมและสวนรวม

หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ลักษณะและความสําคัญ การเปนพลเมืองดี ความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรม คานิยม ความเชื่อ ปลูกฝงคานิยมดานประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สิทธิ หนาที่ เสรีภาพการดําเนินชีวิตอยาง สันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก

เศรษฐศาสตร การผลิต การแจกจาย และการบริโภคสินคาและบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดอยางมีประสิทธิภาพ การดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ และการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในชีวิตประจําวัน

Page 118: Education core 2551

ประวัติศาสตร เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร วิธีการทางประวัติศาสตร พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปจจุบัน ความสัมพันธและเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณสําคัญในอดีต บุคคลสําคัญที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงตางๆในอดีต ความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย แหลงอารยธรรมที่สําคัญของโลก

ภูมิศาสตร ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหลงทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคตางๆ ของโลก การใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร ความสัมพันธกันของสิ่งตางๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธของมนุษยกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น การนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Page 119: Education core 2551

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

มีความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเองและผูที่อยูรอบขาง ตลอดจนสภาพแวดลอมในทองถิ่น ที่อยูอาศัย และเชื่องโยงประสบการณไปสูโลกกวาง

มีทักษะกระบวนการ และมีขอมูลที่จําเปนตอการพัฒนาใหเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคําสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ การอยูรวมกันและการทํางานกับผูอื่น มีสวนรวมในกิจกรรมของหองเรียน และไดฝกหัดในการตัดสินใจ

มีความรูเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผูเรียนไดเขาใจแนวคิดเกี่ยวกับปจจุบันและอดีต มีความรูพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ไดขอคิดเกี่ยวกับรายรับ-รายจายของครอบครัว เขาใจถึงการเปนผูผลิต ผูบริโภค รูจักการออมขั้นตนและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง

รูและเขาใจในแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนาที่พลเมือง เศรษฐศาสตร ประวัติศาสตร และภูมิศาสตร เพื่อเปนพื้นฐานในการทําความเขาใจในขั้นที่สูงตอไป

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ มีความรูเรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร ลักษณะทางกายภาพ

สังคมประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมือง การปกครอง และสภาพเศรษฐกิจโดยเนนความเปนประเทศไทย

มีความรูและความเขาใจในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักธรรมคําสอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีสวนรวมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่งขึ้น

ปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหนาที่ในฐานะพลเมืองดีของทองถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งไดมีสวนรวมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของทองถิ่นตนเอง มากยิ่งขึ้น

สามารถเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคตางๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน ไดรับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนาที่พลเมือง เศรษฐศาสตร ประวัติศาสตร และภูมิศาสตร เพื่อขยายประสบการณไปสูการทําความเขาใจในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม คานิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การดําเนินชีวิต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีต สูปจจุบัน

Page 120: Education core 2551

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ มีความรูเกี่ยวกับความเปนไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศ

ในภูมิภาคตางๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่องการอยูรวมกันอยางสันติสุข มีทักษะที่จําเปนตอการเปนนักคิดอยางมีวิจารณญาณไดรับการพัฒนาแนวคิด และขยาย

ประสบการณ เปรียบเทียบระหวางประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคตาง ๆ ในโลก ไดแก เอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต ในดานศาสนา คุณธรรม จริยธรรม คานิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตรและภูมิศาสตร ดวยวิธีการทางประวัติศาสตร และสังคมศาสตร

รูและเขาใจแนวคิดและวิเคราะหเหตุการณในอนาคต สามารถนํามาใช เปนประโยชน ในการดําเนินชีวิตและวางแผนการดําเนินงานไดอยางเหมาะสม

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ มีความรูเกี่ยวกับความเปนไปของโลกอยางกวางขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น เปนพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้ง

มีคานิยมอันพึงประสงค สามารถอยูรวมกับผูอื่นและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาตอในชั้นสูงตามความประสงคได

มีความรู เรื่องภูมิปญญาไทย ความภูมิใจในความเปนไทย ประวัติศาสตรของชาติไทย ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคไดอยางเหมาะสม มีจิตสํานึก และมีสวนรวมในการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดลอม มีความรักทองถิ่นและประเทศชาติ มุงทําประโยชน และสรางสิ่งที่ดีงามใหกับสังคม

มีความรูความสามารถในการจัดการเรียนรูของตนเอง ชี้นําตนเองได และสามารถแสวงหาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆในสังคมไดตลอดชีวิต

Page 121: Education core 2551

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมมาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖๑. บอกพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดาที่ตน นับถือ โดยสังเขป๒. ชื่นชมและบอกแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเลาและศาสนิกชน ตัวอยางตามที่กําหนด๓. บอกความหมาย

๑. บอกความ สําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตประสูติจนถึงการออกผนวช หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด ๓. ชื่นชมและบอกแบบอยางการดําเนินชีวิต

๑. อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถือในฐานะที่เปนรากฐานสําคัญของวัฒนธรรมไทย๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตการบําเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

๑. อธิบายความสําคัญของพระพุทธ- ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะเปนศูนยรวมจิตใจของศาสนิกชน๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตบรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

๑. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมและหลักในการพัฒนาชาติไทย๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตเสด็จกรุงกบิลพัสดุ จนถึงพุทธกิจสําคัญหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

๑. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเปนศาสนาประจําชาติ หรือความ สําคัญของศาสนาที่ตน นับถือ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนียสถานหรือประวัติศาสดาที่ตน นับถือตามที่กําหนด

๑. อธิบายการเผยแผพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสูประเทศไทย ๒. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีตอสภาพแวดลอม ในสังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว

๑. อธิบายการเผยแผพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือสูประเทศเพื่อนบาน๒. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธ ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่ชวยเสริมสรางความเขาใจอันดีกับประเทศเพื่อนบาน

๑. อธิบายการเผยแผพระพุทธ ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสูประเทศตางๆ ทั่วโลก๒. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ชวยสรางสรรค อารยธรรมและความสงบสุข แกโลก

๑. วิเคราะหสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจาหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ ๒. วิเคราะหพระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษยผูฝกตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรู การกอตั้ง วิธีการสอนและการ เผยแผพระพุทธ ศาสนาหรือวิเคราะหประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

Page 122: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖ความสําคัญ และเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ ตนนับถือ ตามที่กําหนด๔. เห็นคุณคาและสวดมนตแผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา

และขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด๔. บอกความหมาย ความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

๓. ชื่นชมและบอกแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด๔. บอกความ หมาย ความสําคัญของ พระไตรปฏก หรือคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรม

๓. เห็นคุณคาและประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด ๔. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน

๓. เห็นคุณคาและประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด๔. อธิบายองคประกอบและความสําคัญของพระไตรปฏก หรือคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ๕. แสดงความเคารพ

๓. เห็นคุณคาและประพฤติตนตาม แบบอยางการดําเนินชีวิต และขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชน ตัวอยางตามที่กําหนด๔. วิเคราะหความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตาม ไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรม

๓. วิเคราะหพุทธประวัติตั้งแตประสูติจน ถึงบําเพ็ญทุกรกิริยาหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๔. วิเคราะหและประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด๕. อธิบายพุทธคุณ และขอธรรมสําคัญ

๓. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือในฐานะที่เปนรากฐานของวัฒนธรรมเอกลักษณของชาติและมรดกของชาติ๔. อภิปราย ความสําคัญของพระพุทธ ศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือกับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม๕. วิเคราะหพุทธประวัติ

๓. อภิปรายความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอยางยั่งยืน๔. วิเคราะห พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางตาง ๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๕. วิเคราะหและประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิตและ

๓. วิเคราะหพุทธประวัติดานการบริหาร และการธํารงรักษาศาสนาหรือวิเคราะหประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๔. วิเคราะหขอปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๕. วิเคราะหการพัฒนาศรัทธา และปญญาที่ถูกตอง ในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

Page 123: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖ที่ตนนับถือตามที่กําหนด

๕. ชื่นชมการทําความดีของตนเอง บุคคล ในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา๖. เห็นคุณคาและสวดมนต แผเมตตามีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา

โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๖. เห็นคุณคาและสวดมนต แผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ-ศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๗. บอกชื่อ ความสําคัญ และปฏิบัติตน

นับถือตามที่กําหนด๕. ชื่นชมการทําความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตามหลักศาสนา พรอมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต๖. เห็นคุณคาและสวดมนตแผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา

พระรัตนตรัยและปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๖. เห็นคุณคาและสวดมนต แผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนด

ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๕. ชื่นชมการทําความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนาพรอมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต๖. เห็นคุณคา และสวดมนต แผเมตตาและบริหารจิต เจริญปญญา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง

ในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด เห็นคุณคาและนําไปพัฒนา แกปญหาของตนเองและครอบครัว

๖. เห็นคุณคาของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรูและการดําเนินชีวิตดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบคุณคาแท-คุณคาเทียม และวิธีคิด

หรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๖. วิเคราะหและประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด๗. อธิบายโครงสราง และสาระ สังเขปของ พระไตรปฏก หรือคัมภีร ของศาสนา ที่ตนนับถือ

ขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตาม ที่กําหนด๖. อธิบาย สังฆคุณ และ ขอธรรมสําคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนด๗. เห็นคุณคาและวิเคราะหการปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียม

๖. วิเคราะห ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๗. วิเคราะหหลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตรหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๘. วิเคราะหการฝกฝนและพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และการมุงอิสรภาพในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

Page 124: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖และความสําคัญของคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่นๆ

ไดอยางเหมาะสม ตอศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของศาสนาอื่นๆ

ที่ตนนับถือตามที่กําหนด๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตน นับถือ เพื่อการอยูรวมกันเปนชาติไดอยางสมานฉันท๘. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดลอม

ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๗. ปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อแกปญหาอบายมุขและสิ่งเสพติด๘. อธิบายหลักธรรมสําคัญของศาสนาอื่นๆโดยสังเขป๙.อธิบายลักษณะสําคัญของศาสนพิธี พิธีกรรม ของศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตนไดอยาง

แบบคุณ-โทษและทางออก หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ๗. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิตและเจริญปญญาดวย อานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๘. วิเคราะหและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมทางศาสนาที่ตน นับถือในการ

๘. อธิบายธรรมคุณและขอธรรมสําคัญในกรอบอริยสัจ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด เห็นคุณคาและนําไปพัฒนา แกปญหาของชุมชนและสังคม๙. เห็นคุณคาของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรูและดําเนินชีวิต ดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ คือ วิธีคิดแบบอุบาย

พรอมสําหรับการทํางานและการมีครอบครัว๘. เห็นคุณคา ของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรูและดําเนินชีวิตดวยวิธีคิด แบบโยนิโส-มนสิการคือวิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัยหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือ๙. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิตและเจริญปญญา

๙. วิเคราะหพระพุทธศาสนาวาเปนศาสตรแหงการศึกษา ซึ่งเนน ความสัมพันธของเหตุปจจัยกับวิธีการแกปญหาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนด๑๐. วิเคราะหพระพุทธศาสนาในการฝกตน ไมใหประมาท มุงประโยชนและสันติภาพบุคคล สังคมและโลกหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๑๑. วิเคราะหพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจ

Page 125: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖เหมาะสมเมื่อตองเขารวมพิธี

ดํารงชีวิตแบบพอเพียงและดูแลรักษาสิ่งแวดลอมเพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข๙. วิเคราะหเหตุผลความจําเปนที่ทุกคนตองศึกษา เรียนรูศาสนาอื่นๆ๑๐. ปฏิบัติตนตอศาสนิกชนอื่นในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม ๑๑. วิเคราะหการกระทําของบุคคลที่เปนแบบอยางดาน

ปลุกเราคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ๑๐. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิตและเจริญปญญาดวยอานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ๑๑. วิเคราะหการปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตน

ดวยอานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือ๑๐. วิเคราะหความแตกตางและยอมรับ วิถีการดําเนินชีวิตของ ศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ

พอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๑๒. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการศึกษาที่สมบูรณ การเมือง และสันติภาพหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๑๓. วิเคราะหหลักธรรมในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักคําสอนของศาสนาที่ตนนับถือ๑๔. วิเคราะหขอคิดและแบบอยางการ

Page 126: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖ศาสนสัมพันธ และนําเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอง

นับถือเพื่อการดํารงตนอยางเหมาะสมในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก และการอยูรวมกันอยางสันติสุข

ดําเนินชีวิตจากประวัติสาวก ชาดกเรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด๑๕. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการสังคายนา พระไตรปฏกหรือคัมภีรของศาสนา ที่ตนนับถือ และการเผยแผ๑๖. เชื่อมั่นตอผลของการทําความดี ความชั่ว สามารถวิเคราะหสถานการณที่ตองเผชิญและตัดสินใจเลือกดําเนินการหรือปฏิบัติตนไดอยางมีเหตุผล ถูกตองตามหลักธรรม จริยธรรม และกําหนด

Page 127: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖เปาหมาย บทบาทการดําเนินชีวิตเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขและอยูรวมกันเปนชาติอยางสมานฉันท๑๗. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป๑๘. ตระหนักในคุณคาและความ สําคัญของคานิยม จริยธรรมที่เปนตัวกําหนดความเชื่อและพฤติกรรมที่แตกตางกันของ ศาสนิกชนศาสนาตางๆ เพื่อขจัดความขัดแยงและอยูรวมกันในสังคมอยาง สันติสุข

Page 128: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖๑๙. เห็นคุณคา เชื่อมั่นและมุงมั่นพัฒนาชีวิตดวยการพัฒนาจิตและพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโส-มนสิการ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ๒๐. สวดมนต แผเมตตาและบริหารจิตและเจริญปญญาตามหลักสติปฏฐาน หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ๒๑. วิเคราะหหลักธรรมสําคัญในการอยูรวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอื่นๆ และชักชวน

Page 129: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖สงเสริมสนับสนุนใหบุคคลอื่นเห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน๒๒. เสนอแนวทางการจัดกิจกรรม ความรวมมือของทุกศาสนาในการแกปญหาและพัฒนาสังคม

Page 130: Education core 2551

มาตรฐาน ส ๑.๒ เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖๑. บําเพ็ญประโยชนตอวัดหรือศาสนสถาน ของศาสนา ที่ตนนับถือ๒. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนา ที่ตนนับถือ๓.ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนดไดอยางถูกตอง

๑. ปฏิบัติตน อยางเหมาะสมตอสาวกของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนดไดถูกตอง๒. ปฏิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรมและ วันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนดไดถูกตอง

๑. ปฏิบัติตน อยางเหมาะสมตอสาวก ศาสนสถาน ศาสนวัตถุของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนดไดถูกตอง๒. เห็นคุณคาและปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนดไดถูกตอง๓. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือแสดงตน

๑. อภิปรายความสําคัญและมีสวนรวมในการบํารุงรักษา ศาสนสถานของศาสนาที่ตน นับถือ๒. มีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดีตามที่กําหนด๓. ปฏิบัติตน ในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญ ทางศาสนาตามที่กําหนดไดถูกตอง

๑. จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตนนับถืออยางเรียบงาย มีประโยชน และปฏิบัติตนถูกตอง๒. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนดและอภิปรายประโยชนที่ไดรับจากการ เขารวมกิจกรรม๓. มีมรรยาทของความเปน ศาสนิกชนที่ดี ตามที่กําหนด

๑. อธิบายความรูเกี่ยวกับสถานที่ตาง ๆในศาสนสถานและปฏิบัติตนไดอยางเหมาะสม๒. มีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดีตามที่กําหนด๓. อธิบาย ประโยชนของการเขารวมในศาสนพิธี พิธีกรรมและกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนดและ

๑. บําเพ็ญประโยชนตอ ศาสนสถานของศาสนาที่ตน นับถือ๒. อธิบาย จริยวัตรของสาวกเพื่อเปนแบบอยางในการประพฤติปฏิบัติ และปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอสาวกของศาสนาที่ตน นับถือ๓. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอบุคคลตางๆ

๑. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอบุคคลตาง ๆตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด๒. มีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดีตามที่กําหนด๓. วิเคราะหคุณคาของ ศาสนพิธี และปฏิบัติตนไดถูกตอง๔. อธิบาย คําสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสําคัญทาง

๑. วิเคราะหหนาที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนตอสาวกตามที่กําหนดไดถูกตอง๒. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอบุคคลตางๆ ตามหลักศาสนาตามที่กําหนด๓. ปฏิบัติหนาที่ของศาสนิกชนที่ดี๔. ปฏิบัติตน ในศาสนพิธี พิธีกรรมไดถูกตอง

๑. ปฏิบัติตนเปน ศาสนิกชนที่ดีตอสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบขาง ๒. ปฏิบัติตนถูกตองตามศาสนพิธี พิธีกรรมตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ๓. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ๔. วิเคราะหหลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสําคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สําคัญของศาสนาที่ตน

Page 131: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖เปนศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ

ปฏิบัติตนไดถูกตอง๔. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ

ตามหลักศาสนา ที่ตนนับถือตามที่กําหนด๔.จัดพิธีกรรมและปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมไดถูกตอง๕. อธิบาย ประวัติความ สําคัญและปฏิบัติตนในวันสําคัญทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนดไดถูกตอง

ศาสนาและปฏิบัติตนไดถูกตอง๕. อธิบายความแตกตางของศาสนพิธีพิธีกรรม ตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆเพื่อนําไปสูการยอมรับ และความเขาใจซึ่งกันและกัน

๕. อธิบาย ประวัติวันสําคัญทางศาสนาตามทีก่ําหนดและปฏิบัติตนไดถูกตอง๖. แสดงตน เปนพุทธมามกะหรือแสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ๗. นําเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ

นับถือ และปฏิบัติตนไดถูกตอง ๕. สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาที่ตนนับถืออันสงผลถึงการพัฒนาตน พัฒนาชาติ และโลก

Page 132: Education core 2551

สาระที่ ๒ หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคมมาตรฐาน ส ๒.๑ เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และธํารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทย

และสังคมโลกอยางสันติสุขตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖๑. บอกประโยชนและปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน๒. ยกตัวอยางความสามารถและความดีของ ตนเอง ผูอื่นและบอกผลจากการกระทํานั้น

๑. ปฏิบัติตนตามขอตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหนาที่ที่ตองปฏิบัติในชีวิต ประจําวัน๒.ปฏิบัติตนตามมารยาทไทย๓. แสดงพฤติกรรมในการยอมรับความคิด ความเชื่อและการปฏิบัติของบุคคลอื่น ที่แตกตางกัน โดยปราศจากอคติ

๑. สรุปประโยชนและปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและทองถิ่น๒. บอกพฤติกรรมการดําเนินชีวิตของตนเองและผูอื่นที่อยูในกระแสวัฒนธรรม ที่หลากหลาย๓. อธิบายความ สําคัญของวันหยุด ราชการที่สําคัญ

๑. ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน๒.ปฏิบัติตนในการเปนผูนําและผูตามที่ดี๓. วิเคราะหสิทธิพื้นฐาน ที่เด็กทุกคนพึงไดรับตามกฎหมาย๔. อธิบายความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมคนในทองถิ่น

๑. ยกตัวอยางและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหนาที่ในฐานะพลเมืองดี ๒. เสนอวิธีการ ปกปองคุมครองตนเองหรือผูอื่น จากการละเมิดสิทธิเด็ก๓. เห็นคุณคาวัฒนธรรมไทยที่มีผลตอการดําเนินชีวิตในสังคมไทย

๑. ปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกี่ยวของ กับชีวิตประจําวัน ของครอบครัว และชุมชน๒. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธํารงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม๓. แสดงออกถึงมารยาทไทยไดเหมาะสมกับกาลเทศะ

๑. ปฏิบัติตามกฎหมายในการคุมครองสิทธิของบุคคล ๒. ระบุความสามารถของตนเอง ในการทําประโยชนตอสังคมและประเทศชาติ๓. อภิปรายเกี่ยวกับคุณคาทางวัฒนธรรมที่เปนปจจัยในการสรางความสัมพันธ

๑. อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครัวชุมชนและประเทศ๒. เห็นคุณคาในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาทสิทธิ เสรีภาพ หนาที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

๑. อธิบายความแตกตางของการกระทําความผิดระหวางคดีอาญาและคดีเพง๒. มีสวนรวมในการปกปองคุมครองผูอื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน๓. อนุรักษวัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม๔. วิเคราะหปจจัยที่กอใหเกิด

๑ วิเคราะหและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก๒. วิเคราะหความสําคัญของโครงสรางทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม๓. ปฏิบัติตนและมีสวนสนับสนุนใหผูอื่นประพฤติปฏิบัติเพื่อเปนพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก

Page 133: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๔. เคารพในสิทธิ ของตนเองและผูอื่น

๔. ยกตัวอยางบุคคลซึ่งมี ผลงานที่เปนประโยชนแกชุมชนและ ทองถิ่นของตน

๕. เสนอวิธีการที่จะอยูรวมกันอยางสันติสุขในชีวิตประจําวัน

๔. มีสวนรวมในการอนุรักษและเผยแพรภูมิปญญาทองถิ่นของชุมชน

๔. อธิบายคุณคาทางวัฒนธรรม ที่แตกตางกันระหวางกลุมคนในสังคมไทย๕. ติดตามขอมูลขาวสาร เหตุการณตาง ๆ ในชีวิต ประจําวัน เลือกรับและใชขอมูลขาวสารในการเรียนรู ไดเหมาะสม

ที่ดี หรืออาจนําไปสูความเขาใจผิดตอกัน๔. แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผูอื่น

๓. วิเคราะหบทบาทความสําคัญและความสัมพันธของสถาบันทางสังคม ๔. อธิบายความคลายคลึงและความแตกตางของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรม ของ ประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนําไปสูความเขาใจอันดีระหวางกัน

ปญหาความขัดแยงในประเทศและเสนอแนวคิดในการลดความขัดแยง๕. เสนอแนวคิดในการดํารงชีวิตอยางมีความสุขในประเทศและสังคมโลก

๔. ประเมินสถานการณ สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา๕. วิเคราะหความจําเปนที่จะตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษวัฒนธรรมไทย และเลือกรับวัฒนธรรมสากล

Page 134: Education core 2551

มาตรฐาน ส ๒.๒ เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธํารงรักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๑. บอกโครงสรางบทบาทและหนาที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน ๒. ระบุบทบาท สิทธิ หนาที่ของตนเองในครอบครัวและโรงเรียน๓. มีสวนรวมในการตัดสินใจและทํากิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย

๑. อธิบายความ สัมพันธของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ในฐานะเปนสวนหนึ่งของชุมชน๒. ระบุผูมีบทบาท อํานาจในการตัดสินใจในโรงเรียนและชุมชน

๑. ระบุบทบาทและหนาที่ของสมาชิก ชุมชนในการมีสวนรวมกิจกรรมตาง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย๒.วิเคราะหความแตกตางของกระบวนการ การตัดสินใจในชั้นเรียน/โรงเรียน และชุมชน โดยวิธี การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง

๑. อธิบายอํานาจอธิปไตยและความสําคัญของระบอบประชาธิปไตย๒. อธิบายบทบาทหนาที่ของพลเมืองในกระ บวนการเลือกตั้ง๓. อธิบายความสําคัญ ของสถาบัน พระมหา กษัตริยตามระบอบประชาธิปไตยอันมี

๑. อธิบายโครงสรางอํานาจ หนาที่และความสําคัญของการปกครองสวนทองถิ่น๒. ระบุบทบาทหนาที่และวิธีการเขาดํารงตําแหนงของผูบริหารทองถิ่น๓. วิเคราะหประโยชนที่ชุมชนจะไดรับจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น

๑. เปรียบเทียบบทบาท หนาที่ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและรัฐบาล๒. มีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ที่สงเสริม ประชาธิปไตย ในทองถิ่นและประเทศ๓. อภิปรายบทบาท ความสําคัญ ในการใชสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ตามระบอบประชาธิปไตย

๑.อธิบายหลักการ เจตนารมณ โครงสราง และสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา-จักรไทยฉบับปจจุบันโดยสังเขป๒. วิเคราะหบทบาท การถวงดุลอํานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแหงราช-อาณาจักรไทยฉบับปจจุบัน๓. ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ

๑. อธิบายกระบวนการ ในการตรากฎหมาย๒. วิเคราะหขอมูลขาวสาร ทางการเมืองการปกครอง ที่มีผลกระทบตอสังคมไทยสมัยปจจุบัน

๑. อธิบายระบอบการปกครอง แบบตาง ๆ ที่ใชในยุคปจจุบัน๒. วิเคราะหเปรียบเทียบระบอบ การปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ ที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย๓. วิเคราะหรัฐธรรมนูญฉบับปจจบุันในมาตราตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการเลือกตั้ง การมีสวนรวม

๑. วิเคราะหปญหาการเมืองที่สําคัญในประเทศ จากแหลง ขอมูลตางๆ พรอมทั้งเสนอแนวทางแกไข๒. เสนอแนวทาง ทางการเมือง การปกครองที่นําไปสูความเขาใจ และการประสานประโยชนรวมกันระหวางประเทศ

๓. วิเคราะหความสําคัญและ ความจําเปนที่ตองธํารงรักษาไวซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมี

Page 135: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๓. ยกตัวอยาง การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนโรงเรียนและชุมชน ที่เปนผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุม

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา-จักรไทยฉบับปจจุบันที่เกี่ยวของกับตนเอง

และการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ๔. วิเคราะหประเด็นปญหา ที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนวทางแกไข

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข๔. เสนอแนวทางและมีสวนรวมในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

Page 136: Education core 2551

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตรมาตรฐาน ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจ

หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖๑. ระบุสินคาและบริการที่ใชประโยชนในชีวิตประจําวัน๒. ยกตัวอยางการใชจายเงินในชีวิตประจําวัน ที่ไมเกินตัวและเห็นประโยชนของการออม๓. ยกตัวอยางการใชทรัพยากรในชีวิต ประจําวันอยางประหยัด

๑. ระบุทรัพยากรที่นํามาผลิตสินคาและบริการที่ใชในชีวิตประจําวัน๒.บอกที่มาของรายไดและรายจายของตนเองและครอบครัว๓. บันทึกรายรับรายจายของตนเอง๔. สรุปผลดีของการใชจายที่เหมาะสมกับรายไดและ การออม

๑. จําแนกความตองการและความจําเปนในการใชสินคาและบริการในการดํารงชีวิต๒. วิเคราะหการใชจายของตนเอง๓. อธิบายไดวาทรัพยากรที่มีอยูจํากัดมีผลตอการผลิตและบริโภคสินคาและบริการ

๑. ระบุปจจัยที่มีผลตอการเลือกซื้อสินคาและบริการ๒. บอกสิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชนของตนเองในฐานะผูบริโภค๓. อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนําไปใชในชีวิตประจําวันของตนเอง

๑. อธิบายปจจัยการผลิตสินคาและบริการ๒. ประยุกตใชแนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทํากิจกรรมตาง ๆ ในครอบครัวโรงเรียนและชุมชน๓. อธิบายหลักการสําคัญและประโยชนของสหกรณ

๑. อธิบายบทบาทของผูผลิตที่มีความรับผิดชอบ๒. อธิบายบทบาทของผูบริโภคที่รู เทาทัน๓. บอกวิธีและประโยชนของการใชทรัพยากรอยางยั่งยืน

๑. อธิบายความหมายและความสําคัญของเศรษฐศาสตร๒. วิเคราะหคานิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งสงผลตอเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ๓. อธิบายความเปนมา หลักการและความสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจ

๑. วิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการลงทุนและการออม๒. อธิบายปจจัยการผลิตสินคาและบริการ และปจจัยที่มี อิทธิพลตอการผลิตสินคาและบริการ๓. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในทองถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ

๑. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ๒. มีสวนรวมในการแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง๓. วิเคราะหความสัมพันธระหวางแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ

๑. อภิปรายการกําหนดราคาและคาจางในระบบเศรษฐกิจ๒. ตระหนักถึงความสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอเศรษฐกิจสังคมของประเทศ๓. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบสหกรณในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ๔. วิเคราะหปญหาทางเศรษฐกิจ ในชุมชนและเสนอแนวทางแกไข

Page 137: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

พอเพียงตอสังคมไทย

พอเพียง๔. อภิปรายแนวทางการคุมครองสิทธิ ของตนเองในฐานะผูบริโภค

Page 138: Education core 2551

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตรมาตรฐาน ส ๓.๒ เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และความจําเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๑. อธิบายเหตุผลความจําเปนที่คนตองทํางานอยางสุจริต

๑. อธิบายการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการโดยวิธีตาง ๆ๒. บอกความสัมพันธระหวางผูซื้อกับผูขาย

๑. บอกสินคาและบริการที่รัฐจัดหาและใหบริการแกประชาชน๒. บอกความ สําคัญของภาษีและบทบาทของประชาชนในการเสียภาษี๓. อธิบายเหตุผลการแขงขันทางการคาที่มีผลทําใหราคาสินคาลดลง

๑. อธิบายความสัมพันธทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน๒. อธิบายหนาที่เบื้องตนของเงิน

๑. อธิบายบทบาทหนาที่เบื้องตนของธนาคาร๒. จําแนกผลดี ผลเสียของการกูยืม

๑. อธิบายความสัมพันธระหวางผูผลิต ผูบริโภค ธนาคารและรัฐบาล๒. ยกตัวอยางการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในทองถิ่น

๑. วิเคราะหบทบาทหนาที่และความแตกตางของสถาบันการเงินแตละประเภทและธนาคารกลาง๒. ยกตัวอยาง ที่สะทอนใหเห็นการพึ่งพาอาศัยกันและการแขงขันกัน ทางเศรษฐกิจ ในประเทศ๓. ระบุปจจัย ที่มีอิทธิพลตอการกําหนด

๑. อภิปรายระบบเศรษฐกิจ แบบตางๆ๒. ยกตัวอยางที่สะทอนใหเห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และการแขงขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย๓. วิเคราะหการกระจายของทรัพยากรในโลกที่สงผลตอความ สัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

.๔. วิเคราะหการแขงขันทาง

๑. อธิบายบทบาทหนาที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ๒. แสดงความคิดเห็นตอนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีตอบุคคล กลุมคนและประเทศชาติ ๓.อภิปรายบทบาทความสําคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

๑.อธิบายบทบาทของรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ๒. วิเคราะหผลกระทบของการเปดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตนที่มีผลตอสังคมไทย๓. วิเคราะหผลดีผลเสียของความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ

Page 139: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

อุปสงคและอุปทาน

๔. อภิปรายผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสิน ทางปญญา

การคา ในประเทศและตางประเทศ

ที่สงผลตอคุณภาพสินคาปริมาณการผลิตและราคาสินคา

๔. อภิปรายผลกระทบ

ที่เกิดจากภาวะเงินเฟอ เงินฝด

๕.วิเคราะหผลเสียจากการวางงานและแนวทางแกปญหา๖. วิเคราะหสาเหตุและวิธีการกีดกันทางการคาในการคาระหวางประเทศ

Page 140: Education core 2551

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตรมาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๑. บอก วัน เดือน ป และการนับชวงเวลา ตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน๒. เรียงลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวันตามวัน เวลาที่เกิดขึ้น๓. บอกประวัติความเปนมาของตนเองและครอบครัว โดยสอบถามผูเกี่ยวของ

๑. ใชคําระบุเวลาที่แสดงเหตุการณ ในอดีต ปจจุบัน และอนาคต๒. ลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้นในครอบครัวหรือในชีวิตของตนเอง โดยใชหลักฐานที่เกี่ยวของ

๑. เทียบศักราชที่สําคัญตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน๒. แสดงลําดับเหตุการณสําคัญของโรงเรียนและชุมชน โดยระบุหลักฐานและแหลงขอมูลที่เกี่ยวของ

๑. นับชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ๒. อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติของมนุษยชาติโดยสังเขป๓.แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใชในการศึกษาความเปนมาของทองถิ่น

๑. สืบคนความเปนมาของทองถิ่นโดยใชหลักฐานที่หลากหลาย๒. รวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ เพื่อตอบคําถามทางประวัติศาสตรอยางมีเหตุผล๓. อธิบายความแตกตางระหวางความจริงกับขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในทองถิ่น

๑. อธิบายความสําคัญของวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตรอยางงาย ๆ๒. นําเสนอขอมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย ในการทําความเขาใจเรื่องราว ในอดีต

๑. วิเคราะหความสําคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร๒. เทียบศักราชตามระบบตางๆ ที่ใชศึกษาประวัติศาสตร๓. นําวิธีการทางประวัติศาสตรมาใชศึกษาเหตุการณทางประวัติศาสตร

๑. ประเมินความนาเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตรในลักษณะตางๆ๒. วิเคราะหความแตกตางระหวางความจริงกับขอเท็จจริงของเหตุการณทางประวัติศาสตร๓. เห็นความสําคัญของการตีความ หลักฐานทางประวัติศาสตรที่นาเชื่อถือ

๑.วิเคราะหเรื่องราว เหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตร ไดอยางมีเหตุผล ตามวิธีการทางประวัติศาสตร๒. ใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวตางๆ ที่ตนสนใจ

๑. ตระหนักถึงความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ๒. สรางองคความรูใหมทางประวัติศาสตร โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ

Page 141: Education core 2551

มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญ และสามารถวิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๑. บอกความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม สิ่งของเครื่องใช หรือการดําเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพอแม ปูยา ตายาย๒. บอกเหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบตอตนเองในปจจุบัน

๑. สืบคนถึงการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต ประจําวันของคนในชุมชนของตนจากอดีตถึงปจจุบัน ๒. อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีตอวิถีชีวิตของคนในชุมชน

๑. ระบุปจจัยที่มีอิทธิพลตอการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ๒. สรุปลักษณะที่สําคัญของ ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน๓. เปรียบเทียบความเหมือนและความตางทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ ชุมชนอื่นๆ

๑. อธิบายการตั้งหลักแหลงและพัฒนาการของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตรและยุคประวัติศาสตรโดยสังเขป๒. ยกตัวอยางหลักฐานทางประวัติศาสตรที่พบในทองถิ่นที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติ

๑. อธิบายอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีนที่มีตอไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยสังเขป๒. อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมตางชาติตอสังคมไทยปจจุบัน โดยสังเขป

๑. อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศเพื่อนบานในปจจุบัน๒. บอกความสัมพันธของกลุมอาเซียนโดยสังเขป

๑. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต๒. ระบุความสําคัญของแหลงอารยธรรม ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

๑.อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย ๒. ระบุความสําคัญของแหลงอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย

๑. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคตาง ๆ ในโลกโดยสังเขป๒. วิเคราะหผลของการเปลี่ยนแปลงที่นําไปสูความ รวมมือ และความขัดแยงในคริสตศตวรรษที่ ๒๐ ตลอดจนความพยายามในการขจัดปญหาความขัดแยง

๑. วิเคราะหอิทธิพลของอารยธรรมโบราณและการติดตอระหวางโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกที่มีผลตอพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก๒. วิเคราะหเหตุการณสําคัญตาง ๆ ที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เขาสูโลกสมัยปจจุบัน๓. วิเคราะหผลกระทบของการขยายอิทธิพลของ

Page 142: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

ประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย๔. วิเคราะหสถานการณของโลกในคริสตศตวรรษ ที่ ๒๑

Page 143: Education core 2551

มาตรฐาน ส ๔.๓ เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความเปนไทย

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๑. . อธิบายความหมายและความสําคัญของสัญลักษณสําคัญของชาติไทยและปฏิบัติตนไดถูกตอง๒. บอก สถานที่สําคัญซึ่งเปนแหลงวัฒนธรรม ในชุมชน๓. ระบุสิ่งที่ตนรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น

๑. ระบุบุคคล ที่ทําประโยชนตอทองถิ่น หรือประเทศชาติ๒. ยกตัวอยางวัฒนธรรมประเพณีและ ภูมิปญญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษไว

๑. ระบุพระนามและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของพระมหากษัตริยไทยที่เปนผูสถาปนา อาณาจักรไทย๒. อธิบาย พระราชประวัติและพระราช -กรณียกิจของพระมหากษัตริย ในรัชกาลปจจุบันโดยสังเขป๓. เลาวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีสวน

๑. อธิบายพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยโดยสังเขป๒. บอกประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยสุโขทัย๓. อธิบายภูมิปญญาไทยที่สําคัญสมัยสุโขทัย ที่นาภาคภูมิใจและควรคาแกการอนุรักษ

๑. อธิบาย พัฒนา การของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีโดยสังเขป ๒. อธิบายปจจัยที่สงเสริมความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของอาณาจักรอยุธยา ๓. บอกประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่นาภาคภูมิใจ๔. อธิบายภูมิปญญาไทยที่

๑. อธิบาย พัฒนา การของไทยสมัยรัตนโกสินทร โดยสังเขป ๒. อธิบายปจจัยที่สงเสริมความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร๓. ยกตัวอยางผลงานของบุคคลสําคัญดานตาง ๆ สมัยรัตนโกสินทร๔. อธิบายภูมิปญญาไทยที่

๑. อธิบายเรื่องราวทางประวัต-ิศาสตรสมัยกอนสุโขทัย ในดินแดนไทยโดยสังเขป๒. วิเคราะหพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ในดานตาง ๆ๓. วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาไทย สมัยสุโขทัยและสังคมไทยในปจจุบัน

๑. วิเคราะหพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี ในดานตางๆ ๒. วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอความมั่นคงและความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรอยุธยา๓. ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีและอิทธิพลของภูมิปญญาดังกลาวตอการพัฒนา

๑. วิเคราะหพัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร ในดานตางๆ๒. วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอความมั่นคงและความเจริญรุงเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร๓. วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทรและอิทธิพล ตอการพัฒนาชาติไทย

๑. วิเคราะหประเด็นสําคัญของประวัติศาสตรไทย๒. วิเคราะหความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริยตอชาติไทย๓. วิเคราะหปจจัยที่สงเสริมการสรางสรรคภูมิปญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลตอสังคมไทยในยุคปจจุบัน๔. วิเคราะหผลงานของบุคคลสําคัญ ทั้งชาวไทยและตางประเทศที่มีสวนสรางสรรควัฒนธรรม

Page 144: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

ปกปองประเทศชาติ

สําคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่นาภาคภูมิใจและควรคาแกการอนุรักษไว

สําคัญสมัยรัตนโกสินทรที่นาภาคภูมิใจและควรคาแกการอนุรักษไว

ชาติไทยในยุคตอมา

๔.วิเคราะหบทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย

ไทย และประวัติศาสตรไทย๕. วางแผนกําหนดแนวทางและมีสวนรวมการอนุรักษภูมิปญญาไทยและวัฒนธรรมไทย

Page 145: Education core 2551

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๑. แยกแยะสิ่งตาง ๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น๒. ระบุความสัมพันธของตําแหนง ระยะ ทิศของสิ่งตางๆ รอบตัว๓. ระบุทิศหลักและที่ตั้งของ สิ่งตาง ๆ๔.ใชแผนผังงาย ๆ ในการแสดงตําแหนง

๑. ระบุสิ่งตาง ๆ ที่เปนธรรมชาติกับที่มนุษย สรางขึ้นซึ่งปรากฏระหวางโรงเรียนกับบาน๒. ระบุตําแหนงอยางงายและลักษณะทางกายภาพของ สิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏในลูกโลก แผนที่ แผนผังและ ภาพถาย

๑. ใชแผนที่ แผนผังและภาพถายในการหาขอมูลทางภูมิศาสตรในชุมชนไดอยาง มีประสิทธิภาพ๒. เขียนแผนผังงาย ๆ เพื่อแสดงตําแหนงที่ตั้งของสถานที่สําคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน๓. บอกความสัมพันธ

๑. ใชแผนที่ ภาพถาย ระบุลักษณะสําคัญ ทางกายภาพของจังหวัดตนเอง๒. ระบุแหลงทรัพยากรและ สิ่งตางๆ ในจังหวัดของตนเองดวยแผนที่๓.ใชแผนที่ อธิบายความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ที่มีอยูในจังหวัด

๑. รูตําแหนง (พิกัดภูมิศาสตร ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง๒. ระบุลักษณภูมิลักษณะ ที่สําคัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่๓. อธิบายความสัมพันธของลักษณะทางกายภาพกับ

๑. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร (แผนที่ ภาพถายชนิดตาง) ระบุลักษณะสําคัญทางกายภาพและสังคมของประเทศ๒. อธิบายความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับ ปรากฏการณทางธรรมชาติของประเทศ

๑. เลือกใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ในการสืบคนขอมูล เพื่อวิเคราะหลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย

๑.ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวมวิเคราะหและนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและ แอฟริกา๒.วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและ แอฟริกา

๑. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวมวิเคราะห และนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริกาเหนือและอเมริกาใต ๒.วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริกาเหนือและอเมริกาใต

๑. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะหและนําเสนอขอมูล ภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ๒. วิเคราะหอิทธิพลของสภาพภูมิศาสตรซึ่งทําใหเกิดปญหาทางกายภาพหรือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคตาง ๆ ของโลก๓. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่

Page 146: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

ของสิ่งตาง ๆ ในหองเรียน๕. สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน

๓. อธิบายความสัมพันธของ ปรากฏการณระหวางโลก ดวงอาทิตยและ ดวงจันทร

ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน

ลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง

๒. อธิบายเสนแบงเวลาและเปรียบเทียบ วัน เวลาของประเทศไทยกับทวีปตาง ๆ๓. วิเคราะหเชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางปองกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นในประทศไทยและทวีปเอเชียออสเตรเลีย และ โอเชียเนีย

ซึ่งไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางภูมิศาสตรในประเทศไทยและทวีปตาง ๆ๔. ประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกวาเปนผลมาจากการกระทําของมนุษยและหรือธรรมชาติ

Page 147: Education core 2551

มาตรฐาน ส ๕.๒ เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวม ในการอนุรักษทรัพยากรและ สิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๑. บอกสิ่งตางๆที่เกิดตามธรรมชาติที่สงผลตอความเปนอยูของมนุษย๒. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่อยูรอบตัว๓. มีสวนรวม ในการจัดระเบียบสิ่งแวดลอม ที่บานและ ชั้นเรียน

๑. อธิบายความ สําคัญและคุณคาของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและทางสังคม๒. แยกแยะและใชทรัพยากร ธรรมชาติที่ใชแลวไมหมดไปและที่ใชแลวหมดไปไดอยางคุมคา๓. อธิบายความสัมพันธของฤดูกาลกับการดําเนินชีวิตของมนุษย

๑. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมในชุมชนจากอดีตถึงปจจุบัน๒. อธิบายการพึ่งพาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ในการ สนองความตองการพื้นฐานของมนุษยและการประกอบอาชีพ๓. อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการกอ

๑ อธิบายสภาพ แวดลอมทางกายภาพของชุมชนที่สงผลตอการดําเนินชีวิตของคนในจังหวัด๒ อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมในจังหวัดและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้น๓. มีสวนรวมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมในจังหวัด

๑. วิเคราะหสภาพแวดลอม ทางกายภาพที่มีอิทธิพลตอลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการยายถิ่นของประชากรในภูมิภาค๒. อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดลอม ทางธรรมชาติ ที่กอใหเกิดวิถีชีวิตและการสรางสรรควัฒนธรรมในภูมิภาค

๑. วิเคราะหความสัมพันธระหวางสิ่ง แวดลอม ทางธรรมชาติ กับสิ่งแวดลอมทางสังคมในประเทศ๒. อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปจจุบันและผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น๓. จัดทําแผนการใช

๑. วิเคราะหผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย๒. วิเคราะหความรวมมือของประเทศตางๆ ที่มีผลตอสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติของทวีปเอเชียออสเตรเลีย และโอเชียเนีย๓. สํารวจ และอธิบายทําเลที่ตั้ง

๑.วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา๒. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน ทวีปยุโรปและแอฟริกา

๑. วิเคราะหการ กอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ ทางสังคมของทวีป อเมริกาเหนือและอเมริกาใต๒. ระบุแนวทาง การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ

๑.วิเคราะหสถานการณและวิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของประเทศไทยและโลก๒ ระบุมาตรการปองกันและแกไขปญหา บทบาทขององคการและการประสานความรวมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดลอม การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Page 148: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม. ๓ ม.๔ – ม.๖

๔. มีสวนรวมในการฟนฟูปรับปรุงสิ่งแวดลอมในโรงเรียนและชุมชน

ใหเกิดมลพิษโดยมนุษย๔. อธิบายความแตกตางของเมืองและชนบท๕. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในชุมชน

๓. นําเสนอตัวอยางที่สะทอนใหเห็นผลจากการรักษาและการทําลายสภาพแวดลอมและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพ แวดลอมในภูมิภาค

ทรัพยากรในชุมชน

กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนียโดยใชแหลงขอมูลที่หลากหลาย๔. วิเคราะหปจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลตอการเลื่อนไหล ของความคิด เทคโนโลยี สินคา และประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และ โอเชียเนีย

๓. สํารวจอภิปรายประเด็นปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริกา๔. วิเคราะหเหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยไดรับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปยุโรปและแอฟริกา

อเมริกาใต๓. สํารวจ อภิปรายประเด็นปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ที่เกิดขึ้นในทวีป อเมริกาเหนือและอเมริกาใต๔. วิเคราะหเหตุและผลกระทบตอเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต ที่สงผลตอประเทศไทย

๓. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในภูมิภาคตางๆ ของโลก๔. อธิบายการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมในการสรางสรรควัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณของทองถิ่น ทั้งในประเทศไทยและโลก๕. มีสวนรวมในการแกปญหาและการ ดําเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Page 149: Education core 2551

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

ทําไมตองเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา

สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษยที่สมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปญญาหรือจิตวิญญาณ สุขภาพหรือสุขภาวะจึงเปนเรื่องสําคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซึ่งทุกคนควรจะไดเรียนรูเรื่องสุขภาพ เพื่อจะไดมีความรู ความเขาใจที่ถูกตอง มีเจตคติ คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติดานสุขภาพจนเปนกิจนิสัย อันจะสงผลใหสังคมโดยรวมมีคุณภาพ

เรียนรูอะไรในสุขศึกษาและพลศึกษา

สุขศึกษาและพลศึกษาเปนการศึกษาดานสุขภาพที่มีเปาหมาย เพื่อการดํารงสุขภาพ การสรางเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนใหยั่งยืน

สุขศึกษา มุงเนนใหผูเรียนพัฒนาพฤติกรรมดานความรู เจตคติ คุณธรรม คานิยม และ การปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพควบคูไปดวยกัน

พลศึกษา มุงเนนใหผูเรียนใชกิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกมและกีฬา เปนเครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม สติปญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา

สาระที่เปนกรอบเนื้อหาหรือขอบขายองคความรูของกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาประกอบดวย

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ผูเรียนจะไดเรียนรูเรื่องธรรมชาติของ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต ความสัมพันธเชื่อมโยงในการทํางานของระบบตางๆของรางกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อใหเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย

ชีวิตและครอบครัว ผูเรียนจะไดเรียนรูเรื่องคุณคาของตนเองและครอบครัว การปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณความรูสึกทางเพศ การสรางและรักษาสัมพันธภาพกับผูอื่น สุขปฏิบัติทางเพศ และทักษะในการดําเนินชีวิต

การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผูเรียนไดเรียนรูเรื่องการเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ การเขารวมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล และประเภททีมอยางหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ ขอตกลงในการเขารวมกิจกรรมทางกายและกีฬา และความมีน้ําใจนักกีฬา

Page 150: Education core 2551

การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค ผูเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับหลักและวิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑและบริการสุขภาพ การสรางเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ และการปองกันโรคทั้งโรคติดตอและโรคไมติดตอ

ความปลอดภัยในชีวิต ผูเรียนจะไดเรียนรูเรื่องการปองกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ ทั้งความเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใชยาและสารเสพติด รวมถึงแนวทางในการสรางเสริมความปลอดภัยในชีวิต

Page 151: Education core 2551

คุณภาพผูเรียนจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

มีความรู และเขาใจในเรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ปจจัยที่มีผลตอ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ วิธีการสรางสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุมเพื่อน

มีสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการกิน การพักผอนนอนหลับ การรักษาความสะอาดอวัยวะทุกสวนของรางกาย การเลนและการออกกําลังกาย

ปองกันตนเองจากพฤติกรรมที่อาจนําไปสูการใชสารเสพติด การลวงละเมิดทางเพศและรูจักปฏิเสธในเรื่องที่ไมเหมาะสม

ควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองไดตามพัฒนาการในแตละชวงอายุ มีทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานและมีสวนรวมในกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ และเกม ไดอยางสนุกสนาน และปลอดภัย

มีทักษะในการเลือกบริโภคอาหาร ของเลน ของใช ที่มีผลดีตอสุขภาพ หลีกเลี่ยงและปองกันตนเองจากอุบัติเหตุได

ปฏิบัติตนไดอยางถูกตองเหมาะสมเมื่อมีปญหาทางอารมณ และปญหาสุขภาพ ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบขอตกลง คําแนะนํา และขั้นตอนตางๆ และใหความรวมมือกับ

ผูอื่นดวยความเต็มใจจนงานประสบความสําเร็จ ปฏิบัติตามสิทธิของตนเองและเคารพสิทธิของผูอื่นในการเลนเปนกลุม

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

เขาใจความสัมพันธเชื่อมโยงในการทํางานของระบบตาง ๆ ของรางกาย และรูจักดูแลอวัยวะที่สําคัญของระบบนั้น ๆ

เขาใจธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม แรงขับทางเพศของชายหญิง เมื่อยางเขาสูวัยแรกรุนและวัยรุน สามารถปรับตัวและจัดการไดอยางเหมาะสม

เขาใจและเห็นคุณคาของการมีชีวิตและครอบครัวที่อบอุน และเปนสุข ภูมิใจและเห็นคุณคาในเพศของตน ปฏิบัติสุขอนามัยทางเพศไดถูกตองเหมาะสม ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ

ความรุนแรง สารเสพติดและการลวงละเมิดทางเพศ มีทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐานและการควบคุมตนเองในการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน

Page 152: Education core 2551

รูหลักการเคลื่อนไหวและสามารถเลือกเขารวมกิจกรรมทางกาย เกม การละเลนพื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลไดอยางปลอดภัยและสนุกสนาน มีน้ําใจนักกีฬา โดยปฏิบัติตามกฎ กติกา สิทธิ และหนาที่ของตนเอง จนงานสําเร็จลุลวง

วางแผนและปฏิบัติกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพไดตามความเหมาะสมและความตองการเปนประจํา

จัดการกับอารมณ ความเครียด และปญหาสุขภาพไดอยางเหมาะสม มีทักษะในการแสวงหาความรู ขอมูลขาวสารเพื่อใชสรางเสริมสุขภาพ

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

เขาใจและเห็นความสําคัญของปจจัยที่สงผลกระทบตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีตอสุขภาพและชีวิตในชวงวัยตาง ๆ

เขาใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณ ความรูสึกทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สรางและรักษาสัมพันธภาพกับผูอื่น และตัดสินใจแกปญหาชีวิตดวยวิธีการที่เหมาะสม

เลือกกินอาหารที่เหมาะสม ไดสัดสวน สงผลดีตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการตามวัย มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพื่อน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรมที่มีตอ

เจตคติ คานิยมเกี่ยวกับสุขภาพและชีวิต และสามารถจัดการไดอยางเหมาะสม ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ

การใชยา สารเสพติด และความรุนแรง รูจักสรางเสริมความปลอดภัยใหแกตนเอง ครอบครัว และชุมชน

เขารวมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสรางเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ โดยนําหลักการของทักษะกลไกมาใชไดอยางปลอดภัย สนุกสนาน และปฏิบัติเปนประจําสม่ําเสมอตามความถนัดและความสนใจ

แสดงความตระหนักในความสัมพันธระหวางพฤติกรรมสุขภาพ การปองกันโรค การดํารงสุขภาพ การจัดการกับอารมณและความเครียด การออกกําลังกายและการเลนกีฬากับการมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี

สํานึกในคุณคา ศักยภาพและความเปนตัวของตัวเอง ปฏิบัติตามกฎ กติกา หนาที่ความรับผิดชอบ เคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น ใหความ

รวมมือในการแขงขันกีฬาและการทํางานเปนทีมอยางเปนระบบ ดวยความมุงมั่นและมีน้ําใจนักกีฬา จนประสบความสําเร็จตามเปาหมายดวยความชื่นชม และสนุกสนาน

Page 153: Education core 2551

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

สามารถดูแลสุขภาพ สรางเสริมสุขภาพ ปองกันโรค หลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความรุนแรงไดอยางมีประสิทธิภาพดวยการวางแผนอยางเปนระบบ

แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทร ความเขาใจในอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีตอพฤติกรรมทางเพศ การดําเนินชีวิต และวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี

ออกกําลังกาย เลนกีฬา เขารวมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสรางเสริมสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพโดยนําหลักการของทักษะกลไกมาใชไดอยางถูกตอง สม่ําเสมอดวยความชื่นชมและสนุกสนาน

แสดงความรับผิดชอบ ใหความรวมมือและปฏิบัติตามกฎ กติกา สิทธิ หลักความปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรมทางกาย และเลนกีฬาจนประสบความสําเร็จตามเปาหมายของตนเองและทีม

แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลน และการแขงขัน ดวยความมีน้ําใจนักกีฬาและนําไปปฏิบัติในทุกโอกาสจนเปนบุคลิกภาพที่ดี

วิเคราะหและประเมินสุขภาพสวนบุคคลเพื่อกําหนดกลวิธีลดความเสี่ยง สรางเสริมสุขภาพ ดํารงสุขภาพ การปองกันโรค และการจัดการกับอารมณและความเครียดไดถูกตองและเหมาะสม

ใชกระบวนการทางประชาสังคม สรางเสริมใหชุมชนเขมแข็งปลอดภัย และมีวิถีชีวิตที่ดี

Page 154: Education core 2551

สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยมาตรฐาน พ ๑.๑ เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. อธิบายความสําคัญของระบบประสาท และระบบ ตอมไรทอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน

๑. อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายนอก๒. อธิบายวิธี ดูแลรักษาอวัยวะภายนอก

๑. อธิบายลักษณะ และหนาที่ของอวัยวะภายใน๒. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายใน๓. อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษย

๑. อธิบายลักษณะและการเจริญเติบโตของรางกายมนุษย๒. เปรียบ เทียบการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน๓. ระบุปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต

๑. อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกายและจิตใจตามวัย ๒. อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ๓. อธิบายวิธีดูแลกลามเนื้อ กระดูก และขอ ใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพ

๑. อธิบายความสําคัญของระบบยอยอาหาร และระบบขับถายที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ๒. อธิบายวิธีดูแลระบบยอยอาหารและระบบขับถายใหทํางานตามปกติ

๑. อธิบายความสําคัญของระบบสืบพันธุ ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ ที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ๒. อธิบายวิธีการดูแลระบบสืบพันธุ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจใหทํางานตามปกติ

๒. อธิบายวิธีดูแลระบบประสาท และระบบตอมไรทอใหทํางานตามปกติ

๑. อธิบายการเปลี่ยนแปลงดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญาในวัยรุน๒. ระบุปจจัยที่มีผลกระทบตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา ในวัยรุน

๑. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา แตละชวงของชีวิต๒. วิเคราะหอิทธิพลและความคาดหวังของสังคมตอการเปลี่ยนแปลงของวัยรุน

๑. อธิบายกระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะตาง ๆ ๒. วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัว

Page 155: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๓. วิเคราะห สื่อ โฆษณา ที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน

๓. วิเคราะหภาวะการเจริญเติบโตทางรางกายของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน๔. แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองใหเจริญเติบโตสมวัย

Page 156: Education core 2551

สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัวมาตรฐาน พ ๒.๑ เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. อธิบายวิธีการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกายจิตใจ อารมณ และพัฒนาการทางเพศอยางเหมาะสม

๑. ระบุสมาชิกในครอบครัวและความรักความผูกพันของสมาชิกที่มีตอกัน๒. บอกสิ่งที่ชื่นชอบ และภาคภูมิใจ ในตนเอง๓. บอกลักษณะความแตกตางระหวางเพศชาย และเพศหญิง

๑. ระบุบทบาทหนาที่ของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว๒. บอกความสําคัญของเพื่อน๓. ระบุพฤติกรรม ที่เหมาะสมกับเพศ๔. อธิบายความภาคภูมิใจ ในความเปนเพศหญิง หรือเพศชาย

๑. อธิบายความสําคัญ และความแตกตางของครอบครัวที่มีตอตนเอง๒. อธิบาย วิธีสรางสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุมเพื่อน๓. บอกวิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรม ที่นําไปสูการลวงละเมิดทางเพศ

๑. อธิบายคุณลักษณะของความเปนเพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว๒. แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของตนตามวัฒนธรรมไทย๓. ยกตัวอยางวิธีการปฏิเสธ การกระทําที่เปนอันตรายและ ไมเหมาะสมในเรื่องเพศ

๑. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ และปฏิบัติตนไดเหมาะสม๒. อธิบายความสําคัญของการมีครอบครัว ที่อบอุนตามวัฒนธรรมไทย๓. ระบุพฤติกรรม ที่พึงประสงคและไมพึงประสงค ในการแกไขปญหาความขัดแยงในครอบครัวและกลุมเพื่อน

๑. อธิบายความสําคัญของการสรางและรักษาสัมพันธภาพ กับผูอื่น๒. วิเคราะหพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจนําไปสูการมีเพศสัมพันธ การติดเชื้อเอดส และการตั้งครรภกอนวัยอันควร

๒. แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อปองกันตนเองจากการถูกลวงละเมิดทางเพศ

๑. วิเคราะหปจจัยที่มีอิทธิพลตอเจตคติในเรื่องเพศ๒. วิเคราะหปญหาและผลกระทบ ที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธในวัยเรียน๓. อธิบาย วิธีปองกันตนเองและหลีกเลี่ยงจากโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เอดส และการตั้งครรภโดยไมพึงประสงค

๑. อธิบายอนามัยแมและเด็ก การวางแผนครอบครัว และวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม๒. วิเคราะหปจจัยที่มีผลกระทบตอ การตั้งครรภ๓. วิเคราะหสาเหตุ และเสนอแนวทางปองกัน แกไขความขัดแยงในครอบครัว

๑. วิเคราะหอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรม ที่มีผลตอพฤติกรรมทางเพศและ การดําเนินชีวิต๒. วิเคราะหคานิยมในเรื่องเพศ ตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่น ๆ๓. เลือกใชทักษะที่เหมาะสมในการปองกัน ลดความขัดแยงและแกปญหาเรื่องเพศ และครอบครวั๔. วิเคราะหสาเหตุและผลของความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นระหวางนักเรียน หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแกไขปญหา

Page 157: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๔. อธิบายความสําคัญของความเสมอภาค ทางเพศ และวางตัวไดอยางเหมาะสม

Page 158: Education core 2551

สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากลมาตรฐาน พ ๓.๑ เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๑. เคลื่อนไหวรางกายขณะอยูกับที่ เคลื่อนที่และใชอุปกรณประกอบ๒. เลนเกมเบ็ดเตล็ดและเขารวมกิจกรรมทางกายที่ใชการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ

๑. ควบคุมการเคลื่อนไหวรางกาย ขณะอยูกับที่ เคลื่อนที่ และใชอุปกรณประกอบ

๒. เลนเกมเบ็ดเตล็ดและเขารวมกิจกรรมทางกายที่วิธีเลน อาศัยการเคลื่อนไหวเบื้องตนทั้งแบบอยูกับที่

๑. ควบคุม การเคลื่อนไหวรางกาย ขณะอยูกับที่ เคลื่อนที่และใชอุปกรณประกอบ อยางมีทิศทาง๒. เคลื่อนไหวรางกายที่ใชทักษะการเคลื่อนไหวแบบบังคับทิศทางในการเลนเกมเบ็ดเตล็ด

๑. ควบคุมตนเองเมื่อใชทักษะการเคลื่อนไหวในลักษณะผสมผสานได ทั้งแบบอยูกับที่ เคลื่อนที่ และใชอุปกรณประกอบ๒. ฝกกายบริหารทามือเปลาประกอบจังหวะ๓. เลนเกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด๔. เลนกีฬาพื้นฐานไดอยางนอย ๑ ชนิด

๑. จัด รูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเองเมื่อใชทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กําหนด๒. เลนเกมนําไปสูกีฬา ที่เลือกและกิจกรรมการเคลื่อนไหว แบบผลัด

๑. แสดงทักษะการเคลื่อนไหวรวมกับผูอื่นในลักษณะ แบบผลัดและแบบผสมผสานไดตามลําดับทั้งแบบอยูกับที่ เคลื่อนที่ และใชอุปกรณประกอบ และการเคลื่อนไหวประกอบเพลง

๑. เพิ่มพูนความสามารถของตน ตามหลักการเคลื่อนไหว ที่ใชทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานที่นําไปสูการพัฒนาทักษะการเลนกีฬา๒. เลนกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคล

๑. นําผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับทักษะกลไกและทักษะการเคลื่อนไหว ในการเลนกีฬาจากแหลงขอมูล ที่หลากหลายมาสรุปเปนวิธีที่เหมาะสมในบริบทของตนเอง

๑. เลนกีฬาไทยและกีฬาสากล ไดอยางละ ๑ ชนิดโดยใชเทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม๒. นําหลักการ ความรูและทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และการเลนกีฬาไปใชสรางเสริม

๑. วิเคราะหความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬา ๒. ใชความสามารถของตนเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คํานึงถึงผลที่เกิดตอผูอื่น และสังคม๓. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล / คู กีฬาประเภททีมไดอยางนอย ๑ ชนิด ๔. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค๕. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนําหลักการแนวคิดไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม

Page 159: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

เคลื่อนที่และใชอุปกรณประกอบ

๓. ควบคุมการเคลื่อนไหว ในเรื่องการรับแรง การใชแรงและความสมดุล๔. แสดงทักษะกลไก ในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเลนกีฬา๕. เลนกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมไดอยางละ ๑ ชนิด

๒. จําแนกหลักการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใชแรง และความสมดุลในการเคลื่อนไหวรางกายในการเลนเกม เลนกีฬา และนําผลมาปรับปรุง เพิ่มพูนวิธีปฏิบัติของตนและผูอื่น๓. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีม

และทีมโดยใชทักษะพื้นฐานตามชนิดกีฬา อยางละ ๑ ชนิด๓. รวมกิจกรรมนันทนาการอยางนอย ๑ กิจกรรมและ นําหลักความรู ที่ไดไปเชื่อมโยงสัมพันธกับ วิชาอื่น

๒. เลนกีฬาไทยและกีฬาสากล ทั้งประเภทบุคคลและทีมได อยางละ ๑ ชนิด ๓. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหว ที่สงผลตอการเลนกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจําวัน๔. รวมกิจกรรมนันทนาการอยางนอย

สุขภาพอยางตอเนื่อง เปนระบบ๓. รวมกิจกรรมนันทนาการอยางนอย ๑ กิจกรรม และนําหลักความรูวิธีการไปขยายผลการเรียนรูใหกับผูอื่น

Page 160: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ - ม. ๖

๖. อธิบายหลักการ และเขารวมกิจกรรมนันทนาการ อยางนอย ๑ กิจกรรม

ไดอยางละ ๑ ชนิด๔. ใชทักษะกลไกเพื่อปรับปรุง เพิ่มพูนความสามารถของตนและผูอื่นในการเลนกีฬา๕. รวมกิจกรรมนันทนาการอยางนอย ๑ กิจกรรม แลวนําความรูและหลักการที่ไดไปใชเปนฐานการศึกษาหาความรูเรื่องอื่น ๆ

๑ กิจกรรม และนําความรูและหลักการที่ได ไปปรับใชในชีวิตประจําวันอยางเปนระบบ

Page 161: Education core 2551

มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ ในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ - ๖

๑. ออกกําลังกาย และเลนเกม ตามคําแนะนํา อยางสนุกสนาน๒. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ขอตกลง ในการเลนเกมตามคําแนะนํา

๑. ออกกําลังกาย และเลนเกม ไดดวยตนเองอยางสนุกสนาน๒.ปฏิบัติตามกฎ กติกาและขอตกลงในการเลนเกมเปนกลุม

๑. เลือก ออกกําลังกาย การละเลนพื้นเมือง และเลนเกม ที่เหมาะสมกับจุดเดนจุดดอยและขอจํากัดของตนเอง๒. ปฏิบัติตามกฎ กติกาและขอตกลงของการออกกําลังกาย การเลนเกม การละเลน-พื้นเมืองไดดวยตนเอง

๑. ออกกําลังกาย เลนเกม และกีฬา ที่ตนเองชอบและมีความสามารถในการวิเคราะหผลพัฒนาการของตนเองตามตัวอยางและแบบปฏิบัติของผูอื่น๒. ปฏิบัติตามกฎ กติกาการเลนกีฬาพื้นฐาน ตามชนิดกีฬาที่เลน

๑. ออกกําลังกายอยางมีรูปแบบ เลนเกมที่ใชทักษะการคิดและตัดสินใจ ๒. เลนกีฬา ที่ตนเองชอบอยางสม่ําเสมอ โดยสรางทางเลือก ในวิธีปฏิบัติของตนเองอยางหลากหลาย และมีน้ําใจนักกีฬา ๓. ปฏิบัติตามกฎ กติกา การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ตามชนิดกีฬาที่เลน

๑. อธิบายประโยชนและหลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพสมรรถภาพ ทางกายและ การสรางเสริมบุคลิกภาพ๒. เลนเกม ที่ใชทักษะการวางแผน และสามารถเพิ่มพูนทักษะการออกกําลังกายและเคลื่อนไหวอยางเปนระบบ๓. เลนกีฬา ที่ตนเองชื่นชอบและสามารถประเมินทักษะการเลนของตนเปนประจํา

๑. อธิบายความสําคัญของการออกกําลังกายและเลนกีฬา จนเปนวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี๒. ออกกําลังกายและเลือกเขารวมเลนกีฬาตามความถนัด ความสนใจอยางเต็มความสามารถ พรอมทั้งมีการประเมินการเลนของตนและผูอื่น๓. ปฏิบัติตามกฎ กติกา และขอตกลงตามชนิดกีฬาที่เลือกเลน

๑. อธิบายสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา ที่เกิดจากการออกกําลังกาย และเลนกีฬาเปนประจําจนเปนวิถีชีวิต๒. เลือกเขารวมออกกําลังกายเลนกีฬาตามความถนัด ความสนใจพรอมทั้งวิเคราะหความแตกตางระหวางบุคคลเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาตนเอง

๑. มีมารยาทในการเลน และดูกีฬาดวยความมีน้ําใจนักกีฬา๒.ออกกําลังกายและเลนกีฬาอยางสม่ําเสมอและนําแนวคิดหลักการจากการเลนไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนดวยความภาคภูมิใจ๓. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา และขอตกลง ในการเลนตามชนิดกีฬาที่เลือกและนําแนวคิด ที่ไดไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตน ในสังคม

๑. ออกกําลังกายและเลนกีฬา ที่เหมาะสมกับตนเองอยางสม่ําเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผลที่เกิดตอสังคม๒. อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอื่นและนําไปสรุปเปนแนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจําวันอยางตอเนื่อง๓.แสดงออกถึงการมีมารยาท ในการดู การเลนและการแขงขันกีฬา ดวยความมีน้ําใจนักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุกโอกาส จนเปนบุคลิกภาพที่ดี๔. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมีความสุข ชื่นชมในคุณคาและความงามของการกีฬา

Page 162: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ - ๖

๔. ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเอง ไมละเมิดสิทธิผูอื่นและยอมรับในความแตกตางระหวางบุคคลในการเลนเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล

๔. จําแนกกลวิธีการรุก การปองกัน และใชในการเลนกีฬาที่เลือกและตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมกับทีมไปใชไดตามสถานการณ ของการเลน

๓. มีวินัย ปฏิบัติตามกฎ กติกา และขอตกลงในการเลนกีฬา ที่เลือก๔. วางแผนการรุกและการปองกันในการเลนกีฬาที่เลือกและนําไปใช ในการเลนอยางเหมาะสมกับทีม๕. นําผลการปฏิบัติในการเลนกีฬามาสรุปเปนวิธีที่เหมาะสมกับตนเองดวยความมุงมั่น

๕. เสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกกําลังกาย และการเลนกีฬาเปนประจํา

๔. ปฏิบัติตามกฎ กติกา ตามชนิดกีฬาที่เลน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผูอื่น๕. จําแนกกลวิธีการรุก การปองกัน และนําไปใชในการเลนกีฬา๖. เลนเกมและกีฬาดวยความสามัคคีและมีน้ําใจนักกีฬา

๔. วางแผน การรุกและ การปองกันในการเลนกีฬาที่เลือกและนําไปใช ในการเลนอยางเปนระบบ๕. รวมมือในการเลนกีฬา และการทํางานเปนทีมอยางสนุกสนาน๖. วิเคราะหเปรียบเทียบและยอมรับความแตกตางระหวางวิธีการเลนกีฬาของตนเองกับผูอื่น

Page 163: Education core 2551

สาระที่ ๔ การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรคมาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรคและการสรางเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖

๑. กําหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยตาง ๆ โดยคํานึงถึงความประหยัดและคุณคาทางโภชนาการ

๑. ปฏิบัติตนตามหลัก สุขบัญญัต-ิแหงชาติ ตามคําแนะนํา๒. บอกอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับตนเอง๓. ปฏิบัติตนตามคําแนะนําเมื่อมีอาการเจ็บปวย

๑. บอกลักษณะของการมีสุขภาพดี๒. เลือกกินอาหารที่มีประโยชน๓. ระบุของใชและของเลนที่มีผลเสียตอสุขภาพ๔. อธิบายอาการและวิธีปองกันการเจ็บปวย การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น๕. ปฏิบัติตามคําแนะนําเมื่อมีอาการเจ็บปวยและบาดเจ็บ

๑. อธิบายการติดตอและวิธีการปองกันการแพร กระจาย ของโรค๒. จําแนกอาหารหลัก ๕ หมู๓. เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ ๕ หมูในสัดสวนที่เหมาะสม๔. แสดงวิธีแปรงฟนใหสะอาดอยางถูกวิธี

๑. อธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสุขภาพ๒. อธิบายสภาวะอารมณ ความรูสึกที่มีผลตอสุขภาพ๓. วิเคราะหขอมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑสุขภาพ เพื่อการเลือกบริโภค๔. ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการตรวจสอบ

๑. แสดงพฤติกรรม ที่เห็นความสําคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแหงชาติ๒. คนหาขอมูลขาวสารเพื่อใชสรางเสริมสุขภาพ๓. วิเคราะหสื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร และผลิตภัณฑสุขภาพอยางมีเหตุผล๔. ปฏิบัติตนในการปองกันโรคที่พบบอยในชีวิตประจําวัน

๑. แสดงพฤติกรรม ในการปองกันและแกไขปญหาสิ่งแวดลอมที่มีผลตอสุขภาพ๒. วิเคราะหผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของโรคและเสนอแนวทางการปองกันโรคติดตอสําคัญที่พบในประเทศไทย๓. แสดงพฤติกรรมที่บงบอกถึงความรับผิดชอบตอสุขภาพของ

๑. เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย๒. วิเคราะหปญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบตอสุขภาพ๓. ควบคุมน้ําหนักของตนเองใหอยูในเกณฑมาตรฐาน๔. สรางเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผล การทดสอบ

๑. เลือกใชบริการทางสุขภาพอยางมีเหตุผล๒. วิเคราะหผลของการใชเทคโนโลยีที่มีตอสุขภาพ๓. วิเคราะหความเจริญ กาวหนาทางการแพทยที่มีผลตอสุขภาพ๔. วิเคราะหความสัมพันธของภาวะสมดุลระหวางสุขภาพกายและสุขภาพจิต

๒. เสนอแนวทางปองกันโรคที่เปนสาเหตุสําคัญของการเจ็บปวยและการตายของคนไทย๓. รวบรวมขอมูลและเสนอแนวทางแกไขปญหาสุขภาพในชุมชน

๑. วิเคราะหบทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่มีตอการสรางเสริมสุขภาพและการปองกันโรคในชุมชน๒. วิเคราะห อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ เพื่อการเลือกบริโภค๓. ปฏิบัติตนตามสิทธิของผูบริโภค๔. วิเคราะหสาเหตุและเสนอแนวทางการปองกันการเจ็บปวยและการตายของคนไทย๕. วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว๖. มีสวนรวมในการสงเสริม และพัฒนาสุขภาพในชุมชน

Page 164: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ - ๖

สมรรถภาพ ทางกาย

สวนรวม๔. สรางเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพอยางตอเนื่อง

๕. สรางเสริมสมรรถภาพทางกายไดตามคําแนะนํา

๕. ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย

๕. อธิบายลักษณะอาการเบื้องตนของผูมีปญหาสุขภาพจิต๖. เสนอแนะวิธีปฏิบัติตน เพื่อจัดการกับอารมณและความเครียด๗. พัฒนาสมรรถภาพทางกายตนเองใหเปนไปตามเกณฑที่กําหนด

๔. วางแผนและจัดเวลา ในการ ออกกําลังกาย การพักผอนและการสรางเสริมสมรรถภาพ ทางกาย๕. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย และพัฒนาไดตามความแตกตางระหวางบุคคล

๗. วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย และสมรรถภาพทางกลไก

Page 165: Education core 2551

สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิตมาตรฐาน พ ๕.๑ ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความรุนแรง

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ - ๖

๑. ระบุสิ่ง ที่ทําใหเกิดอันตราย ที่บาน โรงเรียน และการปองกัน๒. บอกสาเหตุและการปองกันอันตรายที่เกิดจากการเลน๓. แสดงคําพูดหรือทาทางขอความชวยเหลือจากผูอื่นเมื่อเกิดเหตุราย ที่บานและโรงเรียน

๑. ปฏิบัติตนในการปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นทางน้ํา และทางบก๒. บอกชื่อยาสามัญประจําบาน และใชยาตามคําแนะนํา๓. ระบุโทษของสารเสพติด สารอันตรายใกลตัวและวิธีการปองกัน๔. ปฏิบัติตนตามสัญลักษณและปายเตือนของสิ่งของหรือสถานที่ที่เปนอันตราย

๑. ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบาน โรงเรียน และการเดินทาง๒. แสดงวิธี ขอความชวยเหลือจากบุคคลและแหลงตาง ๆ เมื่อเกิดเหตุราย หรืออุบัติเหตุ๓. แสดงวิธีปฐมพยาบาล เมื่อบาดเจ็บจากการเลน

๑. อธิบายความสําคัญของการใชยาและใชยาอยางถูกวิธี๒. แสดงวิธีปฐมพยาบาลเมื่อไดรับอันตรายจากการใชยาผิด สารเคมี แมลงสัตวกัดตอย และการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา๓. วิเคราะหผลเสียของการสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา ที่มีตอสุขภาพและการปองกัน

๑. วิเคราะหปจจัยที่มีอิทธิพลตอการใชสารเสพติด๒. วิเคราะหผลกระทบของการใชยา และสารเสพติด ที่มีผลตอรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา๓. ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากการใชยา และหลีกเลี่ยง สารเสพติด

๑. วิเคราะหผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีตอรางกาย จิตใจ และสังคม๒. ระบุวิธีปฏิบัติตน เพื่อความปลอดภัยจาก ภัยธรรมชาติ ๓. วิเคราะหสาเหตุของการ ติดสารเสพติด และชักชวน ใหผูอื่นหลีกเลี่ยง สารเสพติด

๑. แสดงวิธีปฐมพยาบาลและเคลื่อนยายผูปวยอยางปลอดภัย๒. อธิบายลักษณะอาการของผูติดสารเสพติดและการปองกันการติดสารเสพติด๓. อธิบายความสัมพันธของการใชสารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ

๑. ระบุวิธีการ ปจจัยและแหลง ที่ชวยเหลือฟนฟูผูติดสารเสพติด๒. อธิบายวิธีการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณเสี่ยง๓. ใชทักษะชีวิตในการปองกันตนเองและหลีกเลี่ยงสถานการณ คับขันที่อาจนําไปสูอันตราย

๑. วิเคราะหปจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลตอสุขภาพและแนวทางปองกัน๒. หลีกเลี่ยงการใชความรุนแรงและชักชวนเพื่อนใหหลีกเลี่ยงการใชความรุนแรงในการแกปญหา๓. วิเคราะหอิทธิพลของสื่อตอพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง

๑. มีสวนรวมในการปองกันความเสี่ยงตอการใชยา การใชสารเสพติด และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม๒. วิเคราะหผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด๓. วิเคราะหปจจัยที่มีผลตอสุขภาพ หรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอแนวทางปองกัน๔. วางแผนกําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน๕. มีสวนรวมในการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน๖. ใชทักษะการตัดสินใจแกปญหาในสถานการณที่เสี่ยงตอสุขภาพและความรุนแรง๗. แสดงวิธีการชวยฟนคืนชีพอยางถูกวิธี

Page 166: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม.๔ - ๖

๕. อธิบายสาเหตุ อันตราย วิธีปองกันอัคคีภัยและแสดงการ หนีไฟ

๔. วิเคราะหอิทธิพลของสื่อที่มีตอพฤติกรรมสุขภาพ๕. ปฏิบัติตนเพื่อปองกันอันตรายจากการเลนกีฬา

๔. แสดงวิธีการชักชวนผูอื่นให ลด ละ เลิก สารเสพติด โดยใชทักษะตาง ๆ

๔. วิเคราะหความสัมพันธของการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลตอสุขภาพและการเกิดอุบัติเหตุ๕. แสดงวิธีการชวยฟนคืนชีพอยางถูกวิธี

Page 167: Education core 2551

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

ทําไมตองเรียนศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย กิจกรรมทางศิลปะชวยพัฒนาผูเรียนทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม ตลอดจนการนําไปสูการพัฒนาสิ่งแวดลอม สงเสริมใหผูเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพได

เรียนรูอะไรในศิลปะกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ มุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ

เกิดความซาบซึ้งในคุณคาของศิลปะเปดโอกาสใหผูเรียนแสดงออกอยางอิสระในศิลปะแขนงตางๆ ประกอบดวยสาระสําคัญ คือ

ทัศนศิลป มีความรูความเขาใจองคประกอบศิลป ทัศนธาตุ สรางและนําเสนอผลงานทางทัศนศิลปจากจินตนาการ โดยสามารถใชอุปกรณที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใชเทคนิค วิธีการของศิลปนในการสรางงานไดอยางมีประสิทธิภาพ วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมเห็นคุณคางานศิลปะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นภูมิปญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ดนตรี มีความรูความเขาใจองคประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะหวิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ทางดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาดนตรีที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล รองเพลง และเลนดนตรีในรูปแบบตางๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรูสึกที่มีตอดนตรีในเชิงสุนทรียะ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณในประวัติศาสตร

นาฏศิลป มีความรูความเขาใจองคประกอบนาฏศิลป แสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค ใชศัพทเบื้องตนทางนาฏศิลป วิเคราะหวิพากษ วิจารณคุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ สรางสรรคการเคลื่อนไหวในรูปแบบตางๆ ประยุกตใชนาฏศิลปในชีวิตประจําวัน เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลปกับประวัติศาสตร วัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

Page 168: Education core 2551

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ รูและเขาใจเกี่ยวกับรูปราง รูปทรง และจําแนกทัศนธาตุของสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ

สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป มีทักษะพื้นฐานการใชวัสดุอุปกรณในการสรางงานวาดภาพระบายสี โดยใชเสน รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปน งานโครงสรางเคลื่อนไหวอยางงาย ๆ ถายทอดความคิด ความรูสึกจากเรื่องราว เหตุการณ ชีวิตจริง สรางงานทัศนศิลปตามที่ตนชื่นชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง

รูและเขาใจความสําคัญของงานทัศนศิลปในชีวิตประจําวัน ที่มาของงานทัศนศิลป ในทองถิ่น ตลอดจนการใชวัสดุ อุปกรณ และวิธีการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น

รูและเขาใจแหลงกํา เนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหนาที่ ความหมาย ความสําคัญของบทเพลงใกลตัวที่ไดยิน สามารถทองบทกลอน รองเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวรางกายใหสอดคลองกับบทเพลง อาน เขียน และใชสัญลักษณแทนเสียงและเคาะจังหวะแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับรองของตนเอง มีสวนรวมกับกิจกรรมดนตรีในชีวิตประจําวัน

รูและเขาใจเอกลักษณของดนตรีในทองถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสําคัญ และประโยชนของดนตรีตอการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่น

สรางสรรคการเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ สามารถแสดงทาทางประกอบจังหวะเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป มีมารยาทในการชมการแสดง รูหนาที่ของผูแสดงและผูชมรูประโยชนของการแสดงนาฏศิลปในชีวิตประจําวัน เขารวมกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย

รูและเขาใจการละเลนของเด็กไทยและนาฏศิลปทองถิ่น ชื่นชอบและภาคภูมิใจ ในการละเลนพื้นบาน สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเลนพื้นบานกับการดํารงชีวิตของคนไทย บอกลักษณะเดนและเอกลักษณของนาฏศิลปไทยตลอดจนความสําคัญของการแสดงนาฏศิลปไทยได

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ รูและเขาใจการใชทัศนธาตุ รูปราง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพื้นฐานในการใช

วัสดุอุปกรณ ถายทอดความคิด อารมณ ความรูสึก สามารถใชหลักการจัดขนาด สัดสวนความสมดุล น้ําหนัก แสงเงา ตลอดจนการใชสีคูตรงขามที่เหมาะสมในการสรางงานทัศนศิลป ๒ มิติ ๓ มิติ เชน งานสื่อผสม งานวาดภาพระบายสี งานปน งานพิมพภาพ รวมทั้งสามารถสรางแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถายทอดความคิดจินตนาการเปนเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณตาง ๆ และสามารถเปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานทัศนศิลปที่สรางสรรคดวยวัสดุอุปกรณและวิธีการที่แตกตางกัน เขาใจปญหาในการจัดองคประกอบศิลป หลักการลด และเพิ่มในงานปน การสื่อความหมายในงาน

Page 169: Education core 2551

ทัศนศิลปของตน รูวิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น ตลอดจนรูและเขาใจคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคนในสังคม

รูและเขาใจบทบาทของงานทัศนศิลปที่สะทอนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา และวัฒนธรรมที่มีผลตอการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น

รูและเขาใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงรอง เครื่องดนตรี และบทบาทหนาที่ รูถึง การเคลื่อนที่ขึ้น ลง ของทํานองเพลง องคประกอบของดนตรี ศัพทสังคีตในบทเพลง ประโยค และอารมณของบทเพลงที่ฟง รอง และบรรเลงเครื่องดนตรี ดนสดอยางงาย ใชและเก็บรักษาเครื่องดนตรีอยางถูกวิธี อาน เขียนโนตไทยและสากลในรูปแบบตาง ๆ รูลักษณะของผูที่จะเลนดนตรีไดดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองคประกอบดนตรี ถายทอดความรูสึกของบทเพลงที่ฟง สามารถใชดนตรีประกอบกิจกรรมทางนาฏศิลปและการเลาเรื่อง

รูและเขาใจความสัมพันธระหวางดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมตาง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวัติศาสตร อิทธิพลของวัฒนธรรมตอดนตรี รูคุณคาดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน เห็นความสําคัญในการอนุรักษ

รูและเขาใจองคประกอบนาฏศิลป สามารถแสดงภาษาทา นาฏยศัพทพื้นฐาน สรางสรรคการเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป และการละครงาย ๆ ถายทอดลีลาหรืออารมณ และสามารถออกแบบเครื่องแตงกายหรืออุปกรณประกอบการแสดงงาย ๆ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลปและการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจําวัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรูสึกของตนเองที่มีตองานนาฏศิลป

รูและเขาใจความสัมพันธและประโยชนของนาฏศิลปและการละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทตาง ๆ ของไทยในแตละทองถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะทอนวัฒนธรรมประเพณี เห็นคุณคาการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลปไทย

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ รูและเขาใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการ

สรางงานทัศนศิลป ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อสื่อความหมายและเรื่องราวตาง ๆ ไดอยางมีคุณภาพ วิเคราะหรูปแบบเนื้อหาและประเมินคุณคางานทัศนศิลปของตนเองและผูอื่น สามารถเลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กําหนดขึ้นอยางเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ กราฟกในการนําเสนอขอมูลและมีความรู ทักษะที่จําเปนดานอาชีพที่เกี่ยวของกันกับงานทัศนศิลป

รูและเขาใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลปของชาติและทองถิ่น แตละยุคสมัย เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลปที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมตาง ๆ

Page 170: Education core 2551

รูและเข าใจถึงความแตกตางทางดานเสียง องคประกอบ อารมณ ความรูสึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมตาง ๆ มีทักษะในการรอง บรรเลงเครื่องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเปนวงโดยเนนเทคนิคการรองบรรเลงอยางมีคุณภาพ มีทักษะในการสรางสรรคบทเพลงอยางงาย อานเขียนโนตในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลงเสียงเบื้องตนได รูและเขาใจถึงปจจัยที่มีผลตอรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคประกอบของผลงานดานดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณความรูสึกที่มีตอบทเพลง สามารถนําเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบไดอยางมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รูถึงอาชีพตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง เขาใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม

รูและเขาใจที่มา ความสัมพันธ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแตละวัฒนธรรม ในยุคสมัยตาง ๆ วิเคราะหปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับ

รูและเขาใจการใชนาฏยศัพทหรือศัพททางการละครในการแปลความและสื่อสาร ผานการแสดง รวมทั้งพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใชเกณฑงาย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพการแสดง วิจารณเปรียบเทียบงานนาฏศิลป โดยใชความรูเรื่ององคประกอบทางนาฏศิลปรวมจัดการแสดง นําแนวคิดของการแสดงไปปรับใชในชีวิตประจําวัน

รูและเขาใจประเภทละครไทยในแตละยุคสมัย ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลปไทย นาฏศิลปพื้นบาน ละครไทย และละครพื้นบาน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลปจากวัฒนธรรมตาง ๆ รวมทั้งสามารถออกแบบและสรางสรรคอุปกรณ เครื่องแตงกายในการแสดงนาฏศิลปและละคร มีความเขาใจ ความสําคัญ บทบาทของนาฏศิลป และละครในชีวิตประจําวัน

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ รูและเขาใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใช

ศัพททางทัศนศิลป อธิบายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลป มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ อุปกรณและกระบวนการที่สูงขึ้นในการสรางงานทัศนศิลป วิเคราะหเนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศิลปนทั้งไทยและสากล ตลอดจนการใชเทคโนโลยีตาง ๆ ในการออกแบบสรางสรรคงานที่เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมดวยภาพลอเลียนหรือการตูน ตลอดจนประเมินและวิจารณคุณคางานทัศนศิลปดวยหลักทฤษฎีวิจารณศิลปะ

วิเคราะหเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เขาใจอิทธิพลของมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปญญาระหวางประเทศที่มีผลตอการสรางสรรคงานทัศนศิลปในสังคม

รูและเขาใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภทและจําแนกรูปแบบ ของวงดนตรีทั้งไทยและสากล เขาใจอิทธิพลของวัฒนธรรมตอการสรางสรรคดนตรี เปรียบเทียบอารมณและความรูสึกที่ไดรับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตรา

Page 171: Education core 2551

จังหวะตาง ๆ มีทักษะในการรองเพลงหรือเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเนนเทคนิค การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพการประพันธการเลนดนตรีของตนเองและผูอื่นไดอยางเหมาะสม สามารถนําดนตรีไประยุกตใชในงานอื่น ๆ

วิเคราะห เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเดนของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรม ตาง ๆ เขาใจบทบาทของดนตรีที่สะทอนแนวความคิดและคานิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคมของนักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ สรางแนวทางและมีสวนรวมในการสงเสริมและอนุรักษดนตรี

มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปนคูและเปนหมู สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและละครที่ตองการสื่อความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ และสถานที่ที่มีผลตอการแสดง วิจารณการแสดงนาฏศิลปและละคร พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะหทาทางการเคลื่อนไหวของผูคนในชีวิตประจําวันและนํามาประยุกตใชในการแสดง

เขาใจวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสําคัญ ในวงการนาฏศิลปและการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตาง ๆ สามารถเปรียบเทียบการนําการแสดงไปใชในโอกาสตาง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนุรักษนาฏศิลปไทย

Page 172: Education core 2551

สาระที่ ๑ ทัศนศิลปมาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก

ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ่งตาง ๆ รอบตัวในธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น๒ บอกความรูสึกที่มีตอธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมรอบตัว๓. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ อุปกรณสรางงานทัศนศิลป

๑. บรรยายรูปราง รูปทรงที่พบใน ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม๒. ระบุทัศนธาตุที่อยูในสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป โดยเนนเรื่องเสน สี รูปราง และรูปทรง๓. สรางงานทัศนศิลปตาง ๆโดยใชทัศนธาตุที่เนนเสน รูปราง

๑.บรรยาย รูปราง รูปทรง ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป๒. ระบุวัสดุ อุปกรณที่ใชสรางผลงาน เมื่อชมงานทัศนศิลป๓. จําแนกทัศนธาตุของสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป โดยเนนเรื่องเสน สี รูปราง รูปทรง และพื้นผิว

๑. เปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปราง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป๒. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุนและสีวรรณะเย็น ที่มีตออารมณขอที่มีตออารมณของมนุษย

๑. บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตําแหนงของ สิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป๒. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานทัศนศิลป ที่สรางสรรคดวยวัสดุอุปกรณและวิธีการที่ตางกัน๓. วาดภาพ โดยใชเทคนิคของแสงเงา น้ําหนัก และวรรณะสี

๑. ระบุสีคูตรงขาม และอภิปรายเกี่ยวกับการใช สีคูตรงขาม ในการถายทอดความคิดและอารมณ๒. อธิบายหลักการจัดขนาดสัดสวนความสมดุลในการสรางงานทัศนศิลป๓. สรางสรรคงานทัศนศิลปจากรูปแบบ ๒มิติ เปน ๓ มิติ โดยใชหลักการของแสงเงาและน้ําหนัก

๑. บรรยาย ความแตกตางและความคลายคลึงกันของงานทัศนศิลป และสิ่งแวดลอมโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ๒. ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพความกลมกลืนและความสมดุล๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเห็นระยะไกลใกล เปน ๓ มิติ

๑. อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในดานรูปแบบและแนวคิดของงานทัศนศิลปที่เลือกมา๒. บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกตางของรูปแบบการใชวัสดุอุปกรณในงานทัศนศิลปของศิลปน๓. วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวตาง ๆ

๑. บรรยายสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลปที่เลือกมาโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ๒. ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปนในการสรางงาน ทัศนศิลป๓. วิเคราะห และบรรยายวิธีการใชทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสรางงาน ทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพ

๑. วิเคราะหการใชทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบตาง ๆ๒. บรรยายจุดประสงค และเนื้อหาของงานทัศนศิลป โดยใชศัพททางทัศนศิลป๓. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออกทางทัศนศิลป๔. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ อุปกรณ และกระบวนการที่สูงขึ้น ในการสรางงานทัศนศิลป

Page 173: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๔. สรางงานทัศนศิลป โดยการทดลองใชสี ดวยเทคนิคงาย ๆ๕. วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรูสึกของตนเอง

๔. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป ๓ มิติ๕. สรางภาพปะติดโดยการตัดหรือฉีกกระดาษ๖. วาดภาพเพื่อถายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว ของตนเอง และเพื่อนบาน๗. เลือกงานทัศนศิลป และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว

๔. วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัว๕. มีทักษะพื้นฐาน ในการใชวัสดุ อุปกรณสรางสรรค งานปน๖. วาดภาพถายทอดความคิดความรูสึกจากเหตุการณชีวิตจริง โดยใชเสน รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว๗. บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสรางงานทัศนศิลป โดยเนนถึงเทคนิคและวัสดุอุปกรณ

๓. จําแนกทัศนธาตุ ของสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลปโดยเนนเรื่อง เสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่วาง๔. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ อุปกรณสรางสรรคงานพิมพภาพ๕. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ อุปกรณสรางสรรคงานวาดภาพระบายสี

๔. สรางสรรคงานปนจาก ดินน้ํามันหรือดินเหนียวโดยเนนการถายทอดจินตนาการ๕. สรางสรรคงานพิมพภาพ โดยเนนการจัดวางตําแหนงของสิ่งตาง ๆ ในภาพ๖. ระบุปญหาในการจัดองคประกอบศิลป และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลปของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น

๔. สรางสรรคงานปนโดยใชหลักการเพิ่มและลด๕. สรางสรรคงานทัศนศิลป โดยใชหลักการของรูปและพื้นที่วาง๖. สรางสรรคงานทัศนศิลป โดยใชสีคูตรงขามหลักการจัดขนาดสัดสวน และความสมดุล๗. สรางงานทัศนศิลปเปนแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถายทอดความคิด หรือ

๔. รวบรวมงานปนหรือสื่อผสมมาสรางเปนเรื่องราว ๓ มิติโดยเนนความเปนเอกภาพความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราว ของงาน๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอื่น ๆในการนําเสนอความคิดและขอมูล๖. ประเมินงานทัศนศิลป และบรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผูอื่นโดยใช

๔. สรางเกณฑในการประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป๕. นําผลการวิจารณไปปรับปรุงแกไขและพัฒนางาน๖. วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละคร๗. บรรยายวิธีการใชงานทัศนศิลปในการโฆษณาเพื่อโนมนาวใจและนําเสนอตัวอยางประกอบ

๔. มีทักษะในการสรางงานทัศนศิลปอยางนอย ๓ ประเภท๕. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุตาง ๆ ในการสรางงานทัศนศิลปโดยใชหลักการออกแบบ๖. สรางงานทัศนศิลป ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถายทอดประสบการณและจินตนาการ๗. สรางสรรคงานทัศนศิลปสื่อความหมายเปนเรื่องราว

๕. สรางสรรคงานทัศนศิลป ดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป๖. ออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะกับโอกาสและสถานที่๗. วิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เทคนิคและเนื้อหา เพื่อสรางสรรคงานทัศนศิลป๘. ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป โดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ๙. จัดกลุมงานทัศนศิลปเพื่อสะทอนพัฒนาการและความกาวหนาของตนเอง๑๐. สรางสรรคงานทัศนศิลป ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงานของศิลปน ที่ตนชื่นชอบ

Page 174: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๘. สรางสรรคงานทัศนศิลปเปนรูปแบบงานโครงสรางเคลื่อนไหว

๘. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลปของตนเอง๙. ระบุ และจัดกลุมของภาพตามทัศนธาตุ ที่เนนในงานทัศนศิลปนั้น ๆ ๑๐. บรรยายลักษณะรูปราง รูปทรง ในงานการออกแบบสิ่งตาง ๆ ที่มีในบานและโรงเรียน

๖. บรรยายลักษณะของภาพโดยเนนเรื่องการจัดระยะ ความลึก น้ําหนักและแสงเงาในภาพ๗. วาดภาพระบายสี โดยใชสีวรรณะอุนและสีวรรณะเย็น ถายทอดความรูสึกและจินตนาการ

๗. บรรยายประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคนในสังคม

เรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณตาง ๆ

เกณฑที่กําหนดให

โดยประยุกตใชทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ๘. วิเคราะหและอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเอง และผูอื่น หรือของศิลปน๙. สรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยาย เหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคที่หลากหลาย

๑๑. วาดภาพระบายสีเปนภาพลอเลียน หรือภาพการตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในปจจุบัน

Page 175: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๘. เปรียบเทียบความคิดความรูสึกที่ถายทอดผานงานทัศนศิลปของตนเองและบุคคลอื่น๙. เลือกใชวรรณะสีเพื่อถายทอดอารมณ ความรูสึกในการสรางงานทัศนศิลป

๑๐. ระบุอาชีพที่เกี่ยวของกับงานทัศนศิลป และทักษะที่จําเปนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ๑๑. เลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กําหนดขึ้นอยางเหมาะสม และนําไปจัดนิทรรศการ

Page 176: Education core 2551

สาระที่ ๑ ทัศนศิลปมาตรฐาน ศ ๑.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวฒันธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. ระบุงานทัศนศิลปในชีวิตประจําวัน

๑. บอกความสําคัญของงานทัศนศิลปที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปประเภทตาง ๆ ในทองถิ่นโดยเนนถึงวิธีการสรางงานและวัสดุอุปกรณ ที่ใช

๑. เลาถึงที่มาของงานทัศนศิลป ในทองถิ่น๒. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณและวิธีการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น

๑. ระบุ และอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปใน เหตุการณ และงานเฉลิมฉลองของวัฒนธรรม ในทองถิ่น๒. บรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ

๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลปในแหลงเรียนรูหรือนิทรรศการศิลปะ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและภูมิปญญาในทองถิ่น

๑. บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลปที่สะทอนชีวิตและสังคม๒. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของความเชื่อความศรัทธาในศาสนาที่มีผลตองานทัศนศิลปในทองถิ่น๓. ระบุ และบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมในทองถิ่นที่มีผลตอการสรางงานทัศนศิลปของบุคคล

๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลปของชาติและของทองถิ่นตนเอง จากอดีตจนถึงปจจุบัน๒. ระบุ และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย๓. เปรียบเทียบความแตกตางของจุดประสงคในการสรางสรรค งานทัศนศิลปของวัฒนธรรมไทยและสากล

๑. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรม ตาง ๆ ที่สะทอนถึงงานทัศนศิลปในปจจุบัน๒. บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลปของไทยในแตละยุคสมัยโดยเนนถึงแนวคิด และเนื้อหาของงาน๓. เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลปที่มาจาก วัฒนธรรม ไทย และสากล

๑. ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปที่สะทอนคุณคาของวัฒนธรรม๒. เปรียบเทียบความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล

๑. วิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก๒. ระบุงานทัศนศิลปของศิลปน ที่มีชื่อเสียง และบรรยายผล ตอบรับของสังคม๓. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศที่มีผลตองานทัศนศิลปในสังคม

Page 177: Education core 2551

สาระที่ ๒ ดนตรีมาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสกึ ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม

และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. รูวาสิ่งตาง ๆสามารถกอกําเนิดเสียงที่แตกตางกัน๒. บอกลักษณะของเสียงดัง-เบาและความชา- เร็วของจังหวะ๓. ทองบทกลอน รองเพลงงาย ๆ๔. มีสวนรวมใน กิจกรรมดนตรีอยางสนุกสนาน๕. บอกความเกี่ยวของของเพลงที่ใชในชีวิตประจําวัน

๑. จําแนกแหลงกําเนิด ของเสียง ที่ไดยิน๒. จําแนกคุณสมบัติของเสียง สูง- ต่ํา , ดัง-เบา, ยาว-สั้น ของดนตรี๓. เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวรางกายใหสอดคลองกับเนื้อหาของเพลง๔. รองเพลงงาย ๆ ที่เหมาะสมกับวัย๕. บอกความหมายและความสําคัญของเพลงที่ไดยิน

๑. ระบุรูปรางลักษณะของเครื่องดนตรี ที่เห็นและไดยิน ในชีวิตประจําวัน๒. ใชรูปภาพหรือสัญลักษณแทนเสียงและจังหวะเคาะ๓. บอกบทบาทหนาที่ของเพลงที่ไดยิน๔. ขับรองและบรรเลงดนตรีงาย ๆ๕. เคลื่อนไหวทาทางสอดคลองกับอารมณของเพลงที่ฟง

๑. บอกประโยคเพลงอยางงาย๒. จําแนกประเภทของเครื่องดนตรีที่ใชในเพลงที่ฟง๓. ระบุทิศทางการเคลื่อนที่ ขึ้น – ลง งาย ๆ ของทํานอง รูปแบบ จังหวะและความเร็วของจังหวะในเพลง ที่ฟง๔. อาน เขียนโนตดนตรีไทยและสากล๕. รองเพลงโดยใชชวงเสียงที่เหมาะสมกับตนเอง

๑. ระบุองคประกอบดนตรีในเพลงที่ใชในการสื่ออารมณ๒. จําแนกลักษณะของเสียงขับรองและเครื่องดนตรีที่อยูในวงดนตรีประเภทตาง ๆ๓. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ๕ระดับเสียง๔. ใชเครื่องดนตรีทําจังหวะและทํานอง ๕. รองเพลงไทยหรือเพลงสากล หรือเพลงไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย

๑. บรรยายเพลงที่ฟง โดยอาศัยองคประกอบดนตรี และศัพทสังคีต๒. จําแนกประเภทและบทบาท หนาที่เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ตาง ๆ ๓. อาน เขียน โนตไทย และโนตสากลทํานองงาย ๆ ๔. ใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ การรองเพลง

๑. อาน เขียน รอง โนตไทย และโนตสากล๒. เปรียบเทียบเสียงรองและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ตางกัน๓. รองเพลงและใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ การรองเพลงดวยบทเพลงที่หลาก หลายรูปแบบ๔. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ๕. แสดงความคิดเห็นที่มีตออารมณของบทเพลงที่มีความเร็ว

๑. เปรียบเทียบการใชองค ประกอบดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน ๒. อาน เขียนรองโนตไทยและโนตสากลที่มีเครื่องหมาย แปลงเสียง๓. ระบุปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรคงานดนตรี๔. รองเพลง และเลนดนตรีเดี่ยว และรวมวง๕. บรรยายอารมณของเพลงและความรูสึกที่มีตอบทเพลงที่ฟง

๑. เปรียบเทียบองคประกอบที่ใชในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น ๒. รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน การแสดงออก และคุณภาพสียง๓. แตงเพลงสั้น ๆ จังหวะงาย ๆ๔. อธิบายเหตุผลในการเลือกใชองคประกอบดนตรี ในการสรางสรรคงานดนตรีของตนเอง

๑. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภท๒. จําแนกประเภทและรูปแบบ ของวงดนตรี ทั้งไทยและสากล ๓. อธิบายเหตุผลที่คนตางวัฒนธรรมสรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน๔. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตาง ๆ ๕. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง๖. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพการประพันธและการเลนดนตรีของตนเองและผูอื่นไดอยางเหมาะสม๗. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึกที่ไดรับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน๘. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอื่น ๆ

Page 178: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๖. แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับรองของตนเองและผูอื่น๗. นําดนตรี ไปใชในชีวิตประจําวันหรือโอกาส ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

๖. ใชและเก็บเครื่องดนตรีอยางถูกตองและปลอดภัย๗. ระบุวาดนตรีสามารถใชในการสื่อเรื่องราว

๖. ดนสดงาย ๆ โดยใชประโยคเพลงแบบถามตอบ๗. ใชดนตรีรวมกับกิจกรรมในการแสดงออกตามจินตนาการ

ดนสดที่มีจังหวะและทํานองงาย ๆ๕. บรรยายความรูสึกที่มีตอดนตรี๖. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับทํานอง จังหวะ การประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงที่ฟง

ของจังหวะ และความดัง-เบา แตกตางกัน ๖. เปรียบเทียบอารมณ ความรูสึก ในการฟงดนตรีแตละประเภท๗. นําเสนอตัวอยางเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และอภิปรายลักษณะเดนที่ทําใหงานนั้นนาชื่นชม๘. ใชเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟง๙. ใชและบํารุงรักษาเครื่องดนตรีอยางระมัดระวังและรับผิดชอบ

๖. ประเมิน พัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง หลังจากการฝกปฏิบัติ๗. ระบุงานอาชีพตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง

๕. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานดนตรีของตนเองและผูอื่น ๖. อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม๗. นําเสนอ หรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม โดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรูอื่นในกลุมศิลปะ

Page 179: Education core 2551

สาระที่ ๒ ดนตรีมาตรฐาน ศ ๒.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวฒันธรรม เห็นคุณคาของดนตรีที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. เลาถึงเพลงในทองถิ่น๒. ระบุสิ่งที ่ ชื่นชอบในดนตรีทองถิ่น

๑. บอกความสัมพันธของเสียงรอง เสียงเครื่องดนตรีในเพลงทองถิ่น โดยใชคํางาย ๆ๒. แสดงและเขารวมกิจกรรมทางดนตรีในทองถิ่น

๑. ระบุลักษณะเดนและ เอกลักษณ ของดนตรี ในทองถิ่น๒. ระบุความสําคัญและประโยชนของดนตรีตอการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่น

๑. บอกแหลง ที่มาและความสัมพันธของวิถีชีวิตไทย ที่สะทอน ในดนตรีและเพลงทองถิ่น๒. ระบุความสําคัญในการอนุรักษสงเสริมวัฒนธรรมทางดนตรี

๑. อธิบายความสัมพันธระหวางดนตรีกับประเพณีในวัฒนธรรมตาง ๆ๒. อธิบายคุณคาของดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ตางกัน

๑. อธิบายเรื่องราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร ๒. จําแนกดนตรีที่มาจากยุคสมัยที่ตางกัน ๓. อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมตอดนตรีในทองถิ่น

๑. อธิบายบทบาทความสัมพันธและอิทธิพลของดนตรีที่มีตอสังคมไทย๒. ระบุความหลากหลายขององคประกอบดนตรีในวัฒนธรรมตางกัน

๑. บรรยายบทบาท และอิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของประเทศตาง ๆ๒. บรรยายอิทธิพลของวัฒนธรรม และเหตุการณในประวัติศาสตรที่มีตอรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย

๑. บรรยาย วิวัฒนาการของ

ดนตรีแตละยุคสมัย ๒. อภิปรายลักษณะเดนที่ทําใหงานดนตรีนั้นไดรับการยอมรับ

๑. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ๒. วิเคราะหสถานะทางสังคมของนักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ๓.เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรีในวัฒนธรรมตางๆ ๔. อธิบายบทบาทของดนตร ี ในการสะทอนแนวความคิด และคานิยมที่เปลี่ยนไปของคน ในสังคม๕. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและอนุรักษดนตรี ในฐานะมรดกของชาติ

Page 180: Education core 2551

สาระที่ ๓ นาฏศิลปมาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม

และประยุกตใชในชีวิตประจําวันตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑. เลียนแบบการเคลื่อนไหว ๒. แสดงทาทางงาย ๆเพื่อสื่อความหมาย แทนคําพูด

๓. บอกสิ่งที่ตนเองชอบ จากการดูหรือรวมการแสดง

๑. เคลื่อนไหวขณะอยูกับที่และเคลื่อนที่ ๒. แสดงการเคลื่อนไหว

ที่สะทอนอารมณ ของตนเองอยางอิสระ

๓. แสดงทาทาง เพื่อสื่อความหมาย แทนคําพูด

๔. แสดงทาทางประกอบจังหวะอยางสรางสรรค๕. ระบุมารยาทในการชมการแสดง

๑. สรางสรรค

การเคลื่อนไหว

ในรูปแบบตาง ๆ

ในสถานการณ

สั้น ๆ

๒. แสดงทาทางประกอบเพลง ตามรูปแบบนาฏศิลป

๓. เปรียบเทียบบทบาทหนาที่ของผูแสดงและผูชม๔. มีสวนรวมในกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย

๑.ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลปและการละครที่ใชสื่อความหมายและอารมณ๒. ใชภาษาทาและนาฏยศัพทหรือศัพททาง การละครงาย ๆ ในการถายทอดเรื่องราว๓. แสดง การเคลื่อนไหวในจังหวะตาง ๆ ตามความคิดของตน๔. แสดงนาฏศิลปเปนคู และหมู

๑. บรรยายองคประกอบนาฏศิลป๒. แสดงทาทางประกอบเพลงหรือเรื่องราวตามความคิดของตน๓. แสดงนาฏศิลปโดยเนนการใชภาษาทาและนาฏยศัพทในการสื่อความหมายและการแสดงออก๔. มีสวนรวมในกลุมกับการเขียนเคาโครงเรื่องหรือ

๑. สรางสรรคการเคลื่อนไหวและการแสดงโดยเนนการถายทอดลีลาหรืออารมณ๒. ออกแบบ เครื่องแตงกาย หรืออุปกรณประกอบการแสดง อยางงาย ๆ๓. แสดงนาฏศิลปและการละครงาย ๆ๔. บรรยายความรูสึกของตนเองที่มีตองานนาฏศิลปและการละครอยางสรางสรรค

๑. อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลตอการโนมนาวอารมณหรือความคิดของผูชม๒. ใชนาฏยศัพทหรือศัพททางการละครในการแสดง๓. แสดงนาฏศิลปและการละครในรูปแบบงาย ๆ๔. ใชทักษะการทํางานเปนกลุมในกระบวนการผลิตการแสดง

๑. อธิบายการ บูรณาการศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง๒. สรางสรรคการแสดง โดยใชองคประกอบนาฏศิลปและการละคร๓. วิเคราะหการแสดงของตนเองและผูอื่น โดยใชนาฏยศัพทหรือศัพททางการละครที่เหมาะสม๔. เสนอขอคิดเห็น ในการปรับปรุงการแสดง

๑. ระบุโครงสรางของบทละครโดยใชศัพททางการละคร๒. ใชนาฏยศัพท หรือศัพททางการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผูคนในชีวิต ประจําวันและในการแสดง๓. มีทักษะในการใชความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง

๑. มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ๒. สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ๓. ใชความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปนคู และหมู๔. วิจารณการแสดงตามหลักนาฏศิลปและการละคร๕. วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและการละครที่ตองการสื่อความหมายในการแสดง ๖. บรรยาย และวิเคราะห อิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ และสถานที่ที่มีผลตอการแสดง๗. พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการประเมินการแสดง

Page 181: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๕. บอกประโยชนของการแสดงนาฏศิลปในชีวิตประจําวัน

๕. เลาสิ่งที่ชื่นชอบในการแสดง โดยเนนจุดสําคัญของเรื่องและลักษณะเดนของตัวละคร

บทละครสั้น ๆ๕. เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป ชุดตาง ๆ๖. บอกประโยชนที่ไดรับจากการชมการแสดง

๕. แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง๖. อธิบายความสัมพันธระหวางนาฏศิลปและการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจําวัน

๕. ใชเกณฑงาย ๆ ที่กําหนดให ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเนนเรื่องการใชเสียงการแสดงทา และการเคลื่อนไหว

๕. เชื่อมโยงการเรียนรูระหวางนาฏศิลปและการละคร กับสาระการเรียนรูอื่น ๆ

๔. มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผานการแสดง๕. วิจารณเปรียบเทียบงานนาฏศิลปที่มีความแตกตางกันโดยใชความรูเรื่ององคประกอบนาฏศิลป๖. รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตาง ๆ๗. นําเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่อง ของการแสดงที่สามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน

๘. วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหวของผูคนในชีวิตประจําวันและนํามาประยุกตใชในการแสดง

Page 182: Education core 2551

สาระที่ ๓ นาฏศิลปมาตรฐาน ศ ๓.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. ระบุ และเลนการละเลนของเด็กไทย ๒. บอกสิ่งที่ตนเองชอบในการแสดง นาฏศิลปไทย

๑. ระบุและเลนการละเลนพื้นบาน ๒. เชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเลนพื้นบานกับสิ่งที่พบเห็นในการดํารงชีวิตของคนไทย๓. ระบุสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจ ในการละเลนพื้นบาน

๑. เลาการแสดงนาฏศิลปที่เคยเห็นในทองถิ่น๒. ระบุสิ่งที่เปนลักษณะเดนและเอกลักษณของการแสดงนาฏศิลป ๓. อธิบายความสําคัญของการแสดงนาฏศิลป

๑. อธิบายประวัติความเปนมาของนาฏศิลป หรือชุดการแสดงอยางงาย ๆ๒. เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลปกับการแสดงที่มาจากวัฒนธรรมอื่น๓. อธิบายความสําคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป๔. ระบุเหตุผลที่ควรรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป

๑. เปรียบเทียบการแสดงประเภทตาง ๆ ของไทย ในแตละทองถิ่น๒. ระบุหรือแสดงนาฏศิลป นาฏศิลปพื้นบาน ที่สะทอนถึงวัฒนธรรมและประเพณี

๑. อธิบายสิ่งที่มีความสําคัญตอการแสดงนาฏศิลปและละคร๒. ระบุประโยชนที่ไดรับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลปและละคร

๑. ระบุปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป นาฏศิลปพื้นบาน ละครไทย และละครพื้นบาน๒. บรรยายประเภทของละครไทย ในแตละยุคสมัย

๑. เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลปจากวัฒนธรรมตางๆ๒. ระบุหรือแสดงนาฏศิลปนาฏศิลปพื้นบาน ละครไทย ละครพื้นบาน หรือมหรสพอื่น ที่เคยนิยมกัน ในอดีต๓. อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลตอเนื้อหาของละคร

๑. ออกแบบ และสรางสรรคอุปกรณ และเครื่องแตงกาย เพื่อแสดงนาฏศิลปและการละครที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ๒. อธิบายความสําคัญและบทบาทของนาฏศิลปและการละครในชีวิตประจําวัน๓. แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ

๑. เปรียบเทียบการนําการแสดงไปใชในโอกาสตาง ๆ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ๓. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน๔. นําเสนอแนวคิดในการอนุรักษนาฏศิลปไทย

Page 183: Education core 2551

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ทําไมตองเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีเปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาใหผู เรียน มีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใชประโยชนในการทํางาน อยางมีความคิดสรางสรรค และแขงขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียง และมีความสุข

เรียนรูอะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาผูเรียนแบบองครวม เพื่อใหมีความรูความสามารถ มีทักษะในการทํางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและ การศึกษาตอไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้

การดํารงชีวิตและครอบครัว เปนสาระเกี่ยวกับการทํางานในชีวิตประจําวัน การชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลสําเร็จของงาน เพื่อใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง

การออกแบบและเทคโนโลย ี เปนสาระเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษยอยางสรางสรรค โดยนําความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี สรางสิ่งของเครื่องใช วิธีการ หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอสื่อสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือ การสรางงาน คุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

การอาชีพ เปนสาระเกี่ยวกับทักษะที่จําเปนตออาชีพ เห็นความสําคัญของคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีตออาชีพ ใชเทคโนโลยีไดเหมาะสม เห็นคุณคาของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

Page 184: Education core 2551

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

เขาใจวิธีการทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสวนรวม ใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือถูกตองตรงกับลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทํางาน มีลักษณะนิสัยการทํางาน ที่กระตือรือรน ตรงเวลา ประหยัด ปลอดภัย สะอาด รอบคอบ และมีจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม

เขาใจประโยชนของสิ่งของเครื่องใชในชีวิตประจําวัน มีความคิดในการแกปญหาหรือสนองความตองการอยางมีความคิดสรางสรรค มีทักษะในการสรางของเลน ของใชอยางงาย โดยใชกระบวนการเทคโนโลยี ไดแก กําหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพราง ๒ มิติ ลงมือสราง และประเมินผล เลือกใชวัสดุ อุปกรณอยางถูกวิธี เลือกใชสิ่งของเครื่องใช ในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรคและมีการจัดการสิ่งของเครื่องใชดวยการนํากลับมาใชซ้ํา

เขาใจและมีทักษะการคนหาขอมูลอยางมีขั้นตอน การนําเสนอขอมูลในลักษณะตาง ๆ และวิธีดูแลรักษาอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

เขาใจการทํางานและปรับปรุงการทํางานแตละขั้นตอน มีทักษะการจัดการ ทักษะ การทํางานรวมกัน ทํางานอยางเปนระบบและมีความคิดสรางสรรค มีลักษณะนิสัยการทํางานที่ขยัน อดทน รับผิดชอบ ซื่อสัตย มีมารยาท และมีจิตสํานึกในการใชน้ํา ไฟฟาอยางประหยัดและคุมคา

เขาใจความหมาย วิวัฒนาการของเทคโนโลยี และสวนประกอบของระบบเทคโนโลยี มีความคิดในการแกปญหาหรือสนองความตองการอยางหลากหลาย นําความรูและทักษะการสรางชิ้นงานไปประยุกตในการสรางสิ่งของเครื่องใชตามความสนใจอยางปลอดภัย โดยใชกระบวนการเทคโนโลยี ไดแก กําหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพราง ๓ มิติ หรือแผนที่ความคิด ลงมือสราง และประเมินผล เลือกใชเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม และมีการจัดการเทคโนโลยีดวยการแปรรูปแลวนํากลับมาใชใหม

เขาใจหลักการแกปญหาเบื้องตน มีทักษะการใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เก็บรักษา ขอมูล สรางภาพกราฟก สรางงานเอกสาร นําเสนอขอมูล และสรางชิ้นงานอยางมีจิตสํานึกและรับผิดชอบ

รูและเขาใจเกี่ยวกับอาชีพ รวมทั้งมีความรู ความสามารถและคุณธรรมที่สัมพันธกับอาชีพ

Page 185: Education core 2551

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

เขาใจกระบวนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ใชกระบวนการกลุมในการทํางาน มีทักษะ การแสวงหาความรู ทักษะกระบวนการแกปญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทํางาน ที่เสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอยางมีเหตุผลและถูกตอง และมีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอมอยางประหยัดและคุมคา

เขาใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสรางสรรค ในการแกปญหาหรือสนองความตองการ สรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อยางถูกตองและปลอดภัย โดยถายทอดความคิดเปนภาพฉายเพื่อนําไปสูการสรางชิ้นงานหรือแบบจําลองความคิดและการรายงานผล เลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีการจัดการเทคโนโลยีดวยการลดการใชทรัพยากรหรือเลือกใชเทคโนโลยีที่ไมมีผลกระทบกับสิ่งแวดลอม

เขาใจหลักการเบื้องตนของการสื่อสารขอมูล เครือขายคอมพิวเตอร หลักการและวิธีแกปญหา หรือการทําโครงงานดวยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะการคนหาขอมูล และการติดตอสื่อสารผานเครือขายคอมพิวเตอรอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม การใชคอมพิวเตอร ในการแกปญหา สรางชิ้นงานหรือโครงงานจากจินตนาการ และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน

เขาใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดีและเห็นความสําคัญของการประกอบอาชีพ วิธีการหางานทํา คุณสมบัติที่จําเปนสําหรับการมีงานทํา วิเคราะหแนวทางเขาสูอาชีพ มีทักษะพื้นฐาน ที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณตออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือก ในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และความสนใจ

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

เขาใจวิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค มีทักษะ การทํางานรวมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา และทักษะการแสวงหาความรู ทํางาน อยางมีคุณธรรม และมีจิตสํานึกในการใชพลังงานและทรัพยากรอยางคุมคาและยั่งยืน

เขาใจความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่นๆ วิเคราะหระบบเทคโนโลยี มีความคิดสรางสรรคในการแกปญหาหรือสนองความตองการ สรางและพัฒนาสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางปลอดภัยโดยใชซอฟทแวรชวยในการออกแบบหรือนําเสนอผลงาน วิเคราะหและเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชีวิตประจําวันอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีการจัดการเทคโนโลยีดวยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาด

Page 186: Education core 2551

เขาใจองคประกอบของระบบสารสนเทศ องคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร ระบบสื่อสารขอมูลสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร คุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง และมีทักษะการใชคอมพิวเตอรแกปญหา เขียนโปรแกรมภาษา พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร ใชฮารดแวรและซอฟตแวร ติดตอสื่อสารและคนหาขอมูลผานอินเทอร เน็ต ใชคอมพิวเตอรในการประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน และใชคอมพิวเตอรสรางชิ้นงานหรือโครงงาน

เขาใจแนวทางสูอาชีพ การเลือก และใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะที่ดีตออาชีพ

Page 187: Education core 2551

สาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัวมาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา

ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖

๑. บอกวิธีการทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง๒. ใชวัสดุอุปกรณและเครื่องมืองายๆในการทํางานอยางปลอดภัย๓. ทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองอยางกระตือรือรนและตรงเวลา

๑. บอกวิธีการและประโยชนการทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและครอบครัว๒. ใชวัสดุ อุปกรณและเครื่องมือใน การทํางานอยาง เหมาะสมกับงานและประหยัด๓. ทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและครอบครัวอยางปลอดภัย

๑.อธิบายวิธีการและประโยชนการทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง ครอบครัวและสวนรวม๒ ใชวัสดุ อุปกรณและเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน๓. ทํางานอยางเปนขั้นตอนตามกระบวนการทํางานดวยความสะอาดความรอบคอบ และอนุรักษสิ่งแวดลอม

๑. อธิบายเหตุผลในการทํางานใหบรรลุเปาหมาย๒. ทํางานบรรลุเปาหมายที่วางไวอยางเปนขั้นตอน ดวยความขยัน อดทนรับผิดชอบ และซื่อสัตย๓. ปฏิบัติตนอยางมีมารยาทในการทํางาน๔. ใชพลังงานและทรัพยากร ในการทํางานอยางประหยัด และคุมคา

๑.อธิบายเหตุผลในการทํางานแตละขั้นตอนถูกตองตามกระบวนการทํางาน๒. ใชทักษะการจัดการในการทํางาน อยางเปนระบบ ประณีตและมีความคิดสรางสรรค๓. ปฏิบัติตนอยางมีมารยาทในการทํางานกับสมาชิกในครอบครัว ๔.มีจิตสํานึกในการใชพลังงานและทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา

๑. อภิปรายแนวทางในการทํางานและปรับปรุงการทํางานแตละขั้นตอน๒. ใชทักษะการจัดการในการทํางานและทักษะการทํางานรวมกัน ๓. ปฏิบัติตนอยางมีมารยาทในการทํางานกับครอบครัวและผูอื่น

๑. วิเคราะหขั้นตอน การทํางานตามกระบวนการทํางาน

๒. ใชกระบวนการกลุมในการทํางานดวยความเสียสละ๓. ตัดสินใจแกปญหา การทํางานอยางมีเหตุผล

๑. ใชทักษะการแสวงหาความรู เพื่อพัฒนาการทํางาน๒. ใชทักษะ กระบวนการแกปญหาในการทํางาน๓. มีจิตสํานึกในการทํางานและใชทรัพยากรในการปฏิบัติงานอยางประหยัดและคุมคา

๑. อภิปรายขั้นตอนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ๒. ใชทักษะในการทํางานรวมกันอยางมีคุณธรรม๓. อภิปราย การทํางานโดยใชทักษะ การจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม

๑. อธิบายวิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต๒. สรางผลงานอยางมีความคิด สรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ๓. มีทักษะการจัดการในการทํางาน๔. มีทักษะ กระบวนการแกปญหาในการทํางาน๕ มีทักษะในการแสวงหาความรูเพื่อ การดํารงชีวิต๖. มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทํางาน๗.ใชพลังงาน ทรัพยากร ในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยนื เพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม

สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี

Page 188: Education core 2551

มาตรฐาน ง ๒.๑ เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖

- ๑. บอกประโยชนของสิ่งของเครื่องใชใน ชีวิตประจําวัน๒. สรางของเลนของใชอยางงายโดยกําหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพราง ๒ มิติ ลงมือสราง และประเมินผล๓. นําความรูเกี่ยวกับการใชอุปกรณ เครื่องมือ ที่ถูกวิธีไปประยุกตใชในการสรางของเลน ของใชอยางงาย

๑. สรางของเลนของใชอยางงายโดยกําหนด ปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบ โดยถายทอดความคิดเปนภาพราง ๒ มิติ ลงมือสราง และประเมินผล๒. เลือกใชสิ่งของเครื่องใชในชีวิต ประจําวันอยางสรางสรรค๓. มีการจัดการสิ่งของเครื่องใชดวยการนํากลับมาใชซ้ํา

- ๑. อธิบายความหมายและวิวัฒนาการของ เทคโนโลยี๒. สรางสิ่งของเครื่องใชตามความสนใจ อยางปลอดภัย โดยกําหนดปญหา หรือความตองการ รวบรวมขอมูล เลือกวิธีการ ออกแบบ โดยถายทอดความคิดเปนภาพราง ๓ มิติ ลงมือสราง และประเมินผล

๑. อธิบายสวนประกอบของระบบเทคโนโลยี๒. สรางสิ่งของเครื่องใชตามความสนใจ อยางปลอดภัย โดยกําหนดปญหา หรือความตองการรวบรวมขอมูล เลือกวิธีการ ออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพราง ๓ มิติ หรือแผนที่ความคิด ลงมือสราง และ ประเมินผล๓. นําความรูและทักษะ การสรางชิ้นงานไปประยุกตในการสรางสิ่งของเครื่องใช

- ๑. อธิบายกระบวนการเทคโนโลยี ๒. สรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี อยางปลอดภัย ออกแบบโดยถายทอดความคิด เปนภาพราง ๓ มิติหรือภาพฉาย เพื่อนําไปสู การสรางตนแบบของสิ่งของเครื่องใช หรือ ถายทอดความคิดของวิธีการเปนแบบจําลองความคิดและ การรายงานผลเพื่อนําเสนอวิธีการ

๑. อธิบายระดับของเทคโนโลยี๒. สรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตาม กระบวนการเทคโนโลยี อยาง ปลอดภัย ออกแบบโดยถายทอดความคิด เปนภาพฉาย เพื่อนําไปสูการสรางตนแบบ และแบบจําลองของสิ่งของเครื่องใช หรือถายทอดความคิดของวิธีการเปนแบบจําลองความคิดและ การรายงานผล

๑. อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่นๆ ๒. วิเคราะหระบบเทคโนโลยี๓. สรางและพัฒนาสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางปลอดภัยโดยถายทอดความคิดเปนภาพฉายและแบบจําลองเพื่อนําไปสูการสรางชิ้นงาน หรือถายทอดความคิดของวิธีการเปนแบบจําลองความคิดและการรายงานผลโดยใชซอฟแวรชวยในการออกแบบหรือนําเสนอผลงาน๔. มีความคิดสรางสรรคใน การแกปญหาหรือสนองความตองการในงานที่ผลิตเอง หรือการพัฒนาผลิตภัณฑที่ผูอื่นผลิต๕.วิเคราะหและเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชีวิตประจําวันอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม และมีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนดวยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาด

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

Page 189: Education core 2551

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖

- ๔. มีความคิดสรางสรรค อยางนอย ๑ ลักษณะ ในการแกปญหาหรือสนอง ความตองการ

๓. นําความรูและทักษะการสรางชิ้นงานไปประยุกตในการสรางสิ่งของเครื่องใช๔. มีความคิดสรางสรรค อยางนอย ๒ ลักษณะ ในการแกปญหาหรือสนอง ความตองการ๕. เลือกใชเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม และมีการจัดการ สิ่งของเครื่องใช ดวย การแปรรูป แลว นํากลับมา ใชใหม

- ๓. มีความคิดสรางสรรคใน การแกปญหาหรือสนองความตองการในงานที่ผลิตเอง๔. เลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีการจัดการเทคโนโลยีดวยการลดการใชทรัพยากร หรือเลือกใชเทคโนโลยี ที่ไมมีผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม

สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Page 190: Education core 2551

มาตรฐาน ง ๓.๑ เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖

๑. บอกขอมูลที่สนใจและแหลงขอมูลที่อยูใกลตัว ๒. บอกประโยชนของอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ

๑. บอกประโยชนของขอมูลและรวบรวมขอมูลที่สนใจจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือได๒. บอกประโยชนและการรักษาแหลงขอมูล๓. บอกชื่อและหนาที่ของอุปกรณพื้นฐานที่เปนสวนประกอบหลักของคอมพิวเตอร

๑. คนหาขอมูล อยางมีขั้นตอนและนําเสนอขอมูลในลักษณะตางๆ ๒. บอกวิธีดูแลและรักษาอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ

๑. บอกชื่อและหนาที่ของอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒. บอกหลักการทํางานเบื้องตน ของคอมพิวเตอร๓. บอกประโยชนและโทษจากการใชงานคอมพิวเตอร๔. ใชระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร เพื่อการทํางาน๕. สรางภาพหรือชิ้นงานจากจินตนาการโดยใชโปรแกรมกราฟกดวยความรับผิดชอบ

๑. คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจและ เปนประโยชน จากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค ๒. สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ

๑. บอกหลักการเบื้องตนของการแกปญหา๒. ใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล๓. เก็บรักษาขอมูลที่เปนประโยชนในรูปแบบตางๆ๔. นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสมโดย เลือกใชซอฟตแวรประยุกต๕. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึก และความรับผิดชอบ

๑. อธิบายหลักการทํางาน บทบาท และประโยชนของคอมพิวเตอร๒. อภิปราย ลักษณะสําคัญ และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

๓. ประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ

๑. อธิบายหลักการเบื้องตนของการสื่อสารขอมูล และเครือขายคอมพิวเตอร๒. อธิบายหลักการ และวิธีการแกปญหาดวยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ๓. คนหาขอมูล และติดตอส่ือสารผานเครือขายคอมพิวเตอรอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม

๑. อธิบายหลักการทําโครงงานที่มี การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ๒. เขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน๓. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน

๑. อธิบายองคประกอบของระบบสารสนเทศ๒. อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร๓. อธิบายระบบสื่อสารขอมูล สําหรับเครือขายคอมพิวเตอร๔. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง๕. แกปญหาดวยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ๖. เขียนโปรแกรมภาษา

Page 191: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖

- - - ๔. ใชซอฟตแวรในการทํางาน

๔. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทําในชีวิตประจําวัน ตามหลักการทําโครงงานอยางมีจิตสํานึกและ ความรับผิดชอบ

๗. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร๘. ใชฮารดแวรและซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน๙. ติดตอสื่อสาร คนหาขอมูลผานอินเทอรเน็ต๑๐. ใชคอมพิวเตอรใน การประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ เพื่อประกอบการตัดสินใจ๑๑. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน ในรูปแบบที่เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงคของงาน๑๒. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานหรือโครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ๑๓. บอกขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 192: Education core 2551

สาระที่ ๔ การอาชีพมาตรฐาน ง ๔.๑ เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖

- - - ๑. อธิบายความหมายและความสําคัญของอาชีพ

๑. สํารวจขอมูลที่เกี่ยวกับอาชีพตางๆ ในชุมชน๒. ระบุความแตกตางของอาชีพ

๑.สํารวจตนเองเพื่อวางแผนในการเลือกอาชีพ๒. ระบุความรูความสามารถและคุณธรรมที่สัมพันธกับอาชีพที่สนใจ

๑. อธิบายแนวทางการเลือกอาชีพ๒. มีเจตคติที่ดีตอการประกอบอาชีพ๓. เห็นความสําคัญของการสรางอาชีพ

๑. อธิบาย การเสริมสรางประสบการณอาชีพ

๒. ระบุการเตรียมตัวเขาสูอาชีพ๓. มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ

๑. อภิปรายการหางานดวยวิธีที่หลากหลาย๒. วิเคราะหแนวทางเขาสูอาชีพ๓. ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรูความถนัดและความสนใจของตนเอง

๑. อภิปรายแนวทางสูอาชีพที่สนใจ ๒. เลือก และใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ๓. มีประสบการณในอาชีพที่ถนดัและสนใจ๔. มีคุณลักษณะที่ดีตออาชีพ

Page 193: Education core 2551

๑๙๐

กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ

ทําไมตองเรียนภาษาตางประเทศ

ในสังคมโลกปจจุบัน การเรียนรูภาษาตางประเทศมีความสําคัญและจําเปนอย างยิ่ งในชีวิตประจําวัน เนื่องจากเปนเครื่องมือสําคัญในการติดตอสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู การประกอบอาชีพ การสรางความเขาใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศนของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นํามาซึ่งมิตรไมตรีและความรวมมือกับประเทศตางๆ ชวยพัฒนาผูเรียนใหมีความเขาใจตนเองและผูอื่นดีขึ้น เรียนรูและเขาใจความแตกตางของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีตอการใชภาษาตางประเทศ และใชภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารได รวมทั้งเขาถึงองคความรูตางๆ ไดงายและกวางขึ้น และมีวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต

ภาษาตางประเทศที่เปนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ซึ่งกําหนดใหเรียนตลอดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ สวนภาษาตางประเทศอื่น เชน ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุน อาหรับ บาลี และภาษากลุมประเทศเพื่อนบาน หรือภาษาอื่นๆ ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะจัดทํารายวิชาและจัดการเรียนรูตามความเหมาะสม

เรียนรูอะไรในภาษาตางประเทศกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ มุงหวังใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอภาษาตางประเทศ

สามารถใชภาษาตางประเทศ สื่อสารในสถานการณตาง ๆ แสวงหาความรู ประกอบอาชีพ และศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรูความเขาใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกไดอยางสรางสรรค ประกอบดวยสาระสําคัญ ดังนี้

ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใชภาษาตางประเทศในการฟง-พูด-อาน-เขียน แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็น ตีความ นําเสนอขอมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องตางๆ และสรางความสัมพันธระหวางบุคคลอยางเหมาะสม

ภาษาและวัฒนธรรม การใชภาษาตางประเทศตามวัฒนธรรมของเจาของภาษาความสัมพันธ ความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา ภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนําไปใชอยางเหมาะสม

Page 194: Education core 2551

ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น การใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น เปนพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน

ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก การใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน ชุมชน และสังคมโลก เปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก

Page 195: Education core 2551

คุณภาพผูเรียน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรองที่ฟง อานออกเสียงตัวอักษร คํา กลุมคํา ประโยคงายๆ และบทพูด

เขาจังหวะงายๆ ถูกตองตามหลักการอาน บอกความหมายของคําและกลุมคําที่ฟงตรงตามความหมายตอบคําถามจากการฟงหรืออานประโยค บทสนทนาหรือนิทานงายๆ

พูดโตตอบดวยคําสั้นๆ งายๆ ในการสื่อสารระหวางบุคคลตามแบบที่ฟง ใชคําสั่งและคําขอรองงายๆ บอกความตองการงายๆ ของตนเอง พูดขอและใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเพื่อน บอกความรูสึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ใกลตัวหรือกิจกรรมตางๆ ตามแบบที่ฟง

พูดใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกลตัว จัดหมวดหมูคําตามประเภทของบุคคล สัตว และสิ่งของตามที่ฟงหรืออาน

พูดและทําทาประกอบ ตามมารยาทสังคม /วัฒนธรรมของเจาของภาษา บอกชื่อและคําศัพทงายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ /งานฉลอง และชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา เขารวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย

บอกความแตกตางของเสียงตัวอักษร คํา กลุมคํา และประโยคงายๆ ของภาษาตางประเทศและภาษาไทย

บอกคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น ฟง/พูดในสถานการณงายๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียน ใชภาษาตางประเทศ เพื่อรวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของใกลตัว มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง

ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอมใกลตัว อาหาร เครื่องดื่ม และเวลาวางและนันทนาการ ภายในวงคําศัพทประมาณ ๓๐๐-๔๕๐ คํา (คําศัพทที่เปนรูปธรรม)

ใชประโยคคําเดียว (One Word Sentence) ประโยคเดี่ยว (Simple Sentence) ในการสนทนาโตตอบตามสถานการณในชีวิตประจําวัน

จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรอง และคําแนะนําที่ฟงและอาน อานออกเสียงประโยค ขอความ นิทาน และบทกลอนสั้นๆ ถูกตองตามหลักการอาน เลือก /ระบุประโยคและขอความตรงตามความหมายของสัญลักษณหรือเครื่องหมายที่อาน บอกใจความสําคัญ และตอบคําถามจากการฟงและอาน บทสนทนา นิทานงายๆ และเรื่องเลา

พูด /เขียนโตตอบในการสื่อสารระหวางบุคคล ใชคําสั่ง คําขอรอง และใหคําแนะนํา พูด/เขียนแสดงความตองการ ขอความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณ

Page 196: Education core 2551

งายๆ พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกลตัว พูด /เขียนแสดงความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ใกลตัว กิจกรรมตางๆ พรอมทั้งใหเหตุผลสั้นๆ ประกอบ

พูด /เขียนใหขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน และสิ่งแวดลอมใกลตัว เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงขอมูลตางๆ ที่ฟงและอาน พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ใกลตัว

ใชถอยคํา น้ําเสียง และกิริยาทาทางอยางสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา ใหขอมูลเกี่ยวกับเทศกาล /วันสําคัญ /งานฉลอง /ชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา เขารวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ

บอกความเหมือน/ความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ การใชเครื่องหมายวรรคตอน และการลําดับคํา ตามโครงสรางประโยคของภาษาตางประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือน/ความแตกตางระหวางเทศกาล งานฉลองและประเพณีของเจาของภาษากับของไทย

คนควา รวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนจากแหลงการเรียนรู และนําเสนอดวยการพูด/การเขียน

ใชภาษาสื่อสารในสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียนและสถานศึกษา ใชภาษาตางประเทศในการสืบคนและรวบรวมขอมูลตางๆ มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด-อาน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับ

ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาวางและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย และลมฟาอากาศ ภายในวงคําศัพทประมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ คํา (คําศัพทที่ เปนรูปธรรมและนามธรรม)

ใชประโยคเดี่ยวและประโยคผสม (Compound Sentences) สื่อความหมายตามบริบทตาง ๆ

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ปฏิบัติตามคําขอรอง คําแนะนํา คําชี้แจง และคําอธิบายที่ฟงและอาน อานออกเสียงขอความ

ขาว โฆษณา นิทาน และบทรอยกรองสั้นๆ ถูกตองตามหลักการอาน ระบุ /เขียนสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ สัมพันธกับประโยคและขอความที่ฟงหรืออาน เลือก /ระบุหัวขอเรื่อง ใจความสําคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยางประกอบ

สนทนาและเขียนโตตอบขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องตางๆ ใกลตัว สถานการณ ขาว เรื่องที่อยูในความสนใจของสังคมและสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม ใชคําขอรอง คําชี้แจง และคําอธิบาย ใหคําแนะนําอยางเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและใหความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงหรืออานอยางเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย

Page 197: Education core 2551

ความรูสึกและความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆ กิจกรรม ประสบการณ และขาว /เหตุการณ พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบอยางเหมาะสม

พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ ขาว /เหตุการณ /เรื่อง /ประเด็นตางๆ ที่อยูในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ /แกนสาระ หัวขอเรื่องที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง /ขาว /เหตุการณ /สถานการณที่อยูในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณ พรอมใหเหตุผลประกอบ

เลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยู ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจาของภาษา เขารวม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ

เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ และการลําดับคําตามโครงสรางประโยคของภาษาตางประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและ อธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางชีวิตความเปนอยูและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย และนําไปใชอยางเหมาะสม

คนควา รวบรวม และสรุปขอมูล /ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นจากแหลงการเรียนรู และนําเสนอดวยการพูดและการเขียน

ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง /สถานการณจําลองที่เกิดขึ้นในหองเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม

ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน /คนควา รวบรวม และสรุปความรู /ขอมูลตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรูตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร /ประชาสัมพันธขอมูล ขาวสารของโรงเรียน ชุมชน และทองถิ่น เปนภาษาตางประเทศ

มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด-อาน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาวางและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทองเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายในวงคําศัพทประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ คํา (คําศัพทที่เปนนามธรรมมากขึ้น)

ใชประโยคผสมและประโยคซับซอน (Complex Sentences) สื่อความหมายตามบริบทตางๆ ในการสนทนาทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ

จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือการใชงานตางๆ คําชี้แจง คําอธิบาย และคําบรรยายที่ฟงและอาน

อานออกเสียงขอความ ขาว ประกาศ โฆษณา บทรอยกรอง และบทละครสั้นถูกตองตามหลักการอาน

Page 198: Education core 2551

อธิบายและเขียนประโยคและขอความสัมพันธกับสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ ที่อาน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ สัมพันธกับประโยคและขอความที่ฟงหรืออานจับใจความสําคัญ วิเคราะหความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟงและอานเรื่องที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยางประกอบ

สนทนาและเขียนโตตอบขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องตางๆ ใกลตัว ประสบการณ สถานการณ ขาว /เหตุการณ ประเด็นที่อยูในความสนใจและสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม เลือกและใชคําขอรอง คําชี้แจง คําอธิบาย และใหคําแนะนํา พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและใหความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณจําลองหรือสถานการณจริงอยางเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง /ประเด็น /ขาว /เหตุการณที่ฟงและอานอยางเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรูสึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆ กิจกรรม ประสบการณ และขาว /เหตุการณอยางมีเหตุผล

พูดและเขียนนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับตนเอง /ประสบการณ ขาว /เหตุการณ เรื่องและประเด็นตางๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ แกนสาระที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง กิจกรรม ขาว เหตุการณ และสถานการณตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณ ทั้งในทองถิ่น สังคม และโลก พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยางประกอบ

เลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจาของภาษา เขารวม แนะนํา และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอยางเหมาะสม

อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกตางระหวางโครงสรางประโยค ขอความ สํานวน คําพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาตางประเทศและภาษาไทย วิเคราะห/อภิปรายความเหมือนและความแตกตางระหวางวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย และนําไปใชอยางมีเหตุผล

คนควา/สืบคน บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอมูลที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น จากแหลงเรียนรูตางๆ และนําเสนอดวยการพูดและการเขียน

ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง /สถานการณจําลองที่เกิดขึ้นในหองเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม

ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน /คนควา รวบรวม วิเคราะห และสรุปความรู /ขอมูลตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรูตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร /ประชาสัมพันธ ขอมูล ขาวสาร ของโรงเรียน ชุมชน และทองถิ่น/ประเทศชาติ เปนภาษาตางประเทศ

มีทักษะการใชภาษาตางประเทศ (เนนการฟง-พูด-อาน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธระหวางบุคคล เวลาวางและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทองเที่ยว

Page 199: Education core 2551

การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายในวงคําศัพทประมาณ ๓,๖๐๐-๓,๗๕๐ คํา (คําศัพทที่มีระดับการใชแตกตางกัน)

ใชประโยคผสมและประโยคซับซอนสื่อความหมายตามบริบทตางๆ ในการสนทนา ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ

Page 200: Education core 2551

สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสารมาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖๑. ปฏิบัติตามคําสั่งงายๆ ที่ฟง๒. ระบุตัวอักษรและเสียง อานออกเสียงและสะกดคํางายๆ ถูกตองตาม หลักการอาน๓. เลือกภาพตรงตามความหมายของคํา และกลุมคําที่ฟง๔. ตอบคําถามจากการฟงเรื่องใกลตัว

๑. ปฏิบัติตามคําสั่ง และคําขอรองงายๆ ที่ฟง๒.ระบุตัวอักษรและเสียง อานออกเสียงคํา สะกดคํา และอานประโยคงายๆ ถูกตองตาม หลักการอาน๓. เลือกภาพ ตรงตามความหมายของคํา กลุมคํา และประโยคที่ฟง๔. ตอบคําถามจากการฟงประโยคบทสนทนา

๑. ปฏิบัติตามคําสั่ง และคําขอรองที่ฟงหรืออาน๒. อานออกเสียงคํา สะกดคํา อานกลุมคํา ประโยค และบทพูดเขาจังหวะ (chant) งายๆถูกตองตาม หลักการอาน๓. เลือก/ระบุภาพ หรือสัญลักษณตรงตามความหมายของ กลุมคําและประโยคที่ฟง

๑. ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรอง และคําแนะนํา (instructions) งายๆ ที่ฟงหรืออาน๒. อานออกเสียงคํา สะกดคํา อานกลุมคําประโยค ขอความงายๆและบทพูดเขาจังหวะ ถูกตองตาม หลักการอาน๓. เลือก/ระบุภาพ หรือ สัญลักษณ หรือเครื่องหมายตรงตาม

๑. ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรอง และคําแนะนํางายๆ ที่ฟงและอาน๒. อานออกเสียงประโยค ขอความ และบทกลอนสั้นๆ ถูกตองตาม หลักการอาน๓.ระบุ/วาดภาพสัญลักษณหรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและขอความสั้นๆ ที่ฟงหรืออาน

๑. ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรอง และคําแนะนํา ที่ฟงและอาน๒. อานออกเสียงขอความ นิทานและบทกลอนสั้นๆถูกตองตาม หลักการอาน๓. เลือก/ระบุประโยคหรือขอความสั้นๆ ตรงตามภาพสัญลักษณหรือเครื่องหมายที่อาน๔. บอกใจความสําคัญ

๑. ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรอง คําแนะนํา และคําชี้แจงงายๆ ที่ฟงและอาน๒. อานออกเสียงขอความ นิทาน และบทรอยกรอง (poem) สั้นๆ ถูกตองตาม หลักการอาน ๓. เลือก/ระบุประโยคและ ขอความ ใหสัมพันธกับสื่อที่ไมใชความเรียง (non-text information)ที่อาน

๑. ปฏิบัติตาม คําขอรองคําแนะนําคําชี้แจง และคําอธิบายงายๆ ที่ฟงและอาน ๒. อานออกเสียงขอความ ขาว ประกาศ และบทรอย-กรองสั้นๆถูกตองตาม หลักการอาน ๓. ระบุ/เขียนประโยค และขอความ ใหสัมพันธกับสื่อที่ไมใชความเรียง รูปแบบตางๆ ที่อาน

๑. ปฏิบัติตามคําขอรองคําแนะนําคําชี้แจง และคําอธิบายที่ฟงและอาน๒. อานออกเสียง ขอความ ขาว โฆษณา และบทรอย-กรองสั้นๆถูกตองตาม หลักการอาน ๓. ระบุและเขียนสื่อที่ไมใชความเรียง รูปแบบตางๆ ใหสัมพันธกับประโยค และขอความที่ฟงหรืออาน

๑. ปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือการใชงานตางๆ คําชี้แจง คําอธิบาย และคําบรรยายที่ฟงและอาน๒. อานออกเสียง ขอความ ขาว ประกาศ โฆษณา บทรอยกรอง และบทละครสั้น (skit) ถูกตองตามหลักการอาน ๓. อธิบายและเขียนประโยคและขอความใหสัมพันธกับสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ ที่อาน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ ใหสัมพันธกับประโยค และขอความที่ฟงหรืออาน๔. จับใจความสําคัญ วิเคราะหความ สรุปความ

Page 201: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖หรือนิทานงายๆ ที่มีภาพประกอบ

๔. ตอบคําถามจากการฟงหรืออานประโยคบทสนทนา

หรือนิทานงายๆ

ความหมายของประโยคและขอความสั้นๆ ที่ฟงหรืออาน๔. ตอบคําถามจากการฟงและอานประโยคบทสนทนา

และนิทานงายๆ

๔. บอกใจความสําคัญ และตอบคําถาม จากการฟงและอานบทสนทนา และนิทานงายๆ หรือเรื่องสั้นๆ

และตอบคําถามจากการฟงและอาน บทสนทนา นิทานงายๆ

และเรื่องเลา

๔. ระบุหัวขอเรื่อง (topic) ใจความสําคัญ(main idea) และตอบคําถาม จากการฟงและอานบทสนทนา

นิทาน และเรื่องสั้น

๔. เลือกหัวขอเรื่อง ใจความสําคัญบอกรายละเอียดสนับสนุน (supporting detail) และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและอานพรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยางงายๆ ประกอบ

๔. เลือก/ระบุหัวขอเรื่อง ใจความสําคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆพรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยาง ประกอบ

ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟงและอานเรื่องที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยาง ประกอบ

Page 202: Education core 2551

สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสารมาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็นอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖๑. พูดโตตอบดวยคําสั้นๆ งายๆ ในการสื่อสารระหวางบุคคลตามแบบที่ฟง๒. ใชคําสั่งงายๆ ตามแบบที่ฟง๓. บอกความตองการงายๆของตนเอง ตามแบบที่ฟง๔. พูดขอและใหขอมูลงายๆ เกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟง

๑. พูดโตตอบดวยคําสั้นๆ งายๆ ในการสื่อสารระหวางบุคคลตามแบบที่ฟง๒.ใชคําสั่งและคําขอรองงายๆตามแบบที่ฟง๓. บอกความตองการงายๆ ของตนเอง ตามแบบที่ฟง ๔. พูดขอและใหขอมูลงายๆเกี่ยวกับตนเองตามแบบที่ฟง

๑. พูดโตตอบดวยคําสั้นๆ งายๆ ในการสื่อสารระหวางบุคคลตามแบบที่ฟง๒. ใชคําสั่งและคําขอรองงายๆตามแบบที่ฟง๓. บอกความตองการงายๆของตนเอง ตามแบบที่ฟง ๔. พูดขอและใหขอมูลงายๆเกี่ยวกับตนเอง และเพื่อนตามแบบที่ฟง๕. บอกความ รูสึกของตนเอง

๑. พูด/เขียนโตตอบในการสื่อสารระหวางบุคคล ๒. ใชคําสั่งคําขอรอง และคําขออนุญาตงายๆ ๓. พูด/เขียนแสดงความตองการของตนเอง และขอความชวยเหลือในสถานการณงายๆ ๔. พูด/เขียนเพื่อขอและใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองเพื่อนและครอบครัว

๑. พูด/เขียนโตตอบในการสื่อสารระหวางบุคคล๒. ใชคําสั่ง คําขอรอง คําขออนุญาต และใหคําแนะนํางายๆ ๓. พูด/เขียนแสดงความตองการ ขอความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณงายๆ ๔. พูด/เขียนเพื่อ ขอและใหขอมูล

๑. พูด/เขียนโตตอบในการสื่อสารระหวางบุคคล๒. ใชคําสั่ง คําขอรอง และใหคําแนะนํา๓. พูด/เขียนแสดงความตองการ ขอความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือ ในสถานการณงายๆ ๔. พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน

๑. สนทนา แลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณตางๆ ในชีวิตประจําวัน๒. ใชคําขอรอง ใหคําแนะนํา และคําชี้แจง ตามสถานการณ๓. พูดและเขียนแสดงความตองการ ขอความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให

๑. สนทนาแลกเปลี่ยน ขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องตางๆ ใกลตัว และสถานการณตางๆ ในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสม ๒. ใชคําขอรอง ใหคําแนะนํา คําชี้แจงและ คําอธิบายตามสถานการณ๓. พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและใหความ ชวยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธการให ความชวยเหลือ

๑. สนทนาและเขียนโตตอบขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องตางๆ ใกลตัวสถานการณ ขาว เรื่องที่อยูในความสนใจของสังคม และสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม๒. ใชคําขอรอง ใหคําแนะนํา คําชี้แจง และคําอธิบายอยางเหมาะสม๓. พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและใหความชวยเหลือตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณตางๆ

๑. สนทนาและเขียนโตตอบขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องตางๆ ใกลตัว ประสบการณสถานการณ ขาว/เหตุการณ ประเด็นที่อยูในความสนใจของสังคม และสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม ๒. เลือกและใชคําขอรอง ใหคําแนะนํา คําชี้แจง คําอธิบายอยางคลองแคลว๓. พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือ ในสถานการณจําลอง

Page 203: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖เกี่ยวกับสิ่งตางๆใกลตัว หรือกิจกรรมตางๆตามแบบที่ฟง

๕. พูดแสดงความรูสึกของตนเองเกี่ยวกับ เรื่องตางๆ ใกลตัว และกิจกรรมตางๆตามแบบที่ฟง

เกี่ยวกับตนเองเพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกลตัว๕. พูด/เขียนแสดงความรูสึก ของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ใกลตัว และกิจกรรมตางๆ พรอมทั้งใหเหตุผลสั้นๆประกอบ

ครอบครัว และเรื่องใกลตัว๕. พูด/เขียนแสดงความรูสึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ใกลตัว กิจกรรมตางๆพรอมทั้งใหเหตุผลสั้นๆประกอบ

ความชวยเหลือในสถานการณตางๆ อยางเหมาะสม๔. พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงหรืออาน อยางเหมาะสม๕. พูดและเขียนแสดงความรูสึก และความคิดเห็น ของตนเอง เกี่ยวกับเรื่องตางๆ ใกลตัว กิจกรรมตางๆพรอมทั้งใหเหตุผลสั้นๆประกอบอยางเหมาะสม

ในสถานการณตางๆ อยางเหมาะสม ๔. พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูลบรรยาย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องที่ฟงหรืออาน อยางเหมาะสม๕. พูดและเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น ของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆกิจกรรม และประสบการณพรอมทั้ง ใหเหตุผลประกอบอยางเหมาะสม

อยางเหมาะสม ๔. พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงหรืออาน อยางเหมาะสม๕. พูดและเขียนบรรยายความรูสึก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ กิจกรรมประสบการณ และขาว/เหตุการณพรอมทั้งใหเหตุผลประกอบอยางเหมาะสม

หรือสถานการณจริงอยางเหมาะสม๔. พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ขาว/เหตุการณที่ฟงและอานอยางเหมาะสม๕. พูดและเขียนบรรยายความรูสึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆ กิจกรรม ประสบการณ และขาว/เหตุการณอยางมีเหตุผล

Page 204: Education core 2551

สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสารมาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆ โดยการพูดและการเขียน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖๑. พูดใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกลตัว

๑. พูดใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกลตัว

๑. พูดใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกลตัว๒. จัดหมวดหมูคํา ตามประเภทของบุคคล สัตว และสิ่งของตามที่ฟงหรืออาน

๑. พูด/เขียนใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกลตัว๒. พูด/วาดภาพแสดงความสัมพันธของสิ่งตางๆ ใกลตัวตามที่ฟงหรืออาน๓. พูดแสดงความคิดเห็นงายๆ เกี่ยวกับเรื่องตาง ๆใกลตัว

๑. พูด/เขียนใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกลตัว๒. เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงขอมูลตางๆ ตามที่ฟงหรืออาน๓. พูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆใกลตัว

๑. พูด/เขียนใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองเพื่อน และสิ่งแวดลอมใกลตัว ๒. เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงขอมูลตางๆ ตามที่ฟงหรืออาน๓. พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆใกลตัว

๑. พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจําวัน ประสบการณและสิ่งแวดลอมใกลตัว๒. พูด/เขียน สรุปใจความสําคัญ/แกนสาระ (theme) ที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง/เหตุการณที่อยูในความสนใจของสังคม๓. พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเรื่องตาง ๆใกลตัว

๑. พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจําวัน ประสบการณ และขาว/เหตุการณ ที่อยูในความสนใจของสังคม๒. พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ/แกนสาระ หัวขอเรื่อง (topic) ที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง/ขาว/เหตุการณที่อยูในความสนใจของสังคม

๑. พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเองประสบการณ ขาว/เหตุการณ/เรื่อง/ประเด็นตางๆ ที่อยูในความสนใจ ของสังคม ๒. พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ/แกนสาระ หัวขอเรื่องที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง/ขาว/เหตุการณ/สถานการณที่อยูในความสนใจของสังคม

๑. พูดและเขียนนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับตนเอง/ประสบการณ ขาว/เหตุการณ เรื่อง และประเด็นตางๆ ตามความสนใจของสังคม๒. พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ/ แกนสาระที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง กิจกรรม ขาว เหตุการณและสถานการณตามความสนใจ๓. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณ ทั้งในทองถิ่น สังคม และโลก พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยางประกอบ

Page 205: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖พรอมทั้งใหเหตุผลสั้นๆ ประกอบ

๓. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมเรื่องตาง ๆใกลตัว และประสบการณ พรอมทั้งใหเหตุผลสั้นๆประกอบ

๓. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมประสบการณ และเหตุการณพรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ

Page 206: Education core 2551

สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรมมาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖๑. พูดและทําทาประกอบ ตามวัฒนธรรมของเจาของภาษา๒. บอกชื่อและคําศัพทเกี่ยวกับเทศกาลสําคัญของเจาของภาษา ๓. เขารวม กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย

๑. พูดและทําทาประกอบ ตามวัฒนธรรมของเจาของภาษา ๒. บอกชื่อและคําศัพทเกี่ยวกับเทศกาลสําคัญ ของเจาของภาษา๓. เขารวม กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย

๑. พูดและทําทาประกอบ ตามมารยาทสังคม/ วัฒนธรรมของเจาของภาษา ๒. บอกชื่อและคําศัพทงายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา๓. เขารวม กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย

๑. พูดและทําทา ประกอบ อยางสุภาพ ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจาของภาษา ๒. ตอบคําถามเกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและชีวิตความเปนอยู งายๆ ของเจาของภาษา ๓. เขารวม กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย

๑. ใชถอยคําน้ําเสียงและกิริยาทาทางอยางสุภาพ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา ๒. ตอบคําถาม/บอกความสําคัญ ของเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและชีวิตความเปนอยูงายๆ ของเจาของภาษา ๓. เขารวม กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ

๑. ใชถอยคํา น้ําเสียง และกิริยาทาทางอยางสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจาของภาษา ๒. ใหขอมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา๓. เขารวม กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ

๑.ใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทาง สุภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจาของภาษา๒. บรรยายเกี่ยวกับเทศกาล วันสําคัญ ชีวิตความเปนอยูและประเพณี ของเจาของภาษา๓. เขารวม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ

๑. ใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจาของภาษา๒. อธิบาย เกี่ยวกับเทศกาล วันสําคัญ ชีวิต ความเปนอยู และประเพณี ของเจาของภาษา ๓. เขารวม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ

๑.เลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรม ของเจาของภาษา ๒. อธิบาย เกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูขนบธรรมเนียม และประเพณี ของเจาของภาษา ๓. เขารวม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ

๑. เลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา๒. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจาของภาษา๓. เขารวม แนะนํา และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอยางเหมาะสม

Page 207: Education core 2551

สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรมมาตรฐาน ต ๒.๒ เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชอยางถูกตองและเหมาะสม

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖๑.ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษรของภาษาตางประเทศ และภาษาไทย

๑.ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษรของภาษาตางประเทศและภาษาไทย

๑. บอกความแตกตางของเสียงตัวอักษร คํา กลุมคํา และประโยคงายๆ ของภาษา ตางประเทศและภาษาไทย

๑. บอกความแตกตางของของเสียงตัวอักษร คํา กลุมคํา ประโยค และขอความของภาษา ตางประเทศและภาษาไทย๒. บอกความเหมือน/ความแตกตางระหวางเทศกาลและงานฉลอง ตามวัฒนธรรมของ เจาของภาษากับของไทย

๑. บอกความเหมือน/ความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ การใชเครื่องหมายวรรคตอน และ การลําดับคํา(order)ตามโครงสรางประโยค ของ ภาษาตางประเทศและภาษาไทย๒. บอกความเหมือน/ความแตกตางระหวางเทศกาลและงานฉลองของเจาของภาษากับของไทย

๑. บอกความเหมือน/ความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ การใชเครื่องหมายวรรคตอน และ การลําดับคําตามโครงสรางประโยค ของ ภาษาตางประเทศและภาษาไทย๒. เปรียบเทียบความเหมือน/ความแตกตางระหวางเทศกาล งานฉลองและประเพณีของ เจาของภาษากับของไทย

๑. บอกความเหมือนและความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ การใชเครื่องหมายวรรคตอน และ การลําดับคําตามโครงสรางประโยค ของ ภาษาตางประเทศและภาษาไทย๒ เปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกตางระหวางเทศกาลงานฉลอง วันสําคัญ และ

๑. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ และ การลําดับคําตามโครงสรางประโยค ของ ภาษาตางประเทศและภาษาไทย๒ เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางชีวิตความเปนอยู

๑. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ และ การลําดับคําตามโครงสรางประโยค ของ ภาษาตางประเทศและภาษาไทย๒. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางชีวิตความเปนอยูและวัฒนธรรม

๑. อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกตางระหวางโครงสรางประโยค ขอความ สํานวนคําพังเพย สุภาษิตและบทกลอนของภาษา ตางประเทศและภาษาไทย๒. วิเคราะห/อภิปรายความเหมือนและความแตกตางระหวางวิถีชีวิตความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย และนําไปใชอยางมีเหตุผล

Page 208: Education core 2551

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖

ชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา กับของไทย

และวัฒนธรรมของเจาของภาษา กับของไทย

ของเจาของภาษา กับของไทย และ นําไปใชอยางเหมาะสม

Page 209: Education core 2551

สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นมาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปนพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖๑. บอกคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น

๑. บอกคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น

๑. บอกคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น

๑. คนควา รวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นและนําเสนอดวยการพูด/การเขียน

๑. คนควา รวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และนําเสนอดวยการพูด/การเขียน

๑. คนควา รวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นจากแหลงเรียนรูและนําเสนอดวยการพูด/การเขียน

๑. คนควา รวบรวม และสรุปขอมูล/ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นจากแหลงเรียนรูและนําเสนอดวยการพูด/การเขียน

๑. คนควา รวบรวม และสรุปขอมูล/ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น จากแหลงเรียนรูและนําเสนอดวยการพูด/การเขียน

๑. คนควา รวบรวม และสรุปขอมูล/ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น จากแหลงเรียนรูและนําเสนอดวยการพูดและการเขียน

๑. คนควา/สืบคน บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอมูลที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น จากแหลงเรียนรูตางๆ และ นําเสนอดวยการพูดและการเขียน

Page 210: Education core 2551

สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลกมาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม

ตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้นป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖

๑. ฟง/พูดในสถานการณงายๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียน

๑. ฟง/พูดในสถานการณงายๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียน

๑. ฟง/พูดในสถานการณงายๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียน

๑. ฟงและพูด/อาน ในสถานการณที่เกิดขึ้นในหองเรียนและสถานศึกษา

๑. ฟง พูด และอาน/เขียน ในสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียนและสถานศึกษา

๑. ใชภาษาสื่อสาร ในสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียนและสถานศึกษา

๑. ใชภาษาสื่อสาร ในสถานการณจริง/สถานการณจําลองที่เกิดขึ้นในหองเรียนและสถานศึกษา

๑. ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/สถานการณจําลองที่เกิดขึ้นในหองเรียนสถานศึกษา และชุมชน

๑. ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/สถานการณจําลองที่เกิดขึ้นในหองเรียนสถานศึกษาชุมชน และสังคม

๑. ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/สถานการณจําลอง ที่เกิดขึ้นในหองเรียนสถานศึกษา ชุมชน และสังคม

Page 211: Education core 2551

มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลกตัวชี้วัดชั้นป ตัวชี้วัดชวงชั้น

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖๑. ใชภาษา ตางประเทศ เพื่อรวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของใกลตัว

๑. ใชภาษา ตางประเทศ เพื่อรวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของใกลตัว

๑. ใชภาษา ตางประเทศ เพื่อรวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของใกลตัว

๑. ใชภาษา ตางประเทศในการสืบคนและรวบรวมขอมูลตางๆ

๑. ใชภาษา ตางประเทศในการสืบคนและรวบรวมขอมูลตางๆ

๑. ใชภาษา ตางประเทศในการสืบคน และรวบรวมขอมูลตางๆ

๑. ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/คนควา ความรู/ขอมูลตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรูตางๆในการศึกษาตอ และ ประกอบอาชีพ

๑. ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/คนควา รวบรวมและสรุปความรู/ขอมูลตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรูตางๆในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ๒. เผยแพร/ ประชาสัมพันธขอมูล ขาวสารของโรงเรียนเปนภาษาตางประเทศ

๑. ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/คนควา รวบรวม และสรุปความรู/ขอมูลตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรูตางๆในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ๒. เผยแพร/ ประชาสัมพันธขอมูล ขาวสารของโรงเรียนชุมชน และทองถิ่น เปนภาษาตางประเทศ

๑. ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/คนควา รวบรวม วิเคราะห และสรุปความรู/ขอมูลตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรูตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ๒. เผยแพร/ประชาสัมพันธ ขอมูล ขาวสารของโรงเรียน ชุมชน และทองถิ่น/ประเทศชาติ เปนภาษาตางประเทศ

Page 212: Education core 2551

เอกสารอางอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๔๔). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ . กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (๒๕๔๙). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐.

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๔๗). ขอเสนอยุทธศาสตรการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: เซ็นจูรี่.

สํานักนายกรัฐมนตรี, สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (๒๕๔๒). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.).

สํานักผูตรวจราชการและติดตามประเมินผล. (๒๕๔๘). การติดตามปญหาอุปสรรคการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔. บันทึก ที่ ศธ ๐๒๐๗/ ๒๖๙๒ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๘.

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๖ ก.). สรุปผลการประชุมวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๗-๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๖ โรงแรมตรัง กรุงเทพฯ. (เอกสารอัดสําเนา).

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๖ ข.). สรุปความเห็นจากการประชุมเสวนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕ จุด. พฤศจิกายน ๒๕๔๖ (เอกสารอัดสําเนา).

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๘ ก). รายงานการวิจัย การใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผูสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.).

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๘ ข.). รายงานการวิจัยโครงการวิจัยเชิงทดลอง กระบวนการสรางหลักสูตรสถานศึกษาแบบอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.).

สุวิมล วองวาณิช และ นงลักษณ วิรัชชัย. (๒๕๔๗). การประเมินผลการปฎิรูปการเรียนรู ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ พหุกรณีศึกษา. เอกสารการประชุมทางวิชาการการวิจัยเกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู โดยสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ วันที่ ๑๙- ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๗.

Kittisunthorn, C., (๒๐๐๓). Standards-based curriculum: The first experience of Thai

teachers. Doctoral Dissertation, Jamia Islamia University, Delhi, India.

Nutravong, R., (๒๐๐๒). School-based curriculum decision-making: A study of the Thailand reform experiment. Doctoral Dissertation, Indiana University, Bloomington. U.S.A.