EC311-17 General Equilibrium...

18
ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 . ลอยลม ประเสริฐศรี เคาโครงการบรรยาย หัวขอที17 ดุลยภาพทั่วไปและประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ ดุลยภาพบางสวนกับดุลยภาพทั่วไป ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหวางผูบริโภค ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนของตลาดแขงขันสมบูรณ ประสิทธิภาพกับความเทาเทียม วันพฤหัสบดี ที5 กันยายน .. 2556 ดุลยภาพทั่วไปในการผลิต ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร .ลอยลม ประเสริฐศรี 2 17.1 ดุลยภาพบางสวนกับดุลยภาพทั่วไป Spillover & Feedback Effects การวิเคราะหดุลยภาพบางสวน (Partial Equilibrium Analysis) : เปนการวิเคราะหดุลยภาพ หรือการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเฉพาะในตลาดใดตลาด หนึ่ง โดยที่การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมมีผลกระทบไป ยังตลาดอื่น ในระบบเศรษฐกิจ นั่นคือ การวิเคราะห นี้อยูภายใตขอสมมติที่วาภาคเศรษฐกิจอื่นๆ อยูคงทีการวิเคราะหดุลยภาพทั่วไป (General Equilibrium Analysis) : เปนการวิเคราะหดุลยภาพหรือการ เปลี่ยนแปลงดุลยภาพในตลาดที่มีความเกี่ยวของสัมพันธ นั่นคือ การตัดสินใจของผูบริโภคในตลาดสินคาหนึ่ง จะมีความสัมพันธกับตลาดสินคาและตลาดปจจัยทั้ง ระบบเศรษฐกิจ ตลาดสินคาชนิดที1 ตลาดสินคาชนิดที2 ตลาดปจจัย Spillover Effect Feedback Effect

Transcript of EC311-17 General Equilibrium...

Page 1: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

เคาโครงการบรรยาย

หัวขอที่ 17ดุลยภาพทั่วไปและประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ

ดุลยภาพบางสวนกับดุลยภาพทั่วไป

ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหวางผูบริโภค

ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนของตลาดแขงขันสมบูรณ

ประสิทธิภาพกับความเทาเทียม

วันพฤหัสบดี ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556

ดุลยภาพทั่วไปในการผลิต

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี2

17.1 ดุลยภาพบางสวนกับดุลยภาพทั่วไปSpillover & Feedback Effects

การวิเคราะหดุลยภาพบางสวน (Partial Equilibrium Analysis) : เปนการวิเคราะหดุลยภาพหรือการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเฉพาะในตลาดใดตลาดหนึ่ง โดยที่การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมมีผลกระทบไปยังตลาดอื่น ๆ ในระบบเศรษฐกิจ นั่นคือ การวิเคราะหนี้อยูภายใตขอสมมติที่วาภาคเศรษฐกิจอื่นๆ อยูคงที่

การวิเคราะหดุลยภาพทั่วไป (General Equilibrium Analysis) : เปนการวิเคราะหดุลยภาพหรือการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพในตลาดที่มีความเกี่ยวของสัมพันธ นั่นคือ การตัดสินใจของผูบริโภคในตลาดสินคาหนึ่ง ๆ จะมีความสัมพันธกับตลาดสินคาและตลาดปจจัยทั้งระบบเศรษฐกิจ

ตลาดสินคาชนิดที่ 1 ตลาดสินคาชนิดที่ 2

ตลาดปจจัย

Spillover Effect

Feedback Effect

Page 2: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

P

Q0

P

Q0D0

D0

S0

S0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี3

ดุลยภาพทั่วไป: กรณีสินคาที่ใชทดแทนกันไดดี

D2

E0

Q0

P0 E0

Q0

P0

สมมติวา รัฐบาลเก็บภาษีนำเขาตุกตา Minion สงผลกระทบตอเนื่อง (Spillover Effect) ไปยังตลาดตุกตา Mike ทำใหอุปสงคตอตุกตา Mike เพิ่มขึ้น โดยราคาตุกตา Mike เพิ่มขึ้น จากนั้นจึงสงผลกระทบยอนกลับ (Feedback Effect) มายังตลาดตุกตา Minion อีกครั้ง ทำใหสงคตอตุกตา Minion เพิ่มขึ้น ... ดุลยภาพจะปรับตัวเขาสูสมดุลยไปเรื่อย ๆๆ

S1

dutyP1

Q1

E1

Q2

P2E2

D3

P3

Q3

E3

สวัสดิการของ อภิสิทธิ์

สวัสดิการของ

ทักษิณ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี4

17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหวางผูบริโภคสภาวะอุตมาภาพแบบพาเรโต (Pareto Optimality)

การเพิ่มประสิทธิภาพแบบพาเรโต (Pareto improvement): การจัดสรรทรัพยากรที่ทำใหสวัสดิการของสมาชิกในสังคมอยางนอยหนึ่งคนดีขึ้นโดยที่ไมทำใหคนอื่น ๆ ในสังคมแยลง

ตัวอยางที่ 1: สมมติวา รัฐสภาไทย กำลังออกกฎหมายนิรโทษกรรมทางการเมือง โดยมีรางที่เสนออยู 7 ฉบับ ที่ผลักดันโดยกลุมการเมืองตาง ๆ ไดแก ฉบับ A, B, C, D, E, F และ G เปลี่ยนจากราง F เปน A:

เปลี่ยนจากราง F เปน C:อยูนอกอาณาเขตสวัสดิการ เปลี่ยนจากราง F เปน B:

Welfare Frontier

F

E

GA

B

C

D

ประสิทธิภาพแบบพาเรโต (Pareto efficiency): การจัดสรรทรัพยากรที่ ไมสามารถจัดสรรทรัพยากรใหมใหฝายหนึ่งมีสวัสดิการดีขึ้น โดยที่ไมทำใหฝายอื่นๆ แยลงเปลี่ยนจากราง A เปน D:เปลี่ยนจากราง C เปน B:

Page 3: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี5

การแลกเปลี่ยน (Exchange)ขอสมมต:ิ กำหนดให แบบจำลองที่ทำการศึกษามีขอสมมต ิดังนี้1 ในระบบเศรษฐกิจ มีผูบริโภคอยูสองราย คือ นาย A กับ นาย B

2 ในระบบเศรษฐกิจ มีสินคาอยูสองชนิด คือ สินคา 1 กับ สินคา 2

Consumers: i = A,B

3 การบริโภคสินคา (Consumption) ของผูบริโภคทั้งสองราย เปนดังนี้

xA =xA1

xA2

⎣⎢

⎦⎥สำหรับผูบริโภค A:

การบริโภคสินคาชนิดที่หนึ่ง ของผูบริโภค Aการบริโภคสินคาชนิดที่สอง ของผูบริโภค A

xB =xB1

xB2

⎣⎢

⎦⎥สำหรับผูบริโภค B:

การบริโภคสินคาชนิดที่ี่สอง ของผูบริโภค Bการบริโภคสินคาชนิดที่หนึ่ง ของผูบริโภค B

Commodities: l = 1,2

4 ผูบริโภคแตละรายมทีรัพยากรตั้งตน (Endowment) กอนการแลกเปลี่ยน เปนดังนี้ω A =

ω A1

ω A2

⎣⎢

⎦⎥สำหรับผูบริโภค A:

ทรัพยากร (สินคาชนิดที่ 1) ที่ผูบริโภค A มีอยูทรัพยากร (สินคาชนิดที่ 2) ที่ผูบริโภค A มีอยู

ω B =ω B1

ω B2

⎣⎢

⎦⎥สำหรับผูบริโภค B:

ทรัพยากร (สินคาชนิดที่ 1) ที่ผูบริโภค B มีอยูทรัพยากร (สินคาชนิดที่ 2) ที่ผูบริโภค B มีอยู

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี6

การแลกเปลี่ยน (Exchange)

5 ทรัพยากรทั้งหมด (Total endowment) ที่ทั้งคูมีกอนการแลกเปลี่ยน คือω1 =ω A

1 +ω B1The total endowment of good 1:

ω 2 =ω A2 +ω B

2The total endowment of good 2:

6 ผูบริโภคแตละฝายทราบความพอใจของฝายตรงขาม โดยความพอใจของแตละฝายเปนอิสระจากกัน และแตละฝายตองการแลกเปลี่ยนเพื่อใหไดรับความพอใจสูงที่สุด

7 ไมมตีนทุนธุรกรรมในการแลกเปลี่ยน (No transaction cost)

8 การจัดสรรทรัพยากรที่เปนไปได (Feasible Allocation) ก็ตอเมื่อ ทรัพยากรที่มีสำหรับการบริโภคทั้งหมด เทากับ ทรัพยากรที่มีกอนการแลกเปลี่ยน นั่นคือ

xA1 +xB

1 =ω A1 +ω B

1สำหรับสินคาชนิดที่ 1:xA2 +xB

2 =ω A2 +ω B

2สำหรับสินคาชนิดที่ 2:

Page 4: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

OA

OB

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี7

The Edgeworth Box Diagram

x

ω

The Edgeworth Box เปนเครื่องมือที่ใชวิเคราะหกลไกการแลกเปลี่ยนสินคาสองชนิด ของผูบริโภคสองราย

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี8

กลไกการแลกเปลี่ยน

คำถามคือ เม่ื่อผูบริโภคทั้งสองรายมีทรัพยากรตั้งตนแตกตางกัน จะมีการแลกเปลี่ยนหรือจัดสรรทรัพยากรกันอยางไร เพื่อใหสวัสดิการของทั้งคูดีขึ้น?

PersonB

PersonA Good

1

Good2

ω A1

ω B1

ω B2ω A

2

xA1

xB1

xB2xA

2

Lens of Diversification (ผูบริโภคทั้งคูดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับจุดทรัพยากรตั้งตน)Note: Any allocation inside the lens-shape region would be possible.

A ดีขึ้น

B ดีขึ้น

พิจารณา ที่จุด M:มีการแลกเปลี่ยน ดังนี้

Person A:

ยอมเสีย:

เพื่อใหไดรับ:

Person B:

ยอมเสีย:

เพื่อใหไดรับ:

ω

M

Page 5: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี9

Pareto Efficient Allocationsคำถามคือ ผูบริโภคทั้งสองฝาย จะบรรลุเปาประสงค การจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพไดอยางไร?

Pareto Efficient Allocation

Good1

Good2

PersonA

สินคาชนิดที่ 1 ของผูบริโภค A

สินคาชนิดที่ 2

ของผูบริโภค A

PersonB

สินคาชนิดที่ 1 ของผูบริโภค B

สินคาชนิดที่ 2 ของผูบริโภค B

พิจารณา Contract Curve:จุด A, B, M, C และ D เรียกวา“Pareto Efficient Point”

กลุมของ Pareto Efficient Point เรียกวา “Pareto set”เมื่อลากเสนเชื่อมตอ “Pareto set” ทั้งหมด จะไดเสนสัญญา หรือ “Contract Curve” ทุกจุดบนเสนสัญญา MRS เทากัน แสดงวา ไมมีชองทางการแลกเปลี่ยน ที่ทำใหดีขึ้นไดอีก

ผูบริโภคทั้งสองฝายจะแลกเปลี่ยนกัน เพื่อใหไดรับความพอใจเพิ่มขึ้น จนกระทั่งไมสามารถทำใหสวัสดิการของทั้งสองฝายดีขึ้นไดอีก ณ จุดที่เสนความพอใจสัมผัสกัน หรือ MRS เทากัน (จุด A, B, M, C และD) จะไดวา MRS12A = MRS12

B

ω

น้ำเปลา

บะหมี่

ทรัพยากรเริ่มตนของ ทหารรหัส OA

น้ำเปลา

บะหมี่

ทรัพยากรเริ่มตนของ ทหารรหัส OB

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี10

Pareto Efficient Allocations: ตัวอยางโจทย

ตัวอยางที่ 2: ในระหวางที่ทหารเรือสองนายลาดตระเวนชายฝงอยูนั้น ไดเกิดพายุโซนรอน พัดพาใหเรือลาดตระเวนเขาไปติดเกาะกลางทะเล ทหารเรือคนที่หนึ่ง (รหัส: OA) มีบะหมี ่30 หอ และมีน้ำเปลา 20 ลิตร สวน ทหารเรือคนที่สอง (รหัส: OB) มีบะหมี่ 20 หอ แตมีน้ำเปลาอยู 60 ลิตร นายทหารทั้งคูไมสามารถหาอาหารใดๆ เพิ่มเติมได จึงจำเปนตองแลกอาหารกันทาน ในระหวางที่รอวาจะมีชาวประมงหรือผูที่สัญจรผานมาพบเพื่อชวยเหลือ

Page 6: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

OA

OB

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี11

Pareto Efficient Allocations: ตัวอยางโจทย

60

20

30 20ω

Lens of Diversification

บะหมี่ของ A

น้ำของ A

น้ำของ B

บะหมี่ของ B

ω A =ω A1

ω A2

⎣⎢

⎦⎥ =

Initial Endowment ของ A, B คือ

ω B =ω B1

ω B2

⎣⎢

⎦⎥ =

จำนวนทรัพยากรแตละชนิด คือ

จำนวนน้ำเปลา (หนวย: ลิตร)ω1 =ω A

1 +ω B1 =

จำนวนบะหมี่ (หนวย: หอ)ω 2 =ω A

2 +ω B2 = กำหนดให

สินคาชนิดที่ 1: แกน X แทนน้ำเปลา (หนวย: ลิตร)สินคาชนิดที่ 2: แกน Y แทนบะหมี่ (หนวย: หอ)

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี12

Pareto Efficient Allocations: ตัวอยางโจทย

ตัวอยางที่ 3: ตอเนื่องจากตัวอยางที ่2 สมมติวา ทหารเรือคนที่หนึ่ง มีอัตราทดแทนสวนเพิ่ม (MRSA) ของน้ำเปลาตอบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เทากับ 1 ในขณะที่ ทหารเรือคนที่สอง มีอัตราทดแทนสวนเพิ่ม (MRSB) ของน้ำเปลาตอบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เทากับ 1/4

จากขอมูลขางตน เราทราบวา MRS ของ A, B คือ

MRS12A = 1⎡⎣ ⎤⎦ ≠ MRS12

B = 14

⎡⎣⎢

⎤⎦⎥แสดงวา ยังไมเกิดประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยน

บะหมี่อยางมาก 20 ซอง เพื่อใหไดน้ำเปลาเพิ่ม 20 ลิตร หรือ เสียน้ำ 20 ลิตร ตองไดบะหมี่ 20 ซองมาชดเชย

MRS12A = 1 หมายความวา ทหารเรือ A ยินดีสละ

บะหมี่อยางมาก 10 ซอง เพื่อใหไดน้ำเปลาเพิ่ม 40 ลิตร หรือ เสียน้ำ 40 ลิตร ตองไดบะหมี่ 10 ซองมาชดเชย

MRS12B = 1

4หมายความวา ทหารเรือ B ยินดีสละ

MRS12A = 1

2= MRS12

Bสมมติวา

Page 7: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี13

Pareto Efficient Allocations: ตัวอยางโจทย

Individual Initial Allocation Trade Final Allocation

ทหารเรือ A 20X , 30Y

ทหารเรือ B 60X , 20Y

UA

UB

60

20

30 20ω

OA

OB

บะหมี่ของ A

น้ำของ A

น้ำของ B

บะหมี่ของ B

Person A:ยอมเสีย: xA

2 −ω A2 =

เพื่อใหไดรับ: xA1 −ω A

1 =

Person B:

ยอมเสีย: xB1 −ω B

1 =

เพื่อใหไดรับ: xB2 −ω B

2 =

พิจารณา ที่จุด M:

พิจารณา จุด A, B และ C

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี14

Pareto Efficient Allocations: ตัวอยางโจทย

OA

OB

บะหมี่ของ A

น้ำของ A

น้ำของ B

บะหมี่ของ B

UA

UB

ω

เริ่มพิจารณา ณ Initial Endowment ของ A, B:

ที่ ยังไมเกิดประสิทธิภาพเนื่องจาก ω MRS12A ≠ MRS12

B

ตอมาเมื่อมีการแลกเปลี่ยนที่ แมจะอยูบนเสน IC ที่สูงขึ้นทั้งคู แตก็ยังไมเกิดประสิทธิภาพ

′ω

จุดที่เสน IC สัมผัสกันทุกจุด คือ A, B และ C มีประสิทธิภาพทั้งหมด เนื่องจาก MRS เทากันแตจุดที่ทำการแลกเปลี่ยนจะอยู ณ จุดใด ขึ้นอยูกับการเจรจาตอรองสมมติวา อยู ณ จุด A แสดงวา นายทหาร A มีอำนาจในการตอรองมากกวา เพราะจุดสัมผัสอยูบนเสนความพอใจของฝาย A ที่สูงกวา

พื้นที่แรเงาสี คือ Pareto improvement จากจุด ω

Page 8: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี15

Pareto Efficient Allocations: ตัวอยางโจทย

OA

OB

บะหมี่ของ A

น้ำของ A

น้ำของ Bบะหมี่ของ B′′UB

′UA

ω

ทุกจุดบนเสนสัญญา คา MRS เทากัน แสดงวา ไมมีชองทางการแลกเปลี่ยน ที่ทำใหดีขึ้นไดอีก

จุด A, B, และ C เรียกวา “Pareto Efficient Point”

เมื่อลากเสนเชื่อมตอ “Pareto set” ทั้งหมด จะไดเสนสัญญา หรือ “Contract Curve”

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี16

17.3 ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนของตลาดแขงขันสมบูรณ

ขอสมมต:ิ กำหนดให แบบจำลองที่ทำการศึกษามีขอสมมต ิดังนี้1 ในระบบเศรษฐกิจ มีผูบริโภคแบบเดียวกัน คือ นาย A กับ นาย B อยูหลายราย

2 ผูบริโภคแตละราย เปนผูรับราคาตลาด (Price taker)

3 ผูบริโภคมีงบประมาณ แทนดวยสมการ:

ถา แสดงวา เปนผูซื้อหรือผูที่เสนอซื้อสินคาชนิดที่ 1x1 −ω1 > 0(ตองการบริโภคมากกวาทรัพยากรที่มีอยู)

ถา แสดงวา เปนผูขายหรือผูที่เสนอขายสินคาชนิดที ่1x1 −ω1 < 0(ตองการบริโภคนอยกวาทรัพยากรที่มีอยู)

p1x1 + p2x2 = p1ω1 + p2ω 2 1

p1 x1 −ω1( ) + p2 x2 −ω 2( ) = 0. 2

มูลคาของสินคาที่บริโภค = มูลคาของทรัพยากรตั้งตนที่มี

มูลคาของสินคาที่ซื้อ = มูลคาของสินคาที่ขาย

Page 9: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ขีดจำกัดดานงบประมาณของผูบริโภค B

ขีดจำกัดดานงบประมาณของผูบริโภค A

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี17

ขีดจำกัดดานงบประมาณ (Budget Constraint)

จากสมการที ่(1) กำหนดให จะไดวาm = p1ω1 + p2ω 2

p1x1 + p2x2 = m 3 ถาหากกำหนดใหราคาคงที่ รายไดที่เปนตัวเงินจะคงที่ สมการงบประมาณจะมีลักษณะเหมือนที่เคยศึกษามา

PersonA

PersonB

Good1

Good2

Budget Line

ωBL Slope = − p1p2

เสน BL จะตองลากผาน Endowment เพราะวา เงินที่ใชซื้อสินคาตองเทากับมูลคาของทรัพยากรที่มี

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี18

เสนเสนอ (Offer Curve)

OA 10 20 30 40 50 60 70 80 901020304050607080

น้ำ

บะหมี่

OB 10 20 30 40 50 60 70 80 90

1020304050607080

น้ำ

บะหมี่

ω

เสนเสนอ (Offer Curve): เปนเสนที่เชื่อมตอจุดดุลยภาพการบริโภค เมื่อราคาสินคาเปลี่ยนแปลงไป ใกลเคียงกับกรณีเสน Price Consumption Curve (PCC) แตกรณีนี้เริ่มตนพิจารณาทรัพยากรตั้งตนของผูบริโภค

ผูบริโภค A จะซื้อน้ำ 20 ลิตร โดยสละบะหมี่ไป 10 หอ

ผูบริโภค B จะซื้อบะหมี่ 10 หอ โดยสละน้ำไป 20 ลิตร

ω

Page 10: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

GroupA 10 20 30 40 50 60 70 80 90

1020304050607080

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี19

Competitive Equilibrium

UA

UB

สินคาชนิดที่ 1 ของผูบริโภคกลุม A

สินคาชนิดที่ 2

ของผูบริโภคกลุม A

สินคาชนิดที่ 1 ของผูบริโภคกลุม B

สินคาชนิดที่ 2 ของผูบริโภคกลุม B

GroupB

90 80 70 60 50 40 30 20 10

8070605040302010

ในระบบเศรษฐกิจที่มีผูบริโภคอยูเพียงสองราย อัตราการคา จะอยู ณ ระดับใด ยอมขึ้นอยูกับอำนาจตอรองของแตละฝาย แตเมื่อมีกลุมคนมากเขามาแลกเปลี่ยนกันมากขึ้น จนไมมีใครมีอำนาจเหนือตลาด ทุกคนตางเสนอซ้ือและขาย จนกระทั่งเกิดการปรับตัวเขาสูดุลยภาพ แตหัวขอนี้กลาวถึงกรณีที่ตลาดยังไมเกิดดุลยภาพ

สำหรับ คนกลุม A:

xA1 −ω A

1 =

xA2 −ω A

2 =

สำหรับ คนกลุม B:

xB1 −ω B

1 =xB2 −ω B

2 =

เนื่องจาก สวนเกินของฝายหนึ่ง ยังไมเทากับสวนที่ขาดของอีกฝาย หรือ Demand Supply จึงยังไมเกิดดุลยภาพ≠

BL0

ωxB1 , xB

2( )

xA1 , xA

2( )

GroupA 10 20 30 40 50 60 70 80 90

1020304050607080

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี20

Competitive Equilibrium

สินคาชนิดที่ 1 ของผูบริโภคกลุม A

สินคาชนิดที่ 2

ของผูบริโภคกลุม A

สินคาชนิดที่ 1 ของผูบริโภคกลุม B

สินคาชนิดที่ 2 ข

องผูบริโภคกลุม B

GroupB

90 80 70 60 50 40 30 20 10

8070605040302010

จากกรณที่ผานมา เราจะพบวา ตลาดยังไมเกิดดุลยภาพ (Disequilibrium) เนื่องจาก อุปสงคสวนเกินของอีกฝายยังไมเทากับอุปทานสวนเกินของอีกฝาย ทำใหมือที่มองไมเห็นเขามามีสวนปรับสมดุล ซึ่งก็คือกลไกของราคาจะปรับตัวจนกระทั่งปริมาณเสนอซื้อเทากับปริมาณการเสนอขาย จนทำใหตลาดเขาสูดุลยภาพในที่สุด

สำหรับ คนกลุม A:

xA1 −ω A

1 =

xA2 −ω A

2 =

สำหรับ คนกลุม B:

xB1 −ω B

1 =xB2 −ω B

2 =

เนื่องจาก สวนเกินของฝายหนึ่ง เทากับสวนที่ขาดของอีกฝาย หรือ Demand Supply จึงเกิดดุลยภาพ=

BL1

ω

Page 11: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี21

Competitive Equilibrium: ตัวอยางโจทย

ตัวอยางที่ 4: ตอเนื่องจากตัวอยางที ่3 สมมติวา มีทหารมาติดเกาะหลายคนมากขึ้น โดยมีรสนิยม และทรัพยากรเหมือนกับ ทหารเรือคนที่หนึ่ง กับ ทหารเรือคนที่สอง นั่นหมายความวา ผูบริโภคแตละราย เปนผูรับราคาตลาด (Price taker) และความชันของเสน BL เทากับ 1/2

OA

OB

UA

UB

60

20

30 20

บะหมี่ของ A

น้ำของ A

น้ำของ B

บะหมี่ของ B

− 12BL Slope = พิจารณา ณ จุด M:

ω

เปนจุดที่มีการจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ เปนดุลยภาพในตลาดแขงขันสมบูรณ ซึ่งมีประสิทธิภาพในทางเศรษฐศาสตร

MRS ของแตละราย สัมผัสกับเสนงบประมาณพอดี

MRS12A = MRS12

B = p1p2

=

L

K

0

Isoquant Map:

ทบทวน

Capital VS Labor Intensive

L

K

0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี22

17.4 ดุลยภาพทั่วไปในการผลิตความมีประสิทธิภาพในการผลิต

q2>q1q1>75

q0=75

ผลผลิตเพิ่ม Isocost

Slope: w r

เสน isoquant มีความชันเปนลบ แสดงวาปจจัยทดแทนกันไดไมสมบูรณ

เสน isoquant ที่อยูสูงกวาหรืออยูทางขวา แสดงสวนผสมปจจัยที่ทำใหปริมาณผลผลิตที่สูงกวา

ณ ราคาเปรียบเทียบเดียวกัน (บนเสน Isocost เดียวกัน) สินคาเสื้อผา (C) ใช มากกวา อาหารKC

LC

แสดงวาการผลิต สินคาเสื้อผา (C) เปน Capital Intensive สวนเสื้อผา (F) เปน Labor Intensive

Page 12: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

KF

LFOF

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี23

ความมีประสิทธิภาพในการผลิต

OCLC

KC

7K 3K

แรงงานที่ใชผลิตอาหาร

ทุนที่ใชผลิตอาหาร

แรงงานที่ใชผลิตเสื้อผา

ทุนที่ใชผลิตเสื้อผา

เสน “Production Contract Curve” เช่ือมจุดสัมผัสของเสนผลผลิตเทากัน แสดงถึงสวนประสมของปจจัยที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค

พื้นที่แรเงา แสดงจุดการผลิตตาง ๆ ที่ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากจุด และมี Pareto Improvement

ω

จุด ยังไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก ยังสามารถเพิ่มผลผลิตของสินคาทั้งสอง ดวยการจัดสรรทรัพยากรใหม

ω

MRTSLKF = MRTSLK

Cสรุป เงื่อนไขประสิทธิภาพในการผลิต:

8L

7L

ω

KC

LF

LC

KF

OC

OF

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี24

ความมีประสิทธิภาพในการผลิต: Competitive Equilibrium

15L

15L

6K9Kω

MRTSLKF = MRTSLK

C = wr

สรุป เงื่อนไขดุลยภาพทั่วไป:

การผลิตอาหาร:

การผลิตเสื้อผา:

ตองการปจจัยทุน, K=6(จากเดิม มีอยู K=9)ตองการปจจัยแรงงาน L=20(จากเดิม มีอยู L=15)

พิจารณา ที่จุด P:

แสดงวาขาดปจจัยแรงงาน=5

แสดงวาขาดปจจัยทุน=3

ตองการปจจัยทุน, K=9(จากเดิม มีอยู K=6)ตองการปจจัยแรงงาน L=10(จากเดิม มีอยู L=15)

สามารถแลกเปลี่ยนกันพอดีที่ : อัตรา

พิจารณา ที่จุด :ωพบวา MRTSLKF > MRTSLK

C

แสดงวาMPLMPK

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

F

> MPLMPK

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

C

นั่นคือ การใชปจจัยแรงงานในการผลิตอาหาร มีประสิทธิภาพกวา (สังเกตไดจาก การผลิตเสื้อผาใชแรงงานมากเกินไป)ระบบเศรษฐกิจจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น หากมีการยายแรงงานออกจากการผลิต เสื้อผา บาง นั่นคือ ในการผลิตเสื้อผาควรเนนปจจัยทุนเพิ่ม

Page 13: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี25

ความมีประสิทธิภาพในผลผลิต

เสนความเปนไปไดในการผลิต (Production Possibilities Curve: PPC): เสน PPC แสดงสวนผสมของผลผลิตที่เศรษฐกิจหนึ่งสามารถผลิตไดดวยทรัพยากรที่มีอยูอยางมีประสิทธิภาพสูงที่สุดดวยเทคโนโลยีที่มีอยู

PPC

0 F

C จุดบนเสน PPC ไดแก จุด D, G และ H แสดงปริมาณการผลิตที่มีประสิทธิภาพของทั้งสองสินคา

PPC เปนเสนทอดลง หรือมีความชันเปนลบ แสดงวาการผลิตสินคาหนึ่งเพิ่มขึ้นตองลดการผลิตอีกชนิดลง

อัตราการแปลงผลผลิตระหวางสินคา (Marginal Rate of Transformation: MRT) คือคาความชันของเสน PPC แสดงปริมาณเสื้อผาที่ตองสละเพื่อใหไดอาหารเพิ่ม

MRT = MCX

MCY

= MCF

MCC

จุดที่อยูใตเสน PPC เชนที่ จุด แสดงปริมาณการผลิตที่ไมมีประสิทธิภาพ ω

F

C

0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี26

ความมีประสิทธิภาพในผลผลิต

วิธีการหาเสน PPC

L

K

F1

C2

C3

C4

F2

F3

F4

C1

OF

OC

DG

C4=50 0

C3=40 F1=30

C2=25 F2=45

C1=10 F3=55

0 F4=60

OF

D

G

H

OC

จุด เสื้อ (C) อาหาร (F)

Page 14: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี27

ประสิทธิภาพของการแลกเปลี่ยนและการผลิต

ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยน (ผูบริโภค) และการผลิต (ผูผลิต): จะเกิดขึ้นเมื่อ “ทำการผลิตสินคาดวยตนทุนต่ำสุด และผลิตในปริมาณและสัดสวนที่ตรงกับความยินดีจายของผูบริโภค”

MRS = MRT

MRS เปนคาความชันของเสน IC ของสังคม MRT เปนคาความชันของเสน PPC

ความยินดีจายในการบริโภคอาหาร (F) เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งหนวย เพื่อแลกกับการลดปริมาณการบริโภคเสื้อผา (C) ลง

ตนทุนสวนเพิ่มของอาหาร (F) ที่เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งหนวย วัดในรูปของการลดการผลิตเสื้อผา (C)

MRT = MCF

MCC

MRS = dCdF

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี28

ประสิทธิภาพของการแลกเปลี่ยนและการผลิต

PPC

F

C

OA

เสน IC ในที่นี้เปน IC ของสังคม หรือ เสน Community Indifference Curve (CIC)

ถาหากวา เชน ที่ A (MRT = 2 แต MRS =5)MRS ≠ MRT

MRSFC =5: ยินดีสละอาหารเสื้อ 5 ตัว เพื่อใหไดอาหารมา 1 จานMRTFC =2: ตนทุนในการผลิตอาหารเพิ่มอีก 1 จาน มีคาเทากับการลดการผลิตเสื้อ 2 ตัว แสดงวา มีการผลิตอาหารนอยเกินไป

สรุป เพื่อใหมีการจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตองผลิตอาหารเพิ่ม จนกระทั่ง MRS = MRT

MRS = MRT = PFPC

Page 15: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี29

ประสิทธิภาพของการแลกเปลี่ยนและการผลิต

F

C

PPC

E =OB

F*

C*

OA

ICB

ICA

BL

M

แหม! ผลิตออกมาเทาไหร ก็กิินก็ใช จนหมดเกลี้ยงเลย มีประสิทธิภาพมั๊ก ๆ

จากจุดดุลยภาพ E สามารถสราง Edgeworth Box ของการแลกเปลี่ยนที่เกิดจากปริมาณการผลิต F*, C* ไดในการแลกเปลี่ยนทรัพยากรภายในกลอง Edgeworth จะตองสอดคลองกับจุด E ดังเชน ที่จุด M ซึ่งมีประสิทธิภาพแบบ Pareto

MRS = MRT = PFPC

ในมิติของผูบริโภค: ผูบริโภคทุกคนจัดสรรงบประมาณระหวางสินคาทั้งสองชนิด MRS ของสินคาทั้งสอง = PF/PC

ในมิติของผูผลิต: หนวยผลิตที่ตองการกำไรสูงสุดผลิต ณ จุดที่ P = MC ซึ่งทำให MRT = MCF/MCC = PF/PC

MRT = MCF

MCC

= PFPC

= MRS

สรุป เงื่อนไขดุลยภาพทั่วไป:

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี30

สรุปเงื่อนไขของประสิทธิภาพของการจัดสรร

กำหนดให แบบจำลองในระบบเศรษฐกิจ มีดังนี้Consumers: i = A,B

Commodities: l = 1,2

Factor: j = L,K

ในระบบเศรษฐกิจ มผีูบริโภคอยูสองราย คือ นาย A กับ นาย Bในระบบเศรษฐกิจ มสีินคาอยูสองชนิด คือ สินคา 1 กับ สินคา 2ในระบบเศรษฐกิจ มปีจจัยการผลิตอยูสองชนิด คือ แรงงานกับทุน

Efficiency in exchange:I

MRS12A = MRS12

B

MRS12A = P1

P2= MRS12

B

Efficiency in production:II

MRTSLK1 = w

r= MRTSLK

1

MRTSLK1 = MRTSLK

2

Efficiency in the output market:III

MRT12 =P1P2

= MRS12

MRS12A = MRS12

B = P1P2

-----------(1)

MRT12 =MC1MC2

-----------(2)

P1 = MC1, P2 = MC2-----------(3)

Page 16: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี31

First Fundamental Theorem of Welfare Economics

ทฤษฎีบทพื้นฐานของเศรษฐศาสตรสวัสดิการบทที่หนึ่ง:

ดุลยภาพทั่วไปของตลาดแขงขันสมบูรณจะทำใหเกิดการจัดสรรทรัพยากรสินคาและปจจัยที่มีประสิทธิภาพแบบพาเรโต นั่นคือ จะไมมีการจัดสรรทรัพยากรสินคาและปจจัยอื่น (No other feasible allocation) ที่ทำใหผูบริโภคทุกคนมีสวัสดิการเพิ่มขึ้นพรอมๆ กันไดอีก

ผลลัพธของตลาดแขงขันสมบูรณ ซึ่งทุกสวนตัดสินใจอิสระ และอยูบนฐานของผลประโยชนสวนตัว กลับพบวามีประสิทธิภาพ

แนวคิดเดียวกับ มือที่มองไมเห็น (Invisible Hand) ของ อดัม สมิธ

The First Theorem states that a competitive equilibrium is Pareto efficient and the Second Theorem that any Pareto efficient allocation can be decentralised as a competitive equilibrium.

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี32

คำถาม คือ การจัดสรรทรัพยากรชุดใดมีความเทาเทียมมากที่สุด?

แมวาจะมีสวนผสมการจัดสรรที่มีประสิทธิภาพหลายชุด แตบางชุดอาจมีความยุติธรรมมากกวา

คำตอบ คือไมมีเหตุผลที่จะมั่นใจไดวาชุดการจัดสรรของตลาดแขงขันสมบูรณที่มีประสิทธิภาพจะมีความเทาเทียมดวย

17.5 ประสิทธิภาพกับความเทาเทียม

OA

OB

บะหมี่ของ A

น้ำของ A

น้ำของ B

บะหมี่ของ B

′′′UB

′′UB

′′UA

′′′UA′UB

′UA

ω

AB

C

E

จุด A, B, และ C เรียกวา “Pareto Efficient Point”

E มีความเทาเทียมมากกวา C หรือไม?

Page 17: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี33

ความเทาเทียมกันและตลาดแขงขันสมบูรณ

จากกรณีที่ผานมาจะเห็นไดวา สวนผสมการจัดสรรทีไ่มมีประสิทธิภาพอาจมีความเทาเทียมกวา ที่มีประสิทธิภาพ คำถามคือ จะใหนิยามความเทาเทียมอยางไร?

ขึ้นอยูกับความเชื่อของแตละคนวาความเทาเทียมจะนำไปสูอะไรเปนประเด็น Normative ไมใช Positive statement จำเปนจะตองเปรียบเทียบความพอใจขามบุคคล(Interpersonal comparisons of utility)เนื่องจากดุลยภาพตลาดแขงขันสามารถเกิดขึ้นที่ใดก็ไดบน contract curve ขึ้นอยูกับวาจุดทรัพยากรเริ่มตนอยูที่ใดอาจพึ่งรัฐบาลในการนำไปสูจุดที่มีความเทาเทียมดวยการกระจายทรัพยากรหรือรายได เสียใหม เชน การจัดเก็บภาษี และการใหบริการสาธารณะ

Second Theorem of Welfare Economics: ภายใตระบบตลาดแขงขันสมบูรณ รัฐบาลสามารถที่จะจัดสรรทรัพยากรใหม เพื่อใหเศรษฐกิจเคลื่อนที่จากดุลยภาพที่มีประสิทธิภาพหนึ่งไปสูดุลยภาพที่มีประสิทธิภาพอื่นๆ ได

พิจารณากรณีทรัพยากรตั้งตนอยูที่ :θ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี34

ความเทาเทียมกันและตลาดแขงขันสมบูรณ

OA

OB

ω A1 = 20

ω B1 = 60

ω A2 = 30 ω B

2 = 20

′UA

′′UB

xA1 = 30

x21 = 50

xB2 = 30xA

2 = 202525

พิจารณากรณีทรัพยากรตั้งตนอยูที่ :ωCompetitive Equilibrium อยู ณ จุด Mนายทหาร A: มีน้ำเปลา 30 ลิตร, บะหมี ่20 หอนายทหาร B: มีน้ำเปลา 50 ลิตร, บะหมี ่30 หอ

Competitive Equilibrium อยู ณ จุด Pนายทหาร A: มีน้ำเปลา 40 ลิตร, บะหมี ่25 หอนายทหาร B: มีน้ำเปลา 40 ลิตร, บะหมี่ 25 หอ

Note: ดุลยภาพ ณ จุด P ทำใหทั้งสองฝายมีสินคาทั้งสองชนิดอยางเทาเทียมกัน

BL0

P1P2

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

M

= −1

ω

M

Page 18: EC311-17 General Equilibrium STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST/EC311-17... · 17.2 ดุลยภาพทั่วไปในการแลกเปลี่ยนระหว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี35

Redistributionจากกรณีที่ผานมาเราจะพบวา ภายใต ตลาดแขงขันสมบูรณ ทำใหเกิดประสิทธิภาพ แต่มิไดหมายความวา จะทำใหเกิดความเทาเทียม (Equity) เปนหนาที่ของรัฐบาลที่จะตองจัดสรรทรัพยากรเริ่มตนเสียใหม่

OA

OB

′UA

′′UB

xA1 = 30

x21 = 50

xB2 = 30xA

2 = 20

BL0

P1P2

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

M

= −1

ω

M

Redistribution: รัฐบาลสามารถเก็บภาษีบะหมี่จากผูบริโภค B จำนวน 15 หอ ไปให A จะไดจุดทรัพยากรตั้งตนใหม ที่จุด จากน้ันทั้งสองฝายจะมีการคา (Trade) กันอีกรอบ จนเขาสูจุดดุลยภาพใหมที่จุด P ทำใหเทาเทียมขึ้นθ

θA =θA1

θA2

⎣⎢

⎦⎥ =

4520⎡

⎣⎢

⎦⎥

θB =θB1

θB2

⎣⎢

⎦⎥ =

3530⎡

⎣⎢

⎦⎥

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี36

Redistribution