Developing

29
การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ (Integrated Learning Management) เอกสารเผยแพรความรูวิชาการศึกษา หมายเลข 02 / 2550 ฝายวิชาการ รงเรียนเทคโนโลยีสยาม

description

 

Transcript of Developing

Page 1: Developing

การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ (Integrated Learning Management)

เอกสารเผยแพรความรูวิชาการศึกษาหมายเลข 02 / 2550

ฝายวิชาการโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม

Page 2: Developing

คํานํา

แผนพัฒนาโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม ปการศึกษา 2550-2552 ไดกําหนดเปาหมายการจัดการศึกษาดานผูเรียน โดยคาดหวังใหผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตรงตามมาตรฐานสาขาวิชา สามารถศึกษาตอหรือประกอบอาชีพไดตามที่ตองการ และดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข และไดกําหนดยุทธศาสตรและแผนงานที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนรูแกผูเรียน ไวดังนี้คือ ยุทธศาสตรท่ี 1 พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความสนใจของผูเรียนและเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน โดยมีแผนงานที่สําคัญคือ แผนงานพัฒนาหลักสูตร (ระดับสาขางานและระดับรายวิชา) ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและเทคโนโลยีในงานอาชีพ ยุทธศาสตรท่ี 2 พัฒนาการจัดการเรียนรูและมาตรฐานการเรียนรู โดยมีแผนงานที่สําคัญคือ แผนงานพัฒนามาตรฐานการจัดการเรียนรู และสงเสริมทักษะทางวิชาการ/วิชาชีพชางอุตสาหกรรมและบริหารธุรกิจ

ฝายวิชาการมีความตระหนักถึงหนาท่ีความรับผิดชอบดังกลาวขางตน จึงไดกําหนดวิสัยทัศนการดําเนินงานในระหวางปการศึกษา 2550-2552 ไววา “ฝายวิชาการมีความมุงมั่นในการบริหารและจัดการเรียนรูตามมาตรฐานสากลโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อความเปนเลิศทางวิชาชีพ วิชาการ และวิชาชีวิต” และเพื่อใหวิสัยทัศนดังกลาวมีความชัดเจนเปนรูปธรรม จึงไดพัฒนาระบบการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพตรงตามหลักวิชาทางการศึกษา อันประกอบดวย 1) การพัฒนาระบบหลักสูตรการเรียนรู 2) การพัฒนาระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู และ 3) การพัฒนาระบบการวัดผลประเมินผลการเรียนรู

เอกสารเผยแพรความรูวิชาการศึกษาฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ท่ีมุงบริการความรูและขอมูลแกอาจารยผูสอน เพื่อนําไปใชประโยชนในการจัดทําแผนการเรียนรูรายวิชา โดยเฉพาะอยางยิ่งการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูแกผูเรียนใหถูกตองตรงตามทฤษฎีและหลักวิชาทางการศึกษา

หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับนี้จะชวยใหอาจารยผูสอนสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรูในแตละรายวิชาไดอยางมีคุณภาพตรงตามทฤษฎีและหลักวิชาทางการศึกษา ชวยใหผูเรียนประสบความสําเร็จในการเรียนและอาจารยผูสอนมีความสุขในการสอน หากทานผูอานพบขอผิดพลาดประการใด ขาพเจาขอนอมรับความบกพรองไวแตเพียงผูเดียว และไดโปรดแจงแกผูเขียนเพื่อแกไขใหถูกตองตอไปดวยจักเปนพระคุณยิ่ง กิตติ รัตนราษี 12 กรกฏาคม 2550

Page 3: Developing

สารบัญ

หนา ความหมายของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ............................................................................ 1 ลักษณะของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ................................................................................. 2 รูปแบบของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ................................................................................. 4 วิธีการและเทคนิคการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ........................................................................ 8 การเรียนการสอนทางตรง (Direct Instruction Model)............................................................ 9 การเรียนการสอนโดยการสรางเรื่อง (Storyline Method)......................................................... 10 การเรียนการสอนตามวัฎจักรการเรียนรู 4 MAT ................................................................... 13 การเรียนการสอนแบบรวมมือ (Instruction Model of Cooperative Learning)......................... 15 1) เทคนิค จิ๊กซอร (Jigsaw).................................................................................................. 16 2) เทคนิค เอส. ที. เอ. ดี (STAD)......................................................................................... 17 3) เทคนิค ที. เอ. ไอ. (TAI).................................................................................................. 18 4) เทคนิค ที. จี. ที. (TGT).................................................................................................... 18 5) เทคนิค แอล. ที. (LT)....................................................................................................... 19 6) เทคนิค จี.ไอ. (GI)............................................................................................................ 19 7) เทคนิค ซี. ไอ. อาร. ซี. (CIRC)........................................................................................ 20 8) เทคนิค คอมเพล็กซ (Complex)....................................................................................... 21 การเรียนการสอนแบบโครงงาน/โครงการ (Instruction Model of Project Work)................... 21 ประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ............................................................................ 23 บรรณานุกรม................................................................................................................................ 24

Page 4: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 1 / 26

การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ (Integrated Learning Management)

พระราชบัญญัติการศึกษาพุทธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 23 ไดกําหนดใหการจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษา และมาตรา 24 ไดกําหนดใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของจัดกระบวนการเรียนรูแกผูเรียนโดย (1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน (2) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา (3) จัดกิจกรรมใหเกิดการเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง (4) จัดการเรียนรูโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา (5) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน และอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู (6) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ จากเจตนารมยของพระราชบัญญัติดังที่ไดกลาวถึงขางตน สามารถสรุปไดวาผูสอนตองยึดหลักการบูรณาการ (Integration) ในการจัดการเรียนรูแกผูเรียน ทั้งนี้เพราะการจัดการศึกษามีจุดมุงหมายที่จะใหผูเรียนเปนมนุษยสมบูรณทั้งทางดานรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู มีคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ดังนั้นการจัดการเรียนรูจึงมีความจําเปนตองจัดการเรียนรูแบบองครวม (Holistic) หรือแบบสมดุล (Equilibrium) เพื่อชวยใหผูเรียนไดเรียนรูวิธีการบูรณาการความรูกับการดํารงชีวิต และทําใหความรูที่ผูเรียนไดรับนั้นมีความหมาย สามารถนําไปใชไดจริงในการดํารงชีวิตประจําวัน ความหมายของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ นักวิชาการศึกษาหลายทานไดกลาวถึงความหมายของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการไวดังตัวอยางตอไปนี ้ ลารดิซาบอล (Lardizabal) กลาววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนที่สอดคลองกับจุดประสงค เพื่อใหผูเรียนสามารถแกไขปญหาไดดวยตนเอง ยังผลใหเกิดการพัฒนาในดานบุคลิกภาพในทุก ๆ ดาน ผูเรียนสามารถปรับตัวและตอบสนองตอทุกสถานการณ การแกปญหานี้ขึ้นอยูกับประสบการณและความรูพื้นฐาน การสอนแบบบูรณาการจะใหความสําคัญกับครูและนักเรียนเทาเทียมกัน ทํากิจกรรมการเรียนการสอนรวมกันแบบประชาธิปไตย

Page 5: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 2 / 26

กาญจนา คุณารักษ กลาววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง กระบวนการหรือการปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียนรูความสัมพันธขององคประกอบทางจิตพิสัย และพุทธิพิสัย หรือกระบวนการหรือการปฏิบัติในอันที่จะรวบรวมความคิด มโนภาพ ความรู เจตคติ ทักษะ และประสบการณในการแกปญหา เพื่อใหชีวิตมีความสมดุล

สุมานิน รุงเรืองธรรม กลาววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การสอนเพื่อจัดประสบการณใหแกผูเรียน เพื่อการเรียนรูที่มีความหมาย ใหเขาใจลักษณะความเปนไปอันสําคัญของสังคม เพื่อดัดแปลงปรับปรุงพฤติกรรมของผูเรียนใหเขากับสภาพชีวิตไดดียิ่งขึ้น ผกา สัตยธรรม กลาววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง ลักษณะการสอนที่นําเอาวิชาตาง ๆ เขามาผสมผสานกัน โดยใชวิชาใดวิชาหนึ่งเปนแกนหลักและนําเอาวิชาตาง ๆ มาเชื่อมโยงสัมพันธกันตามความเหมาะสม นที ศิริมัย กลาววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง เทคนิคการสอนโดยเนนความสนใจ ความสามารถ และความตองการของผูเรียน ดวยการผสมผสานเนื้อหาวิชาในแงมุมตาง ๆ อยางสัมพันธกัน เปนการสรางความคิดรวบยอดใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียน และยังสามารถนําความคิดรวบยอดไปสรางเปนหลักการเพื่อใชในการแกปญหาตาง ๆ ไดดวย โดยสรุป การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณการเรียนรูใหแกผูเรียนตามความสนใจ ความสามารถ และความตองการ โดยการเชื่อมโยงสาระการเรียนรูในศาสตรสาขาตาง ๆ ที่เกี่ยวของสัมพันธกัน ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงพฤติกรรมของผูเรียน ทั้งทางดานสติปญญา (Cognitive) ทักษะ (Skill) และจิตใจ (Affective) สามารถนําความรูและทักษะที่ไดไปแกไขปญหาดวยตนเอง และสามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนไดจริงในชีวิตประจําวัน ลักษณะของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ นักวิชาการศึกษาหลายทานไดกลาวถึงลักษณะสําคัญของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการไวดังตัวอยางตอไปนี ้ ธํารง บัวศรี ไดกลาวถึงลักษณะการจัดการเรียนการสอนแบบการบูรณาการไว 5 ประการ คือ 1. การบูรณาการระหวางความรูและกระบวนการเรียนรู กลาวคือ ความรูในปจจุบันนี้มีปริมาณมากขึ้นเปนทวีคูณ การเรียนการสอนดวยวิธีการแบบเดิม เชน การบอกเลา การบรรยาย และการทองจําอาจจะไมเพียงพอที่จะกอใหเกิดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพได ดังนั้นผูเรียนควรจะเปนผูสํารวจความสนใจของตนเองวาในองคความรูที่หลากหลายนั้นอะไรคือส่ิงที่ตนเองสนใจอยางแทจริง ควรจะแสวงหาความรูเพื่อตอบสนองความสนใจเหลานั้นไดอยางไร เพียงไร และดวยกระบวนการเชนไร 2. การบูรณาการระหวางพัฒนาการทางความรูและพัฒนาการทางจิตใจ กลาวคือ การใหความสําคัญแกเจตคติ คานิยม ความสนใจ และสุนทรียภาพแกผูเรียนในการแสวงหาความรู ไมใชเนนเพียงองคความรูหรือพุทธิพิสัยแตเพียงอยางเดียว ซ่ึงการทําใหผูเรียนเกิดความซาบซึ้งกอนลงมือศึกษานั้น นับไดวาเปนยุทธศาสตรที่สําคัญยิ่งสําหรับการจูงใจใหเกิดการเรียนรูทั้งแกผูสอนและผูเรียน

Page 6: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 3 / 26

3. การบูรณาการระหวางความรูและการกระทํา กลาวคือ การใหความสําคัญระหวางองคความรู (พุทธิพิสัย) ที่ศึกษากับการนําไปปฏิบัติจริง (ทักษะพิสัย) ผูเรียนตองเรียนรูเพื่อที่จะนําไปใชในสถานการณจริง 4. การบูรณาการระหวางสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่อยูในชีวิตประจําวันของผูเรียน กลาวคือ การตระหนักถึงความสําคัญแหงคุณภาพชีวิตของผูเรียน วาเมื่อไดผานกระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรแลว ส่ิงที่เรียนรูในหองเรียนจะตองมีความหมายและคุณคาตอชีวิตของผูเรียนอยางแทจริง 5. การบูรณาการระหวางวิชาตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนเกิดความรู เจตคติ และการกระทําที่เหมาะสมกับความตองการและความสนใจของผูเรียนอยางแทจริง ตอบสนองตอคุณคาในการดํารงชีวิตของผูเรียนแตละคน เสริมศรี ไชยศร ไดกลาวถึงลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการไว 2 ประการ คือ 1. การบูรณาการการเรียนการสอนเชิงเนื้อหาวิชา กลาวคือ การผสมผสานเนื้อหาวิชาในลักษณะของการหลอมรวมแบบแกนหรือแบบสหวิทยาการ จะเปนหนวยก็ไดหรือจะเปนโปรแกรมก็ได นอกจากนี้อาจจะเปนการผสมผสานของเนื้อหาวิชาในแงของทฤษฎีกับการปฏิบัติหรือเนื้อหาวิชาที่สอนกับชีวิตจริง ซ่ึงสามารถแบงออกได 2 วิธีคือ

1.1 การบูรณาการสวนทั้งหมด (Total Integration) คือ การรวมเนื้อหาประสบการณตาง ๆ ที ่ตองการใหผูเรียนเรียนรูหลักสูตรหรือโปรแกรม จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ยึดปญหาหรือแนวเรื่อง (Theme) เปนแกน ซ่ึงปญหาหรือแนวเรื่องที่จะเปนตัวช้ีบงถึงความรูมาจากวิชาตาง ๆ ในโปรแกรม ซ่ึงมีเนื้อหาเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันและปญหาสังคมทั้งหมด 1.2 การบูรณาการเปนบางสวน (Partial Integration) คือ การรวมประสบการณของบางสาขาวิชาเขาดวยกัน อาจเปนลักษณะของหมวดวิชาและระหวางสาขาวิชา หรือจัดเปนบูรณาการแบบโครงการ ซ่ึงการจัดแบบโครงการนี้แตละรายวิชาก็จะเปนรายวิชาเชนปกติ แตจะจัดประสบการณใหเปนบูรณาการในรูปโครงการ อาจจะเปนโครงการสําหรับผูเรียนรายบุคคลหรือรายกลุม 2. การบูรณาการเรียนการสอนเชิงวิธีการ คือ การผสมผสานวิธีการเรียนการสอนแบบตาง ๆ โดยใชส่ือประสมและใชวิธีการประสมใหมากที่สุด

ลารดิซาบอล (Lardizabal) ไดกลาวถึงการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการตองยึดหลักการที่สําคัญวา แกนกลางของประสบการณอยูที่ความตองการของผูเรียน และประสบการณในการเรียนรูตองจัดเปนหนวยการเรียน (Learning Unit) หนวยการเรียนอาจแยกออกเปนประเภทใหญ ๆ ได 3 ประเภทคือ

1. ประเภทหนวยเนื้อหาวิชา (Subject-Matter Unit) เปนหนวยการเรียนรูที่เนนเนื้อหาในตําราหรือหัวขอเร่ืองตาง ๆ หลักการหรือส่ิงแวดลอม เชน เร่ืองน้ํา อากาศ เปนตน

2. ประเภทหนวยความสนใจ (Center of Interest) เปนหนวยการเรียนรูที่จัดขึ้นโดยมีพื้นฐานที ่ความสนใจและความตองการ หรือจุดประสงคเดน ๆ ของผูเรียน

3. ประเภทหนวยเสริมสรางประสบการณ (Integrative Experience Unit) เปนหนวยการเรียนรูที่รวบรวมประสบการณ โดยมีจุดเนนอยูที่ผลการเรียนรู และสามารถนําไปสูการปรับพฤติกรรม การปรับตัวของผูเรียน

Page 7: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 4 / 26

สุมิตร คุณานุกร ไดกลาววา การเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนการสัมพันธกับความรู ซ่ึงแยกออกเปนวิธียอยได 4 วิธี คือ (1) นําความรูอ่ืนที่ใกลเคียงกับเรื่องที่สอนมาสัมพันธกัน (2) นําความรูเกี่ยวกับเรื่องอื่น ๆ ที่เปนเหตุเปนผลเกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่กําลังสอนมาสัมพันธกัน (3) ปรับงานที่ใหผูเรียนทําใหมีลักษณะสอดคลองกับสภาพความเปนจริงในสังคม (4) พยายามนําสิ่งที่เปนแกนเขาไปผนวกกับสิ่งที่ที่กําลังสอนทุกครั้งที่มีโอกาสจะสอดแทรกแกนดังกลาว อาจเปนแนวความคิดรวบยอด ทักษะ และคานิยม โดยสรุป การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการมีลักษณะสําคัญที่เปนจุดเดนคือ เปนการจัดประสบการณการเรียนรูโดยการสรางเปนหัวขอเร่ือง (Theme) หรือเปนหนวยการเรียนรู (Learning Unit) ที่เชื่อมโยงสาระการเรียนรูในศาสตรสาขาวิชาตาง ๆ ในสวนที่เกี่ยวของเขามาสัมพันธกับสาระการเรียนรูที่เปนแกนกลาง เพื่อใหผูเรียนเกิดความคิดรวบยอดและมีทักษะในการแกปญหา และสามารถนําไปประยุกตใชตามสถานการณจริงในชีวิตประจําวันได รูปแบบของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ จากการศึกษารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการที่นักวิชาการศึกษาหลายทานไดนําเสนอแนวความคิดไว สามารถสรุปไดเปน 3 รูปแบบ ดังนี้คือ

รูปแบบที่ 1 จําแนกตามจํานวนผูสอน 1.1 การบูรณาการแบบผูสอนคนเดียว คือ การที่ผูสอนนําเนื้อสาระการเรียนรูรายวิชาอื่น ๆ ที่มีลักษณะใกลเคียงกันหรือกอใหเกิดประโยชนรวมกัน เขามาสอดแทรกในเนื้อหาสาระการเรียนรูรายวิชาที่ตนเองเปนผูสอน

ทักษะทางสังคม

ทักษะการจัดขอมูล

ทักษะการคิด

ส่ิงแวดลอมรอบตัวเรา

ความสัมพันธท่ีเก่ียวของ

การสรางแผนภูมิสถิติ

การอยูรวมกัน

Page 8: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 5 / 26

แผนภูมิที่ 1 แสดงตัวอยางการบูรณาการแบบผูสอนคนเดียว 1.2 การบูรณาการแบบคูขนาน คือ การที่ผูสอนตั้งแตสองคนขึ้นไปวางแผนการสอนรวมกันโดยมุงสอนหัวเร่ืองหรือความคิดรวบยอดหรือปญหาเดียวกันแตสอนตางวิชาและตางคนตางสอนในรายวิชาของตน

วิทยาศาสตร

- การเกิดเงา

คณิตศาสตร

- การวัดระยะทางโดยการวัดเงา- การคิดคํานวณเร่ืองเงาในชวง เวลาตาง ๆ- จัดทํากราฟของเงาในระยะตาง ๆ

เงา

แผนภูมิที่ 2 แสดงตัวอยางการบูรณาการแบบคูขนาน 1.3 การบูรณาการแบบสอนเปนทีม คือ การที่ผูสอนตั้งแตสองคนขึ้นไปวางแผนการสอนรวมกันและรวมกันสอนเปนคณะหรือเปนทีม มีการวางแผนปรึกษาหารือรวมกัน โดยกําหนดหัวเร่ืองหรือความคิดรวบยอดหรือปญหารวมกัน แลวรวมกันสอนผูเรียนกลุมเดียวกันและรวมกันมอบหมายงานใหผูเรียนทํารวมกัน

วิทยาศาสตร- ชนิดของยุง- วงจรชีวิตของยุง

อันตรายจากยุง

คณิตศาสตร- จัดทําแผนภูมิ สถิติผูปวย

ภาษาไทย- เขียนคําขวัญ- เขียนเรียงความ

ศิลปะ- ออกแบบแผนพับ โฆษณา เชิญชวน

สุขศึกษา- โรคที่เกิดจากยุง- การปองกันและ รักษาโรคที่เกิด จากยุง

สรุป

แผนภูมิที่ 3 แสดงตัวอยางการบูรณาการแบบสอนเปนทีม

Page 9: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 6 / 26

รูปแบบที่ 2 จําแนกตามกลุมสาระการเรียนรู 1.1 การบูรณาการภายในกลุมสาระการเรียนรู (ภายในวิชา) คือ การเชื่อมโยงเนื้อหาสาระในกลุมประสบการณหรือรายวิชาเดียวกันเขาดวยกันใหเปนหัวขอเร่ือง (Theme) หรือหนวยการเรียนรู (Learning Unit)

ทักษะการพูด- อธิบาย - พูดซักถาม- สนทนา - อภิปราย

วรรณคดีเร่ือง

ขุนชางขุนแผน

ทักษะการอาน- ในใจ - ทํานองเสนาะ- จับใจความ - ออกเสียง

ทักษะการฟง- ฟงอธิบาย - ฟงเพ่ือนพูดคุย- ฟงการสนทนา - ฟงนิทาน

ทักษะการเขียน- เขียนเรียงความ - เขียนนิทาน- เขียนแสดงความคิดเห็น

แผนภูมิที่ 4 แสดงตัวอยางการบูรณาการภายในกลุมสาระ

1.2 การบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรู (ระหวางวิชา) คือ การเชื่อมโยงเนื้อหาสาระจากหลายกลุมประสบการณหรือหลายรายวิชาเขาดวยกันใหเปนหัวขอเร่ือง (Theme) หรือหนวยการเรียนรู (Learning Unit)

อากาศ วิทยาศาสตร- การจัดตั้งสถานีอวกาศ- ชั้นบรรยากาศ - ความกดอากาศ

คณิตศาสตร- จัดทําสถิติน้ําฝน- จัดทํากราฟ

ศิลปะ- จัดทําปายนิทรรศการ- ออกแบบแผนพับ

ภูมิศาสตร- พายุชนิดตาง ๆ- การอานนิทาน

ภาษาไทย- ฟงรายงานอากาศ- อานขาว บันทึก

ดนตรี- แตงเพลงเกี่ยวกับอากาศ- รองเพลง

แผนภูมิที่ 5 แสดงตัวอยางการบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรู

Page 10: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 7 / 26

รูปแบบที่ 3 จําแนกตามประเภทของการบูรณาการ 1.1 การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) คือ การสรางหัวเร่ือง (Theme) หรือหนวยการเรียนรู (Learning Unit) ขึ้นมาแลวนําเนื้อหาสาระจากรายวิชาตาง ๆ มาเชื่อมโยงสัมพันธกับหัวเร่ืองหรือหนวยการเรียนรูนั้น ๆ

บานแสนสุข

ภาษาไทย คณิตศาสตร

วิทยาศาสตรภาษาอังกฤษ

พูด

อาน

เขียน

ฟง

เงิน

พื้นท่ี

มุม

เวลา

พูด

อาน

ฟง

เขียน

อภิปราย , รายงาน

เลาเรื่อง , บรรยาย

อานในใจ , อานออกเสียง

เรียงความ , บทความ

อาน , เขียนบันทึกเวลา

กําไร , ขาดทุน

คํานวณพื้นที่บาน

สามเหลี่ยม ,สี่เหลี่ยม

บทสนทนา , ประโยค

สนทนา

ออกเสียง , ประโยค

คํา , ประโยค , สัญลักษณ

ชีวิตในบาน

ความรับผิดชอบ , งานตาง ๆ ในบาน ,อุปกรณไฟฟา

แผนภูมิที่ 6 แสดงตัวอยางการบูรณาการแบบสหวิทยาการ

Page 11: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 8 / 26

1.2 การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) คือ การนําสาระการเรียนรูที่ตองการจะใหผูเรียนไดเรียนรูมาสอดแทรกไวในรายวิชาตาง ๆ หรือการเนนเนื้อหาของวิชาเปนแกนแลวนําสาระการเรียนรูที่ตองการใหเกิดแกผูเรียนไปสอดแทรกในวิชาแกนดังกลาว ซ่ึงอาจเรียกวาเปนการบูรณาการที่เนนเนื้อหารายวิชาเปนหลัก

ภาษาไทย

การฟง การพูด การอาน การเขียน- ฟงเรื่องราวเกี่ยวกับ การอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอม- ฟงบทความการ อนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอม

- ฝกพูดเลาเรื่องบรรยาย ความรูสึก

- ฝกสนทนา การรายงาน เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอม

- ฝกอานแผนผัง แผนที่ กราฟ การอานบทรอยกรองเกี่ยว กับเรื่องการอนุรักษพลังงาน

- ฝกเขียนประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยค ขอรอง ประโยคแสดงความ ตองการเกี่ยวกับการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอม

แผนภูมิที่ 7 แสดงตัวอยางการบูรณาการแบบพหุวิทยาการ วิธีการและเทคนิคการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ วิธีการและเทคนิคการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ มีมากมายและหลากหลายดวยกัน แตที่ไดรับการนิยมมากในปจจุบันนี้มี 5 รูปแบบดังนี ้ 1. รูปแบบการเรียนการสอนทางตรง (Direct Instruction Model) 2. รูปแบบการเรียนการสอนโดยการสรางเรื่อง (Storyline Method) 3. รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฎจักรการเรียนรู 4 MAT 4. รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรูแบบรวมมือ (Instruction Model of Cooperative Learning) 4.1 รูปแบบจิ๊กซอร (Jigsaw) 4.2 รูปแบบเอส. ที. เอ. ดี (STAD) 4.3 รูปแบบ ที. เอ. ไอ. (TAI) 4.4 รูปแบบ ที. จี. ที. (TGT) 4.5 รูปแบบ แอล. ที. (LT) 4.6 รูปแบบ จี.ไอ. (GI) 4.7 รูปแบบ ซี. ไอ. อาร. ซี. (CIRC) 4.8 รูปแบบคอมเพล็กซ (Complex) 5. รูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงาน/โครงการ (Instruction Model of Project Work)

Page 12: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 9 / 26

รูปแบบที่ 1 รูปแบบการเรียนการสอนทางตรง (Direct Instruction Model) ก. ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ จอยส และวีล (Joyce and Weil, 1996: 334) (อางถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2546 : 51) อางวา มีงานวิจัยจํานวนไมนอยที่ช้ีใหเห็นวา การสอนโดยมุงเนนการใหความรูที่ลึกซึ้งชวยใหผูเรียนรูสึกวามีบทบาทในการเรียน ทําใหผูเรียนมีความตั้งใจในการเรียนรูและชวยใหผูเรียนประสบความสําเร็จในการเรียน การเรียนการสอนโดยจัดสาระและวิธีการใหผูเรียนอยางดีทั้งทางดานเนื้อหา ความรู และการใหผูเรียนใชเวลาเรียนอยางมีประสิทธิภาพ (academic learning) เปนประโยชนตอการเรียนรูของผูเรียนมากที่สุด ผูเรียนมีใจจดจอกับสิ่งที่เรียน และชวยใหผูเรียนถึง 80% ประสบความสําเร็จในการเรียน นอกจากนั้นยังพบวา บรรยากาศการเรียนที่ไมปลอดภัยสําหรับผูเรียน สามารถสกัดกั้นความสําเร็จของผูเรียนได ดังนั้น ผูสอนจึงจําเปนตองระมัดระวัง ไมทําใหผูเรียนเกิดความรูสึกในทางลบ เชน การดุดาวากลาว การแสดงความไมพอใจ หรือวิพากษวิจารณผูเรียน ข. วัตถุประสงคของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนนี้มุงชวยใหไดเรียนรูทั้งเนื้อหา สาระ และมโนทัศนตาง ๆ รวมทั้งไดฝกปฏิบัติทักษะตาง ๆ จนสามารถทําไดดีและประสพผลสําเร็จไดในเวลาที่จํากัด ค. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ การเรียนการสอนของรูปแบบนี้ประกอบดวยขั้นตอนสาํคัญ ๆ 5 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นนํา 1.1 ผูสอนแจงวัตถุประสงคของบทเรียน และระดับการเรียนรูหรือพฤติกรรมการเรียนรูที่คาดหวังแกผูเรียน 1.2 ผูสอนช้ีแจงสาระของบทเรียน และความสัมพันธกับความรูและประสบการณเดิมของผูเรียนอยางคราว ๆ 1.3 ผูสอนชี้แจงกระบวนการเรียนรู และหนาที่รับผิดชอบของผูเรียนในการเรียนแตละขั้นตอน ขั้นที่ 2 ขั้นนําเสนอบทเรียน 2.1 หากเปนการนําเสนอเนื้อหาสาระ ขอความรูหรือมโนทัศน ผูสอนควรกลั่นกรองและสกัดคุณสมบัติเฉพาะของมโนทัศนเหลานั้น และนําเสนออยางชัดเจน พรอมทั้งอธิบายและยกตัวอยางประกอบใหผูเรียนเขาใจ ตอไปจึงสรุปคํานิยามของมโนทัศนเหลานั้น 2.2 ตรวจสอบวาผูเรียนมีความเขาใจตรงตามวัตถุประสงค กอนใหผูเรียนลงมือฝกปฏิบัติ หากผูเรียนยังไมเขาใจ ตองสอนซอมเสริมใหเขาใจกอน ขั้นที่ 3 ขั้นฝกปฏิบัติตามแบบ (structured practice)

Page 13: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 10 / 26

ผูสอนปฏิบัติใหผูเรียนดูเปนตัวอยาง ผูเรียนปฏิบัติตาม ผูสอนใหขอมูลปอนกลับใหการเสริมแรงหรือแกไขขอผิดพลาดของผูเรียน ขั้นที่ 4 ขั้นฝกปฏิบัติภายใตการกํากับของผูช้ีแนะ (guided practice) ผูเรียนลงมือปฏิบัติดวยตนเอง โดยผูสอนคอยดูแลอยูหาง ๆ ผูสอนจะสามารถประเมินการเรียนรูและความสามารถของผูเรียนไดจากความสําเร็จและความผิดพลาดของการปฏิบัติของผูเรียน และชวยเหลือผูเรียน โดยใหขอมูลปอนกลับเพื่อใหผูเรียน แกไขขอผิดพลาดตาง ๆ ขั้นที่ 5 การฝกปฏิบัติอยางอิสระ (independent practice) หลังจากที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นที่ 4 ไดถูกตองประมาณ 85-90% แลว ผูสอนควรปลอยใหผูเรียนปฏิบัติตอไปอยางอิสระ เพื่อชวยใหเกิดความชํานาญ และการเรียนรูอยูคงทน ผูสอนไมจําเปนตองใหขอมูลปอนกลับในทันที สามารถใหภายหลังได การฝกในขั้นนี้ไมควรทําติดตอกันในครั้งเดียว ควรมีการฝกเปนระยะ ๆ เพื่อชวยใหการเรียนรูอยูคงทนขึ้น ง. ผลท่ีผูเรียนจะไดรับจากการเรียนตามรูปแบบ การเรียนการสอนแบบนี้ เปนไปตามลําดับขั้นตอน ตรงไปตรงมา ผูเรียนเกิดการเรียนรูทั้งทางดานพุทธิพิสัย และทักษะพิสัยไดเร็วและไดมากในเวลาที่จํากัด ไมสับสน ผูเรียนไดฝกปฏิบัติตามความสามารถของตนจนสามารถบรรลุวัตถุประสงค ทําใหผูเรียนมีแรงจูงใจในการเรียน และมีความรูสึกที่ดีตอตนเอง รูปแบบที่ 2 รูปแบบการเรียนการสอนโดยการสรางเรื่อง (Storyline Method) ก. ทฤษฎี/หลักการ/หรือแนวคิดของรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการสรางเรื่อง (Storyline Approach) พัฒนาขึ้นโดย ดร.สตีฟ เบ็ล และแซลลี่ ฮารคเนส (Steve Bell and Sally Harkness) จากสกอตแลนด เขามีความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรูวา (อรทัย มูลดํา และคณะ, 2541: 34-35) 1) การเรียนรูที่ดีควรมีลักษณะบูรณาการ หรือเปนสหวิทยากร คือเปนการเรียนรูที่ผสมผสานศาสตรหลาย ๆ อยางเขาดวยกันเพื่อเกิดประโยชนสูงสุดในการประยุกตใชในการทํางานและการดําเนินชีวิตประจําวัน 2) การเรียนรูที่ดีเปนการเรียนรูที่เกิดขึ้นผานทางประสบการณตรงหรือการกระทําหรือการมีสวนรวมของผูเรียนเอง 3) ความคงทนของผลการเรียนรู ขึ้นอยูกับวิธีการเรียนรูหรือวิธีการที่ไดความรูมา 4) ผูเรียนสามารถเรียนรูคุณคาและสรางผลงานที่ดีไดหากมีโอกาสไดลงมือกระทํา

Page 14: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 11 / 26

นอกจากความเชื่อดังกลาวแลว การเรียนการสอนโดยใชวิธีการสรางเรื่องนี้ยังใชหลักการเรียนรูและการสอนอีกหลายประการ เชน การเรียนรูจากส่ิงใกลตัวไปสูวิถีชีวิตจริง การสรางองคความรูดวยตนเอง และการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง จากฐานความเชื่อและหลักการดังกลาว สตีฟ เบ็ล (ศูนยส่ิงแวดลอมศึกษาและโลกศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542: 4) ไดพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่มีลักษณะบูรณาการเนื้อหาหลักสูตรและทักษะการเรียนจากหลายสาขาวิชาเขาดวยกัน โดยใหผูเรียนไดสรางสรรคเร่ืองขึ้นดวยตนเอง โดยผูสอนทําหนาที่วางเสนทาง เดินเรื่องใหโดยการดําเนินเรื่องแบงเปนตอน ๆ (episode) แตละตอนประกอบดวยกิจกรรมยอยที่เชื่อมโยงกันดวยคําถามหลัก (key question) ลักษณะของคําถามหลักที่เชื่อมโยงเรื่องราวใหดําเนินไปอยางตอเนื่องมี 4 คําถามไดแก ที่ไหน ใคร ทําอะไร/อยางไร และมีเหตุการณอะไรเกิดขึ้น ผูสอนจะใชคําถามหลักเหลานี้เปดประเด็นใหผูเรียนคิดรอยเรียงเรื่องราวดวยตนเอง รวมทั้งสรางสรรคช้ินงานประกอบกนัไป การเรียนการสอนดวยวิธีการดังกลาวจึงชวยใหผูเรียนมีโอกาสไดใชประสบการณและความคิดของตนอยางเต็มที่และมีโอกาสไดแลกเปลี่ยนความรูความคิดกัน อภิปรายรวมกัน และเกิดการเรียนรูอยางกวางขวาง ข. วัตถุประสงคของรูปแบบ เพื่อชวยพัฒนาความรู ความเขาใจและเจตคติของผูเรียนในเรื่องที่เรียน รวมท้ังทักษะกระบวนการตาง ๆ เชน ทักษะการคิด ทักษะการทํางานรวมกับผูอ่ืน ทักษะการแกปญหา ทักษะการสื่อสาร เปนตน ค. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ การเรียนการสอนตามรูปแบบนี้จําเปนตองมีการวางแผนและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณลวงหนา โดยดําเนินการดังนี้ ขั้นที่ 1 การกําหนดเสนทางเดินเรื่องใหเหมาะสม ผูสอนจําเปนตองวิเคราะหจุดมุงหมายและเนื้อหาสาระของหลักสูตร และเลือกหัวขอเร่ืองใหสอดคลองกับเนื้อหาสาระของหลักสูตรที่ตองการจะใหผูเรียนไดเรียนรู และจัดแผนการสอนในรายละเอียดเสนทางเดินเรื่อง ประกอบดวย 4 องค (episode) หรือ 4 ตอนดวยกัน คือ ฉาก ตัวละคร วิถีชีวิตและเหตุการณ ในแตละองค ผูสอนจะตองกําหนดประเด็นหลักขึ้นมาแลวตั้งเปนคําถามทําใหผูเรียนศึกษาหาคําตอบ ซ่ึงคําถามเหลานี้จะโยงไปยังคําตอบที่สัมพันธกับเนื้อหาวิชาตาง ๆ ที่ประสงคจะบูรณาการเขาดวยกัน ดังแสดงตัวอยางเสนทางเดินเรื่อง และตัวอยางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวในแผนภาพที่ 1.1 และตารางที่ 1.1 (วลัย พานิช, 2543: 29-41)

Page 15: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 12 / 26

แผนภาพที่ 1.1 ตัวอยางเสนทางเดินเรื่อง (วลัย พานิช, 2543: 29)

ขั้นที่ 2 การดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ผูสอนดําเนินการตามแผนการสอนไปตามลําดับการเรียนการสอนแบบนี้ อาจใชเวลาเพียงไมกี่คาบ หรือตอเนื่องกันเปนภาคเรียนก็ได แลวแตหัวเร่ืองและการบูรณาการวาสามารถทําไดครอบคลุมเพียงใด แตไมควรใชเวลาเกิน 1 ภาคเรียน เพราะผูเรียนอาจเกิดความเบื่อหนาย ในการเริ่มกิจกรรมใหม ผูสอนควรเชื่อมโยงกับเรื่องที่คางไวเดิมใหสานตอกันเสมอ และควรใหผูเรียนสรุปความคิดรวบยอดของแตละกิจกรรม กอนจะขึ้นกิจกรรมใหม นอกจากนั้นควรกระตุนใหผูเรียนศึกษาคนควาขอมูลจากแหลงความรูที่หลากหลาย เปดโอกาสใหผูเรียนชื่นชมผลงานของกันและกัน และไดปรับปรุงพัฒนางานของตน ขั้นที่ 3 การประเมิน ผูสอนใชการประเมินผลตามสภาพที่แทจริง (authentic assessment) คือการประเมินจากการสังเกต การบันทึก และการรวบรวมขอมูลจากผลงานและการแสดงออกของผูเรียน การประเมินจะไมเนนเฉพาะทักษะพื้นฐานเทานั้น แตจะรวมถึงทักษะการคิด การทํางาน การรวมมือ การแกปญหา และอื่น ๆ การประเมินใหความสําคัญในการประสบผลสําเร็จในการทํางานของผูเรียนแตละคน มากกวาการประเมินผลการเรียนที่มุงใหคะแนนผลผลิต และจัดลับที่เปรียบเทียบกับกลุม ง. ผลท่ีผูเรียนจะไดรับจากการเรียนรูตามรูปแบบ ผูเรียนจะเกิดความรู ความเขาใจ ในเรื่องที่เรียน ในระดับที่สามารถวิเคราะหและสังเคราะหได รวมทั้งไดพัฒนาทักษะกระบวนการตาง ๆ

แผนผังเสนทางเดินเรื่อง (Topic line)

ตอน (ฉาก) ที่ 1 (Episode) คําถามหลัก

ตอน (ฉาก) ที่ 2 คําถามหลัก

ตอน (ฉาก) ที่ 3 คําถามหลัก

ตอน (ฉาก) ที่ 4 คําถามหลัก

ฉาก

ตัวละคร

การดําเนินชีวิต

มีเหตุการณเกิดขึ้น

มีปญหาที่ตองแกไข หรือ

Page 16: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 13 / 26

3. รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู 4 MAT ก. ทฤษฎี/หลักการ/หรือแนวคิดของรูปแบบ แม็คคารธี (Mc Carthy อางถึงใน ศักดิ์ชัย นิรัญทวี และ ไพเราะ พุมมั่น, 2542 : 7-11) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนนี้ขึ้นจากแนวคิดของโคลป (Kolb) ซ่ึงอธิบายวา การเรียนรูเกิดขึ้นจากความสัมพันธของ 2 มิติ คือ การรับรู (perception) และกระบวนการจัดกระทําขอมูล (processing) การรับรูของบุคคลมี 2 ชองทาง คือ ผานทางประสบการณที่ เปนรูปธรรม และผานทางความคิดรวบยอดที่ เปนนามธรรม (abstract conceptualization) สวนกระบวนการจัดกระทํากับขอมูลที่รับรูนั้น มี 2 ลักษณะเชนเดียวกัน คือ การลงมือทดลองปฏิบัติ และการสังเกตโดยใชความคิดอยางไตรตรอง เมื่อลากเสนตรงของชองทางการรับรู 2 ชองทางและเสนตรงของกระบวนการจัดกระทําขอมูลเพื่อใหเกิดการเรียนรูมาตัดกัน แลวเขียนเปนวงกลมจะเกิดพื้นที่เปน 4 สวนของวงกลม ซ่ึงสามารถแทนลักษณะการเรียนรูของผูเรียน 4 แบบ คือ แบบที่ 1 เปนผูเรียนที่ถนัดจินตนาการ (imaginative learners) เพราะมีการรับรูผานทางประสบการณเปนรูปธรรม และใชกระบวนการจัดกระทําขอมูลดวยการสังเกตอยางไตรตรอง แบบที่ 2 เปนผูเรียนที่ถนัดการวิเคราะห (analytic learners) เพราะมีการรับรูผานทางความคิดรวบยอดที่เปนนามธรรม และชอบใชกระบวนการสังเกตอยางไตรตรอง แบบที่ 3 เปนผูเรียนที่ถนัดใชสามัญสํานึก (common sense learners) เพราะมีการรับรูผานความคิดรวบยอดที่ เปนนามธรรม และชอบใชกระบวนการลงมือทํา แบบที่ 4 เปนผูเรียนที่ถนัดในการปรับเปลี่ยน (dynamic learners) เพราะมีการรับรูผานทางประสบการณที่เปนรูปธรรมและชอบใชกระบวนการลงมือปฏิบัติ แมคคารธี และคณะ (ศักดิ์ชัย นิรัญทวี) และไพเราะ พุมมั่น, 2542: 7-11๗ ไดนําแนวคิดของโคลป มาประกอบกับแนวคิดเกี่ยวกับการทํางานของสมองทั้งสองซีก ทําใหเกิดเปนแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชคําถามหลัก 4 คําถาม คือ ทําไม (Why?) อะไร (What?) อยางไร (How?) และถา (If?) ซ่ึงสามารถพัฒนาผูเรียนที่มีลักษณะการเรียนรูแตกตางกันทั้ง 4 แบบ ใหสามารถใชสมองทุกสวนของตนในการพัฒนาศักยภาพของตนไดอยางเต็มที่ ดังแสดงในแผนภาพที่ 9.2 (ศักดิ์ชัย นิรัญทวี และไพเราะ พุมมั่น, 2542: 15-16) ข. วัตถุประสงคของรูปแบบ เพื่อชวยใหผูเรียนมีโอกาสไดใชสมองทุกสวน (whole brain) ทั้งซีกซายและขวา ในการสรางความรูความเขาใจใหแกตนเอง

Page 17: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 14 / 26

ประสบการณรูปธรรม

การร ับร ูข อม ูลอย างไตร ตรองการลงม

ือทดล

องปฏ ิบ

ัต ิ

ความคิดรวบยอด

ผูเรียนแบบ 4 : ถา…? ผูเรียนแบบ 1 : ทําไม ?

ผูเรียนแบบ 2 : อะไร ?ผูเรียนแบบ 3 : อยางไร ?

ซาย

ซายซาย

ซาย

ขวา

ขวาขวา

ขวา

1.ใหแตละคนเห็นคุณคา

2.วิเคราะห

ประสบการณ

3.ปรับประสบการณ

เปนความคิดรวบยอด

4.พัฒนาความคิดดวยขอมูล

5.ทําตามแนวคิดตามคูมือ

6.ลงมือทําโดยปรับใหเหมาะสมกับตนเอง

7.วิเคราะหผล

8.แลกเปล่ียนความรูความคิดกับผูอ่ืนเพ่ือประยุกตใช

แผนภาพที่ 1.2 การเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู 4 MAT (ศักดิ์ชัย นิรัญทวี และไพเราะ พุมมั่น, 2542 : 15-16)

ค. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ การเรียนการสอนตามวัฎจักรการเรียนรู 4 MAT มีขั้นตอนดําเนินการ 8 ขั้น ดังนี้ (ศักดิ์ชัย นิรัญทวี และไพเราะ พุมมั่น, 2542: 11-16; เธียร พานิช, 2542: 3-5) ขั้นที่ 1 การสรางประสบการณ ผูสอนเริ่มตนจากการจัดประสบการณใหผูเรียนเห็นคุณคาของเรื่องที่เรียนดวยตนเอง ซ่ึงจะชวยใหผูเรียนสามารถตอบคําถามไดวา ทําไมตนจึงตองเรียนรูเร่ืองนี้ ขั้นที่ 2 การวิเคราะหประสบการณ หรือสะทอนความคิดจากประสบการณ ชวยใหผูเรียนเกิดความตระหนักรู และยอมรับความสําคัญของเรื่องที่เรียน ขั้นที่ 3 การพัฒนาประสบการณ เปนความคิดรวบยอดหรือแนวคิดเมื่อผูเรียนเห็นคุณคาของเรื่องที่เรียนแลว ผูสอนจึงจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ชวยใหผูเรียนสามารถสรางความคิดรวบยอดขึ้นดวยตนเอง ขั้นที่ 4 การพัฒนาความรูความคิด เมื่อผูเรียนมีประสบการณและเกิดความคิดรวบยอดหรือแนวคิดพอสมควรแลว ผูสอนจึงกระตุนใหผูเรียนพัฒนาความรูความคิดของตนใหกวางขวางและลึกซึ้งขึ้น โดยการใหผูเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเตมิจากแหลงความรูที่หลากหลาย การเรียนรูในขั้นที่ 3 และ 4 นี้คือการตอบคําถามวา ส่ิงที่ไดเรียนรูคือ อะไร

Page 18: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 15 / 26

ขั้นที่ 5 การปฏิบัติตามแนวคิดที่ไดเรียนรู ในขั้นนี้ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนนําความรู ความคิดที่ไดรับจากการเรียนรูในชั้นที่ 3-4 มาทดลองปฏิบัติจริง และศึกษาผลที่เกิดขึ้น ขั้นที่ 6 การสรางสรรคช้ินงานของตนเอง จากการปฏิบัติตามแนวคิดที่ไดเรียนรูในขั้นที่ 5 ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูถึงจุดเดนจุดดอยของแนวคิด ความเขาใจแนวคิดนั้นจะกระจางขึ้น ในขั้นนี้ผูสอนควรกระตุนใหผูเรียนพัฒนาความสามารถของตนโดยนําความรูความเขาใจนั้นไปใชหรือปรับประยุกตใชในการสรางชิ้นงานที่เปนความคิดสรางสรรคของตนเอง ดังนั้นคําถามหลักที่ใชในชั้นที่ 5-6 ก็คือจะทําอยางไร ขั้นที่ 7 การวิเคราะหผลงานและแนวทางในการนําไปประยุกตใช เมื่อผูเรียนไดสรางสรรคช้ินงานของตนตามความถนัดแลว ผูสอนควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงผลงานของตน ช่ืนชมกับความสําเร็จ และเรียนรูที่จะวิพากษวิจารณอยางสรางสรรค รวมทั้งรับฟงขอวิพากษวิจารณ เพื่อการปรับปรุงงานของตนใหดีขึ้น และการนําไปประยุกตใชตอไป ขั้นที่ 8 การแลกเปลี่ยนความรูความคิด ขั้นนี้เปนขั้นของการขยายขอบขายของความรูโดยการแลกเปลี่ยนความรูความคิดแกกันและกัน และรวมกันอภิปรายเพื่อการนําการเรียนรูไปเชื่อมโยงกับชีวิตจริงและอนาคต คําถามหลักในการอภิปรายก็คือ ถา….? ซ่ึงอาจนําไปสูการเปดประเด็นใหมสําหรับผูเรียนในการเริ่มตนวัฎจักรของการเรียนรูในเรื่องใหมตอไป ง. ผลท่ีผูเรียนจะไดรับจากการเรียนรูตามรูปแบบ ผูเรียนจะสามารถสรางความรูดวยตนเองในเรื่องที่เรียน จะเกิดความรูความเขาใจและนําความรูความเขาใจนั้นไปใชได และสามารถสรางผลงานที่เปนความคิดสรางสรรคของตนเอง รวมทั้งไดพัฒนาทักษะกระบวนการตาง ๆ อีกจํานวนมาก รูปแบบที่ 4 รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรูแบบรวมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning) ก. ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรูแบบรวมมือ พัฒนาขึ้นโดยอาศัยหลักการเรียนรูแบบรวมมือของจอหนสัน และจอหนสัน (Johnson & Johnson. 1974: 213-240) ซ่ึงไดช้ีใหเห็นวา ผูเรียนควรรวมมือกันในการเรียนรูมากกวาการแขงขัน เพราะการแขงขันกอใหเกิดสภาพการณของการแพ-ชนะ ตางจากการรวมมือกัน ซ่ึงกอใหเกิดสภาพการณของการชนะ-ชนะ อันเปนสภาพการณที่ดีกวาทั้งทางดานจิตใจและสติปญญา หลักการเรียน รูแบบรวมมือ 5 ประการประกอบดวย (1) การเรียน รูต องอาศั ยห ลักการพึ่ งพ ากัน (positive

Page 19: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 16 / 26

interdependence) โดยถือวาทุกคนมีความสําคัญเทาเทียมกันและจะตองพึ่งพากัน เพื่อความสําเร็จรวมกัน (2) การเรียนรูที่ดีตองอาศัยการหันหนาเขาหากัน มีปฏิสัมพันธกัน (face to face interaction) เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอมูล และการเรียนรูตาง ๆ (3) การเรียนรูรวมกันตองอาศัยทักษะทางสังคม (social skills) โดยเฉพาะทักษะในการทํางานรวมกัน และ (4) การเรียนรูรวมกันควรมีการวิเคราะหกระบวนการกลุม (group processing) ที่ใชในการทํางาน และ (5) การเรียนรูรวมกันจะตองมีผลงาน หรือผลสัมฤทธิ์ ทั้งรายบุคคลและรายกลุม ที่สามารถตรวจสอบและวัดประเมินได (individual accountability) หากผูเรียนมีโอกาสไดเรียนรูแบบรวมมือกัน นอกจากจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูทางดานเนื้อหาสาระตาง ๆ ไดกวางขึ้นและลึกซึ้งขึ้นแลว ยังสามารถชวยพัฒนาผูเรียนทางดานสังคมและอารมณมากขึ้นดวย รวมทั้งมีโอกาสไดฝกฝนพัฒนาทักษะกระบวนการตาง ๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตอีกมาก ข. วัตถุประสงคของรูปแบบ รูปแบบนี้มุงชวยใหผูเรียนไดเรียนรูเนื้อหาสาระตาง ๆ ดวยตนเองและดวยความรวมมือและความชวยเหลือจากเพื่อน ๆ รวมทั้งไดพัฒนาทักษะทางสังคมตาง ๆ เชน ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทํางานรวมกับผูอ่ืน ทักษะการสรางความสัมพันธรวมทั้งทักษะการแสวงหาความรู ทักษะการคิดการแกปญหาและอื่น ๆ ค. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนที่สงเสริมการเรียนรูแบบรวมมือ มีหลายรูปแบบซึ่งแตละรูปแบบจะมีวิธีการดําเนินการหลัก ๆ ซ่ึงไดแก การจัดกลุม การศึกษาเนื้อหาสาระ การทดสอบ การติดคะแนน และระบบการใหรางวัลแตกตางกันออกไป เพื่อสนองวัตถุประสงคเฉพาะ แตไมวาจะเปนรูปแบบใดตางก็ใชหลักการเดียวกัน คือหลักการเรียนรูแบบรวมมือ 5 ประการ และมีวัตถุประสงคมุงตรงไปในทิศทางเดียวกัน คือเพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูในเรื่องที่ศึกษาอยางมากที่สุดโดยอาศัยการรวมมือกัน ชวยเหลือกัน และแลกเปลี่ยนความรูกันระหวางกลุมผูเรียนดวยกัน ความแตกตางของรูปแบบแตละรูปแบบจะอยูที่เทคนิคในการศึกษาเนื้อหาสาระ และวิธีการเสริมแรงและการใหรางวัล เปนประการสําคัญ เพื่อความกระชับในการนําเสนอ ผูเขียนจึงจะนําเสนอกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบทั้ง 8 รูปแบบตอเนื่องกัน ดังนี้ 1. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบจิ๊กซอร (JIGSAW) 1.1 จัดผูเรียนเขากลุมคละความสามารถ (เกง-กลาง-ออน) กลุมละ 4 คนและเรียกกลุมนี้วา กลุมบานของเรา (home group) 1.2 สมาชิกในกลุมบานของเรา ไดรับมอบหมายใหศึกษาเนื้อหาสาระคนละ 1 สวน (เปรียบเสมือนไดช้ินสวนของภาพตัดตอคนละ 1 ช้ิน) และหาคําตอบในประเด็นปญหาที่ผูสอนมอบหมายให

Page 20: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 17 / 26

1.3 สมาชิกในกลุมบานของเรา แยกยายไปรวมกับสมาชิกกลุมอื่น ซ่ึงไดรับเนื้อหาเดียวกัน ตั้งเปนกลุมผูเชี่ยวชาญ (expert group) ขึ้นมา และรวมกันทําความเขาใจในเนื้อหาสาระนั้นอยางละเอียด และรวมกันอภิปรายหาคําตอบประเด็นปญหาที่ผูสอนมอบหมายให 1.4 สมาชิกกลุมผูเชี่ยวชาญ กลับไปสูกลุมบานของเราแตละคนชวยสอนเพื่อนในกลุมใหเขาใจในสาระที่ตนไดศึกษารวมกับกลุมผูเชี่ยวชาญ เชนนี้ สมาชิกทุกคนก็จะไดเรียนรูภาพรวมของสาระทั้งหมด 1.5 ผูเรียนทุกคนทําแบบทดสอบ แตละคนจะไดคะแนนเปนรายบุคคล และนําคะแนนของทุกคนในกลุมบานของเรามารวมกัน (หรือหาคาเฉลี่ย) เปนคะแนนกลุม กลุมที่ไดคะแนนสูงสุด ไดรับรางวัล 2. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ เอส.ที.เอ.ดี (STAD) คําวา “STAD” เปนตัวยอของ “Student Teams Achievement Division” กระบวนการดําเนินการมีดังนี้ 2.1 จัดผูเรียนเขากลุมคละความสามารถ (เกง-กลาง-ออน) กลุมละ 4 คน และเรียกกลุมนี้วา กลุมบานของเรา (home group) 2.2 สมาชิกในกลุมบานของเรา ไดรับเนื้อหาสาระ และศึกษาเนื้อหาสาระนั้นรวมกัน เนื้อหาสาระนั้นอาจมีหลายตอน ซ่ึงผูเรียนอาจตองทําแบบทดสอบในแตละตอน และเกบ็คะแนนของตนไว 2.3 ผูเรียนทุกคนทําแบบทดสอบครั้งสุดทาย ซ่ึงเปนการทดสอบรวบยอดและนําคะแนนของตนไปหาคะแนนพัฒนาการ (improvement score) ซ่ึงหาไดดังนี้ คะแนนพื้นฐาน: ไดจากคาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบยอยหลาย ๆ คร้ังที่ผูเรียนแตละคนทําได คะแนนที่ได: ไดจากการนําคะแนนทดสอบครั้งสุดทายลบคะแนนพื้นฐาน คะแนนพัฒนาการ: ถาคะแนนที่ไดคือ - 11 ขึ้นไป คะแนนพัฒนาการ = 0 -1 ถึง -10 คะแนนพัฒนาการ = 10 +1 ถึง 10 คะแนนพัฒนาการ = 20 +11 ขึ้นไป คะแนนพัฒนาการ = 30 2.4 สมาชิกในกลุมบานของเรา นําคะแนนพัฒนาการของแตละคนในกลุมมารวมกันเปนคะแนนของกลุม กลุมใดไดคะแนนพัฒนาการของกลุมสูงสุด กลุมนั้นไดรางวัล

Page 21: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 18 / 26

3. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ที.เอ.ไอ. (TAI) คําวา “TAT” มาจาก “Team-Assisted Individualization” ซ่ึงมีกระบวนการดังนี้ 3.1 จัดผูเรียนเขากลุมคละความสามารถ (เกง-กลาง-ออน) กลุมละ 4 คน และเรียกกลุมนี้วา กลุมบานของเรา (home group) 3.2 สมาชิกในกลุมบานของเรา ไดรับเนื้อหาสาระและศึกษาเนื้อหาสาระรวมกัน 3.3 สมาชิกในกลุมบานของเรา จับคูกันทําแบบฝกหัด ก. ถาใครทาํแบบฝกหัดได 75% ขึ้นไปใหไปรับการทดสอบรวบยอดครั้งสุดทายได ข. ถายังทําแบบฝกหัดไดไมถึง 75% ใหทําแบบฝกหัดซอมจนกระทั่งทําได แลวจึงไปรับการทดสอบรวบยอดครั้งสุดทาย 3.4 สมาชิกในกลุมบานของเราแตละคน นําคะแนนทดสอบรวบยอดมารวมกันเปนคะแนนกลุม กลุมใดไดคะแนนกลุมสูงสุดกลุมนั้นไดรับรางวัล 4. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ที.จี.ที (TGT) ตัวยอ “TGT” มาจาก “Team Games Tournament” ซ่ึงมีการดําเนินการดังนี้ 4.1 จัดผูเรียนเขากลุมคละความสามารถ (เกง-กลาง-ออน) กลุมละ 4 คน และเรียกกลุมนี้วา กลุมบานของเรา (home group) 4.2 สมาชิกในกลุมบานของเรา ไดรับเนื้อหาสาระและศึกษาเนื้อหาสาระรวมกัน 4.3 สมาชิกในกลุมบานของเรา แยกยายกันเปนตัวแทนกลุมไปแขงขันกับกลุมอื่นโดยจัดกลุมแขงขันตามความสามารถ คือคนเกงในกลุมบานของเราแตละกลุมไปรวมกัน คนออนก็ไปรวมกับคนออนของกลุมอื่น กลุมใหมที่รวมกันนี้เรียกวากลุมแขงขันกําหนดใหมีสมาชิกกลุมละ 4 คน 4.4 สมาชิกในกลุมแขงขัน เร่ิมแขงขันกันดังนี้ ก. แขงขันกันตอบคําถาม 10 คําถาม ข. สมาชิกคนแรกจับคําถามขึ้นมา 1 คําถาม และอานคําถามใหกลุมฟง ค. ใหสมาชิกที่อยูซายมือของผูอานคําถามคนแรกตอบคําถาม กอน ตอไปจึงใหคนถัดไปตอบจนครบ ง. ผูอานคําถาม เปดคําตอบแลวอานเฉลยคําตอบที่ถูกใหกลุมฟง จ. ใหคะแนนคําตอบ ดังนี้ ผูตอบถูกเปนคนแรกได 2 คะแนน ผูตอบถูกคนตอไปได 1 คะแนน ผูตอบผิดได 0 คะแนน

Page 22: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 19 / 26

ฉ. ตอไปสมาชิกกลุมที่สองจับคําถามที่ 2 และเริ่มเลนตามขั้นตอน ข – ค ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่ง คําถามหมด ช. ทุกคนรวมคะแนนของตนเอง ผูไดคะแนนสูงอันดับ 1 ไดโบนัส 10 คะแนน ผูไดคะแนนสูงอันดับ 2 ไดโบนัส 8 คะแนน ผูไดคะแนนสูงอันดับ 3 ไดโบนัส 5 คะแนน

ผูไดคะแนนสูงอันดับ 4 ไดโบนัส 4 คะแนน 4.5 เมื่อแขงขันเสร็จแลว สมาชิกกลุมกลับไปกลุมบานของเรา แลวนําคะแนนที่แตละคนไดรวมเปนคะแนนของกลุม 5. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ แอล.ที (L.T)

“L.T.” มาจากคําวา Learning Together ซ่ึงมีกระบวนการที่งาย ไมซับซอน ดังนี้ 5.1 จัดผูเรียนเขากลุมคละความสามารถ (เกง-กลาง-ออน) กลุมละ 4 คน 5.2 กลุมยอยกลุมละ 4 คน ศึกษาเนื้อหารวมกัน โดยกําหนดใหแตละคนมีบทบาทหนาที่ชวยกลุมในการเรียนรู ตัวอยางเชน สมาชิกคนที่ 1: อานคําสั่ง

สมาชิกคนที่ 2: หาคําตอบ สมาชิกคนที่ 3: หาคําตอบ สมาชิกคนที่ 4: ตรวจคําตอบ

5.3 กลุมสรุปคําตอบรวมกัน และสงคําตอบนั้นเปนผลงานกลุม 5.4 ผลงานกลุมไดคะแนนเทาไร สมาชิกทุกคนในกลุมนั้นจะไดคะแนนนั้นเทากันทุกคน 6. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ จี.ไอ. (G.I) “G.I.” คือ “Group Investigation” รูปแบบนี้เปนรูปแบบที่สงเสริมใหผูเรียนชวยกันไปสืบคนขอมูลมาใชในการเรียนรูรวมกัน โดยดําเนินการเปนขั้นตอนดังนี้ 6.1 จัดผูเรียนเขากลุมคละความสามารถ (เกง-กลาง-ออน) กลุมละ 4 คน 6.2 กลุมยอยศึกษาเนื้อหาสาระรวมกัน โดย ก. แบงเนื้อหาออกเปนหัวขอยอย ๆ แลวแบงกันไปศึกษาหาขอมูลหรือคําตอบ ข. ในการเลือกเนื้อหา ควรใหผูเรียนออน เปนผูเลือกกอน 6.3 สมาชิกแตละคน ไปศึกษาหาขอมูล/คําตอบมาใหกลุม กลุมอภิปรายรวมกัน และสรุปผลการศึกษา

Page 23: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 20 / 26

6.4 กลุมเสนอผลงานของกลุมตอช้ันเรียน 7. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ซี.ไอ.อาร.ซี. (CIRC) รูปแบบ CIRC หรือ “Cooperative Integrated Reading And Composition” เปนรูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมมือที่ใชในการสอนอานและเขียนโดยเฉพาะ รูปแบบนี้ประกอบดวยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมการอานแบบเรียน การสอนการอานเพื่อความเขาใจ และการบูรณาการภาษากับการเรียน โดยมีขั้นตอนในการดาํเนินการดังนี้ (Slavin, 1995: 104-110) 7.1 ครูแบงกลุมนักเรียนตามระดับความสามารถในการอาน นักเรียนในแตละกลุมจับคู 2 คน หรือ 3 คน ทํากิจกรรมการอานแบบเรียนรวมกัน 7.2 ครูจัดทีมใหมโดยใหแตละทีมมีนักเรียนตางระดับความสามารถอยางนอย 2 ระดับ ทีมทํากิจกรรมรวมกัน เชน เขียนรายงาน แตงความ ทําแบบฝกหัดและแบบทดสอบตาง ๆ และมีการใหคะแนนผลงานของแตละทีม ทีมใดไดคะแนน 90% ขึ้นไป จะไดรับประกาศนียบัตรเปน “ซุปเปอรทีม” หากไดรับคะแนนตั้งแต 80-89% ก็จะไดรับรางวัลรองลงมา 7.3 ครูพบกลุมการอานประมาณวันละ 20 นาที แจงวัตถุประสงคในการอาน แนะนําคําศัพทใหม ๆ ทบทวนศัพทเกา ตอจากนั้นครูจะกําหนดและแนะนําเรื่องที่อานแลวใหผูเรียนทํากิจกรรมตาง ๆ ตามที่ครูจัดเตรียมไวให เชน อานเรื่องในใจแลวจับคูอานออกเสียงใหเพื่อนฟง และชวยกันแกจุดบกพรองหรือครูอาจจะใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม วิเคราะหตัวละคร วิเคราะหปญหาหรือทํานายวาเรื่องจะเปนอยางไรตอไปเปนตน 7.4 หลังจากกิจกรรมการอาน ครูนําการอภิปรายเรื่องที่อานโดยครูจะเนนการฝกทักษะตาง ๆ ในการอาน เชน การจับประเด็นปญหา การทํานาย เปนตน 7.5 นักเรียนรับการทดสอบการอานเพื่อความเขาใจ นักเรียนจะไดรับคะแนนเปนทั้งรายบุคคลและทีม 7.6 นักเรียนจะไดรับการสอนและฝกทักษะการอานสัปดาหละ 1 วัน เชน ทักษะการจับใจความสําคัญ ทักษะการอางอิง ทักษะการใชเหตุผล เปนตน 7.7 นักเรียนจะไดรับชุดการเรียนการสอนเขียน ซ่ึงผูเรียนสามารถเลือกหัวขอการเขียนไดตามความสนใจ นักเรียนจะชวยกันวางแผนเขียนเรื่อง และชวยกันตรวจสอบความถูกตอง และในที่สุดตีพิมพผลงานออกมา 7.8 นักเรียนจะไดรับการบานใหเลือกอานหนังสือที่สนใจและเขียนรายงานเรื่องที่อานเปนรายบุคคล โดยใหผูปกครองชวยตรวจสอบพฤติกรรมการอานของนักเรียนที่บาน โดยมีแบบฟอรมให

Page 24: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 21 / 26

8. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบคอมเพล็กซ (Complex Instruction) รูปแบบนี้พัฒนาขึ้นโดย เอลิซาเบธ โคเฮนและคณะ (Elizabeth Cohen) เปนรูปแบบที่คลายคลึงกับรูปแบบ จี.ไอ. เพียงแตจะเนนการสืบเสาะหาความรูเปนกลุมมากกวาการทําเปนรายบุคคล นอกจากนั้นงานที่ใหยังมีลักษณะของการประสานสัมพันธระหวางความรูและทักษะหลายประเภทและเนนการใหความสําคัญแกผูเรียนเปนรายบุคคล โดยการจัดงานใหเหมาะสมกับความสามารถและความถนัดของผูเรียนแตละคน ดังนั้นครูจึงจําเปนตองคนหาความสามารถเฉพาะทางของผูเรียนที่ออน โคเฮน เชื่อวา หากผูเรียนไดรับรูวาตนมีความถนัดในดานใด จะชวยใหผูเรียนมีแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองในดานอื่น ๆ ดวย รูปแบบนี้จะไมมีการใชกลไกของการใหรางวัล เนื่องจากเปนรูปแบบที่ไดออกแบบใหงานที่แตละบุคคลทําสามารถสนองตอบความสนใจของผูเรียนและสามารถจูงใจผูเรียนแตละคนอยูแลว ง. ผลท่ีผูเรียนจะไดรับจากการเรียนตามรูปแบบ ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูเนื้อหาสาระดวยตนเองและดวยความรวมมือและชวยเหลือจากเพื่อน ๆ รวมทั้งไดพัฒนาทักษะกระบวนการตาง ๆ จํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทักษะการทํางานรวมกับผูอ่ืน ทักษะการประสานสัมพันธ ทักษะการคิด ทักษะการแสวงหาความรู ทักษะการแกปญหาเปนตน รูปแบบที่ 5 รูปแบบการเรียนการสอนโดยใชโครงงานหรือโครงการ (Project Work) ก. ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนโดยใชโครงงานหรือโครงการถือเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนแสวงหาประสบการณการเรียนรูที่มีความหมายตอชีวิตประจําวัน และสามารถแสดงออกโดยใชศักยภาพที่มีอยูในตนเองไดอยางกวางขวาง ผูเรียนจะไดรับการกระตุนใหเกิดการเรียนรูดวยการปฏิบัติจริงที่เนนการสื่อสาร และสภาพการณที่แทจริง ดังนั้นการกําหนดงานตามความตองการของผูเรียนจึงเปนเปาหมายหลักที่สําคัญที่สุดโดยผูเรียนสามารถเลือกงานที่ตองการจะกระทําตามแรงจูงใจของตนเองเปนหลัก Stotter (1997) (อางถึงในสมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน, 2544 : 82) ไดจัดรูปแบบของโครงงานหรือโครงการไวดังนี้ 1. โครงงานแบบกําหนดโครงสราง (Structure Project) โดยครูเปนผูกําหนดหัวขอ กิจกรรม วิธีการ และการนําเสนอใหผูเรียนเปนผูปฏิบัติ 2. โครงงานแบบไมกําหนดโครงสราง (Unstructure Project) โดยผูเรียนเปนผูกําหนดหัวขอกิจกรรม วิธีการ และการนําเสนอตามความสนใจของผูเรียน 3. โครงงานแบบกึ่งกําหนดโครงสราง (Semi-Structure Project) โดยผูสอนและผูเรียนรวมกันกําหนดหัวขอกิจกรรม วิธีการ และการนําเสนอ

Page 25: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 22 / 26

ข. วัตถุประสงคของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนนี้มุงชวยใหผูเรียนไดเรียนรูทักษะการสืบคน (Enquiry-based Skills) ซ่ึงทักษะนี้สามารถถายโอนสูการปฏิบัติงานอื่นในชีวิตประจําวัน ค. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนโดยใชโครงงานหรือโครงการมีขั้นตอนการปฏิบัติตามแนวทางของ Ribe & Vidal (1993) (อางถึงในสมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน, 2544 : 84) ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นสรางบรรยากาศในชั้นเรียน (Creating a Good Atmosphere) เปนขั้นเตรียมความพรอมใหสมาชิกในกลุมทํางานมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในการทํางาน เชน การใชกิจกรรมกลุมสัมพันธเขาชวยเพื่อใหผูเรียนคุนเคยและพรอมที่จะปฏิบัติงานรวมกัน ขั้นตอนที่ 2 ขั้นกระตุนใหเกิดความสนใจ (Getting the Class Interested) เปนขั้นของการสรางความสนใจใหเกิดขึ้นแกผูเรียน ในอันที่จะปฏิบัติงานเพื่อใหเกิดการเรียนรูในสิ่งที่ผูเรียนสนใจ ซ่ึงอาจใชการระดมสมอง ใชดนตรี สไลด หรือธรรมชาติเพื่อนําความรูสึกของผูเรียนใหเขามามีสวนรวมในการทํางาน ขั้นตอนที่ 3 ขั้นเลือกหัวขอ (Selecting the Topic) เปนขั้นของการเจรจาและสังเคราะหขอมูลตาง ๆ เพื่อประมวลเปนหัวเร่ืองของโครงงาน ขั้นตอนที่ 4 ขั้นสรางโครงรางของโครงงาน (Creating a General Outline of the Project) เปนขั้นวางแผนและกําหนดขอบเขตของโครงงาน วิเคราะหขั้นตอนการทํางานจัดเตรียมอุปกรณ เปนตน ขั้นตอนที่ 5 ขั้นลงมือปฏิบัติงานตามหัวเร่ือง (Doing Basic Research Around the Topic) เปนขั้นดําเนินการตามโครงรางของโครงงานตามหนาที่รับผิดชอบของสมาชิกในกลุม ขั้นตอนที่ 6 ขั้นรายงานผลการปฏิบัติงานสูช้ันเรียน (Reporting to the Class) เปนขั้นถายโยงความคิดความรูสึกสูช้ันเรียน อาจเปนการรายงานดวยการพูดหรือการเขียน ขั้นตอนที่ 7 ขั้นกระบวนการยอนกลับ (Processing Feedback) เปนขั้นของการยอนกลับ โดยการใหขอมูลแกผูเรียนถึงแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาตอ ง. ผลท่ีผูเรียนจะไดรับจากการเรียนตามรูปแบบ ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูเนื้อหาสาระดวยตนเองตามสิ่งที่ตนเองสนใจในเชิงลึก และดวยความรวมมือและชวยเหลือจากเพื่อน ๆ รวมทั้งไดพัฒนาทักษะกระบวนการตาง ๆ จํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทักษะการจัดการเกี่ยวกับเวลาและการจัดการโครงงาน ทักษะการทํางานรวมกับผูอ่ืน ทักษะการประสานสัมพันธ ทักษะการคิด ทักษะการแสวงหาความรู ทักษะการแกปญหาเชิงสรางสรรค เปนตน

Page 26: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 23 / 26

ประโยชนของจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ สุมิตร คุณานุกร ไดกลาวถึงประโยชนการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการไวดังนี้คือ

1. ชวยใหผูเรียนเกิดการเชื่อมโยงการเรียนรู (Transfer of Learning) กลาวคือ ความรูที่เรียนไปแลวจะถูกนํามาสัมพันธกับความรูที่จะเรียนใหม ๆ ซ่ึงจะทําใหเกิดการเรียนรูไดเร็วข้ึน

2. ชวยจัดเนื้อหาวิชาหรือความรูใหอยูในลักษณะเหมือนชีวิตจริง คือ ผสมผสานและสัมพันธเปนความรูที่อยูใน

ลักษณะหรือรูปแบบที่เอื้อตอการนําไปใชกับชีวิต 3. ชวยใหผูเรียนเขาใจสภาพและปญหาสังคมไดดีกวาการกระทําหรือปรากฎการณตาง ๆ ในสังคมเปนผลรวมจากหลาย ๆ สาเหตุ การที่จะเขาใจปญหาใด และสามารถแกปญหานั้นได ควรพิจารณาปญหาและที่มาของปญหาอยางกวาง ๆ ใชความรูจากหลาย ๆ วิชามาสัมพันธกันเพื่อสรางความเขาใจใหม ๆ ขึ้น 4. ชวยใหการสอนและการใหการศึกษามีคุณคามากขึ้น แทนที่จะเปนขบวนการถายทอดความรูหรือสาระแตเพียงประการเดียว กลับชวยใหสามารถเนนการพัฒนาทักษะที่จําเปน ใหเกิดความคิดรวบยอดที่กระจางถูกตอง และใหสามารถปลูกฝงคานิยมที่ปรารถนาไดอีกดวย ทําใหเกิดการบูรณาการความรู ทําใหวัตถุประสงคในการจัดการศึกษาหรือการสอนเปลี่ยนไป จากเพื่อใหผูเรียนไดรับความรูไปเปนเพื่อใหผูเรียนไดเห็นคุณคาและนําความรูไปใชใหเกิดประโยชน หทัย นอยสมบัติ , คงศักดิ์ ธาตุทอง และอรทัย มูลคํา ไดรวมกันดําเนินการวิจัยเร่ือง ผลการเรียนวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยการสอนแบบการสรางเรื่อง (Storyline Method) ผลการวิจัยพบวา การสอนแบบบูรณาการโดยวิธีการสรางเรื่อง (Storyline Method) เปดโอกาสใหผูเรียนไดคิด คนควาแสดงออกและลงมือปฏิบัติดวยตนเองอยางอิสระ ทําใหผูเรียนมีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น กระตือรือรนในการเรียน มีความรับผิดชอบ ตลอดจนมีความราเริงสนุกสนานในการเรียน นอกจากนั้นยังชวยใหผูเรียนมีทักษะในการวางแผน การคิดวิเคราะหเปรียบเทียบ และสามารถนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม มีทักษะการตัดสินใจ มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานเปนกลุมไดเปนอยางดีและยอมรับความคิดเห็นของผูอ่ืน ตระหนักถึงคุณคาของธรรมชาติ มีพัฒนาการทางสังคม โดยสรุป การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการจะกอใหเกิดคุณคากับผูเรียนดังนี้คือ (1) ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูทั้งเนื้อหาสาระ และมโนทัศนตาง ๆ รวมทั้งไดฝกปฏิบัติทักษะตาง ๆ จนสามารถทําไดดีและประสบความสําเร็จไดในเวลาที่จํากัด (2) ชวยพัฒนาความรู ความเขาใจ และเจตคติของผูเรียนในเรื่องที่เรียน รวมทั้งทักษะกระบวนการตาง ๆ เชน ทักษะการคิด ทักษะการทํางานรวมกับผูอ่ืน ทักษะการแกปญหา ทักษะการสื่อสาร เปนตน (3) ชวยใหผูเรียนไดมีโอกาสใชสมองทุกสวน (Whole Brain) ทั้งซีกซายและขวา ในการสรางความรูความเขาใจใหแกตนเอง (4) ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูเนื้อหาสาระตาง ๆ ดวยตนเองและดวยความรวมมือและความชวยเหลือจากเพื่อน ๆ

................................................................

Page 27: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 24 / 26

บรรณานุกรม กิตติ รัตนราษี. (2543). สภาพการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญในโรงเรียนพณิชยการเชียงใหม.

เชียงใหม : โรงเรียนพณิชยการเชียงใหม. กิตติคุณ สุจริตกุล และคณะ. (2541). การเรียนรูเพื่อการพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย : การฝกฝน กาย วาจา ใจ. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. กิติยวดี บุญซื่อ และคณะ. (2541). การเรียนรูอยางมีความสุข. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการ

ศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. ขวัญหทัย สมัครคุณ. ( ม.ป.ป.). ผลของการเรียนแบบรวมมือท่ีมีตอความสามารถในการอานภาษาไทยเพื่อ ความเขาใจ และความคงทนในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จตุพล ลือชัย. (2545). การนําเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรม แบบบูรณาการเพื่อการศึกษานอกโรงเรียน สายสามัญระดับมัธยมศึกษาตอนตนวธีิเรียนแบบทางไกลในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นิตยา เจริญนิเวศนุกูล. (2541). ผลของการใชวิธีการเรียนแบบรวมมือประเภทการแขงขันระหวางกลุมดวยเกม ท่ีมีการทดสอบยอยตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี และคณะ.(2540). ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะ กรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. ทิศนา แขมมณี. (2546). ศาสตรการสอนเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : ศูนย ตําราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2546). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกท่ีหลากหลาย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตรการสอน : องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ.

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. (2540). “การเรียนรูแบบสรรคสรางความรู” ในทฤษฎีการเรียนรูแบบมีสวน รวม ตนแบบการเรียนรูทางดานหลักทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา แหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. ประวิทย เหลียงกอบกิจ. (2544). ผลการสอนวิชาออกแบบกราฟก 7 ดวยวิธีบูรณาการซอฟตแวรคอมพิวเตอร กราฟกท่ีมีตอผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในสาขาศิลปอุตสาหกรรม คณะคุรุศาสตร อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 28: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 25 / 26

บรรณานุกรม (ตอ) ประยูร ศรีผองใส. (2541). การพัฒนาโปรแกรมสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 โดยใชการเรียนแบบรวมมือดวยเทคนิคกลุมสืบคน. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พัชราภรณ พิมละมาศ. (2544). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาตามแนวคิด 4 MAT ท่ีมีตอความสามารถในการคิดวิเคราะหและการคิด สรางสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 1 โรงเรียนสาธิต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ไพฑูรย สินลารัตน. (2543). ปฏิรูปการศึกษา : แนวคิดและหลักการตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ

พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : วิญูชน. ไพโรจน เบขุนทด. (2544). ผลของการเรียนแบบรวมมือ 3 วิธีท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร และความรวมมือในการทํางานกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ภุชงค โรจนแสงรัตน. (2543). ผลการบูรณาการการสอนโครงงานออกแบบในวิชาออกแบบพาณิชยศิลปโดย

อินเทอรเน็ตท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต วิชาเอกศิลปศึกษา คณะ ครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธํารง บัวศรี. (2531). ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพิมพ. วรภัทร ภูเจริญ. (2543). การบริหารการเรียนรูท่ียึดผูเรียนเปนสําคัญ. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน). วราภรณ ตระกูลสฤษดิ์. (2545). การนําเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บดวยการเรียนรูแบบโครงงาน เพื่อการเรียนรูเปนทีมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วลัย พานิช. (2543). การสอนดวยวิธี Storyline. ใน พิมพันธ เดชะคุปต และคณะ (บรรณาธิการ), ประมวล

บทความนวัตกรรมเพื่อการเรียนรูสําหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา (หนา 23-24). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วัฒนาพร ระงับทุกข. (2541). การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ : เลิฟลิพเพรส. สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน. (2544). การยดึผูเรียนเปนศูนยกลางและการประเมินตามสภาพจริง. เชียงใหม : สํานักพิมพ The Knowledge Center. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2543). ปฏิรูปการเรียนรู ผูเรียนสําคัญท่ีสุด. กรุงเทพฯ : พิมพดี.

Page 29: Developing

ฝายวิชาการ : งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูรายวิชา............................................................................................... หนาที่ 26 / 26

บรรณานุกรม (ตอ) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2001, February 8). ยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรูปการศึกษา.

Available; http://thaiedreform.onec.go.th/office/strateg/strategy.htm. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ี

เนนผูเรียนเปนสําคัญ ระดับอาชีวศึกษา. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. สุมณฑา พรหมบุญ. (2540). “การเรียนรูแบบมีสวนรวม” ในทฤษฎีการเรียนรูแบบมีสวนรวม : ตนแบบ

การเรียนรูทางดานทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สํานกังานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545). 19 วิธีจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาความรูและทักษะ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพภาพพิมพ. สุคนธทิพย ตาสิงห. (2543). A DEVELOPMENT OF A PROGRAM INTERGRATING MATHEMATICS AND SCIENCE USING PROJECT APPROACH FOR PRATHOM SUKSA SIX GIFTED STUDENTS IN MATHEMATICS. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สิริพัชร เจษฎาวิโรจน. (2546). การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : บุค พอยท. ศรียาน เจรญินาน. (2543). การพัฒนาโปรแกรมการสงเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเมืองและ การปกครองไทยดวยการบูรณาการการสอนสังคมศึกษากับการสอนภาษาแบบธรรมชาติสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศุภวรรณ เล็กวิไล. (ม.ป.ป.). การพัฒนารูปแบบการสอนอานอยางมีวิจารณญาณดวยกลวิธีการเรียนภาษา โดยใชหลักการเรียนรูแบบรวมมือ สําหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. หทัย นอยสมบัติ คงศักดิ์ ธาตุทอง และอรทัย มูลคํา. (ม.ป.ป.). การศึกษาผลการเรียนวิชาสราง เสริมประสบการณชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดยการสอนแบบ Storyline Method. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. อังคสุมล เชื้อชัย. (2543). การพัฒนาโปรแกรมสงเสริมความรูเร่ืองเพศศึกษาสําหรับนักเรียนหญิงชั้นประถม ศึกษาปท่ี 6 โดยใชการเรียนแบบรวมมือตอแบบจิ๊กซอว. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.