Develop Accounting for Husbandman Case. Study : Pasaknoy … · 2014. 1. 31. · 2...

44
1 โครงการพัฒนาระบบบัญชีครัวเรือน กรณีศึกษา : การพัฒนาการบันทึกบัญชีครัวเรือนให้แก่เกษตรกร บ้านป่ าสักน้อย .แม่ปูคา อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ ( Develop Accounting for Husbandman Case. Study : Pasaknoy Village A.sankampang,Chaing Mai ) ผู ้จัดทา นางสาวพิทยา ดารงค์ นางสาวธิดารัตน์ เชื้อวรสถิตย์ นางสาวนิภาพร อินชัย สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2554

Transcript of Develop Accounting for Husbandman Case. Study : Pasaknoy … · 2014. 1. 31. · 2...

  • 1

    โครงการพฒันาระบบบัญชีครัวเรือน กรณีศึกษา : การพฒันาการบันทึกบัญชีครัวเรือนให้แก่เกษตรกร

    บ้านป่าสักน้อย ต.แม่ปูคา อ.สันก าแพง จ.เชียงใหม่ ( Develop Accounting for Husbandman Case.

    Study : Pasaknoy Village A.sankampang,Chaing Mai )

    ผู้จดัท า

    นางสาวพทิยา ด ารงค์ นางสาวธิดารัตน์ เช้ือวรสถิตย์ นางสาวนิภาพร อินชัย

    สาขาวชิาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ วทิยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ

    ปีการศึกษา 2554

  • 2

    ช่ือโครงการ : การพฒันาการบนัทึกบญัชีครัวเรือนใหแ้ก่เกษตรกร บา้นป่าสกันอ้ย ต.แม่ปูคา อ.สนัก าแพง จ.เชียงใหม่ ( Develop Accounting for Husbandman Case. Study : Pasaknoy Village A.sankampang,Chaing Mai ) ผู้เสนอโครงการ : นางสาวพิทยา ด ารงค ์ นางสาวธิดารัตน ์ เช้ือวรสถิตย ์ นางสาวนิภาพร อินชยั สาขาวชิา : การบญัชี คณะบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา : 2554

    บทคดัย่อ

    เศรษฐกิจพอเพียงและแนวปฏิบติัของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางการพฒันาท่ีน าไป สู่ความสามารถใน

    การพ่ึงตนเองในระดบัต่าง ๆ อยา่งเป็นขั้นตอน ลดความเส่ียงเก่ียวกบัความผนัแปรของธรรมชาติ อาศยัความพอประมาณและความมีเหตุผล สร้างภูมิคุม้กนัท่ีดี มีความรู้ ความเพียรและความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือซ่ึงกันและกนั และความสามคัคี “เศรษฐกิจพอเพียง”มีความหมายกวา้งกว่าทฤษฎีใหม่ โดยท่ีเศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดท่ีช้ีบอกหลกัการ และแนวทางปฏิบติัของทฤษฎีใหม่ ในขณะท่ีแนวพระราชด าริเก่ียวกบัทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางการพฒันาภาคเกษตรอย่างเป็นขั้นตอน โดยทางกลุ่มได้เห็นความส าคญัของอาชีพส าคัญตามแนวพระราชด าริไวคื้อ “อาชีพเกษตรกร” และได้ยกตวัอยา่งกรณีศึกษาของ “อาชีพชาวนา” ในประเทศไทยนับว่า ชาวนา เป็นกลุ่มใหญ่ท่ีสุด เพราะขา้วเป็นอาหารหลกัของคนไทย และอาชีพท านาเป็นอาชีพท่ีดั้งเดิมของคนไทยท่ีสืบทอดมายงัอนุชนรุ่นหลงั การท านาจะเร่ิมท าตั้งแต่เชา้จรดค ่าทั้งปี เพราะหลงัจากฤดูการเก็บเก่ียวประจ าปีแลว้ พวกเขาก็เร่ิมปลูกขา้วนาปรังหรือพืชเศรษฐกิจอ่ืนๆ เพราะฉะนั้นจะเห็นไดว้่า “การท าอาชีพชาวนานั้น” จะตอ้งทราบค่าใชจ่้ายในการลงทุนเพื่อท่ีจะไดท้ราบรายไดใ้นแต่ละเอียดไดม้ากหรือนอ้ยเพียงใด เพราะชาวนาประเทศไทยในปัจจุบนัมีการศึกษาน้อยจึงไม่มีความรู้ในด้านการท าบญัชีรายรับรายจ่ายในทางท่ีถูกตอ้ง ดงันั้นทางกลุ่มจึงจัดท าโครงการจดัท าบญัชีครัวเรือน นั้นหมายถึงการท าบญัชีเป็นกิจกรรมเรียนรู้อยา่งหน่ึงจึงเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ การฝึกตน เพื่อใหเ้กิดการปฏิบติัพฒันาความรู้ ความคิด และการปฏิบติั การจดัท าบญัชีครัวเรือน คือการจดบนัทึก ขอ้มลูเก่ียวกบัเง่ือนไขปัจจยัในการด ารงชีวิต ของตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ ขอ้มูลท่ีได้รับจากการบันทึกจะเป็นการบ่งช้ีอดีตปัจจุบันและอนาคตของชีวิต สามารถน าข้อมูลอดีตมาบอกปัจจุบนัและอนาคตได ้ขอ้มลูท่ีบนัทึกไวจ้ะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนชีวิตและกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น ในการจัดท าบญัชีข้ึนน้ีเพ่ือท่ีจะได้ให้ความรู้ชาวนาเก่ียวกบัการท าบญัชีครัวเรือนเบ้ืองตน้ และเพ่ือพฒันา

  • 3

    ชาวนา และเพื่อพฒันาชาวนาไดน้ าความรู้ท่ีไดรั้บ น าไปประยกุต์ใชใ้นการท าบญัชีรายรับรายจ่าย จะส่งผลใหไ้ดรั้บรู้รายไดแ้ละค่าใชจ่้ายอยา่งถกูตอ้งและละเอียด

    โรงเรียนพายพัเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ จึงไดเ้ล็งเห็นคุณค่าของนักศึกษาจากการท่ีไดเ้รียนรู้และศึกษาตามรายวิชาท่ีนักศึกษาได้เลือกเรียน คือวิชาชีพบัญชี ดังนั้นทางโรงเรียนพายพัเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจจึงได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติอย่างแท้จริง โดยผ่านการเรี ยนรู้ในรายวิชาโครงการ (Project) เพื่อให้สอดคลอ้งกับค าขวญัของโรงเรียนคือ”คิดเป็น เน้นปฏิบัติ จัดการได้” เพื่อช่วยเหลือชาวบา้นในการท าพฒันากบับญัชีครัวเรือนเพื่อให้ชาวบา้นไดบ้นัทึกบญัชีเป็น และให้นักศึกษาสามารถน าความรู้ท่ีมีนั้นมาบูรณาการเขา้กบัการท างานร่วมกับชุมชนโดยการท าบญัชีรายรับ – รายจ่าย เพื่อใหน้กัศึกษาเกิดการพฒันาตนเองอยา่งเป็นระบบ และน าไปประยกุตใ์ชใ้นวิชาโครงการของนกัศึกษา

    ดงันั้น คณะผูจ้ดัท าจึงไดเ้ห็นความส าคญัในส่วนน้ีจึงเกิดเป็นโครงการ(Project) เพื่อพฒันาการท าบญัชี รายรับ – รายจ่าย ใหแ้ก่เกษตรกร กรณีศึกษา บา้นสนัป่าสกันอ้ย ต. แม่ปูคา อ.สันก าแพง จ.เชียงใหม่ โดยน าความรู้ทางดา้นบญัชีท่ีคณะผูจ้ดัท าไดเ้รียนรู้และศึกษา เขา้ไปช่วยในเร่ือง รายรับ-รายจ่าย ซ่ึงเป็นผลดีต่อเกษตรกรในการด าเนินกิจการต่อไป

    วตัถุประสงค์ของโครงการ

    1.เพื่อพฒันาศกัยภาพของนกัศึกษาและนกัศึกษารู้จกับูรณาการวิชาชีพบญัชีสู่ชุมชน 2.เพ่ือใหชุ้มชนมีความรู้พ้ืนฐานในการจดัท าบญัชีรายรับรายจ่ายเบ้ืองตน้ 3.เพื่อมุ่งเนน้ใหเ้กษตรกรรับรู้ก าไรท่ีแทจ้ริง 4.แนะน าพร้อมน าเสนอการจดัเก็บเอกสารอยา่งเป็นระบบ

  • 4

    กติตกิรรมประกาศ

    โครงการพฒันาการบนัทึกบญัชีครัวเรือนใหแ้ก่เกษตรกร บา้นป่าสกันอ้ย ต.แม่ปูคา อ.สันก าแพง จ.เชียงใหม ่ไดรั้บการสนันสนุนจากวิทยาลยัเทคโนโลยีพายพัและบริหารธุรกิจ ในการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยผ่านการเรียนรู้ในวิชา โครงการ ( Project ) เพื่อตรงตามเป้าหมายท่ีโรงเรียนไดต้ั้งไว ้“ คิดเป็น เนน้ปฏิบติั จดัการได ้ ” และน าความรู้ท่ีไดเ้รียนมาบูรณาการ เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่ชุมชน ซ่ึงจะเป็นการจุดประกายใหน้กัศึกษาไดเ้ห็นและสามารถสร้างองคค์วามรู้ใหม่ ๆ ได้อยูต่ลอดเวลา อนัจะส่งผลใหน้กัศึกษาสามารถน าไปประยกุตใ์ชใ้นการเรียนและการประกอบอาชีพไดอ้ย่างเป็นจริง และมีประสิทธิภาพอีกดว้ย

    คณะผูจ้ดัท าขอกราบขอบคุณ อาจารยเ์บญจวรรณ เหล่ียมจินดา อาจารยษ์รัญชนก ประดบั ท่ีใหค้ าแนะน า ขอ้เสนอแนะ พร้อมทั้งช่วยตรวจสอบ ปรับปรุงและแกไ้ข โครงการพฒันาการบนัทึกบญัชีครัวเรือนใหแ้ก่เกษตรกร บา้นป่าสกันอ้ย ต.แม่ปูคา อ.สนัก าแพง จ.เชียงใหม ่อยา่งดีมาโดยตลอด จนกระทัง่โครงการพฒันาการบนัทึกบญัชีครัวเรือนใหแ้ก่เกษตรกร บา้นป่าสักน้อย ต.แม่ปูคา อ.สันก าแพง จ.เชียงใหม่ประสบความส าเร็จและเรียบร้อยสมบรูณ์ตามวตัถุประสงคท่ี์ตั้งไว ้

    คณะผูจ้ดัท าไดรั้บความช่วยเหลือและความอนุเคราะห์จากเกษตรกร บา้นป่าสกันอ้ย ต.แม่ปูคา อ.สนัก าแพง จ.เชียงใหม่ท่ีใหก้ารสนบัสนุนโครงการพฒันาการบนัทึกบญัชีครัวเรือนให้แก่เกษตรกร บา้นป่าสกันอ้ย ต.แม่ปูคา อ.สนัก าแพง จ.เชียงใหม่

    คณะผูจ้ดัท าขอขอบคุณผูท่ี้ใหค้วามอนุเคราะห์และบุคคลท่ีใหก้ารช่วยเหลือทุกท่าน คณะผูจ้ดัท า

  • 5

    สารบัญ

    หน้าบทคดัยอ่ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค

    บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา 1-3

    วตัถุประสงคข์องโครงการ 4 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดรั้บ 4 ขอบเขตของโครงการ 4 ค านิยามศพัท ์ 5-6 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฏแีละงานที่เกีย่วข้อง ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง 7-13 งานท่ีเก่ียวขอ้ง 14-15

    บทที่ 3 วธีิการด าเนินงานโครงการ รูปแบบการศกึษา 16 ประชากร 16 การเก็บรวบรวมขอ้มลู 16 การวิเคราะห์ขอ้มลู 17 บทที่ 4 การวเิคราะห์ข้อมูล สญัลกัษณ์ท่ีใชใ้นการวิเคราะห์ขอ้มลู 18 การแปลความหมายค่าคะแนน 18

    การเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้มลู 19 ผลการสมัภาษณ์กรณีศึกษา 19-23 บทที่ 5 สรุปผลการด าเนินงานและข้อเสนอแนะ สรุปผล 24 อภิปรายผล 24-25 ขอ้เสนอแนะ 2บรรณานุกรม ภาคผนวก 27-36 ประวติัผูจ้ดัท าโครงการ 37-39

  • 6

    บทที ่1

    บทน า

    ประเทศไทยเรานั้น เป็นประเทศท่ีอุดมสมบูรณ์ดว้ยทรัพยากรธรรมชาติ คือ มี ทะเล มีภูเขา มีป่า มีพืช มีสตัวน์านาชนิด เราพดูรวมๆว่า ในน ้ ามีปลา ในนามีขา้ว โดยเฉพาะภาคใตข้องเรามีครบทุกอยา่ง เราจึงไม่เดือดร้อนในการแสวงหาปัจจยั 4 มาบ ารุงชีวิตของเราเลยอยากกินปลาก็หากินได ้ ใกล้ๆ บา้น อยากกินผกักินพืชก็มีใหกิ้น เจ็บป่วยเราก็มียาสมุนไพร ยามไขใ้จเราก็ม ีพระคอยช่วยเหลือ คอยใหท้ั้งสติและปัญญา สอนใหเ้รามีศีลมีธรรม ไม่เป็นคนประมาทขาดสติ แต่มาบดัน้ี วนัน้ี ส่ิงท่ีว่าขา้งตน้นั้นไดสู้ญหายไป เกือบจะหมดส้ิน จะเหลือก็เฉพาะความทรงจ าของคนสูงอาย ุ อนุชนคนรุ่นหลงัของเราไม่มีโอกาสไดส้มัผสับรรยากาศดงักล่าวอีกต่อไป เราถกูสอนใหเ้ขา้ใจว่าน้ีคือความเจริญ คือ มีถนนหนทาง เต็มไปหมด มีรถวิ่งจนคนไม่มีท่ีเดิน มีร้านขายของ 24 ชัว่โมง มีอะไรต่ออะไรเต็มไปหมด แต่ท่ีเราขาด คือ ความอยูดี่มีสุข เราตอ้งอยูร้่อน นอนทุกขก์บัเร่ืองต่าง ๆ มากมาย ทั้งหมดน้ีเราไดข้อ้สรุปแลว้ว่า เพราะเราเสียรู้ลทัธิทุนนิยม ซ่ึงเป็นระบบคิด ระบบรู้ ระบบท าของฝร่ังท่ีเราคิดว่าเขาเจริญกว่าเรา เราจึงเช่ือเขาเกือบทุกอยา่ง เห็นเขาท าอะไรก็คิดว่าดีหมด เช่นฝร่ังนอนแกผ้า้ นุ่งนอ้ยห่มนอ้ย เราก็คิดว่าดี ฝร่ังแนะใหท้ าโน่นท าน้ี เราก็ท าตามฝร่ังแนะใหเ้รา ขายดิน ขายน ้ า ถางป่า ขุดภูเขา เราก็ท า เพ่ือใหไ้ดส่ิ้งท่ีเรียกว่า เงิน ก็เป็นอนัพอ...แต่ในท่ีสุดทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทก็ถกูดูด เขา้ทอ้งฝร่ังเกือบหมด แมแ้ต่ลกูหลานของเราก็ไปเป็นคนรับใชพ้วกเขา เด็กสมองดีทั้งหลายถกูดูดเขา้เมือง เขา้กรุงเทพ และเลยไปเมืองนอก ไปท างานอยูก่บัฝร่ัง กลบับา้นไม่ถกู ผลคือ ชุมชนเราขาดคนดูแล คนท่ีอยูใ่นชุมชนก็อ่อนแอช่วยตนเอง ช่วยกนัเองไดย้าก หรือไม่ได ้ จึงเกิดปัญหาสารพดัตามมา ดว้ยสายพระเนตรอนัยาวไกล พระบาทสมเด็จพระเจา้อยูห่วั ทรงเห็นภยัคุกคามท่ีว่าน้ี จึงไดท้รงคิดคน้หาวิธีการแกไ้ข และในท่ีสุดก็ทรงคน้พบและบอกใหป้ระชาชนคนไทยไดเ้รียนรู้และปฏิบติัตาม เพื่อกูแ้ละแกไ้ขปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ในสงัคมของเราขอ้คน้พบท่ีว่านั้น เมื่อน ามาสรุปรวมแลว้ เรียกว่า "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" คือ วิธีรู้ วิธีคิด และวิธีปฏิบติัเพื่อพฒันาตนของทุกคน ทุกอาชีพ ทุกชุมชน เพื่อความอยูดี่มีสุขร่วมกนัของทุกคน เรียกคืนความดีงามท่ีเราเคยมีอยูก่ลบัมาและคน้หาทางเดินท่ีถกูตอ้งกนัใหม่ โดยการศึกษาใหมี้ความรู้จริงในส่ิงท่ีมี ส่ิงท่ีท า ใหม้ีคุณธรรม คือ ความขยนั อดทน ซ่ือสตัย ์สุจริต มีความรู้ ความคิด และการกระท าท่ีพอประมาน พอดี มีเหตุมีผล มีการระวงัตน ไม่ประมาท รู้จกัระวงัภยัในชีวิต การรู้ การคิด และการกระท าลกัษณะน้ีแหละเรียกว่า การปฏิบติัตามปรัชญาความคิดเศรษฐกิจพอเพียง

  • 7

    หลกัปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง ที่ผู้ รู้ทั้งหลายน ามาพูดมาสอนกนัขณะนีม้โีดยสรุปดังนี ้

    1. ใหทุ้กคน ทุกชุมชนด าเนินชีวิตไปในทางสายกลาง ซ่ึงเป็นแนวทางท่ีปราชญท์ั้งปลาย เขาสอนกนัมานาน เช่น พระพุทธเจา้ก็สอนเร่ืองน้ีท่ีเรียกว่า มชัฌิมาปฏิปทาหรือ มชัเฌนธรรม คือ มรรคมีองค ์8 มีสมัมาทิฐิ คือ ความเห็นถกูเห็นชอบ เป็นตน้

    2. หลกัการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ พอดี ความมีเหตุผล ความมีภูมคุิม้กนั ผลกระทบทั้งจากภายนอกและภายใน

    3. เป้าประสงค ์คือ ใหเ้กิดความสมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอยา่งรวดเร็วและกวา้งขวาง ทั้งดา้นวตัถุ สงัคม ส่ิงแวดลอ้ม และวฒันธรรมจากภายนอกไดเ้ป็นอยา่งดี

    4. เง่ือนไข โดย

    1) จะตอ้งเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้หนา้ท่ีของรัฐ นกัทฤษฎีและนกัธุรกิจใหม้ีส านึกในคุณธรรมความซ่ือสตัยสุ์จริต และใหม้ีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม

    2) ด าเนินชีวิตดว้ยความอดทนมคีวามเพียร มีสติ และความรอบคอบ

    3) จะตอ้งอาศยัความรู้ ความรอบคอบ และความระมดัระวงัอยา่งยิง่ในการน าวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และด าเนินการทุกขั้นตอน

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา

    การจดัท าบญัชีครัวเรือน หรือ บญัชีรายรับรายจ่ายน้ี ไม่ใช่เป็นแต่เพียงการจดบนัทึกรายการต่างๆ ท่ีเป็นเงินเท่านั้นแต่ยงัเป็นการสร้างความสามคัคีภายในครอบครัวรู้จกัช่วยเหลือแบ่งปันกนัในสงัคม มีการเรียนรู้ซ่ึงกนัและกนั ซ่ึงเกิดจากประสบการณ์ต่างๆ ท่ีไดรั้บจากการจดบนัทึกขอ้มลูท่ีเป็นประโยชน์ ท าให้ประชาชนทุกคนรู้จกัการบริหารจดัการดา้นการเงินและการวางแผนการท างานทุกอยา่งเพื่อใหบ้รรลุเป้าหมายได ้ การท าบญัชีครัวเรือนท าใหค้รอบครัวมคีวามสุขใชชี้วิตโดยยดึหลกัความพอเพียง มีเหตุมีผล รู้จกัพึ่งพาตนเอง มีความพอประมาณ การเงินมีสภาพคล่อง รู้จกัการเก็บออม ทุกคนรู้ถึงแหล่งท่ีมาของรายรับและการใชไ้ปของค่าใชจ่้ายในแต่ละวนัสามารถน าขอ้มลูการใชจ่้ายมาวางแผนบริหารการเงินในอนาคตได ้

    เศรษฐกิจพอเพียงและแนวปฏิบติัของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางการพฒันาท่ีน าไปสู่ความสามารถในการพ่ึงตนเองในระดบัต่าง ๆ อยา่งเป็นขั้นตอน ลดความเส่ียงเก่ียวกบัความผนัแปรของธรรมชาติ อาศยัความพอประมาณและความมีเหตุผล สร้างภูมคุิม้กนัท่ีดี มคีวามรู้ ความเพียรและความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือซ่ึงกนัและกนั และความสามคัคี “เศรษฐกิจพอเพียง”มีความหมายกวา้งกว่าทฤษฎีใหม่ โดยท่ีเศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดท่ีช้ีบอกหลกัการ และแนวทางปฏิบติัของทฤษฎีใหม่ ในขณะท่ีแนวพระราชด าริเก่ียวกบัทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางการพฒันาภาคเกษตรอยา่งเป็นขั้นตอน

  • 8

    โดยทางกลุ่มไดเ้ห็นความส าคญัของอาชีพส าคญัตามแนวพระราชด าริไวคื้อ “อาชีพเกษตรกร” และได้ยกตวัอยา่งกรณีศึกษาของ “อาชีพชาวนา” ในประเทศไทยนบัว่า ชาวนา เป็นกลุ่มใหญ่ท่ีสุด เพราะขา้วเป็นอาหารหลกัของคนไทย และอาชีพท านาเป็นอาชีพท่ีดั้งเดิมของคนไทยท่ีสืบทอดมายงัอนุชนรุ่นหลงั การท านาจะเร่ิมท าตั้งแต่เชา้จรดค ่าทั้งปี เพราะหลงัจากฤดกูารเกบ็เก่ียวประจ าปีแลว้ พวกเขาก็เร่ิมปลกูขา้วนาปรังหรือพืชเศรษฐกิจอ่ืนๆ เพราะฉะนั้นจะเห็นไดว้่า “การท าอาชีพชาวนานั้น” จะตอ้งทราบค่าใชจ่้ายในการลงทุนเพื่อท่ีจะไดท้ราบรายไดใ้นแต่ละเอียดไดม้ากหรือนอ้ยเพียงใด เพราะชาวนาประเทศไทยในปัจจุบนัมีการศึกษานอ้ยจึงไม่มีความรู้ในดา้นการท าบญัชีรายรับรายจ่ายในทางท่ีถกูตอ้ง ดงันั้นทางกลุ่มจึงจดัท าโครงการจดัท าบญัชีครัวเรือน นั้นหมายถึงการท าบญัชีเป็นกิจกรรมเรียนรู้อยา่งหน่ึงจึงเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ การฝึกตน เพื่อใหเ้กิดการปฏิบติัพฒันาความรู้ ความคิด และการปฏิบติั การจดัท าบญัชีครัวเรือน คือการจดบนัทึก ขอ้มลูเก่ียวกบัเง่ือนไขปัจจยัในการด ารงชีวิต ของตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ ขอ้มลูท่ีไดรั้บจากการบนัทึกจะเป็นการบ่งช้ีอดีตปัจจุบนัและอนาคตของชีวติ สามารถน าขอ้มลูอดีตมาบอกปัจจุบนัและอนาคตได ้ขอ้มลูท่ีบนัทึกไวจ้ะเป็นประโยชนต่์อการวางแผนชีวิตและกิจกรรมต่างๆ เป็นตน้ ในการจดัท าบญัชีข้ึนน้ีเพ่ือท่ีจะไดใ้หค้วามรู้ชาวนาเก่ียวกบัการท าบญัชีครัวเรือนเบ้ืองตน้ และเพ่ือพฒันาชาวนา และเพื่อพฒันาชาวนาไดน้ าความรู้ท่ีไดรั้บ น าไปประยกุตใ์ชใ้นการท าบัญชีรายรับรายจ่าย จะส่งผลใหไ้ดรั้บรู้รายไดแ้ละค่าใชจ่้ายอยา่งถกูตอ้งและละเอียด

    โรงเรียนพายพัเทคโนโลยแีละบริหารธุรกิจ จึงไดเ้ลง็เห็นคุณค่าของนกัศึกษาจากการท่ีไดเ้รียนรู้และศึกษาตามรายวิชาท่ีนักศึกษาได้เลือกเรียน คือวิชาชีพบัญชี ดังนั้นทางโรงเรียนพายพัเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจจึงได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติอย่างแท้จริง โดยผ่านการเรียนรู้ในรายวิชาโครงการ (Project) เพื่อให้สอดคลอ้งกับค าขวญัของโรงเรียนคือ”คิดเป็น เน้นปฏิบัติ จัดการได้” เพื่อช่วยเหลือชาวบา้นในการท าพฒันากบับญัชีครัวเรือนเพื่อให้ชาวบา้นได้บนัทึกบญัชีเป็น และให้นักศึกษาสามารถน าความรู้ท่ีมีนั้นมาบูรณาการเขา้กบัการท างานร่วมกับชุมชนโดยการท าบญัชีรายรับ – รายจ่าย เพื่อใหน้กัศึกษาเกิดการพฒันาตนเองอยา่งเป็นระบบ และน าไปประยกุตใ์ชใ้นวิชาโครงการของนกัศึกษา ดงันั้น คณะผูจ้ดัท าจึงไดเ้ห็นความส าคญัในส่วนน้ีจึงเกิดเป็นโครงการ(Project) เพื่อพฒันาการท าบญัชี รายรับ – รายจ่าย ให้แก่เกษตรกร กรณีศึกษา บา้นสันป่าสักน้อย ต. แม่ปูคา อ.สันก าแพง จ.เชียงใหม่ โดยน าความรู้ทางดา้นบญัชีท่ีคณะผูจ้ดัท าไดเ้รียนรู้และศึกษา เขา้ไปช่วยในเร่ืองรายรับ-รายจ่าย ซ่ึงเป็นผลดีต่อเกษตรกรในการด าเนินกิจการต่อไป

  • 9

    วตัถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อพฒันาศกัยภาพของนกัศึกษาและนกัศึกษารู้จกับรณาการวิชาชีพบญัชีสู่ชุมชน 2. เพ่ือใหชุ้มชนมีความรู้พ้ืนฐานในการจดัท าบญัชีรายรับรายจ่ายเบ้ืองตน้ 3. เพื่อมุ่งเนน้ใหเ้กษตรกรรับรู้ก าไรท่ีแทจ้ริง

    4. แนะน าพร้อมน าเสนอการจดัเก็บเอกสารอยา่งเป็นระบบ

    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.นกัศึกษาไดรั้บประสบการณ์และไดพ้ฒันาศกัยภาพในการท างานร่วมกบัชุมชน 2. ชุมชนมีความรู้ความเขา้ใจในการท าบญัชีรายรับรายจ่ายเบ้ืองตน้ 3. ชุมชนสามารถด าเนินงานทางดา้นการท าบญัชีไดอ้ยา่งเป็นระบบ

    ขอบเขตของการพฒันา 1.ขอบเขตเนือ้หา

    การจัดท าและพัฒนาบัญชีครัวเรือนให้ เกษตรกร บ้านป่าสักน้อย ต .แม่ปูคา อ.สันก าแพง จ.เชียงใหม่ใหท้ราบการท าบญัชี รายรับ-รายจ่าย ของครอบครัวและตระหนกัถึงประโยชนท่ี์ไดรั้บจากการท าบญัชีครัวเรือน 2.ขอบเขตด้านประชากร

    หมู่บา้นป่าสกันอ้ย อ.สนัก าแพง จ.เชียงใหม่ จ านวน 15 หลงัคาเรือน

    3.ขอบเขตเวลาการวจิยั

    โครงการน้ีเร่ิมปฏิบติังาน เม่ือวนัท่ี 6 มิถุนายน 2554 ส้ินสุดการปฏิบติังานเมื่อวนัท่ี 28 กุมภาพนัธ ์

  • 10

    ค านิยามศัพท์

    การพฒันาการบันทึกบัญชีครัวเรือนให้แก่เกษตรกร บ้านป่าสักน้อย ต .แม่ปูคา อ.สันก าแพง จ.เชียงใหม่ค านิยาม ศพัทท่ี์ใชใ้นการศึกษาดงัน้ี

    การท าบญัชีครัวเรือน คือการท าบญัชีเป็นกิจกรรมเรียนรู้อยา่งหน่ึง การท าบญัชี จึงเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ การศึกษา การฝึกตน เพื่อใหเ้กิดการปฏิบติัพฒันาความรู้ ความคิด และการปฏิบติัท่ีถกูตอ้ง ก่อความเจริญทั้งในดา้นอาชีพหรือเศรษฐกิจ สงัคม และวฒันธรรม เป็นตน้ไดบ้ญัชีครัวเรือน มิได้หมายถึง การท าบญัชีหรือบนัทึกรายรับรายจ่ายประจ าวนัเท่านั้น แต่อาจหมายถึงการบนัทึกขอ้มลูดา้นอ่ืน ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เป็นตน้ ของเราไดด้ว้ย เช่น บญัชีทรัพยสิ์น พนัธุพ์ืช พนัธุไ์ม ้ในบา้นเราในชุมชนเรา บญัชีความรู้ความคิดของเรา บญัชีผูท้รงคุณ ผูรู้้ในชุมชนเรา บญัชีเด็กและเยาชนของเรา บญัชีภูมิปัญญาดา้นต่าง ๆ ของเรา เป็นตน้ หมายความว่า ส่ิงหรือเร่ืองราวต่าง ๆ ในชีวิตของเรา เราจดบนัทึกไดทุ้กเร่ือง ท่านลองคิดดูทีว่า ถา้เราท าได ้ ผลดีจะเกิดข้ึนกบัตวัเรา ครอบครัวเรา ชุมชนเรา ประเทศเราไดม้ากแค่ไหน ตวัเรา ครอบครัวเรา ชุมชนเราประเทศเรา ก็จะเป็นคนเรียนรู้ ครอบครัวเรียนรู้ ชุมชนเรียนรู้ และประเทศเรียนรู้ การเรียนรู้เป็นท่ีมาของปัญญา ปัญญาเป็นท่ีมาของความเจริญทั้งกาย สงัคม ใจ และจิตวิญญาณของมนุษยจ์ะเห็นว่า การท าบญัชี หรือการจดบนัทึกน้ีส าคญัยิง่ใหญ่ขนาดไหน บุคคลส าคญั? เช่น ท่านพุทธทาส ในหลวง สมเด็จพระเทพ เป็นตน้ ลว้นเป็นนกับนัทึกทั้งส้ิน การบนัทึก คือ การเขียน เมื่อมีการเขียนก็มกีารคิด เมื่อมีการคิดกก่็อปัญญา เมื่อเกิดปัญญา เราก็มองเห็นเหตุเห็นผล เมื่อเห็นเหตุเห็นผล เราก็จะคิดจะท าใหถ้กูตามเหตุตามผล เมื่อท า พดู คิด ไดถ้กูเหตุถกูผล นัน่คือ ทางเจริญของเรา การท าบญัชีครัวเรือนในดา้นเศรษฐกิจ หรือการบนัทึกรายรับรายจ่ายท่ีทางราชการพยายามส่งเสริมใหเ้ราไดท้ ากนั นัน่ เป็นเร่ืองการบนัทึกรายรับรายจ่ายประจ าวนัประจ าเดือนว่า เรามีรายรับจากอะไรบา้ง จ านวนเท่าใด มีรายจ่ายอะไรบา้ง จ านวนเท่าใด ในแต่ละวนั สปัดาห์ เดือน และ ปี เพื่อจะไดเ้ห็นภาพรวมวา่ เรารับเท่าใด จ่ายเท่าใด เหลือเท่าใด หรือเกิน คือ จ่ายเกินรับเท่าใด รายการใดจ่ายนอ้ยจ่ายมาก จ าเป็นนอ้ยจ าเป็นมาก จ าเป็นนอ้ย อาจลดลง จ่ายเฉพาะท่ีจ าเป็นมาก เช่น ซ้ือกบัขา้ว ซ้ือยา ซ้ือเส้ือผา้ ซ่อมแซมบา้น การศกึษา เป็นตน้ เท่าใด ซ้ือบุหร่ี ซ้ือเหลา้ เขา้บาร์ บา้หวย เป็นตน้ จ านวนเท่าใด เมื่อน ามาบวกลบคุณหารกนัแลว้ขาดดุลเกินดุลไปเท่าใด เมื่อเห็นตวัเลข เราก็อาจคิดไดว้่าไอส่ิ้งไม่จ าเป็นนั้นมนัก็จ่ายเยอะ ลดมนัไดไ้หม เลิกมนัไดไ้หม ถา้ไม่ลดไม่เลิกมนัจะเกิดอะไร กบัเรากบัครอบครัวเรา กบัประเทศเรา ถา้คิดได ้ก็เท่ากบัว่า รู้จกัความเป็นคนไดพ้ฒันาตนเอง ใหเ้ป็นคนมีเหตุมีผล เป็นคนรู้จกัพอประมาณ เป็นคนรักตนเอง รักครอบครัว รักชุมชน และรักประเทศชาติมากข้ึน จึงเห็นไดว้่า การท าบญัชีครัวเรือน ในเร่ืองรายรับรายจ่ายกดี็ เร่ืองอ่ืน ๆ ก็ดี ก็คือวิถีแห่งการเรียนรู้เพื่อพฒันาชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นัน่เอง

    การท าบัญชี คือ การจดบนัทึก ขอ้มูลเก่ียวกบัเง่ือนไขปัจจยัในการด ารงชีวิตของตวัเอง และภายในครอบครัว ชุมชน รวมถึงประเทศ ขอ้มูลท่ีไดจ้ากการบนัทึกจะเป็นตวับ่งช้ีอดีตปัจจุบนัและ

  • 11

    อนาคตของชีวิตของตวัเอง สามารถน าขอ้มูลอดีตมาบอกปัจจุบนัและอนาคตได้ ขอ้มูลท่ีไดบ้นัทึกไว ้จะเป็นประโยชน์ตอ่การวางแผนชีวิตและกิจกรรมตา่ง ๆ ในชีวิต ในครอบครัว ในประเทศได ้

    การออม คือ การใชส่ิ้งมีค่ามีคุณทั้งหลายอย่างระมดัระวงั อย่างไม่ประมาท อย่างมีเหตุมีผล ทั้งในตนและนอกตน คือ ตนเอง ชีวิตของตนเองซ่ึง แต่ละคนจะตอ้งถือว่า มีความหมายสูงสุด ส าคญัสูงสุด จึงตอ้งรู้จกัตระหนกัถึงคุณค่าของชีวิต ไม่ปล่อยปละละเลยให ้ตกต ่าให้ไร้ค่า พยายามรักษาและพฒันาให้เจริญให้ได ้ในขณะเดียวกนั ทรัพยสิ์นเงินทอง ขา้วของต่าง ๆ ท่ีเป็นปัจจยัในการด ารงชีพ ก็ตอ้งให้ความส าคญั ตอ้งรู้จกัเก็บรู้จกัใช ้ไม่ปล่อยปละละเลย ไม่ต าน ้ าพริกละลายแม่น ้ า ไม่โค่นป่าเพื่อหานก เป็นตน้

    กลุ่มเกษตรกร หมายถึง กลุ่มบุคคลท่ีประกอบอาชีพเกษตรกร ในหมู่บา้น บา้นป่าสกันอ้ย ต.แม่ปูคา อ.สนัก าแพง จ.เชียงใหม่ เกษตรกรรม หมายถึง การเพาะปลกูการเกบ็เก่ียวของพืช และการเล้ียงสตัว ์

    รายรับ หมายถึง รายรับท่ีไดจ้ากการขายผลผลิต, รายไดท่ี้ไดจ้ากการจา้ง เป็นตน้ รายจ่าย หมายถึง การช าระหน้ีเงินกู,้ จ่ายเงินซ้ือค่าปุ๋ย, จ่ายเงินค่าอาหาร, จ่ายเงินให้ลูกไปโรงเรียน

    เป็นตน้

  • 12

    บทที่ 2

    แนวคดิ ทฤษฏแีละงานที่เกีย่วข้อง

    ทฤษฎเีศรษฐกจิพอเพยีง

    เศรษฐกจิพอเพยีง (Sufficiency Economic เร่ิมตน้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาจากการใชแ้นวทางการพฒันาประเทศไปสู่ความทนัสมยั ได้

    ก่อใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงแก่สงัคมไทยอยา่งมากในทุกดา้น ไม่ว่าจะเป็นดา้นเศรษฐกิจ การเมือง วฒันธรรม สงัคมและส่ิงแวดลอ้ม อีกทั้งกระบวนการของความเปล่ียนแปลงมีความสลบัซบัซอ้นจนยากท่ีจะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลพัธไ์ด ้เพราะการเปล่ียนแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจยัเช่ือมโยงซ่ึงกนัและกนั

    ส าหรับผลของการพฒันาในดา้นบวกนั้น ไดแ้ก่ การเพ่ิมข้ึนของอตัราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวตัถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบส่ือสารท่ีทนัสมยั หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยา่งทัว่ถึงมากข้ึน แต่ผลดา้นบวกเหล่าน้ีส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูด้อ้ยโอกาสในสงัคมนอ้ย แต่ว่า กระบวนการเปล่ียนแปลงของสงัคมไดเ้กิดผลลบติดตามมาดว้ย เช่น การขยายตวัของรัฐเขา้ไปในชนบท ไดส่้งผลใหช้นบทเกิดความอ่อนแอในหลายดา้น ทั้งการตอ้งพ่ึงพิงตลาดและพ่อคา้คนกลางในการสัง่สินคา้ทุน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพนัธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกนัตามประเพณีเพื่อการจดัการทรัพยากรท่ีเคยมีอยูแ่ต่เดิมแตกสลายลง ภูมิความรู้ท่ีเคยใชแ้กปั้ญหาและสัง่สมปรับเปล่ียนกนัมาถกูลืมเลือนและเร่ิมสูญหายไป

    ส่ิงส าคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการด ารงชีวิต ซ่ึงเป็นเง่ือนไขพ้ืนฐานท่ีท าให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และด าเนินชีวิตไปไดอ้ยา่งมีศกัด์ิศรีภายใตอ้ านาจและความมีอิสระในการก าหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจดัการเพื่อให้ตนเองไดรั้บการสนองตอบต่อความตอ้งการต่าง ๆ รวมทั้งความสามารถในการจดัการปัญหาต่าง ๆ ไดด้ว้ยตนเอง ซ่ึงทั้งหมดน้ีถือว่าเป็นศกัยภาพพ้ืนฐานท่ีคนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ตอ้งถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอ่ืน ๆ ท่ีเกิดข้ึน ลว้นแต่เป็นขอ้พิสูจน์และยนืยนัปรากฏการณ์น้ีไดเ้ป็นอยา่งดี

    “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้อยู่หัวพระราชทานพระราชด าริช้ีแนะแนวทาง การด าเนินชีวิตแก่ประสพนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลงัไดท้รงเน้นย ้าแนวทางการแกไ้ขเพ่ือให้รอดพน้ และสามารถด ารงอยู่ไดอ้ย่างมัน่คงและย ัง่ยนืภายใตก้ระแสโลกาภิวตัน์และความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ

  • 13

    ปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพยีง

    เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการด ารงอยู่และปฏิบติัตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดบัครอบครัว ระดบัชุมชน จนถึงระดบัรัฐ ทั้งในการพฒันาและบริหารประเทศให้ด าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒันาเศรษฐกิจ เพื่อให้กา้วทนัต่อโลกยุคโลกาภิวตัน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ าเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใด ๆ อนัเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งน้ี จะตอ้งอาศยัความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดัระวงัอยา่งยิง่ในการน าวิชาการต่าง ๆ มาใชใ้นการวางแผนและการด าเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้หนา้ท่ีของรัฐ นกัทฤษฎี และนกัธุรกิจในทุกระดบั ใหม้ีส านึกในคุณธรรม ความซ่ือสตัยสุ์จริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ด าเนินชีวิตดว้ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้ งด้านวตัถุ สังคม ส่ิงแวดลอ้ม และวฒันธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ป็นอยา่งดี

    ทฤษฎีใหม่ ปัญหาหลกัของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันท่ีส าคัญประการหน่ึง คือ การขาดแคลนน ้ าเพ่ือเกษตรกรรม โดยเฉพาะอยา่งยิง่ในเขตพ้ืนท่ีเกษตรท่ีอาศยัน ้ าฝน ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของประเทศท่ีอยูใ่น เขตท่ีมีฝนค่อนข้างน้อย และส่วนมากเป็นนาขา้วและพืชไร่ เกษตรกรยงัคงท าการเพาะปลูกได้ปีละคร้ังในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเส่ียงกบัความเสียหายอนัเน่ืองมาจากความแปรปรวนของดิน ฟ้า อากาศ และฝนท้ิงช่วง แมว้่าจะมีการขุดบ่อหรือสระเก็บน ้ าไวใ้ชบ้า้งแต่ก็ไม่มีขนาดแน่นอน หรือมีปัจจยัอ่ืน ๆ ท่ีเป็นปัญหาใหมี้น ้ าใชไ้ม่เพียงพอ รวมทั้งระบบการปลกูพืชไม่มีหลกัเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว ด้วยเหตุน้ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชด าริเพ่ือเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรท่ีประสบความยากล าบากดงักล่าว ใหส้ามารถผา่นพน้ช่วงเวลาวิกฤติ โดยเฉพาะการขาดแคลนน ้ าไดโ้ดยไม่ล าบากและเดือดร้อนนกั พระราชด าริน้ี ทรงเรียกว่า "ทฤษฎีใหม"่ อนัเป็นแนวทางหรือหลกัการในการบริหารการจดัการท่ีดินและน ้ าเพ่ือการเกษตรในท่ีดินขนาดเลก็ใหเ้กิดประโยชน์สูงสุด ทฤษฎีใหม่ : ท าไมใหม่ 1. มีการบริหารและจดัแบ่งท่ีดินแปลงเลก็ออกเป็นสดัส่วนท่ีชดัเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกรซ่ึงไม่เคยมีใครคิดมาก่อน 2. มีการค านวณโดยหลกัวิชาการเก่ียวกบัปริมาณน ้ าท่ีจะกักเก็บให้พอเพียงต่อการเพาะปลูกไดอ้ย่างเหมาะสมตลอดปี 3. มีการวางแผนท่ีสมบูรณ์แบบ ส าหรับเกษตรกรรายยอ่ย โดยมีถึง 3 ขั้นตอน

  • 14

    ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น

    การจดัสรรพ้ืนท่ีอยูอ่าศยัและท่ีท ากิน 1.ใหแ้บ่งพ้ืนท่ีออกเป็น 4 ส่วน ตามอตัราส่วน 30:30:30:10 ซ่ึงหมายถึง พ้ืนท่ีส่วนหน่ึง ประมาณ 30% ใหขุ้ดสระเก็บกกัน ้ าเพ่ือใชเ้ก็บกกัน ้ าฝนในฤดูฝนและใชเ้สริมการปลกูพืชในฤดูแลง้ ตลอดจนการเล้ียงสัตว์น ้ าและพืชน ้ าต่าง ๆ 2. พ้ืนท่ีส่วนท่ีสอง ประมาณ 30% ให้ปลูกขา้วในฤดูฝนเพื่อใชเ้ป็นอาหารประจ าวนัส าหรับครอบครัวใหเ้พียงพอตลอดปี เพื่อตดัค่าใชจ่้ายและสามารถพึ่งตนเองได ้ 3. พ้ืนท่ีส่วนท่ีสาม ประมาณ 30% ใหป้ลกูไมผ้ล ไมย้นืตน้ พืชผกั พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเ้ป็นอาหารประจ าวนั หากเหลือบริโภคก็น าไปจ าหน่าย 4. พ้ืนท่ีส่วนท่ีส่ี ประมาณ 10% เป็นท่ีอยูอ่าศยั เล้ียงสตัว ์ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่ืน ๆ หลกัการและแนวทางส าคญั 1. เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเกษตรกรสามารถเล้ียงตวัเองไดใ้นระดบัท่ีประหยดัก่อน ทั้งน้ีชุมชนตอ้งมีความสามคัคี ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลือซ่ึงกนัและกนั ท านองเดียวกบัการ "ลงแขก" แบบดั้งเดิมเพ่ือลดค่าใชจ่้าย 2. เน่ืองจากขา้วเป็นปัจจยัหลกัท่ีทุกครัวเรือนจะตอ้งบริโภค ดงันั้น จึงประมาณว่าครอบครัวหน่ึงท านาประมาณ 5 ไร่ จะท าใหม้ีขา้วพอกินตลอดปี โดยไม่ตอ้งซ้ือหาในราคาแพงเพ่ือยึดหลกัพ่ึงตนเองไดอ้ย่างมีอิสรภาพ 3. ต้องมีน ้ าเพ่ือการเพาะปลูกส ารองไวใ้ชใ้นฤดูแลง้ หรือระยะฝนท้ิงช่วงไดอ้ย่างพอเพียง ดังนั้นจึงจ าเป็นตอ้งกนัท่ีดินส่วนหน่ึงไวขุ้ดสระน ้ า โดยมีหลกัว่าตอ้งมีน ้ าเพียงพอท่ีจะท า การเพาะปลกูไดต้ลอดทั้งปี ทั้งน้ีได้พระราชทานพระราชด าริเป็นแนวทางว่า ต้องมีน ้ า 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก 1 ไร่ โดยประมาณ ฉะนั้น เม่ือท านา 5 ไร่ ท าพืชไร่หรือไมผ้ลอีก 5 ไร่ (รวมเป็น 10 ไร่) จะต้องมีน ้ า 10,000 ลกูบาศกเ์มตรต่อปี ดงันั้น หากตั้งสมมุติฐานว่ามีพ้ืนท่ี 15 ไร่ ก็จะสามารถก าหนดสูตรคร่าว ๆ ว่า แต่ละแปลงประกอบดว้ย - นา 5 ไร่ - พืชไร่พืชสวน 5 ไร่ - สระน ้ า 3 ไร่ ลึก 4 เมตร จุประมาณ 19,000 ลกูบาศกเ์มตร ซ่ึงเป็นปริมาณน ้ าท่ีเพียงพอท่ีจะส ารองไวใ้ช้ยามฤดูแลง้ - ท่ีอยูอ่าศยัและอ่ืน ๆ 2 ไร่ รวมทั้งหมด 15 ไร่

  • 15

    แต่ทั้งน้ี ขนาดของสระเก็บกกัน ้ าข้ึนอยูก่บัสภาพภูมิประเทศและสภาพแวดลอ้ม ดงัน้ี - ถา้เป็นพ้ืนท่ีท าการเกษตรอาศยัน ้ าฝน สระน ้ าควรมีลกัษณะลึกเพ่ือป้องกนัไม่ใหน้ ้ าระเหยไดม้ากเกินไป ซ่ึงจะท าใหมี้น ้ าใชต้ลอดทั้งปี - ถา้เป็นพ้ืนท่ีท าการเกษตรในเขตชลประทาน สระน ้ าอาจมีลกัษณะลึกหรือต้ืนและแคบหรือกวา้งก็ได ้โดยพิจารณาตามความเหมาะสมเพราะสามารถมีน ้ ามาเติมอยูเ่ร่ือย ๆ การมีสระเก็บกกัน ้ าก็เพ่ือใหเ้กษตรกรไดมี้น ้ าใชอ้ยา่งสม ่าเสมอทั้งปี (ทรงเรียกว่า Regulator หมายถึงการควบคุมใหดี้มีระบบน ้ าหมุนเวียนใชเ้พ่ือการเกษตรไดโ้ดยตลอดเวลาอยา่งต่อเน่ือง) โดยเฉพาะอยา่งยิง่ในหนา้แลง้และระยะฝนท้ิงช่วง แต่มิไดห้มายความว่าเกษตรกรจะสามารถปลกูขา้วนาปรังได ้เพราะหากน ้ าในสระเก็บกกัน ้ าไม่พอ ในกรณีมีเข่ือนอยู่บริเวณใกลเ้คียงก็อาจจะตอ้งสูบน ้ ามาจากเข่ือน ซ่ึงจะท าให้น ้ าในเข่ือนหมดได ้แต่เกษตรกรควรท านาในหนา้ฝน และเม่ือถึงฤดูแลง้หรือฝนท้ิงช่วงใหเ้กษตรกรใชน้ ้ าท่ีไดเ้ก็บตุนนั้น ใหเ้กิดประโยชน์ทางการเกษตรอยา่งสูงสุด โดยพิจารณาปลกูพืชใหเ้หมาะสมกบัฤดูกาล เช่น - หนา้ฝนจะมีน ้ ามากพอท่ีจะปลกูขา้วและพืชชนิดอื่น ๆ ได ้ - หนา้แลง้หรือฝนท้ิงช่วง ควรปลกูพืชท่ีใชน้ ้ านอ้ย เช่น ถัว่ต่าง ๆ 4. การจดัแบ่งแปลงท่ีดินเพ่ือใหเ้กิดประโยชน์สูงสุดน้ี พระบาทสมเด็จพระเจา้อยู่หัวทรงค านวณ และค านึงจากอตัราการถือครองท่ีดินถวัเฉล่ียครัวเรือนละ 15 ไร่ อยา่งไรก็ตามหากเกษตรกรมีพ้ืนท่ีถือครองน้อยกว่า หรือมากกว่าน้ีก็สามารถใชอ้ตัราส่วน 30:30:30:10 ไปเป็นเกณฑป์รับใชไ้ด ้กล่าวคือ - 30% ส่วนแรก ขุดสระน ้ า (สามารถเล้ียงปลา ปลูกพืชน ้ า เช่น ผกับุง้ ผกักะเฉด ฯลฯ ไดด้ว้ย) และบนสระอาจจะสร้างเลา้ไก่ไดด้ว้ย - 30% ส่วนท่ีสอง ท านา - 30% ส่วนท่ีสาม ปลกูพืชไร่ พืชสวน (ไมผ้ล ไมย้นืตน้ ไมใ้ชส้อย ไมเ้พ่ือเป็นเช้ือฟืน ไมส้ร้างบา้น พืชไร่ พืชผกั สมุนไพร เป็นตน้) - 10% สุดทา้ย เป็นท่ีอยูอ่าศยัและอ่ืน ๆ (ถนน คนัดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมกั โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสตัว ์ไมด้อกไมป้ระดบั พืชผกัสวนครัวหลงับา้น เป็นตน้) อย่างไรก็ตาม อตัราส่วนดังกล่าวเป็นสูตรหรือหลกัการโดยประมาณเท่านั้น สามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลงไดต้ามความเหมาะสม โดยข้ึนอยูก่บัสภาพของพ้ืนท่ีดิน ปริมาณน ้ าฝนและสภาพแวดลอ้ม เช่น ในกรณีภาคใตท่ี้มีฝนตกชุกกว่าภาคอ่ืน หรือพ้ืนท่ีใดมีแหล่งน ้ า มาเติมสระไดต่้อเน่ือง ก็อาจลดขนาดของบ่อหรือสระน ้ าใหเ้ลก็ลง เพ่ือเก็บพ้ืนท่ีไวใ้ชป้ระโยชน์อ่ืนต่อไปได ้

  • 16

    ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า หลกัการดงักล่าวมาแลว้เป็นทฤษฎีใหม่ขั้นท่ีหน่ึง เม่ือเกษตรกรเขา้ใจในหลกัการและไดล้งมือปฏิบติัตามขั้นท่ีหน่ึงในท่ีดินของตนจนไดผ้ลแลว้ เกษตรกรก็จะสามารถพฒันาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกินและตดัค่าใชจ่้ายลงเกือบหมด มีอิสระจากสภาพปัจจยัภายนอกและเพื่อให้มีผลสมบูรณ์ยิ่งข้ึน จึงควรท่ีจะต้องด าเนินการตามขั้นท่ีสองและขั้นท่ีสาม ต่อไปตามล าดบั ดงัน้ี

    ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เม่ือเกษตรกรเขา้ใจในหลกัการและไดป้ฏิบติัในท่ีดินของตนจนไดผ้ลแลว้ ก็ตอ้งเร่ิมขั้นท่ีสอง คือให้เกษตรกรรวมพลงักนัในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกนัด าเนินการในดา้น 1. การผลิต (พนัธุพ์ืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะตอ้งร่วมมือในการผลิต โดยเร่ิม ตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหาพนัธุพื์ช ปุ๋ย การจดัหาน ้ า และอ่ืน ๆ เพื่อการเพาะปลกู 2. การตลาด (ลานตากขา้ว ยุง้ เคร่ืองสีขา้ว การจ าหน่ายผลผลิต) - เมื่อมีผลผลิตแลว้ จะตอ้งเตรียมการต่าง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหไ้ดป้ระโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากขา้วร่วมกนั การจดัหายุง้รวบรวมขา้ว เตรียมหาเคร่ืองสีขา้ว ตลอดจนการรวมกนัขายผลผลิตให้ได้ราคาดีและลดค่าใชจ่้ายลงดว้ย 3. การเป็นอยู ่(กะปิ น ้ าปลา อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ฯลฯ) - ในขณะเดียวกนัเกษตรกรตอ้งมีความเป็นอยูท่ี่ดีพอสมควร โดยมีปัจจยัพ้ืนฐานในการด ารงชีวิต เช่นอาหารการกินต่าง ๆ กะปิ น ้ าปลา เส้ือผา้ ท่ีพอเพียง 4. สวสัดิการ (สาธารณสุข เงินกู)้ - แต่ละชุมชนควรมีสวสัดิภาพและบริการท่ีจ าเป็น เช่น มีสถานีอนามยัเมื่อยามป่วยไข ้หรือมีกองทุนไว้กูย้มืเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน 5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียน ใหแ้ก่เยาวชนของชุมชนเอง 6. สงัคมและศาสนา - ชุมชนควรเป็นท่ีรวมในการพฒันาสงัคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นท่ียดึเหน่ียว - กิจกรรมทั้งหมดดงักล่าวขา้วตน้ จะตอ้งไดรั้บความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้ง ไม่ว่าส่วนราชการ องคก์รเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นส าคญั

    ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เม่ือด าเนินการผา่นพน้ขั้นท่ีสองแลว้ เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพฒันากา้วหนา้ไปสู่ขั้นท่ีสามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจดัหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษทั ห้างร้านเอกชน มาช่วย

  • 17

    ในการลงทุนและพฒันาคุณภาพชีวิต ทั้งน้ี ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารหรือบริษทัเอกชนจะไดรั้บประโยชน์ร่วมกนั กล่าวคือ - เกษตรกรขายขา้วไดใ้นราคาสูง (ไม่ถกูกดราคา) - ธนาคารหรือบริษทัเอกชนสามารถซ้ือขา้วบริโภคในราคาต ่า (ซ้ือขา้วเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) - เกษตรกรซ้ือเคร่ืองอุปโภคบริโภคไดใ้นราคาต ่าเพราะรวมกนัซ้ือเป็นจ านวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง) - ธนาคารหรือบริษทัเอกชนจะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปด าเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดผลดียิง่ข้ึน ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ จากพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้อยูห่วัท่ีไดพ้ระราชทานในโอกาสต่างๆ นั้น พอจะสรุปถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ได ้ดงัน้ี 1. ให้ประชาชนพออยู่พอกิจสมควรแก่อตัภาพ ในระดบัท่ีประหยดั ไม่อดอยาก และเล้ียงตนเองได้ตามหลกัปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง" 2. ในหนา้แลง้มีน ้ านอ้ย ก็สามารถเอาน ้ าท่ีเก็บไวใ้นสระมาปลูกพืชผกัต่าง ๆ ท่ีใชน้ ้ าน้อยได ้โดยไม่ตอ้งเบียดเบียนชลประทาน 3. ในปีท่ีฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน ้ าดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่น้ีก็สามารถสร้างรายไดใ้หร้ ่ ารวยข้ึนได ้ 4. ในกรณีท่ีเกิดอุทกภยัก็สามารถท่ีจะฟ้ืนตวัและช่วยตวัเองไดใ้นระดบัหน่ึง โดยทางราชการไม่ตอ้งช่วยเหลือมากเกินไป อนัเป็นการประหยดังบประมาณดว้ย

  • 18

    3 ห่วง 2 เงื่อนไข: หลกัปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพยีง ท่ีส าคัญท่ีสุด ทุกคนควรเขา้ใจ “ค านิยาม” ว่าความพอเพียงจะตอ้งประกอบดว้ย 3 ห่วง และ 2 เง่ือนไข โดย 3 ห่วง คือ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ่ื้น เช่นการผลิตและการบริโภคท่ีอยูใ่นระดบัพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตดัสินใจเก่ียวกบัระดบัของความพอเพียงนั้น จะตอ้งเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ตลอดจนค านึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระท านั้นๆ อยา่งรอบคอบ การมีภูมิคุม้กนัท่ีดีในตวั หมายถึง การเตรียมตวัใหพ้ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้นการต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยค านึงถึงความเป็นไปไดข้องสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทั้งใกลแ้ละไกล ส่วน 2 เง่ือนไข คือการตดัสินใจและการด าเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ระดบัพอเพียงนั้น ตอ้งอาศยัทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน ประกอบไปดว้ย 1. เง่ือนไขความรู้และคุณธรรม ความรู้หมายถึง ความรอบรู้เก่ียวกบัวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้งอย่างรอบดา้น ความรอบคอบท่ีจะน าความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาใหเ้ช่ือมโยงกนั เพ่ือประกอบการ วางแผน และความระมดัระวงัในขั้นตอนปฏิบติั คุณธรรมประกอบดว้ย มีความตระหนกัในคุณธรรม มีความซ่ือสตัยสุ์จริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ติปัญญาในการด าเนินชีวิต 2. เง่ือนไขชีวิต หมายถึง ด าเนินชีวิตดว้ยความอดทนมีความเพียร มีสติและปัญญาบริหารจดัการการใช้ชีวิต โดยใชห้ลกัวิชาและคุณธรรมเป็นแนวทางพ้ืนฐาน

  • 19

    งานที่เกีย่วข้อง

    รายงานการวิจยั เร่ือง การจดัการความรู้ทางการบญัชี เพื่อการพฒันาวิสาหกิจชุมชน ในการผลิตล าไยอบแหง้สีทอง ผูช่้วยศาสตราจารยว์าริพิณ มงคลสมยั มหาวิทยาลยัราชภฏัเชียงใหม่ ไดส้นับสนุนโดย ส านกังานคณะกรรมการวิจยัแห่งชาติ กนัยายน 2551

    การวิจยัเชิงปฏิบติัการ คร้ังน้ี มีวตัถุประสงคเ์พ่ือศึกษาการจดัท าบญัชีของกลุ่มเกษตรกร บา้นเหมืองกวกั หมู่ 5 ต าบลมะเขือแจ้ อ าเภอเมือง จังหวดัล าพูน เพื่อการพฒันาการจัดท าบัญชีตาม หลกัปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือแกปั้ญหาหน้ีสินและเพ่ือการพ่ึงตนเอง และเพ่ือพฒันาวิสาหกิจ ชุมชนภายใตก้ารพ่ึงพาทรัพยากรภายในชุมชน โดยใชเ้วลาด าเนินการระหว่างเดือนธนัวาคม 2550 ถึงธันวาคม 2551 ผูเ้ข้าร่วมโครงการคือ กลุ่มเกษตรกรผูท้ าล าไยอบแหง้สีทองบา้นเหมืองกวกั ต.มะเขือแ�