Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

10
เทคนิคแบบกลุ่มสำหรับการสร้างทางเลือก 167 บทที่ 5 เทคนิคแบบกลุมสำหรับการสรางทางเลือก นวัตกรรมไม่ได้มีอยู่เพียงในห้องปฏิบัติงานวิจัยและหอคอยงาช้างอัน โดดเดี่ยวอีกต่อไป ในเศรษฐกิจแบบบูรณาการกันทั่วโลก ด้วยเทคโนโลยีแบบ โอเพ่น ซอร์สและมาตรฐานของอุตสาหกรรมที่มีบทบาทเพิ่มมากขึ้น นวัตกรรม ก็คือทีมๆ หนึ่งนั่นเอง Samuel Palmisano, CEO ของ IBM จากคำพูดเปิดบทข้างต้น Samuel Palmisano ซึ่งเป็น CEO ของ IBM ไม่ได้ เพียงแค่พูดถึงทีมงานภายในเท่านั้น แต่เขากำลังพูดถึงทีมงานที่ถูกสร้างขึ้นมาข้ามบริษัท และข้ามไปทั่วโลกในรูปของพันธมิตรอยู่บ่อยครั้งอีกด้วย ความพยายามเชิงความ ร่วมมืออื่นๆ เช่นนี้จะมีความสำคัญต่อความสำเร็จในระดับโลกอย่างเพิ่มขึ้น นี่เป็นเพียง หนึ่งในหลายๆ เหตุผลที่บริษัท เช่น IBM, Georgia-Pacific, W.R. Grace, Sun Life Financial และ Chevron หันไปสู่การระดมสมองทางออนไลน์เพื่อที่จะได้ดึงแนวคิด ที่ดีที่สุดออกมาจากพนักงานของพวกเขา บริษัทเหล่านี้รายงานว่าการประชุมทาง ออนไลน์ของพวกเขาไม่เพียงแต่จะนำไปสู่การประหยัดต้นทุนได้อย่างมาก แต่ยังนำไปสูCopyrighted Material of E.I.Square PUBLISHING

Transcript of Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

Page 1: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

เทคนิคแบบกลุ่มสำหรับการสร้างทางเลือก  167

บทที่ 5

เทคนิคแบบกลุมสำหรับการสรางทางเลือก

นวัตกรรมไม่ได้มีอยู่เพียงในห้องปฏิบัติงานวิจัยและหอคอยงาช้างอัน

โดดเดี่ยวอีกต่อไป ในเศรษฐกิจแบบบูรณาการกันทั่วโลก ด้วยเทคโนโลยีแบบ

โอเพ่น ซอร์สและมาตรฐานของอุตสาหกรรมที่มีบทบาทเพิ่มมากขึ้น นวัตกรรม

ก็คือทีมๆ หนึ่งนั่นเอง

Samuel Palmisano, CEO ของ IBM

จากคำพูดเปิดบทข้างต้น Samuel Palmisano ซึ่งเป็น CEO ของ IBM ไม่ได้

เพียงแค่พูดถึงทีมงานภายในเท่านั้น แต่เขากำลังพูดถึงทีมงานที่ถูกสร้างขึ้นมาข้ามบริษัท

และข้ามไปทั่วโลกในรูปของพันธมิตรอยู่บ่อยครั้งอีกด้วย ความพยายามเชิงความ

ร่วมมืออื่นๆ เช่นนี้จะมีความสำคัญต่อความสำเร็จในระดับโลกอย่างเพิ่มขึ้น นี่เป็นเพียง

หนึ่งในหลายๆ เหตุผลที่บริษัท เช่น IBM, Georgia-Pacific, W.R. Grace, Sun Life

Financial และ Chevron หันไปสู่การระดมสมองทางออนไลน์เพื่อที่จะได้ดึงแนวคิด

ที่ดีที่สุดออกมาจากพนักงานของพวกเขา บริษัทเหล่านี้รายงานว่าการประชุมทาง

ออนไลน์ของพวกเขาไม่เพียงแต่จะนำไปสู่การประหยัดต้นทุนได้อย่างมาก แต่ยังนำไปสู่

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 2: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

168  101 เทคนิคการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(Creative Problem Solving Techniques)

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และการใช้ผลิตภัณฑ์เก่าในรูปแบบใหม่ๆ อีกด้วย Mark

Turrell ซึ่งเป็น CEO ของบริษัท Imaginatik ซึ่งเป็นบริษัทซอฟต์แวร์และที่ปรึกษาด้าน

นวัตกรรมใน Boston ตั้งข้อสังเกตว่า “ในเศรษฐกิจทั่วโลก ชาวอเมริกันไม่ใช่ผู้ผลิต

ต้นทุนต่ำ ดังนั้น คุณจึงจำเป็นต้องมีพลังสมอง คุณค่าเพิ่มของคุณอยู่ที่ไหนอีกบ้าง?”1

ใช่เลยที่ทุกวันนี้บริษัทต้องเพิ่มคุณค่ามากมายเพื่อที่จะอยู่รอดและเจริญ

รุ่งเรือง และในระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge based economy) คุณค่าเพิ่ม

ส่วนใหญ่นั้นจะมาจากแนวคิดของพนักงาน “จากการศึกษาของ PriceWaterhouse

Coopers แนวคิดที่ให้กำไรงามเกือบครึ่งหนึ่ง (45%) ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์หรือ

บริการที่เป็นการค้นพบครั้งยิ่งใหญ่ การใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการเก่าในรูปแบบใหม่ๆ

หรือวิธีการลดต้นทุนต่างก็มาจากพนักงานทั้งสิ้น (ส่วนลูกค้า ผู้ส่งมอบวัตถุดิบ และ

คู่แข่งคืออีกครึ่งหนึ่ง)”2 และเนื่องจากงานในปัจจุบันจำนวนมากถูกดำเนินการเป็น

กลุม่ แนวทางการจดัการในปจัจบุนัมากมายจงึมุง่เนน้ไปทีก่ลุม่พนกังาน เชน่ ทมีทำงาน

แบบอิสระและทีมโครงการ หรือทีมเสมือนจริงซึ่งไม่จำเป็นต้องพบกันทางกายภาพจริงๆ

แต่จะพบกันทางออนไลน์มากกว่า ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อไม่กี่ปีมานี้ ทีมงานคือหนึ่งในกลไก

พื้นฐานที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพ ผลิตภาพ และนวัตกรรมโดยผ่านโปรแกรมการ

จัดการคุณภาพที่อาศัยทีมงาน หรือผ่านทีมการออกแบบกระบวนการหรือผลิตภัณฑ์

ใหม่ ทีมการพัฒนา และทีมการปรับปรุง

เนื่องจากทั้งงานวิจัยและประสบการณ์บ่งชี้ว่าโดยปกติแล้วกลุ่มจะเสนอ

ทางออกได้ดีกว่ารายบุคคล มันจึงสมเหตุผลที่จะทำความเข้าใจและใช้เทคนิคแบบ

กลุ่มสำหรับการสร้างทางเลือกที่สร้างสรรค์ และถ้าคุณซึ่งเป็นผู้จัดการหรือผู้นำหรือ

สมาชิกของกลุ่ม/ทีมขนาดเล็กต้องการให้ทีมของคุณมีประสิทธิผลมากขึ้น คุณก็จำเป็น

ต้องฝึกอบรมสมาชิกในทีมของคุณด้วยกระบวนการที่ทำให้ทีมประสบความสำเร็จมาก

ขึ้นในการสร้างทางเลือกที่สร้างสรรค์ การระดมสมองทางออนไลน์เป็นเพียงหนึ่งใน

เทคนิคจำนวนมากที่ถูกอภิปรายในบทนี้

บทนี้จะเริ่มด้วยการอภิปรายถึงข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของการตัดสิน-

ใจแบบกลุ่ม และจากนั้นก็จะศึกษาถึงรายละเอียดบางอย่างของเทคนิคแบบกลุ่มที่

สำคัญสำหรับการสร้างทางเลือก เช่น การระดมสมอง การออกเดินทาง ระบบสนับสนุน

การตัดสินใจแบบกลุ่ม (ซึ่งรวมถึงการระดมสมองทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วย) เทคนิค

ดอกบัวบาน การวิเคราะห์โครงสร้างของคำ เทคนิคกลุ่มแต่ในนาม การแสดงเรื่องราวลง

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 3: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

เทคนิคแบบกลุ่มสำหรับการสร้างทางเลือก  245

พลังของค

วามคิดสร้างสรรค์กับการปฏิบัติงานจริงท

ี่ 5.3 

กลไกการแก้ปัญหาวิกฤตอย่างต่อเนื่องของ Samsung 

ศนูย ์VIP ของ Samsung เปน็หนึง่ในเหตผุลสำคญัทีท่ำให ้Samsung

กลายเป็นองค์กรยักษ์ใหญ่ทางด้านสินค้าอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภค

โดยล้ม Sony ลงจากการเป็นอันดับ 1 ในแง่ของยอดขาย กำไร และมูลค่า

หลักทรัพย์ตามราคาตลาดได้ภายในเวลาไม่ถึง 10 ปี VIP ย่อมาจาก

Value Innovation Program “ศูนย์ VIP ถูกนิยามได้ดีที่สุดว่าเป็น

สายการผลิตเพื่อสร้างแนวคิดและผลกำไรตลอด 24 ชั่วโมงและเฉพาะ

กับผู้ที่ได้รับเชิญเท่านั้น โดยเป็นที่ซึ่งนักวิจัยชั้นนำ วิศวกร และนัก

ออกแบบของ Samsung จะเข้ามาเพื่อแก้ปัญหาที่สำคัญที่สุดของพวก

เขา” ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สำคัญและกระบวนการที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่จะ

ดำเนินการผ่านศูนย์ VIP ศูนย์นี้จะให้ที่พักพิงแก่ทีมงานที่กำลังทำงานอยู่

กับผลิตภัณฑ์สำคัญ โดยทั่วไปแล้วจะมีทีมงาน 10-15 ทีมที่อาจกำลัง

ทำงานอยู่ในศูนย์ ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ บางโครงการใช้เวลาสั้นๆ ประมาณ

1 เดือน แต่บางโครงการก็ยืดเยื้อไปถึง 1 ปีหรือมากกว่า

สมาชิกในทีมจะมาจากสาขาเฉพาะที่ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นั้นๆ

วัตถุประสงค์ทั่วไปสำหรับทีมอาจได้แก่ การเพิ่มคุณลักษณะเข้าไปแต่

ทำให้ผลิตภัณฑ์ปฏิบัติงานได้ง่ายขึ้น การทำให้เกิดการผสมผสานกันของ

แฟกซ์ สแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์ และเครื่องถ่ายเอกสารซึ่งราคาถูกกว่า

25% หรือการสร้างโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งจะครอบครองตลาดทั้งหมดด้วย

คุณลักษณะใหม่ๆ แต่ต้นทุนถูกลง เป็นต้น ทีมอาจทำการวิจัย พัฒนา

และออกแบบผลิตภัณฑ์และช่วยทำการเปลี่ยนแปลงปฏิบัติการที่จำเป็น

ต่อการผลิต การตลาดอาจได้รับการบูรณาการระหว่างทาง ทีมมีขนาด

ตั้งแต่ 5 คนไปจนถึง 50 คนหรือมากกว่านั้น และขนาดของแต่ละทีม

โครงการอาจมีความสำคัญอย่างมากโดยขึ้นอยู่กับว่าทีมกำลังทำงานอยู่

ในขั้นตอนใดของโครงการ จะมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 50 คนที่ช่วยสนับสนุน

ทีม

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 4: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

246  101 เทคนิคการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(Creative Problem Solving Techniques)

พลังของค

วามคิดสร้างสรรค์กับการปฏิบัติงานจริงท

ี่ 5.3 

กลไกการแก้ปัญหาวิกฤตอย่างต่อเนื่องของ Samsung 

ศูนย์ดังกล่าวเป็นเรื่องของการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ แต่ก็เป็น

เรื่องของการทำงานหนักด้วย สมาชิกในทีมได้รับการสนับสนุนให้กลับ

บ้านทุกคืนเพื่อไปอยู่กับคู่สมรสของพวกเขา แต่นั่นมักจะหมายถึงพวกเขา

อยู่ที่ศูนย์มาแล้ว 20 ชั่วโมง และก็เช่นเดียวกันที่บ่อยครั้งที่พวกเขาจะใช้

เวลากลางคืนในบริษัทซึ่งจัดเตรียมหอพักไว้ให้ ศูนย์แห่งนี้ไม่เคยปิด นัก

วิจัยรายหนึ่งอธิบายวันทำงานใน 1 สัปดาห์ว่ามีวันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ

วันพฤหัสบดี และวันศุกร์ วันศุกร์ วันศุกร์ กำหนดเส้นตายของผลิตภัณฑ์

ยากๆ ที่จะเข้าสู่ตลาดแทบจะไม่เคยถูกเลื่อนออกไปแม้ว่าทีมจะได้รับ

เงื่อนไขที่มากขึ้น

ทีมงานในศูนย์จะพึ่งพาอย่างมากกับขีดความสามารถในการวิจัย

ชั้นแนวหน้า แต่ก็ใช้บางเทคนิคของการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เทคนิค

ที่ถูกใช้มากที่สุดคือ TRIZ ซึ่งเป็นชื่อย่อในภาษารัสเซียสำหรับทฤษฎี

การแก้ปัญหาเชิงประดิษฐ์คิดค้น ได้มีการอธิบายถึง TRIZ ก่อนหน้านี้

อย่างลงรายละเอียดบ้างในบทที่ 4 ของหนังสือเล่มนี้ TRIZ กลายเป็น

เทคนคิทางเลอืกในการแกป้ญัหาอยา่งสรา้งสรรค ์ เปา้หมายของ Samsung

คือ การฝึกอบรมนักวิจัยและวิศวกรทุกคนด้วยการการคิดแบบ TRIZ ใน

ที่สุด

การที่จะเข้าใจถึงวิธีการและเหตุผลของสิ่งที่ดำเนินการอยู่ในศูนย์

VIP นั้น ประการแรก คุณจะต้องเข้าใจประวัติศาสตร์บางอย่างของบริษัท

ประการต่อมา ประวัติศาสตร์ดังกล่าวมีอิทธิพลต่อปรัชญาและ

กลยุทธ์ของบริษัทอย่างไรตามที่ถูกมองโดยผ่านสายตาของหนึ่งในผู้นำ

ที่มีอำนาจมากที่สุดซึ่งก็คือรองประธาน Jon-Yong Yun เหตุการณ์

ทางประวัติศาสตร์สำคัญเกิดขึ้นในปี 1996 เมื่อ Kun Hee Lee ซึ่งเป็น

ประธานของบริษัทตระหนักว่าบริษัทพึ่งพาสายผลิตภัณฑ์หนึ่งมากเกิน

ไป บริษัทอ่อนไหวต่อการกลายเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ และไม่เก่งในการ

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 5: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

เทคนิคแบบกลุ่มสำหรับการสร้างทางเลือก  247

พลังของค

วามคิดสร้างสรรค์กับการปฏิบัติงานจริงท

ี่ 5.3 

กลไกการแก้ปัญหาวิกฤตอย่างต่อเนื่องของ Samsung 

เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่เป็นพิเศษ ดังนั้น ในเดือนธันวาคม ปีนั้นเอง เขาจึง

เลือก Yun ขึ้นเป็น CEO และขอร้องให้เขา “เปลี่ยนแปลงทุกอย่างยกเว้น

คู่ครองและลูกๆ ของคุณ”

ในช่วงเวลาสั้นๆ Yun ทำให้บริษัทมีความหลากหลาย และสร้าง

กลยุทธ์ของผลิตภัณฑ์ขึ้นมาโดยอาศัยการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา

อย่างหนักเพื่อบรรลุความได้เปรียบในการแข่งขันระยะยาว และลดต้นทุน

ลงเพื่อบรรลุความได้เปรียบในการแข่งขันระยะสั้น นี่หมายถึงการเป็นที่

หนึ่งในการทำตลาดด้วยผลิตภัณฑ์ที่เป็นนวัตกรรม ไม่ใช่การเข้าสู่ตลาด

โดยไม่มีโอกาสเป็นเบอร์หนึ่ง และหมายถึงการเอาแผนกที่ไม่ทำกำไรออก

ไปอย่างไร้ความปราณีและการปรับปรุงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และ

การจัดการการตัดสินใจอย่างต่อเนื่อง บริษัทยังมุ่งเน้นไปที่ความสามารถ

ในการปรับตัวและด้านคุณภาพอีกด้วย ในตอนนี้ คุณจะเห็นได้ว่าเหตุใด

ศูนย์จึงให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับนวัตกรรม ต้นทุนที่ต่ำ และความสมบูรณ์

แบบ

ทีม่า: Peter Lewis, “A Perpetual Crisis Machine,” Fortune (September 19, 2005),

pp. 58-76.

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 6: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

248  101 เทคนิคการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(Creative Problem Solving Techniques)

สาระสำคัญประการสุดท้าย 

มีเทคนิค 32 ประการอธิบายในบทนี้ คุณอาจเลือกใช้สัก 5-10 เทคนิคที่คุณ

รู้สึกสะดวกใจ แต่โปรดลองใช้ทุกเทคนิคก่อน และกลับมาใช้พวกมันทั้งหมดอีกเป็นครั้ง

คราวเพื่อหลีกเลี่ยงความน่าเบื่อหน่าย

หนังสืออ้างอิง 

1ไม่ปรากฏชื่อ, “IBM Sets Up First A-Pac Lotus Support Centre in Pune,” Knight Ridder Tribune

(September 21, 2005), p. 1; Larry Rullson, “CEO Says Innovation is the Key,” Knight Ridder

Tribune (September 16, 2005), p. 1; Anne Fisher, “Get Employees to Brainstorm Online,” Fortune

(November 29, 2004), p. 72.

2 เรื่องเดียวกัน

3David J. Placek, “Creativity Survey Shows Who’s Doing What; How to Get Your Team on the Road

to Creativity,” Marketing News (November 6, 1989), p. 14.

4Alex Osborn, Applied Imagination (New York: Charles Scribner & Sons, 1953), pp. 297-304; ดู

Robert Kerwin, “Brainstorming as a Flexible Management Tool,” Personnel Journal (May 1983),

pp. 414-418.

5มีหลักฐานที่ขัดแย้งกันบางอย่าง เช่น ดู Adrian Furnham, “The Brainstorming Myth,” Business

Strategy Review (Winter 2000), pp. 21-28.

6”Group Techniques: Part 2, Alternatives to Brainstorming,” Small Business Report (October 1981), p.

15.

7Jonathan Alter, “How to Save the Big Easy,” Newsweek (September 12, 2005), p. 53.

8Taryn Plumb, “Local Volunteers Learn to Help: Red Cross Trains Recovery Personnel,” Telegram

and Gazette (September 4, 2005), p. A1.

9Aimee Deeken, “MindShare,” Adweek (June 21, 2004), pp. SR 34, 35.

10Chris Woodyard, “Frequent Fliers Brainstorm to Create a Better Cabin,” USA Today (October

1, 2002), p. 5B.

11Steve Garhausen, “How Lowell Five Rebuilt Its Marketing Unit, Strategy,” American Banker

(August 9, 2005), p. 14A.

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 7: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

เทคนิคแบบกลุ่มสำหรับการสร้างทางเลือก  249

12Jefferson Morris, “Boeing Team Brainstorming List of ISS Exploration Experiments,” Aerospace

Daily & Defense Report (July 18, 2005), p. 4.

13Daniel Fienberg, “Transporter2’ Director Cuts to the Chase,” Knight Ridder Tribune Business

News (September 2, 2005), p. 1.

14”IP Offers Creative Partnership,” Purchasing World (August 1990), pp. 38-41.

15การอภิปรายนี้เกี่ยวกับเทคนิคด้านความคิดสร้างสรรค์ของชาวญี่ปุ่น และเกี่ยวกับเทคนิค 4 ประการที่ถูก

อภิปรายต่อมาในบทที่ได้มาจาก: Sheridan M. Tatsuno, Created in Japan: From Imitators to

World-Class Innovators, (New York: Harper & Row, Ballenger Division, 1990), pp. 104-115; และ

บทสรุปของเทคนิคเหล่านี้ดังที่ถูกอภิปรายใน Sheridan M. Tatsuno, “Creating Breakthroughs the

Japanese Way,” R & D Magazine (February, 1990), pp. 137-142.

16Arthur B. VanGundy, Creative Problem Solving (New York: Quorum Books, 1987), pp. 131-144.

เอกสารเกี่ยวกับ 6-3-5 ก็พบได้ในหน้าเหล่านี้เช่นกัน

17Horst Greschka, “Perspectives on Using Various Creativity Techniques,” in Stanley S. Gryskiewicz,

Creativity Week II, 1979 Proceedings (Greensboro, North Carolina: Center for Creative

Leadership, 1979), pp. 51-55.

18จดหมายจาก Kathleen Gesell, Rohrbach Consulting BmbH วันที่ 4/17/95.

19การอภิปรายนี้ส่วนใหญ่ได้มาจาก Janet Fiero, “The Crawford Slip Method,” Quality Progress (May

1992), pp. 40-43; ดู Robert M. Krone, “Improving Brainpower Productivity,” Journal for Quality and

Participation (December 1990), pp. 80-84.

20Lea Hall, “Can You Picture That?” Training & Development Journal (September 1990), pp. 79-81.

21James F. Bandrowski, “Taking Creative Leaps,” Planning Review (January/February 1990),

pp. 34-38.

22Ray Dull, “Delphi Forecasting: Market Research Method of the 1990s,” Marketing News (August

29, 1988), p. 17.

23J. Daniel Couger, “Key Human Resource Issues in IS in the 1990s: Interviews of ID Executives

Versus Human Resource Executives,” Information and Management (April, 1988), pp. 161-174.

24James F. Robeson, “The Future of Business Logistics: A Delphi Study Predicting Future Trends

in Business Logistics,” Journal of Business Logistics (#2, 1988), pp. 1-14.

25Yeong Wee Yong, Kau Ah Keng, Tan Leng Leng, “A Delphi Forecast for the Singapore Tourism

Industry: Future Scenario and Marketing Implications,” European Journal of Marketing (November

1989), pp. 15-26.

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 8: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

250  101 เทคนิคการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(Creative Problem Solving Techniques)

26Magaly Olivero, “Get Crazy! How to Have a Break Through Idea,” Working Woman (September 1990), p. 144.

27ดังที่ถูกรายงานใน Stan S. Gryskiewicz and J.T. Shields, “Issues and Observations,” (Greenville, N.C.: Center for Creative Leadership) (November 1983), p. 5.

28Horst Geschka, loc. cit.

29เรื่องเดียวกัน

30Arthur B. VanGundy, Creative Problem Solving (New York: Quorum, 1987), p. 136.

31Edward Glasman, “Creative Problem Solving,” Supervisory Management, (March, 1989), pp. 17-18.

32Bryan W. Mattimore, “Brainstormer’s Boot Camp,” Success (October 1991), p. 24.

33John Case, “Customer Service: The Last Word,” Inc. (April 1991), pp. 89-93.

34Knut Holt, “Consulting in Innovation through Intercompany Study Groups,” Technovation (July 1990), pp. 347-353.

35Robert Bookman, “Rousing the Creative Spirit,” Training & Development Journal (November 1988), pp. 67-71.

36Sheridan M. Tatsuno, Createn Japan, op. cit., p. 110-113.

37Sheridan M. Tatsuno, Createn Japan, op. cit., p. 109-110.

38Carl E. Gregory, The Management of Intelligence (New York: McGraw-Hill, 1967), pp. 200-202.

39 Sheridan M. Tatsuno, Createn Japan, op. cit., p. 110.

40Andre L. Delbecq, Andrew H. Van de Ven, and D.H. Gustafson, Group Techniques for Program Planning (Glenview, III.: Scott Foresman & Company, 1975).

41Don Hellriegel, John W. Slocum, Richard W. Woodman, Organizational Behavior, 4th ed. (St. Paul, Minnesota: West Publishing Company, 1986), p. 259.

42ดู S. Scott Sink, “Using the Nominal Group Technique Effectively,” National Productivity Review (Spring 1983), p. 181.

43Aubrey L. Mendelow and S. Jay Liebowitz, “Difficulties in Making OD a Part of Organizational Strategy,” Human Resource Planning (1989, #4), pp. 317-329.

44James B. Thomas, Reuben R. McDaniel, Jr., and Miachael J. Dooris, “Strategic Issue Analysis: NGT + Decision Analysis for Resolving Strategic Issues,” Journal of Applied Behavioral Science (1989), #2, pp. 189-200.

45Edward J. Szewczak, “Building a Strategic Data Base,” Long Range Planning (April 1988), pp. 97-103.

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 9: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

เทคนิคแบบกลุ่มสำหรับการสร้างทางเลือก  251

46”Incentive Magazine: Nominal Groups in Action,” Incentive (November 1988, pp. 60-62.

47William M. Fox, “Anonymity and Other Keys to Successful Problem Solving Meetings,” National

Productivity Review (Spring 1989), pp. 145-156; William M. Fox, “The Improved Nominal Group

Technique (INGT),” Journal of Manage-ment Development (1989), #1, pp. 20-27.

48Anne Fisher, op. cit., อภิปรายทั้งการสร้างการร่วมมือกันทำงาน/แนวคิด และการแบ่งปันความรู้; George

Anders, “Inside Job,” Fast Company (September 2001), pp. 176-183 อภิปรายด้านการจัดการความรู้

ของการระดมสมองทางออนไลน์ด้วยการเสนอ 7 ขั้นตอนต่อเครือข่ายภายในองค์กรที่ดีกว่าสำหรับการ

แบ่งปันแนวคิด

49ProjectLounge.com, (September 15, 2005), p. 1; MyWiseOwl.com/Groove/software, (September

15, 2005), p. 1; ค้นหา Groupware ได้ที่ Business.com (September 19, 2005) และคุณจะพบรายการ

และคำอธิบายสั้นๆ เกี่ยวกับชุดซอฟต์แวร์ Groupware จำนวนมาก และถ้าคุณค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับ “การ

ระดมสมองทางออนไลน์” คุณก็จะพบบริษัทจำนวนหนึ่งที่เสนอและ/หรือขาย อธิบาย ฯลฯ ชุดซอฟต์แวร์และ

กระบวนการระดมสมองทางออนไลน์จำนวนมาก ถ้าคุณค้นหา “การระดมสมองทางออนไลน์” ที่ MyWise

Owl.com คุณก็จะพบรายการเกี่ยวกับทรัพยากรซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก ดู entrepreneur.com/

article/0,4621,322894,00.html – Sep 17, 2005.

50Robert J. Allio, “Interview: The InnoCentive Model of Open Innovation,” Strategy & Leadership

(Issue 4, 2004), pp. 4-10; Paul Kaihla, “Building a Better R & D Mousetrap,” Business 2.0

(September 2003), pp. 50, 52.

51”Group Techniques: Part 2, Alternatives to Brainstorming,” Small Business Report (October

1981), pp. 15-17.

52Bryan W. Mattimore, loc. cit.

53Horst Geschka, loc. cit.

54Paul J. H. Schoemaker and Cornelius A. J. M. van der Heijden, “Integrating Scenarios Into

StrategicPlanning at Royal Dutch Shell,” Planning Review (May-June 1992), pp. 41-46.

55Simon Majaro, The Creative Gap (Great Britain: Longman, 1988), pp. 202-203.

56Fred Mobasheri, Lowell H. Orren and Fereidoon P. Sioshansi, “Scenario Planning at Southern

California Edison,” Interfaces (September-October 1989), pp. 31-44.

57Horst Geschka, loc. cit.

58Mike Vance, “Storyboarding” from “Creativity” ชุดเทปเสียงเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ที่ได้มาจาก

จุลสารแนบประกอบกับชุดเทป (Chicago: Nightingale-Conant, 1982); Jerry McNellis, “An Experience

in Creative Thinking,” (New Brighton, PA: The McNellis Company, no date); and Lawrence F.

Lottier, Jr., “Story-boarding Your Way to Successful Training, Public Personnel Management

(Winter 1986), pp. 421-427.

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING

Page 10: Creative Problem Solving Techniques THAI Version - 7

252  101 เทคนิคการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(Creative Problem Solving Techniques)

59Larry Rand, “Victorville, California, Museum Endures Financial Difficulties,” Knight Ridder Tribute

Business News (June 15, 2004), p. 1.

60Morris I. Stein, Stimulating Creativity: Group Procedures, (New York: Academic Press, 1975),

Chapter XV, pp. 172-221; William J.J. Gordon, Synectics: The Development of Careative Capacity

, (New York: Collier Macmillan, 1961).

61William J.J. Gordon and George M. Prince, The Operational Mechanisms of Synectics, (Cambridge,

Mass.: Synectics Incorporated, 1960), p. 2.

62Tom Alexander, “Synectics: Inventing by the Madness Method,” Fortune (August, 1965), p. 168.

63R. A. Proctor, “The Use of Metaphors to Aid the Process of Creative Problem Solving,” Personnel

Review (1989), #4, pp. 6-12.

64Gordon and Prince, pp. 6-12.

65 เรื่องเดียวกัน. สำหรับรูปแบบที่ค่อนข้างแตกต่างดู: Morris I. Stein, Stimulating Creativity: Volume 2,

Group Procedures (New York: Academic Press, 1975), pp. 196-202.

66Sivasailam Thiagarajan, “Take Five for Better Brainstorming,” Training & Development Journal

(February 1991), pp. 37-42.pp.

67Sheridan Tatsuno, Created in Japan, op. cit., pp. 104-106 สำหรับวิธี KJ; Michael Michalko,

Thinkertoys: A Handbook of Business Creativity for the 90s (Berkeley, CA: Ten Speed Press,

1991), pp. 308-311 สำหรับวิธี TJK

68สำหรับแนวคิดเพิ่มเติมดู: Briget Finn, “Brainstorming for Better Brainstorming,” Business 2.0 (April

2005), pp. 109-114; Noah Falstein, “Brainstorming,” Game Developer (September 2004), p. 47;

Greg Bachman, “Brainstorming Deluxe,” Training & Development (January 2000), pp. 15-18.

Copyri

ghted

Mate

rial o

f E.I.S

quar

e PUBLIS

HING