Course Syllabus การนำเสนองาน

6

Click here to load reader

description

Course Syllabus การนำเสนองาน

Transcript of Course Syllabus การนำเสนองาน

Page 1: Course Syllabus การนำเสนองาน
Page 2: Course Syllabus การนำเสนองาน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) รายวิชา วิชา ง 20242 การน าเสนองาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระการเรียนรู้ ศึกษาหลักการท างาน ประโยชน์และบทบาทของโปรแกรม Photoshop ว่ามีลักษณะส าคัญอย่างไร เครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรมเป็นอย่างไร รวมไปถึงการเรียนรู้วิธีการ น าเอาเครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรมไปใช้ประโยชน์ในด้านออกแบบกราฟิกต่างๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย อาทิ การออกแบบกราฟิกส าหรับสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ การสร้างภาพวาดจากภาพต้นแบบและสร้างข้ึนมาใหม่ การออกแบบกราฟิกส าหรับงานน าเสนอตัวเอง (Portfolio) ดังนั้นผู้เรียนมีความจ าเป็นจะต้องเรียนรู้ เพ่ือสามารถพัฒนาออกแบบกราฟิกเพ่ือน าไปใช้งานในลักษณะต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นได้

โดยการเรียนรู้ต้องใช้ทักษะกระบวนการในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานโปรแกรมประยุกต์ดังกล่าว สร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ท าในชีวิตประจ าวัน มีทักษะในการสืบค้นข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายโดยมีจิตส านึกในความรับผิดชอบ มีนิสัยรักการท างาน เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์เพ่ือบูรณาการใช้กับงานอาชีพอ่ืน มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกลุ่ม มุ่งม่ันท างานด้วยความประณีต รอบคอบ และยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน วันและเวลาเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1: วันอังคาร คาบ 5-6 เวลา 13.00 – 14.40 น. ห้อง COM2 โปรแกรมที่ใช่ในการเรียน Adobe Photoshop CS6 + Microsoft Office PowerPoint + Prezi ผู้สอน อาจารย์นนท์ จรุงศิรวัฒน์ อาจารย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) อาจารย์เจนรบ โกรธา นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 3: Course Syllabus การนำเสนองาน

จุดประสงค์รายวิชา 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรมส าเร็จรูปด้านกราฟิก (Photoshop) (K) 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับพื้นฐานการจัดการรูปภาพ/ตัวอักษร (K) 3. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายและใช้เครื่องมือในโปรแกรม Adobe Photoshop เกี่ยวกับในการออกแบบกราฟิกส าหรับงานน าเสนอ (K)(P) 4. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสร้างเกี่ยวกับการก าหนดคุณสมบัติของเครื่องมือของภาพ ตัวอักษร ในการออกแบบกราฟิกส าหรับงานน าเสนอ (K)(P) 5. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกสื่อสิ่งพิมพ์ (K)(P) 6. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกส าหรับการสร้างงานน าเสนอตัวเอง (Portfolio) จากโปรแกรม Adobe Photoshop (K)(P) 7. นักเรียนสามารถสร้างการออกแบบกราฟิกส าหรับการสร้างงานน าเสนอตัวเอง (Portfolio) จากโปรแกรม Adobe Photoshop (K)(P) 8. นักเรียนเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อการออกแบบกราฟิกส าหรับการสร้างงานน าเสนอตัวเอง (Portfolio) ด้วยตนเอง ไม่คัดลอกผลงานผู้อ่ืน สืบค้นโดยมีจิตส านึกและความรับผิดชอบ (A)

วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

1. การบรรยายประกอบการสาธิต 2. การใช้ค าถาม 3. ใบงาน 4. การฝึกปฏิบัติงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ 5. การสร้างชิ้นงานรายบุคคลหรือกลุ่ม

สื่อการเรียนการสอน

1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ง 20242 การน าเสนองาน 2. โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 3. โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint และ Prezi 4. Power point ประกอบการเรียนการสอน วิชา ง 20242 การน าเสนองาน 5. ตัวอย่างชิ้นงานในแต่ละหัวข้อ

Page 4: Course Syllabus การนำเสนองาน

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฐมนิเทศ 2 คาบ - ปฐมนิเทศรายวิชา เนื้อหา ข้อตกลง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของโปรแกรมและ องค์ประกอบของ Portfolio 2 คาบ - ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม แถบเครื่องมือ หน้าต่างส าหรับตกแต่งภาพ

- แถบค าสั่งเพ่ิมเติม - องค์ประกอบของ Portfolio

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการจัดการรูปภาพ 2 คาบ - การเปิดไฟล์ภาพ

- การน าภาพเข้าโปรแกรม ด้วย MINI BRIDGE - การย่อ – ขยายมุมมองภาพ - การหมุนภาพ - การปรับเปลี่ยนขนาดของภาพ - การปรับเปลี่ยนขนาด พ้ืนหลังของภาพ การปรับเปลี่ยนโหมดสีของภาพ -การสร้างภาพใหม่ -การบันทึกรูปภาพและการส่งออกใช้งาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการเกี่ยวกับตัวอักษร 2 คาบ - การจัดการเก่ียวกับตัวอักษร

- การสร้างสไตล์ข้อความ - การเพ่ิมสไตล์ - การสร้างตัวอักษรบนเส้น - การสร้างข้อความวงกลม - การสร้างข้อความภาพ - การสร้างข้อความบนรูปภาพ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การรวมรูปภาพ 2 คาบ -การรวมภาพโดยใช้เลเยอร์

- การรวมภาพโดยใช้เครื่องมือยางลบ - การรวมภาพโดยใช้เครื่องมือแปรงทาสี - การบันทึกภาพถ่ายด้วยเครื่อง Scan - การรีทัชภาพด้วย Auto Color - การรีทัชภาพด้วย เครื่องมือ Heal spot tool - การรีทัชภาพด้วยเครื่องมือ Brush Tool/ liquefy

Page 5: Course Syllabus การนำเสนองาน

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเลอืกเฉพาะส่วนของรูปภาพ และ การสร้างภาพวาด 2 คาบ - การใช้เครื่องมือ Crop Tool

- การใช้เครื่องมือ Marquee Tool - การใช้เครื่องมือ Lasso Tool - การลบเฉพาะส่วนที่ไม่ต้องการ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างภาพวาด 2 คาบ - การสร้างภาพวาดจากภาพต้นแบบ/การจัดการภาพต้นแบบ

- เครื่องมือที่ใช้ในการวาด การเติมสี หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การออกแบบกราฟิกการน าเสนอ Portfolio 2 คาบ - การออกแบบปก Portfolio ทั้งหน้าและหลัง หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การออกแบบกราฟิกการน าเสนอ Portfolio 2 คาบ - การออกแบบสารบัญ Portfolio หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การออกแบบกราฟิกการน าเสนอ Portfolio 2 คาบ - การอกแบบหน้าประวัติส่วนตัว

- การอกแบบหน้าประวัติการศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 Project 1 2 คาบ - การออกแบบหน้ากิจกรรมที่ร่วม/ รางวัลที่ได้รับ

- การสร้างหน้าความสามารถพิเศษ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 Project 2 2 คาบ - สร้างงานเตรียมน าเสนอตัวเองจาก Microsoft Office PowerPoint

- สร้างงานเตรียมน าเสนอตัวเองจาก Prezi

หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 Project 3 2 คาบ - การน าเสนองาน

Page 6: Course Syllabus การนำเสนองาน

การประเมินผล

ลักษณะของวิชา ง 20242 การน าเสนองาน เป็นวิชาที่เน้นทักษะปฏิบัติดังนั้นการประเมินจะเป็นการให้คะแนนตามเกณฑ์ท่ีก าหนดโดยตรวจสอบกระบวนการท างานของนักเรียนในขณะที่ปฏิบัติและผลงานที่ท าส าเร็จโดยมีอัตราส่วนการประเมินดังนี้ การจัดกิจกรรมการสอนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติชิ้นงานแต่ละคาบ (ส่วนของคะแนนเก็บ 60%) ส่วนที่ 2 พฤติกรรมของนักเรียน (ส่วนของคะแนนพฤติกรรม10%) ส่วนที่ 3 คะแนนงานโครงงาน (Project) (ส่วนของคะแนนสอบปลายภาค 30%)

การวัดและประเมินผล คะแนน ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติชิ้นงานแต่ละคาบ 1.การปฏิบัติงานและชิ้นงานแต่ละคาบ

60 คะแนน

ส่วนที่ 2 พฤติกรรม 1.การมาเรียน 2.จิตพิสัย (การแต่งกาย,ความสนใจในการเรียน,พฤติกรรม)

5 คะแนน 5 คะแนน

ส่วนที่ 3 Project การน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ชิ้นงานที่น าเสนอ (Portfolio)

10 คะแนน 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

เกณฑ์การผ่านการประเมิน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80

ช่วงคะแนน เกรด ช่วงคะแนน เกรด 100 - 80 4 60 - 64 2 75 - 79 3.5 55 - 59 1.5 70 - 74 3 50 - 54 1 65 - 69 2.5 0 - 49 0