Cleft lip and Cleft palate - Chiangmaihealth.go.th...Cleft lip and cleft palate ค อ เป...

21
Cleft lip and Cleft palate

Transcript of Cleft lip and Cleft palate - Chiangmaihealth.go.th...Cleft lip and cleft palate ค อ เป...

  • Cleft lip and Cleft palate

  • Cleft lip and cleft palate คอื เป็นความพิการท่ีเกิดร่วมกับภาวะผิดปกติอ่ืนๆของศีรษะและใบหนา้(Craniofacial anomaly) และเป็นโรคทางกรรมพนัธ์ุชนิดหน่ึงท่ีมีโอกาสเกิดซ ้ าไดใ้นลูกคนต่อไปสูงประมาณ 3-15% ข้ึนอยู่กบัชนิดของปากแหว่งเพดานโหว่ (ถ้ามีเพดานโหว ่โอกาสลูกคนต่อไปจะมีเพดานโหว่จะสูงกว่าเด็กทัว่ไป) และเด็กท่ีเกิดใหม่เป็นผูช้าย โอกาสท่ีจะเกิดเพดานโหว ่สูงกวา่เดก็ท่ีเกิดเป็นเพศหญิง

  • Cleft lip

  • Cleft palate

  • สาเหตุ ปัจจยัจากภายใน คือ กรรมพนัธ์ุ ปัจจยัจากภายนอก - การเจบ็ป่วยของมารดาขณะตั้งครรภ ์ - ภาวะขาดสารอาหารของมารดาในระหวา่งตั้งครรภ ์ - มารดาสูบบุหร่ีจดั - มารดาไดรั้บยา และ/หรือสารบางชนิดต่อเน่ือง

  • ก่อปัญหาอะไรบ้าง? ปัญหาการดูดกลืนอาหาร ปัญหาการเจริญเติบโตชา้ ปัญหาทางเดินหายใจ ปัญหาการไดย้นิ ปัญหาทางภาษาและการพดู ปัญหาฟันผิดปกติ

  • การป้องกนั หลีกเล่ียงสาเหตุท่ีเป็นปัจจยัภายนอก - มารดาตั้งครรภค์วรงดสูบบุหร่ี ด่ืมแอลกอฮอล ์ - การรับประทานยาระหวา่งตั้งครรภค์วรปรึกษาแพทย ์พยาบาล หรือเภสชักร ทุกคร้ัง - การออกก าลงักายพอควร นอนหลบัพกัผอ่นให้เพียงพอ - การลดความเครียด - รับประทานอาหารมีประโยชน์ 5 หมู่

  • การป้องกนั (ต่อ) มารดาควรไดรั้บวิตามิน บี 6 วิตามินบี 12 ธาตุสงักะสี และกรดโฟลิค ก่อนการปฏิสนธิในครรภ ์หรือก่อนตั้งครรภป์ระมาณ 2 เดือน จนกระทัง่ 3 เดือนหลงัการตั้งครรภ ์

  • แนวทางการแก้ไขความพกิาร ช่วงอายแุรกเกิด – 3 เดือน ทนัตแพทย ์จะแนะน าใหแ้กปั้ญหาการดูด และกลืนโดยพิมพป์ากเดก็ เพื่อท าเพดานเทียม (Obturator) ซ่ึงจะตอ้งเปล่ียนใหม่ทุกๆ 1 เดือน

  • ช่วงอาย ุ3-5 เดือน แพทยท์ าการผา่ตดัเยบ็รอยแยกบริเวณริมฝีปากโดยศลัยแพทยช่์องปาก หรือศลัยแพทยพ์ลาสติก หลงัจากนั้นควรน าเดก็มาตรวจทุกๆ 2 เดือน เพื่อติดตามผลการรักษา รวมถึงเพ่ือตรวจสุขภาพช่องปาก

  • ช่วงอาย ุ12-18 เดือน ศลัยแพทยช่์องปากจะท าการเยบ็รอยแยกบริเวณเพดานปากเพ่ือใหเ้ดก็มีสภาพท่ีดีข้ึน เม่ือฟันเร่ิมข้ึนทนัตแพทยเ์ดก็จะใหค้ าแนะน าในการแปรงฟัน การรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ การป้องกนัฟันผ ุรวมถึงการบูรณะฟันในรายท่ีฟันเกิดการผแุลว้ โดยคุณพอ่คุณแม่ควรน าบุตรของท่าน มาตรวจสุขภาพช่องปากทุก 4-6 เดือน และหมัน่แปรงฟันใหลู้กนอ้ยดว้ย

  • ช่วงอาย ุ2-5 ปี ช่วงเดก็เร่ิมพดูไดจ้ะถูกส่งไปปรึกษากบันกัฝึกพดู (Speech Therapist) เพ่ือแกไ้ขความผดิปกติของการออกเสียงท่ีเกิดจากปากแหวง่เพดานโหว ่

  • ช่วงอาย ุ7-9 ปี ทนัตแพทยจ์ดัฟันจะเร่ิมใส่เคร่ืองมือบริเวณเพดานเพ่ือจะขยายกระดูกเพดานปากท่ีลม้เขา้มาหากนั แกปั้ญหาฟันซอ้นเก

  • ช่วงอาย ุ9-12 ปี ศลัยแพทยช่์องปากจะท าการผา่ตดัเพ่ือปลูกกระดูกบริเวณรอยแยกกระดูกเบา้ฟัน โดยมีวตัถุประสงคเ์พ่ือใหฟั้นท่ีอยูข่า้งใตข้ึ้นมาได ้และเป็นการปิดรูทะลุระหวา่งช่องปากและจมูกท่ียงัเหลืออยู ่จากการผา่ตดัปิดเพดานปาก

  • ช่วงอาย ุ12-17 ปี ทนัตแพทยจ์ดัฟันจะท าการแกไ้ขการสบฟันท่ีผดิปกติท่ีมีอยู ่เช่น ฟันหนา้บนคร่อมฟันหนา้ล่าง ผูป่้วยบางรายจ าเป็นตอ้งอาศยัการผา่ตดักระดูกขากรรไกร รวมไปถึงการผา่ตดัแกไ้ขความผดิปกติของจมูกและริมฝีปากท่ีหลงเหลือจากการผา่ตดัในอดีต หลงัจากน้ีควรมาติดตามผลการรักษาอยา่งนอ้ยปีละ 1 คร้ัง

  • การดูแลเร่ืองอาหาร พอ่แม่ท่ีมีลูกปากแหวง่เพดานโหวอ่าจมีปัญหาในการป้อนนมป้อนน ้าในระยะท่ีเดก็ยงัเลก็อยู ่เน่ืองจากเดก็จะดูดไดไ้ม่ดีนกั ควรจดัท่าเดก็ในลกัษณะเอนเลก็นอ้ยจนเกือบจะเป็นลกัษณะนัง่ตรง

  • ถา้ใหเ้ดก็ดูดนมแม่ ตอ้งคอยจดัใหริ้มฝีปากเดก็แนบกบัเตา้นมแม่เพ่ือใหปิ้ดรอยแหวง่ท่ีริมฝีปากมิด จะช่วยใหเ้ดก็มีแรงดูดนมดีข้ึนและดูดลมเขา้ไปนอ้ยลง

  • ถา้ใหเ้ดก็ดูดนมจากขวด ใหใ้ชห้วันมยางชนิดน่ิม เจาะรูท่ีหวันมยางใหรู้ใหญ่ข้ึนและมีจ านวนรูเพ่ิมข้ึนอีก 3-4 รู ถา้ป้อนนมเดก็โดยใชช้อ้นหรือกระบอกฉีดยาหรือหลอดท่ีใชส้ าหรับหยอดยา ใหเ้ดก็นอนตวัเอนเลก็นอ้ย และตะแคงหนา้ หยอดน ้านมเขา้ปากอยา่งชา้ๆ โดยหยอดตรงขา้งล้ินและกระพุง้แกม้ เดก็จะค่อยๆ กลืนน ้านมได ้

  • สรุป ภาวะปากแหวง่เพดานโหว ่เป็นความพิการท่ีส่งผลให้เกิดปัญหาหลายดา้น ซ่ึงตอ้งการการดูแลในรูปแบบสหสาขาวิชาชีพ การดูแลรักษาบ าบดัตอ้งท าอย่างต่อเน่ือง สม ่าเสมอ จนกระทัง่การเจริญเติบโตทางร่างกายสมบูรณ์ท่ีอายปุระมาณ 21 ปี ต้องอาศัยความร่วมมือและประสานงานอย่างดีจากผูเ้ช่ียวชาญสาขาต่างๆ เพื่อร่วมกนัวางแผนการดูแลรักษาและป้องกนัปัญหามีคุณภาพชีวิตท่ีดี ปกติ หรือใกลเ้คียงปกติมากท่ีสุด การป้องกันการเกิดภาวะปากแหว่ง เพดานโหว ่สามารถท าได้ดว้ยการให้วิตามินและกรดโฟลิคโดยปรึกษาและขอค าแนะน าไดจ้ากแพทย ์และพยาบาล