Chapter 2 Input & Output Devices

24
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ

description

Chapter 2 Input & Output Devices

Transcript of Chapter 2 Input & Output Devices

Page 1: Chapter 2 Input & Output Devices

บทที่ 2 อุปกรณ์รับขอ้มูลและอุปกรณ์แสดงผล

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ

Page 2: Chapter 2 Input & Output Devices

บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล

(Input & Output Devices) หัวเรื่อง

1.1 อุปกรณ์รับข้อมูลได้ 1.2 ประเภทของอุปกรณ์รับข้อมูล 1.3 อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล 1.4 ประเภทของอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ผู้เรียนควรมีความสามารถดังนี้ 1.1 อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์รับข้อมูลได้ 1.2 จ าแนกประเภทของอุปกรณ์รับข้อมูล 1.3 อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล 1.4 เลือกใช้อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลได้อย่างเหมาะสม 1.5 บอกคุณสมบัติของอุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลได้อย่างเหมาะสม

Page 3: Chapter 2 Input & Output Devices

2.1 บทน ำ

จากบทท่ี 1 ได้กล่าวถึงหน่วยประมวลผลกลาง มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลหรือชุดค าสั่งที่เก็บไว้ในหน่วยความจ าหลัก ซึ่งข้อมูลหรือชุดค าสั่งจะมีหน่วยรับข้อมูลเข้าเพ่ือน าข้อมูลเข้า หรือรับข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจ า และมีหน่วยแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของหน่วยประมวลผลกลาง การที่มีหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลข้อมูลนั้น ถือว่าเป็นการสื่อสารโดยตรงระหว่างคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ ส าหรับหน่วยรับข้อมูลจะท าหน้าที่โดยผ่านอุปกรณ์รับข้อมูลที่ผู้ใช้ใส่เข้าไปเพ่ือให้คอมพิวเตอร์น า ไปประมวลผล โดยจะมีอุปกรณ์แสดงผลท าหน้าที่แปลงข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ส่งไปแสดงผลให้ผู้ใช้ในรูปแบบที่ผู้ใช้เข้าใจได้ ถือว่ามีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์นั่นคือ อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Device) และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Device)

2.2 อุปกรณ์รับข้อมลู (Input Devices) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) คือ หน่วยที่ท าหน้าที่รับข้อมูลหรือค าสั่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล โดยผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) คืออุปกรณ์ที่ใช้ป้อนข้อมูลและค าสั่ง หรือ โปรแกรม เข้าสู่คอมพิวเตอร์ โดยจะท าหน้าที่แปลงข้อมูลที่ได้จากการรับเข้าเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ด าเนินการประมวลผลตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น เมื่อต้องการส่งจดหมายถึงเพ่ือน ถ้าเป็นวิธีการเดิมๆ จะมีอุปกรณ์คือ ปากกา, กระดาษ และซองจดหมายติดแสตมป์ แต่ปัจจุบันจะใช้วิธีการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail แทน โดยจะใช้อุปกรณ์คือเครื่องคอมพิวเตอร์แทน ซึ่งการที่เราจะส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องพิมพ์ข้อความหรือจดหมายที่ต้องการผ่านทางคีย์บอร์ด (แทนการเขียนด้วยปากกาบนกระดาษ ซึ่งวิธีการนี้ นิสิตคงจะผ่านวิธีการใช้อีเมล์ของคณะในช่วงการเรียนภาคปฏิบัติ (Lab) มาก่อนแล้ว) อุปกรณ์รับข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ

อุปกรณ์แบบกด (Key Devices)

อุปกรณ์ชี้ต าแหน่งและวาดรูป (Pointing and Drawing Devices)

อุปกรณ์กวาดข้อมูล (Scanning devices)

อุปกรณ์รับข้อมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Input Devices)

2.2.1 อุปกรณ์แบบกด (Key Devices) อุปกรณ์ประเภทนี้ได้แก่ แป้นพิมพ์หรือ คีย์บอร์ด (Keyboard) คีย์บอร์ดเป็นอุปกรณ์พ้ืนฐานที่ใช้ในการรับข้อมูลตัวอักษรและตัวเลขต่างๆ มีการท างานคล้ายแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด แต่ได้เพ่ิมปุ่มควบคุมเฉพาะ เช่น ปุ่มฟังก์ชัน F1 – F12 , ปุ่มเลื่อนต าแหน่ง ลูกศรซ้าย-ขวา ขึ้น-ลง ฯลฯ ซึ่งคีย์บอร์ดจะประกอบด้วยคีย์ย่อยๆ หลายคีย์ ซึ่งแต่ละคีย์จะส่งข้อมูลเป็นรหัสของตัวอักษรที่แตกต่างกันส่งให้คอมพิวเตอร์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทราบว่าในขณะนั้นๆ

Page 4: Chapter 2 Input & Output Devices

ผู้ใช้ก าลังกดตัวอักษรตัวใด หน้าที่ของคีย์บอร์ดคือ แปลงตัวเลข อักขระ หรือเครื่องหมายพิเศษต่างๆ ที่มนุษย์เข้าใจให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งสัญญาณนี้จะถูกส่งไปประมวลผลต่อไป

โครงสร้ำงคีย์บอร์ดมำตรฐำน คีย์บอร์ดส าหรับเครื่องพีซี (PC: Personal Computer) โดยส่วนใหญ่การออกแบบคีย์บอร์ดแต่ละตัวจะยึดหลักคีย์บอร์ดตามแบบของบริษัทไอบีเอ็ม ประกอบด้วย 5 กลุ่ม คือ

คีย์ตัวอักขระ (The Alphanumeric Keys) จะเหมือนกับแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีดที่ประกอบด้วยปุ่มอักษรภาษาอังกฤษ อักษรภาษาไทย ปุ่มตัวเลข สัญลักษณ์พิเศษ ช่องว่ าง เครื่องหมายวรรคตอน และมีกลุ่ม คีย์ปรับปรุง (Modifier Key) อยู่ด้วย ซึ่งประกอบด้วยปุ่ม Alt, Shift, Ctrl เป็นต้น

คีย์ตัวเลข (The Numeric Keypad) คีย์กลุ่มนี้จะอยู่ทางด้านขวาสุดของคีย์บอร์ดซึ่งดูเหมือนเครื่องคิดเลข ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัว และเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ (+, - , * และ /) รวมถึงใช้ควบคุมทิศทางของเคอร์เซอร์หรือจุดที่จะแทรกข้อความ

คีย์ฟังก์ชัน (The Function Keys) ประกอบด้วย F1 ถึง F12 คีย์กลุ่มนี้จะจัดเรียงอยู่ที่แถวแรกบนสุดของคีย์บอร์ด เป็นกลุ่มของคีย์ค าสั่งที่สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องพิมพ์ค าสั่งยาวๆ แต่ละคีย์ฟังก์ชันขึ้นอยู่กับโปรแกรมที่ก าลังใช้งาน ถือว่าเป็นทางลัดส าหรับงานพิเศษ เช่น ปุ่ม F1 ใช้ในการเรียกความช่วยเหลือ (Help) เป็นต้น

ภาพที ่2-1 โครงสรา้งคยีบ์อรด์มาตรฐาน

(ทีม่า: ปีเตอร ์ นอรต์นั , 2545)

Page 5: Chapter 2 Input & Output Devices

คีย์เคลื่อนย้ายเคอร์เซอร์ (The Cursor Movement Keys) ใช้ในการเปลี่ยนต าแหน่งของเคอร์เซอร์บนจอภาพ ลักษณะของเคอร์เซอร์จะเป็นสี่เหลี่ยมเล็กๆ เป็นเส้น หรือบางครั้งก็อาจจะใช้สัญลักษณ์เป็นรูปตัวอักษรไอใหญ่ ( I เรียกว่า I-beam cursor) จะเห็นว่าในการพิมพ์ตัวอักษรใดๆ ก็ตาม จะต้องมีการก าหนดต าแหน่งของเคอร์เซอร์ ซึ่งสามารถใช้กลุ่มของคีย์เคลื่อนย้ายเคอร์เซอร์ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว (เป็นกลุ่มส าหรับควบคุมต าแหน่งของเคอร์เซอร์หรือจุดที่ต้องการแทรกข้อความบนจอภาพ)

คีย์พิเศษท่ีท าหน้าที่เฉพาะ มีอยู่ด้วยกัน 4 คีย์ คือ

- คีย์ Esc คีย์นี้ขึ้นกับโปรแกรมหรือสภาวะแวดล้อมของระบบปฏิบัติการที่ใช้ถ้าเป็นสภาวะแวดล้อมแบบที่มีหลายระดับ การกดปุ่ม Esc จะเป็นการย้อนกลับไปที่ระดับบนหนึ่งระดับ เป็นต้นว่า ถ้าเปิดไดอะล็อกบอกซ์หนึ่งจากไดอะล็อกบอกซ์หนึ่ง การกดปุ่ม Esc จะเป็นการปิดไดอะล็อกบอกซ์นั้นแบบย้อนกลับ (โดยทั่วไปใช้ในการยกเลิกการเลือกหรือการท างานในขณะนั้น)

- คีย์ Print Screen สั่งพิมพ์ตัวอักษรหรือภาพที่เห็นในหน้าจอ ออกมาทางเครื่องพิมพ์ ในบางโปรแกรมจะหมายถึง การคัดลอกจอภาพขณะนั้น ไปใช้ร่วมกับโปรแกรมอ่ืนๆได้

- คีย์ Scroll Lock การใช้งานคีย์นี้ขึ้นกับโปรแกรม โดยมากแล้วมักใช้ควบคุมคีย์เคลื่อนย้ายเคอร์เซอร์

- คีย์ Pause ในบางโปรแกรมจะใช้คีย์นี้ในการหยุดค าสั่งที่ก าลังด าเนินการอยู่

ปัจจุบันมีการพัฒนาคีย์บอร์ดในหลายลักษณะ ทั้งรูปทรง จ านวนปุ่ม ปุ่มฟังก์ชันพิเศษ การใช้แสงอินฟราเรดในการส่งสัญญาณแทนการต่อสายสัญญาณ การน าอุปกรณ์ชี้ต าแหน่งมารวมกับแป้นพิมพ์ เช่น คีย์บอร์ดแบบพับได้ที่สามารถม้วนหรือเก็บพับได้ เหมาะส าหรับผู้ใช้ที่ต้องเคลื่อนย้ายสถานที่ใช้ท างานบ่อย (ตัวอย่างภาพที่ 2-2) หรืออีกตัวอย่างคือ Bluetooth Foldable Keyboard เป็นคีย์บอร์ดพับได้ที่ใช้การเชื่อมต่อกับ Pocket PC ผ่านทาง Bluetooth (ตัวอย่างภาพที่ 2-3) นอกจากนี้ยังมีแป้นพิมพ์ที่ออกแบบมาเพ่ือใช้งานเฉพาะด้าน เป็นการอ านวยความสะดวกและรวดเร็วในการบันทึกข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ส าหรับงานธนาคาร, ตู้ถอนเงินอัตโนมัติ ร้านอาหารจานด่วน (Fast Food) ตู้ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ตู้ฝากเงินสดอัตโนมัติ เป็นต้น

Page 6: Chapter 2 Input & Output Devices

2.2.2 อุปกรณ์ชี้ต ำแหน่งและวำดรูป (Pointing and Drawing Devices) คืออุปกรณ์รับข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถชี้หรือวาดรูปแทนการคีย์หรือพิมพ์ อุปกรณ์นี้ได้ออกแบบมาเพ่ือส าหรับการใช้งานด้านกราฟิก ที่ได้รับความนิยม ได้แก่ เมาส์ (mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ชี้ต าแหน่งหรือวาดรูปอ่ืนๆ เช่น Trackball, Track point, Touchpad, Joystick, light pen, stylus, touch screen

เมำส์ (Mouse) ลักษณะทั่วไปของเมาส์ประกอบด้วยลูกกลิ้งที่ติดตั้งอยู่ด้านล่างของตัวเมาส์ และมีปุ่มกดควบคุมอยู่ด้านบนของตัวเมาส์ โดยปกติปุ่มกดของเมาส์จะมีแบบ 2 ปุ่ม เมื่อต้องการจะท างานใดๆ ให้ท าการกดปุ่มบนเมาส์ คอมพิวเตอร์จะรับสัญญาณและท าการประมวลผลต่อไป เมาส์ที่ใช้โดยทั่วไปมี 3 ประเภทคือ

เมาส์แบบกลไก (Mechanical Mouse) เป็นเมาส์แบบดั้งเดิม ท างานโดยอาศัยลูกบอลยางที่ติดอยู่ด้านล่างของเมาส์ เมื่อเลื่อนเมาส์ลูกบอลยางจะเคลื่อนที่ไปมาท าให้สามารถระบุต าแหน่งบนจอภาพ แล้วส่งเป็นสัญญาณสู่คอมพิวเตอร์ เมาส์บางรุ่นจะมีปุ่มกลาง (wheel button) เพ่ือใช้ในการหมุนเลื่อนดูข้อมูลบนจอภาพได้สะดวก

เมาส์แบบใช้แสง (Optical Mouse) เป็นเมาส์ที่เปลี่ยน จากการใช้ลูกบอลยางในการตรวจสอบการเลื่อน ต าแหน่งไปตามพิกัดต่างๆ บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ มาเปลี่ยนเป็น

ภาพที ่2-2 คยีบ์อรด์แบบพบัได ้

(ทีม่า :

http://g-enter.com/img/kb/A0027199_02OK_BIG_2.jpg

สงิหาคม 2556)

ภาพที ่2-3 Bluetooth Foldable Keyboard

(ทีม่า : http://www.geekalerts.com/foldable-bluetooth-keyboard/ พฤษภาคม 2555)

Page 7: Chapter 2 Input & Output Devices

อุปกรณ์รับแสง (Optical Sensor) โดยเมาส์ประเภทนี้ยังคงมีหลักการท างานเหมือนกับเมาส์ที่ใช้ลูกบอลยางทุกอย่าง เพียงแต่ตัวลูกกลิ้งจะเชื่อมต่อกับอุปกรณ์รับแสงแทน มีข้อดีคือมีความคล่องตัวในการเคลื่อนที่ และมีความสามารถเคลื่อนเมาส์ได้บนวัสดุใดๆ ก็ได้ ไม่จ าเป็นต้องใช้แผ่นรองเมาส์

เมาส์แบบไร้สาย (Wireless mouse) การพัฒนาเมาส์ไร้สายในช่วงแรกจะอาศัยเทคโนโลยีของ รังสีอินฟราเรด (Infrared Technology) แต่ต่อมาก็มีการพัฒนาไปใช้ เทคโนโลยีคลื่นวิทยุ (Radio Technology) ทั้งนี้เนื่องจากการใช้เทคนิคอินฟราเรดจะมีข้อจ ากัดในเรื่องการส่ง-รับสัญญาณ เครื่องส่ง และเครื่องรับจะต้องอยู่ในทิศทางแนวเดียวกันและห้ามมีอุปกรณ์ใดๆ ขวางแนวการรับ-ส่งของคลื่นเด็ดขาด แต่ ส าหรับ เมาส์ที่ใช้เทคโนโลยีความถี่คลื่นวิทยุนี้จะไม่มีปัญหาเรื่องดังกล่าว ท าให้การใช้งานเมาส์มีความสะดวกมากขึ้น และใช้งานได้ในรัศมีที่กว้างขึ้น เนื่องจากคลื่นวิทยุสามารถทะลุผ่านอุปกรณ์กีดขวางใดๆได้ แต่จะต้องมีการติดตั้งเครื่องรับสัญญาณเพ่ิมเติมที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อดีของเมาส์ประเภทนี้คือ สามารถเคลื่อนเมาส์ได้ในระยะที่อยู่ห่างจากคอมพิวเตอร์มากขึ้น เนื่องจากไม่มีสายเป็น ตัวก าหนดขอบเขตการท างานอีกต่อไป

นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ที่ท างานคล้ายเมาส์ คือ แทร็กบอลเมำส์ (Trackball Mouse) ซึ่งเป็นเมาส์ที่กลับเอาลูกบอลยางมาไว้ด้านบนของเมาส์แทนที่จะเป็นด้านล่างเหมือนเมาส์ทั่วไป การใช้งานสามารถท าได้โดยการใช้นิ้วกลิ้งลูกกลิ้งได้โดยตรงไม่จ าเป็นต้องมีการเลื่อนเมาส์ไป -มาบนแผ่นรองเมาส์เพ่ือหมุนลูกกลิ้งไปตามทิศทางที่ต้องการ เหมาะกับการใช้งานบนโต๊ะท างานที่มีพ้ืนที่จ ากัด

Track point เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ชี้ต าแหน่งที่มีขนาดเล็กคล้ายกับแท่งยางลบดินสอ นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยจะติดตั้งไว้ระหว่างปุ่มตัวอักษร G, H และ B ส่วนปุ่มกดจะอยู่บริเวณด้านล่างของ Space Bar เมื่อต้องการใช้งานจะใช้วิธีการเอาปลายปากกาหรือปลายดินสอ หรือนิ้วมือไปกดที่ปุ่มตรงแท่งยางลบดินสอ แล้วโยกมือเพ่ือเลื่อนต าแหน่ง

ภาพที ่2-4 เมาสแ์บบใชแ้สง ภาพที ่2-5 แทรก็บอลเมาส ์

(ทีม่า : http://www.brr.ac.th/oldweb/knowledge/hardware/mouse/mouse.htm พฤษภาคม 2555)

Page 8: Chapter 2 Input & Output Devices

แผ่นสัมผัส (Touch Pad, Track Pad) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ชี้ต าแหน่งที่มีลักษณะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมในแนวระนาบ นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพา มีวงจรรับสัญญาณภายในวางไว้บริเวณหน้าคีย์บอร์ด (ที่พักมือ)เมื่อต้องการสั่งงานเพียงแต่น าปลายนิ้วเลื่อนไปบนแผ่นเรียบในทิศทางที่ต้องการ สามารถคลิกเบาๆ บนแผ่นเรียบเพื่อสั่งการได้ หรือใช้ปุ่มกดข้างๆ บริเวณแผ่นเรียบได้

Joystick เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้ต าแหน่ง มีลักษณะการท างานคล้ายเมาส์ แต่มีรูปทรงแปลกตาโดยมีก้านควบคุมอยู่ด้านบน ซึ่งก้านควบคุมนี้จะสามารถเคลื่อนที่ได้เหมือนคันโยก ท าให้สามารถควบคุมการเลื่อนต าแหน่งได้สะดวก บางรุ่นจะเพ่ิมปุ่มฟังก์ชันพิเศษ นิยมใช้กับเกมคอมพิวเตอร์และควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์

ปำกกำแสง (Light pen) มีรูปร่างคล้ายปากกาทั่วไป แต่มีความไวต่อแสงเนื่องจากใช้เซลล์แบบ Photoelectric ซึ่งมีความไวต่อแสงเป็นตัวก าหนดต าแหน่งบนจอภาพ รวมทั้งสามารถใช้วาดลักษณะหรือรูปแบบของข้อมูลให้ปรากฏบนจอภาพ การใช้งานท าได้โดยการแตะปากกาแสงไปบนหน้าจอชนิดพิเศษที่ใช้กับปากกาชนิดนี้ได้ ตามต าแหน่งที่ต้องการ นิยมใช้กับงานคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ (Computer Aided Design หรือ CAD) รวมทั้งนิยมใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลโดยการเขียนด้วยมือ ในคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น PDA เป็นต้น

ภาพที ่2- 6 Track point

(ทีม่า: http://www.codinghorror.com/blog/2006/05/

พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2- 7 แผ่นสมัผสั

(ทีม่า : http://en.akihabaranews.com/16738/legacy-

unused/image/wire-or-wireless-keyboard-with-touchpad-from-

sanwa พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-8 Joysticks ชนิดต่างๆ

(ทีม่า : http://www.digitaltrends.com/gaming/hold-on-

with-genius-metalstrike-joysticks/ พฤษภาคม 2555)

Page 9: Chapter 2 Input & Output Devices

(ท่ีมา http://www.sglcomp.com พฤษภาคม 2555)

สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายปากกา ใช้แรงกดในการวาดภาพบนหน้าจอ สไตลัสจะท างานคู่กับซอฟต์แวร์รู้จ าลายมือ (Handwriting recognition software) ซึ่งจะแปลงสิ่งที่เขียนหรือวาดให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ โดยส่วนใหญ่จะใช้ร่วมกับกราฟฟิกแท็บเล็ต (graphics tablets) และ พีดีเอ นิยมใช้กับงานด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม วิศวกรรม การท าแผนที่ และการวาดภาพ เช่น ใช้ในการออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่ ตึกอาคาร อุปกรณ์ทางการแพทย์ และหุ่นยนต์ เป็นต้น

7) จอสัมผัส (Touch Screen) เป็นจอภาพแบบพิเศษ ที่มีหน้าจอชั้นนอกเป็นลักษณะคล้ายแผ่นพลาสติกใส ภายในจะ

ประกอบด้วยล าแสงอินฟราเรดที่มองไม่เห็น จากหลักการออกแบบนี้ท าให้สามารถรับค าสั่งจากผู้ใช้โดยผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้วสัมผัสลงบนจอภาพในต าแหน่งที่ก าหนดไว้ เพ่ือเลือกการท างานที่ต้องการแทนการใช้ Mouse หรือ Keyboard ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหาว่าผู้ใช้เลือกทางเลือกใด และท างานให้ตามนั้น หลักการนี้นิยมใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เพ่ือช่วยให้ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่คล่อง สามารถเลือกข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว นิยมใช้งานในร้านอาหาร ตู้เอทีเอ็ม หรือ ศูนย์บริการข้อมูลต่าง เช่น ใช้แสดงข้อมูลการท่องเที่ยว เป็นต้น

ภาพที ่2-9 ปากกาแสง

ภาพที ่2-11 สไตลสั

(ทีม่า: http://en.wikipedia.org/wiki/File:HTC_Touch2_used_with_a_stylus.jpg พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-10 การใชป้ากกาแสง

Page 10: Chapter 2 Input & Output Devices

2.2.3 อุปกรณ์กวำดข้อมูล (Scanning devices) เป็นอุปกรณ์เพ่ือใช้บันทึกข้อความ ภาพวาด หรือ สัญลักษณ์พิเศษอ่ืนๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ โดยมี

หลักการท างานคือ อุปกรณ์จะแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลที่สามารถน าไปประมวลผลและแสดงบนจอภาพได้ อุปกรณ์กวาดข้อมูล ได้แก่

สแกนเนอร์

เครื่องอ่านบาร์โค้ด

เครื่องอ่านอักขระและเครื่องหมาย

สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านหรือ สแกน (Scan) ข้อมูลบนเอกสารเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดย เอกสารที่อ่านอาจจะประกอบด้วยข้อความหรือรูปภาพกราฟิกก็ได้ สแกนเนอร์สามารถแบ่งตามวิธีใช้งานได้ 3 ประเภท คือ

- สแกนเนอร์แบบมือถือ (Hand-held scanners) มีราคาถูก เพราะกลไกที่ใช้ไม่สลับซับซ้อน ผู้ใช้ต้องเลื่อนหัวสแกนเนอร์ไปบนหนังสือหรือรูปภาพเอง มีขนาดเล็กเหมาะกับการพกพา

- สแกนเนอร์แบบสอดกระดำษ (Sheet-fed scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่ผู้ใช้ต้อง

สอดภาพหรือเอกสารเข้าไปยังช่องส าหรับอ่านข้อมูล (Scan head) เครื่องชนิดนี้จะเหมาะส าหรับการอ่านเอกสารที่เป็นแผ่น ๆ แต่ไม่สามารถอ่านเอกสารที่เย็บเป็นเล่มได้

ภาพที ่2-12 จอสมัผสั

( ทีม่า http://www.monavista.com/contents/images/HP-

ENVY-TouchSmart-Ultrabook-4_Win8-screen(3).jpg)

พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-13 สแกนเนอรแ์บบมอืถอื

(ทีม่า: http://www.largescanner.net/ พฤษภาคม 2555)

Page 11: Chapter 2 Input & Output Devices

- สแกนเนอร์แบบแท่นนอน (Flatbed scanners) สแกนเนอร์แบบแท่น (Flatbed scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน ผู้ใช้เพียงวางกระดาษต้นฉบับที่ต้องการไปบนเครื่องสแกนเนอร์ มีวิธีการท างานคล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร ท าให้ใช้งานง่ายและสะดวก

เครื่องอ่ำนบำร์โค้ด (Barcode Reader) บาร์โค้ด คือ การแทนข้อมูลที่เป็นรหัสของเลขฐานสอง (Binary Codes) ในรูปแบบของแถบสีด าและขาวที่มีความกว้างของแถบที่ต่างกัน แถบที่มีสีและความกว้างที่ต่างกันนี้ จะมีค่าเป็นตัวเลขท่ีแตกต่างกันและมาตรฐานสากลได้ก าหนดค่าไว้

เครื่องอ่านบาร์โค้ดใช้หลักการสะท้อนแสง โดยอาศัยความแตกต่างกันระหว่างแถบเข้มและพ้ืนที่ว่าง โดยที่พ้ืนที่ว่างจะมีการสะท้อนกลับของแสงได้มากกว่าบริเวณที่เป็นแถบเข้ม เครื่องอ่านบาร์โค้ดนิยมใช้กับงานขายสินค้าและบริการ เช่น ห้างสรรพสินค้า ห้องสมุด ฯลฯ

ภาพที ่2-14 สแกนเนอรแ์บบสอดกระดาษ

(ทีม่า http://news.tigerdirect.com พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-15 สแกนเนอรแ์บบแท่นนอน

(ทีม่า http://www.helpingindia.com พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-16 บารโ์คด้, เครือ่งอ่านบารโ์คด้, เครือ่งพมิพบ์ารโ์คด้

(ทีม่า: http://www.sandslable.com พฤษภาคม 2555)

Page 12: Chapter 2 Input & Output Devices

เครื่องอ่ำนอักขระและเครื่องหมำย (character and mark recognition device) เป็นอุปกรณ์กวาดข้อมูลที่สามารถอ่านอักขระและเครื่องหมายชนิดพิเศษได้ และเป็นอุปกรณ์ที่จ าเป็นส าหรับงานเฉพาะด้าน แบ่งออกดังนี้

- เครื่องอ่ำนอักขระที่บันทึกด้วยหมึกแม่เหล็ก หรือ เอ็มไอซีอำร์ (Magnetic Ink Character Recognition – MICR) เป็นอุปกรณ์เพ่ือรับข้อมูลและประมวลผลข้อความหรือเครื่องหมายที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก (magnetic ink) เช่น เช็ค นิยมใช้ในงานธนาคาร ปัจจุบันมีจ านวนผู้นิยมใช้เช็คมากขึ้น จึงมีผู้คิดค้นวิธีการตรวจสอบเช็คให้รวดเร็วมีประสิทธิภาพ และเชื่อถือได้ โดยได้คิดประดิษฐ์เครื่อง MICR ขึ้นใช้ในธนาคารส าหรับตรวจสอบเช็ค เครื่องจะท าการเข้ารหัสธนาคาร รหัสสาขา เลขที่บัญชี และเลขที่เช็ค ไว้ในเช็คทุกใบ จากนั้นจึงส่งเช็คให้ลูกค้า ตัวเลขที่เข้ารหัสไว้จะเรียกว่า เลขเอ็มไอซีอาร์ (MICR number) ในเช็คทุกใบจะมีเลข MICR สีด าชัดเจนที่ด้านล่างซ้ายของเช็คเสมอ และหลังจากท่ีเช็คนั้นกลับมาสู่ธนาคารอีกครั้ง ก็จะท าการตรวจสอบจากเลข MICR ว่าเป็นเช็คของลูกค้าคนนั้นจริงหรือไม่ เครื่อง MICR ไม่เป็นที่นิยมใช้กับงานประเภทอ่ืน เพราะชุดของตัวอักษรที่เก็บได้มีสัญลักษณ์เพียง 14 ตัวเท่านั้นข้อดีของเครื่อง MICR คือมีมนุษย์เข้ามาเกี่ยวข้องน้อย ท าให้มีเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดต่ ามากรหัส MICR ที่ใช้สามารถอ่านได้ทั้งคน และเครื่อง MICRท างานได้อย่างอัตโนมัติ รวดเร็วและเชื่อถือได้

- เครื่องอ่ำนเครื่องหมำยด้วยแสง (Optical Mark Recognition - OMR) โอเอ็มอาร์ หรือ อุปกรณ์ตรวจจับเครื่องหมาย (Mark sensing) เป็นเครื่องที่ใช้อ่านและประมวลผลเครื่องหมาย ซึ่งจะใช้หลักการอ่านสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย ที่ระบายด้วยดินสอด าลงในต าแหน่งที่ก าหนด เช่น ใช้ส าหรับการสอบเข้ามหาวิทยาลัย เป็นต้น ซึ่งสามารถส่งสัญญาณการรับรู้เครื่องหมายบนแผ่นกระดาษท่ีมีผงคาร์บอนอยู่ แล้วแปลงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไป

ภาพที ่2-17 ตวัอยา่งเชค็และเครือ่ง MICR

(ทีม่า : http://www.access-is.com/micr_reader.php พฤษภาคม 2555)

Page 13: Chapter 2 Input & Output Devices

- เครื่องอ่ำนอักขระด้วยแสง (Optical Character Recognition - OCR) OCR เป็นอุปกรณ์ส าหรับอ่านข้อมูลที่เป็นตัวอักขระบนเอกสารประเภทต่าง ๆ เช่น เอกสารจากลายมือ เอกสารที่พิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ การท างานของ OCRจะอ่านลักษณะรูปร่างของอักขระและน าไปเปรียบเทียบกับรูปร่างของอักขระท่ีบันทึกไว้แล้วในหน่วยความจ า จากนั้นจะแปลงอักขระนั้นๆ ให้เป็นรหัสคอมพิวเตอร์ และท าการแปลงข้อมูลแบบดิจิตอลที่อ่านได้ไปเป็นตัวอักษรโดยอัตโนมัติ โอซีอาร์อาจเป็นได้ทั้งอุปกรณ์เฉพาะส าหรับแปลงเอกสารเข้าสู่คอมพิวเตอร์ หรืออาจหมายถึงซอฟต์แวร์ส าหรับวิเคราะห์ตัวอักษรจากข้อมูลที่ได้จากสแกนเนอร์ก็ได้

(OCR Software) เป็นโปรแกรมที่ใช้ส าหรับวิเคราะห์ อักขระของข้อมูลที่ได้จากการอ่านเอกสารด้วยสแกนเนอร์และสามารถน าไปเพ่ิม ลบ แก้ไข ได้ ด้วยโปรแกรมประมวลผลค า เช่น word processor, spreadsheet ในกรณีที่ต้องการเก็บเอกสารให้อยู่ในรูปแบบตัวอักษร (Text Document) ก็สามารถใช้สแกนเนอร์อ่านตัวอักษรนั้นเข้าไป แล้วใช้ซอฟต์แวร์อ่านอักขระ หรือโอซีอาร์ (OCR : Optical Character Recognition) ที่ต้องผ่านการท างานของซอฟต์แวร์อ่านอักขระเพราะอักษรที่อ่านเข้าไปในสแกนเนอร์นั้นจะถูกมองเป็นรูปภาพ ดังนั้น เพื่อเปลี่ยนตัวอักษรที่ถูกมองเป็นรูปภาพนั้นให้เป็นเท็กซ์ไฟล์ ซึ่งเป็นไฟล์เก็บตัวอักษรที่เหมือนกับไฟล์ที่เกิดจากการพิมพ์ด้วยเวิร์ด จึงต้องใช้ซอฟต์แวร์อ่านอักขระ ตัวอักษรที่ถูกสแกนหรืออ่านเป็นภาพที่เก็บลงในหน่วยความจ าจะเก็บเป็นลักษณะบิตแมป (Bitmap) ตารางของการเก็บจุดแต่ละจุดแทนด้วยหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งบิต

2.2.4 อุปกรณ์รับข้อมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Input Devices) แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ

อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง

กล้องวิดีโอดิจิตอล

กล้องถ่ายภาพดิจิตอล

ภาพที ่2-15 ตวัอยา่งกระดาษค าตอบ (ทีม่า:

http://www.gravic.com/remark/breakdown.

html พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-19 เครือ่ง OMR

(ทีม่า http://www.supplierlist.com/manufacturer-

OMR_.htm พฤษภาคม 2555)

Page 14: Chapter 2 Input & Output Devices

อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง (Sound Input Devices) โดยปกติเสียงจะถูกบันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยใช้ไมโครโฟนซึ่งเชื่อมต่อกับการ์ดเสียง (Sound card) เสียงที่เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถที่จะน ามาแก้ไข เปลี่ยนแปลงโดยใช้โปรแกรมจัดการเสียง ไ ม โ ค ร โ ฟ น ( Microphone) เ ป็ นอุปกรณ์ที่ใช้รับเสียง ซึ่งเสียงที่ได้จากไมโครโฟนจะถูกส่งไปแปลงสัญญาณในซาวด์การ์ด (Sound Card) เพ่ือเก็บลงในคอมพิวเตอร์ ซาวด์การ์ดมีหน้าที่ในการแปลงสัญญาณไฟฟ้า (Electric Signal) ที่ส่งมาจากไมโครโฟนให้เป็นสัญญาณดิจิตอลแล้วเก็บลงในคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถน าไปประมวลผลได้ และซาวด์การ์ดยังสามารถเปลี่ยนสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณอนาล็อกและส่งเสียงออกท่ีล าโพง (Speaker)

กล้องวิดีโอดิจิตอล (Digital Video camera) จากที่มัลติมีเดียและอินเตอร์เน็ตได้รับความนิยม ผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์จึงได้หันมาสนใจเรื่องวิดีโอกันมาก โดยรวมเอากล้องวิดีโอติดตั้งไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ และรวมเอาความสามารถในการต่อเชื่อมโดยตรงกับอุปกรณ์วิดีโอทุกประเภท ให้ผู้ใช้ได้สามารถใช้ Application แบบวิดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ได้ สามารถส่งภาพของคนหนึ่งที่นั่งอยู่หน้าจอ ให้ไปปรากฏบนหน้าจอของอีกเครื่องหนึ่งได้

กล้องถ่ำยภำพดิจิตอล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม กล้องดิจิตอลมีลักษณะคล้ายกับกล้องท่ีใช้ถ่ายภาพโดยทั่วไป แต่แตกต่างที่การจัดเก็บภาพในรูปแบบของ

ภาพที ่2-21 กลอ้งวดิโีอ

(ทีม่า http://www.sony.co.th พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-20 ซอฟตแ์วรอ่์านอกัขระ ชือ่ โปรแกรมอ่านไทย

(ทีม่า http://www.thaisoftware.co.th/index.php?tpid=pro:NEC-0006 / พฤษภาคม 2555)

Page 15: Chapter 2 Input & Output Devices

ข้อมูลดิจิตอลจะจัดเก็บบนแผ่นดิสก์ หรือในหน่วยความจ าของกล้องแทนการใช้ฟิล์ม สามารถถ่ายภาพและแสดงผลลัพธ์ได้ในเวลารวดเร็ว นิยมใช้จัดเก็บภาพเพ่ือน ามาประยุกต์ใช้กับงานด้านคอมพิวเตอร์

2.3 อุปกรณ์แสดงผลขอ้มูล (Output Devices) หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) คือ หน่วยที่ท าหน้าที่น าข้อมูลหรือสารสนเทศที่ผ่านการ

ประมวลผลจากคอมพิวเตอร์ มาแสดงให้ผู้ใช้ โดยผ่านทางอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Devices)

อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Devices) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะท าหน้าที่แปลงข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลจากคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้เข้าใจ อุปกรณ์ที่ท าหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) และ หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)

2.3.1 หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการท างานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็หายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ แต่ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลส ารอง เพ่ือให้สามารถน ามาใช้งานในภายหลัง หน่วยแสดงผลที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ คือ จอภาพ เครื่องฉายภาพ อุปกรณ์ส่งออกเสียง

จอภำพ (Monitor) จอภาพเป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการแสดงผลข้อมูลที่มีการใช้งานและมีความจ าเป็นมากที่สุด จอภาพมี

ลักษณะภายนอกคล้ายๆ กับจอโทรทัศน์ สิ่งที่แสดงออกทางจอภาพมีทั้งข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว โดยรับข้อมูลจากการ์ดแสดงผล (Video Card, Video Adapter) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่บนเมนบอร์ด ท าหน้าที่น าข้อมูลจากหน่วยประมวลผลมาแปลงเป็นสัญญาณภาพ แล้วส่งให้จอภาพแสดงผล

ชนิดของจอภำพ ที่ใช้ในเครื่องพีซีโดยทั่วไปจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ

- จอภาพแบบ CRT หรือ จอภาพแบบหลอดรังสีคาโธด (cathode-ray tubes) จอภาพชนิดนี้มักจะพบในเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดตั้งโต๊ะ ซึ่งลักษณะของจอภาพชนิดนี้จะคล้ายจอโทรทัศน์มากซึ่งจะใช้หลอดสุญญากาศ จอภาพชนิดนี้จะมีความละเอียดของจอภาพที่ดีกว่าจอภาพชนิดอ่ืน และมีราคาต่ ากว่า แต่มีข้อเสียคือ มีขนาดใหญ่ท าให้ใช้พื้นที่มาก และเคลื่อนย้ายล าบาก

ภาพที ่2-22 กลอ้งดจิติอล

(ทีม่า http://www.sony.co.th พฤษภาคม 2555

Page 16: Chapter 2 Input & Output Devices

(ท่ีมา : http://www.school.net.th/library/create-web/10000/technology/10000-11743.html พฤษภาคม 2555)

- จอภาพแบบแบน (Flat-panel Display) มักจะใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา และในปัจจุบันได้รับความนิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะด้วย จอภาพชนิดนี้จะมีขนาดบางกว่าจอ CRT และใช้พลังงานน้อยกว่าจอแสดงผลแบบแบนมีหลายชนิด แต่ที่นิยมใช้กันแพร่หลายที่สุดก็คือ จอแอลซีดี (LCD: Liquid Crystal Display) จอแอลซีดีนี้จะสร้างภาพได้จากของเหลวชนิดหนึ่งที่โดยปกติจะโปร่งใส แต่เมื่อมีการชาร์จด้วยไฟฟ้า ของเหลวนี้จะกลายเป็นขุ่นทึบ และยังมีข้อเสียคือไม่เรืองแสงเหมือนจอ CRT ท าให้มองไม่เห็นความแตกต่างระหว่างภาพกับพ้ืนหลังที่ชัดเจน ปัญหานี้แก้ได้โดยการเพ่ิมแสงให้กับพ้ืนหลังที่เรียกว่า Backlighting แม้ว่าจะท าให้อ่านง่ายขึ้น แต่ก็ต้องใช้พลังงานที่เพ่ิมขึ้นด้วย จอภาพแบบ LCD แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ

1. Passive-matrix หรือ dual-scan จะใช้หลักการสร้างภาพโดยการสแกนทั้งหน้าจอ ท าให้ประหยัดพลังงาน แต่มีข้อเสียคือ ภาพจะไม่คมชัด

2. Active-matrix หรือ จอภาพที่ใช้เทคโนโลยี TFT (Thin Film Transistor) จะมีการท างานคือใช้การยิงล าแสงอิเล็กตรอนไปที่แต่ละพิกเซล แทนการสแกนทั้งหน้าจอ

จอภาพชนิดนี้จะมีความละเอียดและสีที่มีความความชัด แต่มีข้อเสียคือต้องใช้พลังงานมากกว่าและมีราคาสูงกว่าแบบแรก

ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและความคมชัดของการแสดงผล ได้แก่

- ขนาดจอภำพ (Size) ขนาดของหน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถวัดได้จากแนวเส้นทแยงมุมของจอภาพ โดยวัดจากมุมบนด้านใดด้านหนึ่ง มายังมุมล่างอีกด้าน ขนาดโดยทั่วไปคือ 14, 15, 19 และ 21 นิ้ว

- ควำมละเอียดของจอภำพ (Resolution) ภาพที่แสดงบนจอภาพเกิดจากจุดหลายๆ จุดมารวมกัน เรียกว่า พิกเซล (Pixels) ดังนั้น Resolution หรือความละเอียดของหน้าจอ สามารถแสดงในความละเอียดที่สูงขึ้นจะท าให้ภาพมีขนาดเล็กลงเพราะว่า ในแต่ละระดับความละเอียดจะบ่งบอกถึงขนาดในการแสดงผลในระดับกว้าง x ยาว เช่น จอภาพความละเอียด 1,600 x 1,200 พิกเซล (1,600 คูณ 1,200 = 1,920,000 พิกเซล) นั่นคือ สามารถแสดงความละเอียดที่ 1,600 พิกเซลตามแนวตั้งของจอภาพ และ1,200

ภาพที ่2-23 ตวัอยา่งจอภาพแบบ CRT

ภาพที ่2-24 ตวัอยา่งจอภาพแบบแบน

Page 17: Chapter 2 Input & Output Devices

พิกเซล ตามแนวนอน ซึ่งจอภาพที่มีความละเอียดสูง (จ านวนพิกเซลมาก) ภาพที่ได้จะมีความชัดเจนมาก ซึ่งมีมาตรฐานความละเอียดของจอภาพ ตามตาราง

- ควำมถี่ในกำรแสดงผล (Refresh Rate) หรือ อัตราการรีเฟรชจอภาพ ใช้ในการระบุความถี่ในการเปลี่ยนภาพหรือสร้างภาพใหม่ หน่วยของอัตราการรีเฟรชจะวัดเป็น เฮิรตซ์ (Hertz) หรือ รอบต่อวินาที จอภาพส่วนใหญ่จะมีอัตราการรีเฟรชอยู่ที่ 75 เฮิรตซ์ (Hertz) นั่นคือ จอภาพจะมีการเปลี่ยนภาพหรือสร้างภาพใหม่ 75 ครั้งต่อวินาที ซึ่งถ้าอัตรา Refresh Rate ที่ต่ าจะท าให้ภาพที่ได้นั้นมีอาการสั่น กระพริบ ท าให้เกิดผลเสียกับสายตาได้อย่างมาก อัตราการ Refresh Rate ที่สูง ภาพที่ได้จะมีคุณภาพสูงตามไปด้วย

มาตรฐาน พิกเซล

SVGA 800 x 600

XGA 1,024 x 768

SXGA 1,280 x 1,024

UXGA 1,600 x 1,200

QXGA 2,048 x 1,536

- ระยะห่ำงของจุด (Dot Pitch) คือ ระยะห่างระหว่างแต่ละพิกเซล จอภาพรุ่นใหม่ จะมีค่าของระยะห่างของจุดอยู่ที่ 0.31 มิลลิเมตร (31/100 ของมิลลิเมตร) หรือ น้อยกว่านี้ (ถ้าจ านวน Dot Pitch ต่ าหรือน้อย ภาพที่ได้จะมีความคมชัดมากขึ้น)

เครื่องฉำยภำพ (Projector) เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเรียนการสอนหรือการประชุม เนื่องจากสามารถน าเสนอ

ข้อมูลให้แก่ผู้ชมจ านวนมากเห็นพร้อม ๆ กัน อุปกรณ์ฉายภาพในปัจจุบันจะมีอยู่หลายแบบ ทั้งที่สามารถต่อสัญญาณจากคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือใช้อุปกรณ์พิเศษในการวางลงบนเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Over Head Projector) ธรรมดา เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใส

ภาพที ่2-25 Projectors

(ทีม่า: http://www.shopnet365.com/vivitek-h1080fd-review/ พฤษภาคม 2555)

Page 18: Chapter 2 Input & Output Devices

อุปกรณ์ส่งออกเสียง (Audio output device) ท าหน้าที่ในการแปลงข้อมูลเสียงในรูปแบบดิจิตอลให้เป็นเสียงที่มนุษย์รับฟังได้ อุปกรณ์ในการ

ส่งออกเสียงที่นิยมใช้ คือ ล าโพง และ หูฟัง อุปกรณ์นี้จะเชื่อมต่อกับการ์ดเสียง ซึ่งท าหน้าที่ในการบันทึกและแสดงเสียงเหล่านั้นได้

2.3.2 หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) หมายถึง การแสดงผลที่สามารถจับต้อง และเคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมาในรูปของกระดาษ ซึ่งผู้ใช้สามารถน าไปใช้ในที่ต่าง ๆ ได้ อุปกรณ์ที่ใช้เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) และ Plotters

เครื่องพิมพ์ (Printer) สามารถแบ่งตามวิธีการพิมพ์ได้ 2 ชนิด คือ เครื่องพิมพ์แบบกระทบ (Impact printer) และ เครื่องพิมพ์ชนิดไม่กระทบ (Non impact printer)

เครื่องพิมพ์แบบกระทบ (Impact printer) ใช้การตอกให้คาร์บอนบนผ้าหมึกติดบนกระดาษตามรูปแบบที่ต้องการ สามารถพิมพ์ส าเนา (Copy) ครั้งละหลายชุดโดยใช้กระดาษคาร์บอนวางระหว่างกระดาษแต่ละแผ่น ความเร็วในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ประเภทนี้จะมีหน่วยเป็นบรรทัดต่อวินาที (lpm-line per minute) ข้อเสียของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ก็คือ มีเสียงดังและคุณภาพงานพิมพ์ที่ ได้จะไม่ดีนัก สามารถแบ่งเป็น 2 ชนิดย่อย คือ

- เครื่องพิมพ์อักษร (Character printer) หมายถึงเครื่องพิมพ์ดีดที่พิมพ์ครั้งละหนึ่งตัวอักษรเท่านั้น ตัวอักษรแต่ละตัวจะถูกสร้างขึ้นจากจุดเล็ก ๆ จ านวนมาก จึงสามารถเรียกอีกอย่างว่า เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot matrix printer) นิยมใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

- เครื่องพิมพ์บรรทัด (Line printer) หมายถึงเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ครั้งละหนึ่งบรรทัด เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้งานได้รวดเร็ว แต่จะมีราคาสูง นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ หรือเครื่องพิมพ์ที่มีผู้ใช้หลายคน

ภาพที ่2-26 หฟูงั และ ล าโพง

(ทีม่า http://www.asakithai.com/web/default.html พฤษภาคม 2555)

Page 19: Chapter 2 Input & Output Devices

เครื่องพิมพ์ชนิดไม่กระทบ (Non impact printer) ใช้เทคนิคการพิมพ์จากวิธีการทางเคมี ซึ่งท าให้พิมพ์ได้เร็วและคมชัดกว่าชนิดตอก พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและกราฟิก รวมทั้งไม่มีเสียงขณะพิมพ์ แต่มีข้อจ ากัดคือไม่สามารถพิมพ์กระดาษส าเนา (Copy) ได้ ความเร็วในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ประเภทนี้จะมีหน่วยเป็นหน้าต่อนาที (PPM-page per minute) และสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ คือ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท และเครื่องพิมพ์เทอร์มอล

- เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) ท างานคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร คือใช้แสงเลเซอร์สร้างประจุไฟฟ้า ซึ่งจะมีผลให้โทนเนอร์ (Toner) สร้างภาพที่ต้องการและพิมพ์ภาพนั้นลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์เลเซอร์แต่ละรุ่นจะแตกต่างกันในด้านความเร็วและความละเอียดของงาน

เทคโนโลยีของพรินเตอร์ชนิดเลเซอร์นี้จะยิงล าแสงเลเซอร์ไปที่ดรัม ท าให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นมา ภายในโทนเนอร์จะบรรจุผงหมึกที่มีประจุไฟฟ้าที่มีขั้วตรงข้ามกับประจุไฟฟ้าที่เกิดที่ดรัม ประจุไฟฟ้าต่างข้ัวกันจะท าให้ผงหมึกเกาะติดกับดรัม ณ ต าแหน่งที่มีเลเซอร์ยิงผ่าน และจากความดันและความร้อนที่มีโทนเนอร์จะผลักผงหมึกที่ดรัมให้ไปเกาะติดที่กระดาษแทน

(ท่ีมา : http://www.neutron.rmutphysics.com/science-ews/index.php?option=com_content&task=view&id=1704&Itemid=4 พฤษภาคม 2555)

- เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท (Inkjet Printer) หรือเครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก จะใช้หลักการสร้างภาพจากการพ่นน้ าหมึกด้วยความเร็วสูงลงบนกระดาษ สามารถพิมพ์รูปได้คุณภาพใกล้เคียงกับ

ภาพที ่2-27 เครือ่งพมิพ ์Dot-Matrix

(ทีม่า: http://www.epson.co.uk/Printers-and-

All-In-Ones/Dot-Matrix พฤษภาคม 2555)

ภาพที ่2-29 การท างานของ Laser printer ภาพที ่2-28 เครือ่งพมิพเ์ลเซอร ์

Page 20: Chapter 2 Input & Output Devices

ภาพถ่าย และมีราคาถูกกว่าเครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกในปัจจุบันจะมีคุณภาพ ในการพิมพ์ต่างกันไปตามเทคโนโลยีการฉีดหมึกและจ านวนสีที่ใช้ โดยรุ่นที่มีราคาต่ ามักใช้หมึกพิมพ์สามสี คือ น้ าเงิน (cyan) , ม่วงแดง (magenta) และเหลือง (yellow) ซึ่งสามารถผสมสีออกมาเป็นสีต่าง ๆ ได้ แต่จะให้คุณภาพของสีด าที่ไม่ดีนัก จึงมีเครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภาพสูงกว่าที่เพ่ิมสีที่ 4 เข้าไปคือ สีด า (black) เครื่องพิมพ์ฉีดหมึกในปัจจุบันโดย มากจะใช้สีนี้เป็นหลัก แต่จะมีเครื่องพิมพ์อีกระดับที่เรียกว่าเครื่องพิมพ์ส าหรับภาพถ่าย (Photo printer) ที่จะเพ่ิมสีน้ าเงินอ่อน (light cyan) และม่วงแดงอ่อน (light magenta) เป็น 6 สีเพ่ือเพ่ิมความละเอียดในการไล่เฉดสีภาพถ่ายให้เหมือนจริงยิ่งขึ้น และบางรุ่นก็จะมีการเพ่ิมสีที่ 7 คือสีด าจางเพ่ือช่วยในการพิมพ์เฉดสีเทาเข้าไปอีก

- เครื่องพิมพ์เทอร์มอล (Thermal printer) ใช้ความร้อนในการละลายสีและถ่ายเทหมึกสีจากแผ่นหมึกไปบนผิวหน้าของกระดาษที่ไวต่อความร้อนเพ่ือสร้างภาพ เป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภาพในการพิมพ์สูงสุดจะมี 2 ประเภท คือ 1) Thermal wax transfer ให้คุณภาพและราคาที่ต่ ากว่า ท างานโดยการกลิ้งริบบอนที่เคลือบแวกซ์ไปบนกระดาษ แล้ว เพ่ิมความร้อนให้กับริบบอนจนแวกซ์นั้นละลายและเกาะติดอยู่บนกระดาษ และ 2) Thermal dye transfer ใช้หลักการเดียวกับ thermal wax แต่ใช้สีย้อมแทน wax จะเป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภาพสูงสุด โดยสามารถพิมพ์ภาพสีได้ใกล้ เคียงกับภาพถ่าย แต่ราคาเครื่องและค่าใช้จ่ายในการพิมพ์จะสูงมาก

ภาพที่ 2-31 Thermal wax transfer

ภาพที ่2-30 การท างานขององิคเ์จต็และเครือ่งพมิพแ์บบ Ink Jet

(ทีม่า : ปีเตอร ์ นอรต์นั , 2545)

Page 21: Chapter 2 Input & Output Devices

(ท่ีมา : http://www.directsigns.com/Equipment.htm พฤษภาคม 2555)

เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) เป็นอุปกรณ์แสดงที่มีลักษณะคล้ายเครื่องพิมพ์ที่สามารถสร้างรูปภาพบนกระดาษได้

พลอตเตอร์ถูกออกแบบให้สามารถสร้างรูปภาพที่มีขนาดใหญ่ เช่น แปลนงานก่อสร้างอาคารต่างๆ ที่สร้างจากระบบแคด (CAD System) หรือพิมพ์เขียว, แผนที่ ผังอาคาร แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ภาพเหล่านี้เป็นภาพที่มีขนาดใหญ่ เครื่องพลอตเตอร์จึงถูกออกแบบให้สามารถพิมพ์กับกระดาษขนาดใหญ่ได้ถึง 40x80 นิ้ว เหมาะส าหรับงาน เกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม (เขียนลงบนกระดาษไข) และงานตกแต่งภายใน ส าหรับวิศวกรรมและสถาปนิก พลอตเตอร์ท างานโดยใช้วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ปากกาได้ 6-8 สี ความเร็วในการท างานของ พลอตเตอร์มีหน่วยวัดเป็นนิ้วต่อวินาที (Inches Per Second : IPS) ซึ่งหมายถึงจ านวนนิ้วที่พลอตเตอร์สามารถเลื่อนปากกาไปบนกระดาษได้ เครือ่งพลอตเตอร์สามารถจ าแนกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้

เครื่องพลอตเตอร์ปากกา (pen plotter) จะใช้การเคลื่อนย้ายของดินสอหรือปากกาลงบนผิวหน้ากระดาษ เมื่อต้องการวาดเส้นหรือภาพ พลอตเตอร์ชนิดนี้จะมีราคาไม่แพง ดูแลรักษาง่าย

เครื่องพลอตเตอร์แบบฉีดหมึก (ink-jet plotter) การวาดเส้นหรือภาพจะใช้การฉีดน้ าหมึกลงบนกระดาษ สามารถสร้างภาพสีสามมิติที่มีความละเอียดและคุณภาพสูง

เครื่องพลอตเตอร์โรลเลอร์ (roller plotter) พลอตเตอร์ชนิดนี้จะมีแขนกลส าหรับวาดรูปต่างๆ การเลื่อนกระดาษคล้ายการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ เมื่อวาดรูปเสร็จจะเลื่อนกระดาษด้วยแกนหมุน

2.4 กำรติดต่อกับอุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล

พอร์ตเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างตัวคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ภายนอกเพ่ือเสริมความสามารถให้กับคอมพิวเตอร์ โดยปกติพอร์ต จะอยู่ด้านหลังเครื่องคอมพิวเตอร์

ภาพที ่2-32 เครือ่ง Plotter

ทีม่า : http://www.qrbiz.com/product/2066370/Inkjet-Large-Format-plotter-Printer.html พฤษภาคม 2555

Page 22: Chapter 2 Input & Output Devices

ภาพที่ 2-33 แสดงลักษณะพอร์ตชนิดต่างๆ (ท่ีมา : http://www.mary.ac.th/nattawut/kport_io.html พฤษภาคม 2555)

ชนิดของพอร์ตที่ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล

ดังนี้

พอร์ตอนุกรม (Serial Port) จะท าการเปลี่ยนข้อมูลจากภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นแบบขนาน ให้อยู่ในรูปของข้อมูลอนุกรมเรียงกันไป ส่งผ่านข้อมูลไปกับสายเพียงแค่เส้นเดียว (สามารถรับและส่งข้อมูลได้ทีละ 1 บิต) โดยข้อมูลจะถูกเรียงต่อกันไป เหมือนกับขบวนรถไฟที่บรรทุกข้อมูลส่ง ไปปลายทาง

โดยทั่ว ๆไปพอร์ตอนุกรมมักนิยมใช้ในการติดต่อกับเมาส์ โมเด็ม และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทั่วๆไป ซึ่งในไมโครคอมพิวเตอร์มักจะมีพอร์ตอนุกรมให้มา 2 พอร์ตเสมอ คือพอร์ตอนุกรมแบบ 9 เข็ม (DB9 Serial port) และพอร์ตอนุกรมแบบ 25 เข็ม (DB25 Parallel port) และใช้สายตามมาตรฐาน RS – 232 ในการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์กับพอร์ต

พอร์ตอนุกรมที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับไมโครคอมพิวเตอร์ จะมีชื่อเรียกกันอีกอย่างว่า คอมพอร์ต (Com Port) เช่น COM1 หรือ COM2 สามารถที่จะรับหรือส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วตั้งแต่ 300 – 115,200 บิตต่อวินาที

• พอร์ตอนุกรมจะมีหัวเข็ม 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม (พอร์ตนี้จะเป็นตัวผู้ เพราะมีเข็มยื่นออกมา) • พอร์ตนี้จะต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เมาส์ โมเด็ม สแกนเนอร์ เป็นต้น • สามารถต่อความยาวได้ถึง 6 เมตร และราคาสายก็ไม่แพงนัก

(ท่ีมา : http://computer.howstuffworks.com/serial-port2.htm พฤษภาคม 2555)

พอร์ตขนำน (Parallel Port)

ภาพที ่2- 35 หวัต่อแบบ 9 พนิ ภาพที ่2-34 ลกัษณะของ Serial port

Page 23: Chapter 2 Input & Output Devices

เป็นพอร์ตที่มีการรับส่งข้อมูลเหมือนกับการรับส่งข้อมูลในดาตาบัส ซึ่งจะเป็นการรับส่งข้อมูลทีละหลายๆ บิตพร้อมกัน โดยทั่วไปเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จะมีพอร์ตขนานมาด้วย 1 พอร์ต หรือรู้จักในชื่อของพรินเตอร์พอร์ต LPT Port

หน้าที่ของพอร์ตนี้คือ ใช้ส าหรับติดต่อกับเครื่องพิมพ์เป็นหลัก ปัจจุบันมีการพัฒนาให้สามารถใช้งานร่วมกับสแกนเนอร์ พอร์ตแบบนี้มีขนาดยาวกว่าพอร์ตอนุกรมทั่ว ๆ ไป โดยมีจ านวนพินเท่ากับ 25 พิน สังเกตได้ง่าย

• พอร์ตขนานจะมีรู 25 รู (พอร์ตนี้จะเป็นตัวเมีย หมายถึงมีรูที่ตัวพอร์ต) • พอร์ตนี้จะต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ เทปไดร์ฟ สแกนเนอร์ เป็นต้น • สามารถต่อความยาวไม่มากนัก แถมมีราคาแพงกว่าสายของพอร์ตอนุกรมด้วย • การส่งสัญญาณจะส่งได้เร็วกว่าพอร์ตอนุกรม แต่มีข้อจ ากัดคือ อุปกรณ์ท่ีจะต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่าน

พอร์ตขนานจะต้องอยู่ใกล้ๆ กับคอมพิวเตอร์ด้วย

(ท่ีมา: http://wolfstone.halloweenhost.com/cbsconStampDevConnection.html 2555)

พอร์ต USB (Universal Serial Bus Port) พอร์ตยูเอสบี เป็นพอร์ตแบบใหม่ล่าสุด ที่ถูกออกแบบมาให้ใช้กับพีซีคอมพิวเตอร์ ให้สามารถรับส่งข้อมูลให้รวดเร็วขึ้น สามารถต่ออุปกรณ์ได้มากถึง 127 ชิ้น เพราะมีแบนด์วิดธ์ในการรับส่งข้อมูลสูงกว่า พอร์ตแบบนี้ถูกออกแบบมาให้ใช้กับระบบปลั๊กแอนด์เพลย์บนวินโดวส์ 98 ปัจจุบัน มีฮาร์ดแวร์จ านวนมากที่สนับสนุนการเชื่อมต่อแบบนี้ เช่น กล้องดิจิตอล เมาส์ คีย์บอร์ด จอยสติก สแกนเนอร์ ซีดีอาร์ดับบลิว เป็นต้น ส าหรับคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จะมีพอร์ตแบบนี้จะมีพอร์ตแบบนี้อยู่ในเครื่องเรียบร้อยแล้ว

• คอมพิวเตอร์ปกติจะมี 2 USB Port ถ้าเปน็เครื่องรุ่นเก่าที่ไม่มี USB สามารถหาซื้อการ์ด USB มาติดตั้งได้

• เป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ สูงประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร • พอร์ตชนิดใหม่รับส่งความเร็วได้สูงกว่า port ทั่ว ๆ ไป • สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อเนื่องได้ 127 ตัว • เป็นมาตรฐานใหม่ที่มีมากับเครื่องคอมพิวเตอร์

ภาพที ่2-36 ลกัษณะของ Serial Port และ Parallel port ภาพที ่2-37 หวัต่อแบบ 25 พนิ

Page 24: Chapter 2 Input & Output Devices

• การติดตั้ง เพียงต่ออุปกรณ์เข้ากับ USB port ก็สามารถใช้งานอุปกรณ์นั้นๆ ได้ โดยไม่จ าเป็นต้อง boot เครื่องใหม่

ส่วนเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ขนำดเล็ก (SCSI: Small Computer System Interface) SCSI เป็นตัวเชื่อมระหว่างอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นตัวผู้มี 50 เข็มเป็นตัวเชื่อม มีการใช้กับคอมพิวเตอร์ที่ต้องการความเร็วสูงในการรับ ส่ง ข้อมูลโดยส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ระดับ Sever

2.5 บทสรุป

การที่จะให้คอมพิวเตอร์ท างานตามท่ีมนุษย์ต้องการได้นั้น จ าเป็นต้องมีการน าข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์โดยต้องใช้อุปกรณ์น าเข้าหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) ซึ่งมีอุปกรณ์หลากหลายชนิด ทั้งชนิดที่ผู้ใช้รู้จักดีเช่น คีย์บอร์ด ซึ่งถือเป็นอุปกรณ์พ้ืนฐานที่จะน าข้อมูลจากผู้ใช้เข้าไปประมวลผลในคอมพิวเตอร์ได้ และยังมีอุปกรณ์อีกมากมายที่สามารถน าเข้าข้อมูลได้ เมื่อข้อมูลถูกน าเข้าสู่คอมพิวเตอร์แล้วจะผ่านกระบวนการประมวลผลตามวิธีการท างานของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนสุดท้ายคือการน าข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วออกมาแสดงผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ได้ตรวจสอบซึ่งต้องผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล(Output Devices) คืออุปกรณ์ที่ท าหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) และ หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) นอกจากนั้นในการที่จะติดต่อกับอุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล ต้องมีช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างตัวคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ภายนอก ที่เรียกว่า พอร์ต ได้แก่ Serial Port, Parallel Port, USB port ,Fire wire และ SCSI

ภาพที ่2-38 USB Port

(ทีม่า : http://www.rickysays.com/usb-data-cables พฤษภาคม 2555)