chapter 16computer ethical

13
จริยธรรมทางคอมพิวเตอร จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กําหนดขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติ หรือ ควบคุมการใชระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแลว การระบุวาการกระทําสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกลาวไดไม ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ยอมขึ้นอยูกับวัฒนธรรมของสังคมในแตละประเทศดวย อยางเชน กรณีที่เจาของบริษัทใชกลองในการตรวจจับหรือเฝาดูการทํางานของพนักงาน เปนตน ตัวอยางของการกระทําที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาเปนการกระทําที่ผิดจริยธรรม เชน การ ใชคอมพิวเตอรทํารายผูอื่นใหเกิดความเสียหายหรือกอความรําราญ เชน การนําภาพ หรือขอมูลสวนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอรเน็ตโดยไมไดรับอนุญาตการใชคอมพิวเตอร ในการขโมยขอมูลการเขาถึงขอมูลหรือคอมพิวเตอรของบุคคลอื่นโดยไมไดรับอนุญาต

description

computer ethical

Transcript of chapter 16computer ethical

Page 1: chapter 16computer ethical

จริยธรรมทางคอมพิวเตอร

จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกําหนดขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติ หรือ

ควบคุมการใชระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศ"

ในทางปฏิบัติแลว การระบุวาการกระทําสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกลาวไดไม

ชัดเจนมากนัก ท้ังนี้ ยอมขึ้นอยูกับวัฒนธรรมของสังคมในแตละประเทศดวย อยางเชน

กรณีท่ีเจาของบริษัทใชกลองในการตรวจจับหรือเฝาดูการทํางานของพนักงาน เปนตน

ตัวอยางของการกระทําท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปวาเปนการกระทําท่ีผิดจริยธรรม เชน การ

ใชคอมพิวเตอรทํารายผูอื่นใหเกิดความเสียหายหรือกอความรําราญ เชน การนําภาพ

หรือขอมูลสวนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอรเน็ตโดยไมไดรับอนุญาตการใชคอมพิวเตอร

ในการขโมยขอมูลการเขาถึงขอมูลหรือคอมพิวเตอรของบุคคลอื่นโดยไมไดรับอนุญาต

Page 2: chapter 16computer ethical

จริยธรรมเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศโดยท่ัวไป เม่ือพิจารณา

ถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศแลว จะกลาวถึงใน 4

ประเด็น ท่ีรูจักกันในลักษณะตัวยอวา PAPA ประกอบดวย

1. ความเปนสวนตัว (Information Privacy)

2. ความถูกตอง (Information Accuracy)

3. ความเปนเจาของ (Information Property)

4. การเขาถึงขอมูล (Data Accessibility)

Page 3: chapter 16computer ethical

1. ความเปนสวนตัว (Information Privacy)

ความเปนสวนตัวของขอมูลและสารสนเทศ โดยท่ัวไปหมายถึง สิทธิท่ีจะอยูตาม

ลําพัง และเปนสิทธิท่ีเจาของสามารถท่ีจะควบคุมขอมูลของตนเองในการเปดเผยใหกับ

ผูอื่น สิทธินี้ใชไดครอบคลุมท้ังปจเจกบุคคล กลุมบุคคล และองคการตางๆปจจุบันมี

ประเด็นเกี่ยวกับความเปนสวนตัวท่ีเปนขอหนาสังเกตดังนี้

1.การเขาไปดูขอความในจดหมายอิเล็กทรอนิกสและการบันทึกขอมูลในเคร่ือง

คอมพิวเตอร รวมท้ังการบันทึก-แลกเปลี่ยนขอมูลท่ีบุคคลเขาไปใชบริการเว็บไซตและ

กลุมขาวสาร

2.การใชเทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เชน บริษัท

ใชคอมพิวเตอรในการตรวจจับหรือเฝาดูการปฏิบัติงาน/การใชบริการของพนักงาน

ถึงแมวาจะเปนการติดตามการทํางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใชบริการ แตกิจกรรม

หลายอยางของพนักงานก็ถูกเฝาดูดวย พนักงานสูญเสียความเปนสวนตัว ซึ่งการกระทํา

เชนนี้ถือเปนการผิดจริยธรรม

3.การใชขอมูลของลูกคาจากแหลงตางๆ เพื่อผลประโยชนในการขยายตลาด

4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท ท่ีอยูอีเมล หมายเลขบัตรเครดิต และขอมูลสวนตัว

อื่นๆ เพื่อนําไปสรางฐานขอมูลประวัติลูกคาขึ้นมาใหม แลวนําไปขายใหกับบริษัทอื่น

Page 4: chapter 16computer ethical

ดังนั้น เพื่อเปนการปองกันการละเมิดสิทธิความเปนสวนตัวของขอมูลและสารสนเทศ จึง

ควรจะตองระวังการใหขอมูล โดยเฉพาะการใชอินเตอรเน็ตท่ีมีการใชโปรโมชั่น หรือระบุ

ใหมีการลงทะเบียนกอนเขาใชบริการ เชน ขอมูลบัตรเครดิต และท่ีอยูอีเมล

2. ความถูกตอง (Information Accuracy)

ในการใชคอมพิวเตอรเพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใชขอมูลนั้น คุณลักษณะท่ี

สําคัญประการหนึ่ง คือ ความนาเชื่อถือไดของขอมูล ท้ังนี้ ขอมูลจะมีความนาเชื่อถือมาก

นอยเพียงใดยอมขึ้นอยูกับความถูกตองในการบันทึกขอมูลดวย ประเด็นดานจริยธรรมท่ี

เกี่ยวของกับความถูกตองของขอมูล โดยท่ัวไปจะพิจารณาวาใครจะเปนผูรับผิดชอบตอ

ความถูกตองของขอมูลท่ีจัดเก็บและเผยแพร เชน ในกรณีท่ีองคการใหลูกคาลงทะเบียน

ดวยตนเอง หรือกรณีของขอมูลท่ีเผยแพรผานทางเว็บไซต อีกประเด็นหนึ่ง คือ จะทราบ

ไดอยางไรวาขอผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นนั้นไมไดเกิดจากความจงใจ และผูใดจะเปน

ผูรับผิดชอบหากเกิดขอผิดพลาด ดังนั้นในการจัดทําขอมูลและสารสนเทศใหมีความ

ถูกตองและนาเชื่อถือนั้น ขอมูลควรไดรับการตรวจสอบความถูกตองกอนท่ีจะนําเขา

ฐานขอมูล รวมถึงการปรับปรุงขอมูลใหมีความทันสมัยอยูเสมอ นอกจากนี้ ควรใหสิทธิ

แกบุคคลในการเขาไปตรวจสอบความถูกตองของขอมูลของตนเองได เชน ผูสอน

สามารถดูคะแนนของนักศึกษาในความรับผิดชอบ หรือท่ีสอนเพื่อตรวจสอบวาคะแนนท่ี

ปอนไมถูกแกไขเปลี่ยนแปลง

Page 5: chapter 16computer ethical

3.ความเปนเจาของ (Information Property)

สิทธิความเปนเจาของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพยสิน ซึ่งอาจเปน

ทรัพยสินท่ัวไปท่ีจับตองได เชน คอมพิวเตอร รถยนต หรืออาจเปนทรัพยสินทางปญญา

(ความคิด) ท่ีจับตองไมได เชน บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร แตสามารถถายทอดและ

บันทึกลงในสื่อตางๆ ได เชน สิ่งพิมพ เทป ซีดีรอม เปนตน

ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกลาวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร เม่ือ

ทานซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีมีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความวาทานไดจายคาลิขสิทธิ์

ในการใชซอฟตแวรนั้น สําหรับทานเองหลังจากท่ีทานเปดกลองหรือบรรจุภัณฑแลว

หมายถึงวาทานไดยอมรับขอตกลงเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ในการใชสินคานั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช

จะแตกตางกันไปในแตละสินคาและบริษัท บางโปรแกรมคอมพิวเตอรจะอนุญาตให

ติดต้ังไดเพียงคร้ังเดียว หรือไมอนุญาตใหใชกับคอมพิวเตอรเคร่ืองอื่นๆ ถึงแมวา

คอมพิวเตอรเคร่ืองนั้นๆ ทานเปนเจาของ และไมมีผูอื่นใชก็ตาม ในขณะท่ีบางบริษัท

อนุญาตใหใชโปรแกรมนั้นไดหลายๆ เคร่ือง ตราบใดท่ีทานยังเปนบุคคลท่ีมีสิทธิใน

โปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีซื้อมา การคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอรใหกับเพื่อน เปนการ

กระทําท่ีจะตองพิจารณาใหรอบคอบกอนวาโปรแกรมท่ีจะทําการคัดลอกนั้น เปน

โปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีทานมีสิทธในระดับใด

Page 6: chapter 16computer ethical

4.การเขาถึงขอมูล (Data Accessibility)

ปจจุบันการเขาใชงานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอรมักจะมีการกําหนดสิทธิตาม

ระดับของผูใชงาน ท้ังนี้ เพื่อเปนการปองกันการเขาไปดําเนินการตางๆ กับขอมูลของ

ผูใชท่ีไมมีสวนเกี่ยวของ และเปนการรักษาความลับของขอมูล ตัวอยางสิทธิในการใชงาน

ระบบ เชน การบันทึก การแกไข/ปรับปรุง และการลบ เปนตน ดังนั้น ในการพัฒนา

ระบบคอมพิวเตอรจึงไดมีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเขาถึงของผูใช

และการเขาถึงขอมูลของผูอื่นโดยไมไดรับความยินยอมนั้น ก็ถือเปนการผิดจริยธรรม

เชนเดียวกับการละเมิดขอมูลสวนตัว ในการใชงานคอมพิวเตอรและเครือขายรวมกันให

เปนระเบียบ หากผูใชรวมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและขอบังคับของแตละหนวยงาน

อยางเครงครัดแลว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังท่ีกลาวมาขางตนก็คงจะไมเกิดขึ้น

Page 7: chapter 16computer ethical

จริยธรรมและคุณธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศรวมกัน

ผู ใชอินเทอรเน็ตมีเปนจํานวนมากและเพิ่มขึ้นทุกวัน การใชงานระบบเครือขายท่ี

ออนไลนและสงขาวสารถึงกันยอมมีผูท่ีมีความ ประพฤติไมดีปะปนและสรางปญหา

ใหกับผูใชอื่นอยูเสมอ หลายเครือขายจึงไดออกกฎเกณฑการใชงานภายในเครือขาย

เพื่อใหสมาชิกในเครือขายของตนยึดถือ ปฏิบัติตามกฎเกณฑและไดรับประโยชนสูงสุด

ดังนั้น ผูใชอินเทอรเน็ตทุกคนท่ีเปนสมาชิกเครือขายจะตองเขาใจกฎเกณฑขอ บังคับของ

เครือขายนั้นมีความรับผิดชอบตอตนเองและผูรวมใชบริการคนอื่นและจะตองรับผิดชอบ

ตอการกระทําของตนเองท่ีเขาไปขอใชบริการตางๆ บนเครือขายบนระบบคอมพิวเตอร

เครือขายคอมพิวเตอรท่ีผูใชอินเทอรเน็ตเรียกเขามิไดเปนเพียงเครือขายของ องคกรท่ี

ผูใชสังกัด แตเปนการเชื่อมโยงของเครือขายตางๆ เขาหากันหลายพันหลายหม่ืน

เครือขายมีขอมูลขาวสารอยูระหวางเครือขาย เปนจํานวนมาก การสงขาวสารใน

เครือขายนั้นอาจทําใหขาวสารกระจายเดินทางไปยังเครือขาย อื่น ๆ อีกเปนจํานวนมาก

หรือแมแตการสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกสฉบับหนึ่งก็อาจจะ ตองเดินทางผานเครือขาย

อีกหลายเครือขายกวาจะถึงปลายทาง ดังนั้นผูใชบริการตองใหความสําคัญและตระหนัก

ถึงปญหาปริมาณขอมูลขาวสาร ท่ีวิ่งอยูบนเครือขายการใชงานอยางสรางสรรคและเกิด

ประโยชนจะทําใหสังคมอินเทอรเน็ตนาใชและเปน ประโยชนรวมกันอยางดี กิจกรรม

Page 8: chapter 16computer ethical

บางอยางท่ีไมควรปฏิบัติจะตองหลีกเลี่ยงเชนการสงกระจายขาวไป เปนจํานวนมากบน

เครือขาย

การสงเอกสารจดหมายลูกโซ ฯลฯ สิ่งเหลานี้จะเปนผลเสียโดยรวมตอผูใชและไมเกิด

ประโยชนใด ๆ ตอสังคมอินเทอรเน็ตเพื่อใหการอยูรวมกันในสังคมอินเทอรเน็ตสงบสุข

Arlene H.Rinaldi แหงมหาวิทยาลัย ฟอรริดาแอตแลนติก จึงรวบรวมกฎกติกามารยาท

และวางเปนจรรยาบรรณอินเทอรเน็ตหรือท่ีเรียกวา Netiquette ไวดังนี้

จรรยาบรรณสําหรับผูใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกส(E-mail)

ผูใชอินเทอรเน็ตทุกคนมีเมลบ็อกซหรืออีเมลแอดเดรสท่ีใชอางอิงในการรับสง

จดหมาย ความรับผิดชอบตอการใชงานอีเมลในระบบจึงเปนเร่ืองท่ีทุกคนตองให

ความสําคัญ เพราะจดหมายมีการรับสงโดยระบบ ซึ่งหากมีจดหมายคางในระบบจํานวน

มากจะทําใหพื้นท่ี บัฟเฟอรของจดหมายในระบบหมด จะเปนผลใหระบบไมสามารถ

รับสงจดหมายตอไปได หลายตอหลายคร้ังระบบปฏิเสธการรับสงจดหมายเพราะไฟล

ระบบเต็ม ดังนั้นจึงควรมีความรับผิดชอบในการดูแลตูจดหมาย (mail box) ของตนเอง

ดังนี้

1. ตรวจสอบจดหมายทุกวันและจะตองจํากัดจํานวนไฟลและขอมูลในตูจดหมายของตน

ใหเลือกภายในโควตา ท่ีกําหนด

2. ลบขอความหรือจดหมายท่ีไมตองการแลวออกจากดิสตเพื่อลดปริมาณการใชดิสก็ให

จํานวนจดหมายท่ีอยูในตูจดหมาย (mail box) มีจํานวนนอยท่ีสุด

Page 9: chapter 16computer ethical

3. ใหทําการโอนยายจดหมายจากระบบไปไวยังพีซีหรือฮารดดิสกของตนเองเพื่อใช

อางอิงในภายหลังพึงระลึกเสมอวาจดหมายท่ีเก็บไวในตูจดหมายนี้อาจถูกผูอื่นแอบอาน

ได ไมควรเก็บขอมูลหรือจดหมายท่ีคุณคิดวาไมใชแลวเสมือนเปนประกาศไวใน

ตูจดหมาย

จรรยาบรรณสําหรับผูใชกระดานขาว ระบบสื่อสารอิเล็กทรอนิกส

ระบบขาวสารท่ีใหบริการในสังคมอินเทอรเน็ตมีหลายระบบ เชน ยูสเน็ตนิสว

(UseNet News) ระบบสมาชิกแจงขาวหลายสมาคม บอกรับสมาชิกและใหขาวสารท่ี

สมํ่าเสมอกับสมาชิกดวยการสงเปนจดหมายอิเล็กทรอนิกส ท่ีเรียกวา Mailing lists ผู

เสนอ ขาวและผูอภิปรายเร่ือง ตาง ๆ ท่ีเขียนลงไปจะกระจายออกไปท่ัวโลก เชนขาวบน

ยูสเน็ตนิวสแตละกลุมเม่ือสงออกจะกระจาย ไปยังเซิรฟเวอรอื่น ๆ ท่ัวโลก ผูใชบริการ

โดยเฉพาะท่ีตองการเขียนขาวสารบนกระดาษ ขาวจะตองเคารพกฏกติกามารยาทโดย

เครงครัดขอปฏิบัติท่ีสําคัญไดแก

1. ใหเขียนเรื่องใหกระชับ ขอความควรสั้นและตรงประเด็กไมกํากวม ใชภาษาท่ีเรียบ

งาน สุภาพเขาใจได ในแตละเร่ืองท่ีเขียนใหตรงโดยขอความท่ีเขียนควรจะมีหัวขอเดียว

ตอเร่ือง

2. ในการเขียนพาดพิงถึงผูอ่ืน ใหระมัดระวังในการละเมิดหรือสรางความเสียหายให

ผูอื่น การใหอีเมลอาจตรงประเด็นกวา

Page 10: chapter 16computer ethical

3. ใหแหลงที่มาของขอความ ควรอางอิงแหลงขาวได ไมเรียกวาโคมลอยหรือขาวลือ

หรือเขียนขาวเพื่อความสนุกโดยขาดความรับผิดชอบ

4. จํากัดความยาวของขาว และหลีกเลี่ยงตัวอักษรควบคุมพิเศษอื่น ๆ เพราะหลาย

เคร่ืองท่ีอานขาวอาจมีปญหาในการแสดงผล

5. ขาว บางขาวมีการกระจายกันมาเปนลําดับให และอางอิงตอ ๆ กันมาการเขียนขาว

จึงควรพิจารณาในประเด็นนี้ดวย โดยเฉพาะอยาสงจดหมายตอบโตไปยังผูรายงานขาวผู

แรก

6. ไมควรใหเครือขายของมหาวิทยาลัยเพื่อประโยชนทางการคาหรืองานเฉพาะของ

ตนเพื่อประโยชนสวนตนในเร่ือง การคา

7. การ เขียนขาวทุกครั้งจะตองลงช่ือ และลายเซ็นตอนลางของขอความเพื่อบอกชื่อ

ตําแหนงแอดเดรสท่ีอางอิงไดทางอินเทอรเน็ต หรือใหท่ีอยูและหมายเลขโทรศัพทท่ี

ติดตอได

8. ใน การทดสอบการสงไมควรทําพร่ําเพื่อการทดสอบควรกระทําในกลุมขาวทองถิ่นท่ี

เปดใหทดสอบการสงขาวอยูแลว เพราะการสงขาวแตละคร้ังจะกระจายไปท่ัวโลก

9. หลีกเลี่ยงการใชตัวอักษรใหญตัวอักษรใหญท่ีมีความหมายถึงการตะโกนหรือการ

แสดงความไมพอใจใน

8. การเนน คําใหใชเคร่ืองหมาย * ขอความ* แทน

10. ไมควรนําขอความที่ผูอ่ืนเขียนไปกระจายตอโดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของเร่ือง

11. ไมควรใชขอความตลกขบขันหรือคําเฉพาะคํากํากวม หรือคําหยาบคายในการเขียน

ขาว

12. ใหความสําคัญในเรื่องลิขสิทธ์ิไมควรละเมิดลิขสิทธิ์ผูอื่น

13. ไมควรคัดลอกขาวจากที่อ่ืนเชน จากหนังสือพิมพท้ังหมดโดยไมมีการสรุปยอและ

เม่ือสงขาวยอจะตองอางอิงท่ีมา

14. ไมควรใชกระดานขาวเปนที่ตอบโตหรือละเมิดผูอ่ืน

Page 11: chapter 16computer ethical

15. เมื่อตองการใชคํายอ คํายอท่ีเปนท่ีรูจักกันท่ัวไป เชน

IMHO-in my humble / honest opinion

FYI-for your information

BTW-by the way

16. การเขียนขอความจะตองไมใชอารมณหรือความรูสึกสวนตัวและระลึกเสมอวาขาว

ท่ีเขียนหรือ

17. อภิปรายน้ีกระจายไปทั่วโลก และมีผูอานขาวจํานวนมาก ในการเขียนคําถามลงใน

กลุมขาวจะตองสงลงในกลุมท่ีตรงกับปญหาท่ีเขียนนั้น และเม่ือจะตอบก็ตองใหตรง

ประเด็น

18. ในการบอกรับขาวดวย mailing list และมีขาวเขามาจํานวนมากทางอีเมลจะตอง

อานขาว และโอนมาไวท่ีเคร่ืองตน (พีซี) หรือลบออกจาก mail box และหากไมอยูหรือ

ไมไดเปดตูจดหมายเกินกวาหนึ่งสัปดาหจะตองสงไปบอกยกเลิกการรับ เพื่อวาจะไดไมมี

จดหมายสงเขามามาก

Page 12: chapter 16computer ethical

บัญญัติ 10 ประการ

ตอไปน้ีเปนจรรยาบรรณที่ผูใชอินเทอรเน็ตยึดถือไวเสมือนเปนแมบทแหงการ

ปฏิบัติเพื่อระลึกและเตือนความจําเสมอ

1. ไมใชคอมพิวเตอรทํารายหรือละเมิดผูอ่ืน

2. ตองไมรบกวนการทํางานของผูอ่ืน

3. ตองไมสอดแนมหรือแกไขเปดดูในแฟมของผูอ่ืน

4. ตองไมใชคอมพิวเตอรเพื่อการโจรกรรมขอมูลขาวสาร

5. ตองไมใชคอมพิวเตอรสรางหลักฐานที่เปนเท็จ

6. ตองไมคัดลอกโปรแกรมผูอ่ืนที่มีลิขสิทธ์ิ

7. ตองไมละเมิดการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรโดยที่ตนเองไมมีสิทธ์ิ

Page 13: chapter 16computer ethical

8. ตองไมนําเอาผลงานของผูอ่ืนมาเปนของตน

9. ตองคํานึงถึงสิ่งที่จะเกิดข้ึนกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทํา

10. ตองใชคอมพิวเตอรโดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท

จรรยาบรรณ เปนสิ่งท่ีทําใหสังคมอินเทอรเน็ตเปนระเบียบความรับผิดชอบตอ

สังคมเปน เร่ืองท่ีจะตองปลูกฝงกฎเกณฑของแตละเครือขายจึงตองมีการวางระเบียบ

เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีระบบและเอื้อประโยชนซึ่งกันและกัน บางเครือขาย

มีบทลงโทษและจรรยาบรรณท่ีชัดเจน เพื่อชวยใหสังคมสงบสุขและหากการละเมิด

รุนแรงกฎหมายก็จะเขามามีบทบาทได เชนกัน