Art Class 2

38
Art is around the clock. ศิลปะ .2 โดยครูฟาง ญาณวรรณ ไชยโย Yanawan Chaiyo Sheet, Page 1 ภาพ:อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

description

ม2 เตรียมสอบ

Transcript of Art Class 2

Art is around the clock.

ศิลปะ ม.2

โดยครูฟางญาณวรรณ ์ไชยโย

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 1

ภาพ:อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

ความหมาย

ศิลปะคืออะไร

! ศิลปะ คือ การเลียนแบบธรรมชาติ ศิลปนมีหนาที่สำคัญที่ตองเขาใจธรรมชาติ รูจักถายทอดแรงบันดาลใจจากธรรมชาติใหเห็นเปนรูปทรง และมี

เรื่องราวถูกตองตามความเปนจริงเทาที่ความงานในธรรมชาติจะอำนวยให (อริสโตเติล, 384-322 B.C.)

! ศิลปะ คือ งานอันเปนความพากเพียรของมนุษย ซึ่งตองใชความพยายามดวยมือ และดวยความคิด (ศิลป พีระศรี, 2500:25)

! ศิลปะ คือ ความงามรวมของสังคม มีหนาที่รับใชมนุษยชาติ เพื่อประโยชนหลายประการ เพื่อความสวยงามโดยเฉพาะ เพื่อความคิดเห็นในการ

ปรับปรุงสังคมของตนใหดีขึ้น เพื่อใหความลึกซึ้งและทัศนชีวิตอยางกวางขวางแกเพื่อนมนุษยดวยกัน และคืองานชางที่แสดงฝมือและความคิดเห็นของ

ศิลปน (น. ณ ปากน้ำ)

! ศิลปะ คือการรูจักเขาใจถายทอดธรรมชาติที่เห็นดวยจินตนาการ และความคิดสรางสรรคดวยการเขาใจเลือกวัสดุที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดเปนรูป

ทรงใหม (อารี สุทธิพันธ, 2535:21 )

จากรูปแสดงใหเห็นวาศิลปะคือสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ( Art is handmade) โดยไดแรงบันดาลใจจากธรรมชาติแวดลอม มนุษยจึงนำเอาวัสดุมา

ถายทอดธรรมชาตินั้นๆ ตามปริมาณของแรงบันดาลใจ ตามความสามารถและลักษณะของตน

ศิลปะ เกิดจากการสรางสรรคของบุคคลสวยหรือไมสวยก็ได/ เปนผลมาจากการกระทำของมนุษยในลักษณะแปลกใหม/ เกิดจากการสำรวจ ทดลอง สรางสรรคทางศิลปะในรูปตางๆ /สรางสรรคจากความคิดริเร่ิมของตนเอง/ มนุษยเทาน้ันที่สรางสรรคงานศิลปะขึ้นไดความคิดสรางสรรค หมายถึงการสรางสิ่งใหมในดานรูปลักษณ เทคนิควิธีการ เร่ืองราว รูปลักษณ หมายถึงการนำทัศนธาตุมาจัดองคประกอบศิลปใหเกิดความงาม

สุนทรียภาพ หมายถึงความงามของผลงานศิลปะ ความประทับใจ หมายถึงการเกี่ยวโยงสุนทรียภาพกับจิตของผูดู

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 2

สิ่งแวดล้อม มนุษย์ ศิลปะวัสดุ

“ศิลปะ” (Art) ประกอบด้วย 1. ทัศนศิลป ์(Visual Art) 2. นาฏศิลป์(Drama) 3. ดนตรี (Music)

ทัศนศิลป ์(Visual Art) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ศิลปะที่มองเห็น” เป็นศิลปะที่รับรู้ได้ด้วยการมองเห็นด้วยสายตา ก่อให้เกิดอารมณ์ความรู้สึก ผลงานศิลปะด้านทัศนศิลป์จึงเป็นเรื่องการสนองตอบทางตา มองเห็นด้วยตาแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้! ! ! 1. จิตรกรรม (Painting) 2 มิติ 2. ประติมากรรม (Sculpture) 3 มิติ 3. สถาปัตยกรรม (Architecture) 3 มิติ, 4 มิติ 4. ภาพพิมพ ์(Printmaking) 2 มิติ 5. ศิลปะภาพถ่าย (Photography) 2 มิติ 6. สื่อผสม (Mixed media) 2 มิติ, 3 มิติ

ศัพทนารู : มิติ = Dimension ตัวยอ D

2D,3D,4D

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 3

เทคนิคในการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปประเภทตางๆ

คือการลากเสนบนพ้ืนระนาบของรูปราง หรือรูปทรงตางๆ ซึ่งอาจมีการระบายสีดวยในขั้นตอไป หรือ

อาจจะเปนการแรเงาดวยแสงและเงา..........การวาดเขียนเป็นกลวิธีพื้นฐานและเป็นผลงานแบบวิจิตรศิลป์ในตัวของมันเองอยู่แล้ว แต่ก็ยังเป็นขั้นตอนแรกของการเริ่มทํางานประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม และอ่ืนๆอีกมาก แมวาการวาดเขียน

จะเปนกลวิธีปะปนอยูกับการระบายสี แตคำวาวาดเขียนมีความแตกตางกับการระบายสี Painting อย่างเห็นได้ชัด งานวาดเขียนเป็นผลงานศิลปะที่มีคุณค่าทางความงามในตัวของมันเอง ได้แก่ Contour , Drawing , Sketch Drawing เปนตน

การวาดเส้นจากประสาทสัมผัส (Contour Drawing) หมายถึง การวาดเสนตามความรูสึกสัมผัสระหวาง

สายตากับรูปทรงของวัตถุ เมื่อสายตามองวัตถุมือก็วาดตามไปดวยพรอมๆ กัน โดยไมตองยกปลายดินสอขึ้นจากกระดาษ หรืออาจยกขึ้นไดมนการที่จะเก็บรายละเอียดบางอยาง แตตองปฏิบัติเหมือนเดิมทุกครั้งคือ ไมมองกระดาษ การวาดเสนลักษณะนี้ตองใชเสนแสดงถึงความมั่นใจ แนนอน แมจะดู

เหมือนวาดอยางหวัดๆ ก็ตาม หากวาดผิดอยากังวลใหวาดตอไป โดยวาดเสนรอบนอกตัดทอนรูปทรงอยางมีเหตุผล เสนอาจจะมาบรรจบหรือไมก็ตามอยาลบ อยาขีดฆา และอยาคิดวามันคือความผิดพลาด แมไมถูกตองตามหลักกายวิภาคก็ถือวาเปนการวาดเสนจากประสาทสัมผัสสมบูรณถูกตอง

การปฏิบัติฝกฝน ตองลงมือดวยตนเอง วิธีการวาดอาดเริ่มจากจุดเริ่มตน โดยวางปลายปากกาหรือปลายดินสอไวที่จุดเริ่มตน ครั้งแรกมองกระดาษและมองวัตถุที่วาด จากนั้นสำรวมความคิดสมาธิใหจดจอกับการวาด โดยคอยๆ เลืื่อนสายตาไปอยางชาๆ ตามรูปทรงที่เปนแบบ ขณะเดียวกันก็ลากเสนตามความรูสึกไปพรอมๆ กัน โดยไมตองมองกระดาษ ขณะที่วาดควรคิดตามรูปวัตถุที่วาดอยูดวย จนกระทั่งวาดเปนภาพสำเร็จ

ตัวอยาง การวาดเขียน .Drawingภาพลายเสนปากกา= = = ภาพเทคนิคสีไม = = = = ภาพจากถานเกรยอง

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 4

การวาดเขียน .Drawing

ในดานศิลปะ หมายถึง การสรางสรรคผลงานศิลปะซึ่งในคุณคาทางสุนทรียโดยการระบายสีลงบนผิวของวัตถุอยางชำนาญ วัสดุที่ใชในผลงานจิตรกรรมตองเปนวัสดุที่เหมาะสมกับกลวิธีการสรางงานที่คงทนถาวร เชน สีน้ำมัน Oil Color สีฝุน Tempera สีน้ำ Water Color สีน้ำทึบ Gouache สีชอลคพาสเตล Pastel สีอะคลิลิค Acrylic สีขี้ผึ้งรอน Encaustic Wax สีสำหรับการวาดผนังปูนเปยก Fresco ผนังปูนแหง Fresco Secco ภาพประดับหินสี Mosaic

เทคนิค1. àเÃรÕีÂยºบ¢ขÍอºบ¤คÁม : ÃรÙู»ปÃร�‹Òา§งÃรÙู»ป·ท∙Ãร§งÃรÐะºบÒาÂย¤คÁมªชÑั´ด 2.àเÃรÕีÂยºบµตÑั´ดàเÊส�Œ¹น 3.àเÃรÕีÂยºบäไÅล�‹¹น�ŒÓำËห¹นÑั¡กÍอ�‹Íอ¹นáแ¡ก�‹

คือ การสรางสรรครูปทรง 3 มิติ มีคุณสมบัติกินพื้นที่ในอากาศ (หากเกี่ยวกับศาสนาเขียนวา ปฏิมากรรม เชน พระพุทธรูป)

การสรางงาน1. เพิ่มเขา ไดแก ปน2. เอาออก ไดแก แกะ ,สลัก3. เปลี่ยนรูป ไดแก ทุบ ตี เคาะ ดุน4. การเชื่อมตอ ไดแก หลอ ,สรางสรรคที่ใชมากกวา 1 วิธีขึ้นไป

ประเภทแบงตามลักษณะความนูน1. นูน 1.1. นูนต่ำ ไดแก เหรียญตางๆ 1.2. นูนสูง ไดแก ลวดลายภาพปนประกอบฐานอนุสาวรีย ประชาธิปไตย ลวดลายบนยานประตูไม2. ลอยตัว : มองเห็นไดรอบดาน

ตัวอย่าง 1. ¡กÒาÃร»ป�˜�œ¹น 2. ¡กÒาÃรáแ¡กÐะ

จิตรกรรม Painting

ประติมากรรม sCuLPTURE

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 5

คือ ศิลปะแหงการกอสรางที่มีการออกแบบ เขียนแบบ หากงานสถาปตยกรรมใดตกแตงไดวิจิตรเกินจุดมุงหมายเพื่อการอยูอาศัยหรือใชสอยก็จะยิ่งมีคุณคาทางวิจิตรศิลปมากขึ้น ไดแก ที่อยูอาศัย

ศาสนสถาน การวางผังเมือง

คือ ผลของการสรางภาพโดยการกดลงไป

หัวใจของการสรางงานภาพพิมพ1. แมพิมพ

2. ภาพพิมพ มีลักษณะกลับดานเสมอ ยกเวนภาพพิมพประเภทเจาะทะลุ (silk screen)3. ทำไดมากกวา 1 ครั้ง ยกเวน mono print ไดครั้งเดียว

ประเภทภาพพิมพ1. เกิดจากสวนนูนของแมพิมพ Relief

J - wood cut ภาพพิมพแกะไม J J - wood engravingJJ J J - lino cutJ - mezzotint2. เกิดจากสวนลึก intaglio Process

! - collagraph ; intaglio PrintJ - Etching # Dry point # Aquatint # AquatintJ - Line envra3. ภาพพิวผิวหนาเรียบ คือภาพพิมพหิน สรางลายดวยการกัดพ้ืนหินดวยน้ำยาจนเกิดเปนภาพที่เปนแมพิมพตอไป4. เทคนิคภาพพิมพจากแมพิมพฉลุ (Stencil) เปนกระบวนการพิมพผานรูทำใหเกิดเปนภาพดานลาง เชน การพิมพซิลกสกรีน

ÀภÒา¾พ¾พÔิÁม¾พ�áแ¡กÐะäไÁม�Œ ÀภÒา¾พ¾พÔิÁม¾พ�Ãร�‹Íอ§งÅลÖึ¡ก ÀภÒา¾พ¾พÔิÁม¾พ�¼ผ�‹Òา¹น©ฉÅลØุâโ´ดÂย»ปÃรÐะËหÂยÑั´ด ¾พ§งÈศ�´ดÓำ Intaglio

สถาปัตยกรรม Architecture

ภาพพิมพ ์Printmaking

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 6

การวาดภาพสื่อความหมายDrawing วาดเส้น ดินสอ สีไม สีเทียน ถานเกรยอง

สีเทียน   OIL PASTEL    สีเทียนหรือสีเทียนน้ำมัน เปนสีฝุนผงละเอียด ผสมกับไขมันสัตวหรือขี้ผึ้ง แลวนำมาอัดเปนแทง มีลักษณะทึบแสง สามารถเขียนทับกันได  การใชสีออนทับสีเขมจะมองเห็นพื้นสีเดิมอยูบาง  การผสมส ีอื่น ๆใชการเขียนทับกัน สีเทียนน้ำมันมักไมเกาะติดพื้น สามารถขูดสีออกได และกันน้ำ   ถาตองการให สีติดแนนทนนาน จะมีสารพนเคลือบผิวหนาสี  สีเทียนหรือสีเทียนน้ำมัน มักใชเปนสีฝกหัดสำหรับเด็ก เนื่องจากใชงาย ไมยุงยาก ไมเลอะเทอะเปรอะเปอน และมีราคาถูก

ดินสอสี  CRAYON   ดินสอสี   เปนสีผงละเอียด ผสมกับขี้ผึ้งหรือไขสัตว  นำมาอัดใหเปนแทงอยูในลักษณะของดินสอ  เพื่อใหเหมาะสำหรับเด็ก ๆ ใชงาน มีลักษณะคลายกับสีชอลค แตเปนสีที่มีราคาถูก  เนื่องจากมีสวนผสม อื่น ๆ ปะปนอยูมาก มีเนื้อสีนอยกวา ปจจุบันมีการพัฒนาใหสามารถละลายน้ำ หรือน้ำมันได  โดยเมื่อใช ดินสอสีระบายสีแลวนำพูกันจุมน้ำมาระบายตอ ทำใหมีลักษณะคลายกับภาพสีน้ำ ( Aquarelle ) บางชนิด สามารถละลายไดในน้ำมัน ซึ่งทำใหกันน้ำได

สีน้ำ   WATER COLOUR

Water color สีน้ํา คุณสมบัติบางใส โปร่งแสง ใช้น้ําทําละลาย    สีน้ำ เปน สีที่ใชกันมาตั้งแตโบราณ ทั้งในแถบยุโรป และเอเชีย โดยเฉพาะจีน และญี่ปุน ซึ่งมีความสามารถในการระบายสีน้ำ      แตในอดีตการระบายสีน้ำมักใชเพียงสีเดียว    คือ สีดำผูที่จะระบายไดอยางสวยงามจะตองมีทักษะการใชพูกันที่สูงมาก         การระบายสีน้ำจะใชน้ำ เปนสวนผสม และทำละลายใหเจือจาง    ในการใชสีน้ำ ไมนิยมใชสีขาวผสมเพื่อใหมีน้ำหนัก

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 7

ออนลง และไมนิยมใชสีดำผสมใหมีน้ำหนักเขมขึ้น        เพราะจะทำใหเกิดน้ำหนักมืดเกินไป แตจะใชสีกลางหรือสีตรงขามผสมแทน ลักษณะของภาพวาดสีน้ำ    จะมีลักษณะใส  บาง และ สะอาด การระบายสีน้ำตองใชความชำนาญสูงเพราะผิดพลาดแลวจะแกไขยากจะระบายซ้ำ ๆ ทับกันมาก ๆ ไมไดจะทำใหภาพออกมามีสีขุน ๆ ไมนาดู หรือที่เรียกวา สีเนา  สีน้ำที่มีจำหนาย ในปจจุบัน จะบรรจุในหลอด เปนเนื้อสีฝุนที่ผสมกับกาวอะราบิค ซึ่งเปนกาวที่สามารถละลาย น้ำได มีทั้งลักษณะที่โปรงแสง ( Transparent ) และกึ่งทึบแสง ( Semi-Opaque )    ซึ่งจะมี

ระบ ุไวขางหลอด  สีน้ำนิยมระบายบนกระดาษที่มีผิวขรุขระ หยาบ

สีโปสเตอร   POSTER  COLOUR    สีโปสเตอร  เปนสีชนิดสีฝุน (Tempera) ที่ผสมกาวน้ำบรรจุเสร็จเปนขวด  การใชงานเหมือน กับสีน้ำ คือใชน้ำเปนตัวผสมใหเจือจาง     สีโปสเตอรเปนสีทึบแสง มีเนื้อสีขน สามารถระบายใหม ีเนื้อเรียบได    และผสมสีขาวใหมีน้ำหนักออนลงไดเหมือนกับสีน้ำมัน  หรือสีอะครีลิค สามารถ ระบายสีทับกันได  มักใชในการวาดภาพ  ภาพประกอบเรื่อง   ในงานออกแบบ ตาง   ๆ    ไดสะดวก ในขวดสีโปสเตอรมีสวนผสมของกลีเซอรีน จะทำใหแหงเร็วPoster color สีโปสเตอร์ คุณสมบัติทึบแสง ใชน้ำทำละลาย

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 8

สีน้ำมัน  OIL  COLOUR คุณสมบัติทึบแสง ใช้น้ํามันลินซีดทําละลาย

   สีน้ำมัน ผลิตจากการผสมของสีฝุนกับน้ำมัน ซ่ึงเปนน้ำมันจากพืช เชน น้ำมันลินสีด ( Linseed ) ซ่ึงกลั่นมาจากตนแฟลกซ  หรือน้ำมันจากเมล็ดปอบป        สีน้ำมันเปนสีทึบแสง เวลาระบายมักใชสีขาว ผสมใหไดน้ำหนักออนแก  งานวาดภาพสีน้ำมัน มักเขียนลงบนผาใบ  (Canvas )  มีความคงทนมากและ กันน้ำ ศิลปนรูจักใชสีน้ำมันวาดภาพมาหลายรอยปแลว  การวาดภาพสีน้ำมัน อาจใชเวลาเปนเดือนหรือ เปนปก็ได เนื่องจากสีน้ำมันแหงชามาก ทำใหไมตองรีบรอน สามารถวาดภาพสีน้ำมันที่มีขนาดใหญ ๆ และสามารถแกไขงาน ดวยการเขียนทับงานเดิม  สีน้ำมันสำหรับเขียนภาพจะบรรจุในหลอด  ซ่ึงมีราคา สูงต่ำข้ึนอยูกับคุณภาพ  การใชงานจะผสมดวยน้ำมันลินสีด  ซ่ึงจะทำใหเหนียวและเปนมัน    แตถาใช น้ำมันสน จะทำใหแหงเร็วข้ึนและสีดาน พูกันที่ใชระบายสีน้ำมันเปนพูกันแบนที่มีขนแข็งๆ   สีน้ำมัน เปนสีที่ศิลปนสวนใหญนิยมใชวาดภาพ มาต้ังแตสมัยเรอเนซองสยุคปลาย

สีฝุน  TEMPERA

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 9

   สีฝุน เปนสีเริ่มแรกของมนุษย ไดมาจากธรรมชาติ ดิน หิน แรธาตุ พืช  สัตว นำมาทำใหละเอียด เปนผง ผสมกาวและน้ำ กาวทำมาจากหนังสัตว กระดูกสัตว สำหรับชางจิตรกรรมไทยใช     ยางมะขวิด หรือกาวกระถิน ซึ่งเปนตัวชวยใหสีเกาะติดพื้นผิวหนาวัตถุไมหลุดไดโดยงาย  ในยุโรปนิยมเขียนสีฝุน โดยผสมกับกาวยาง กาวน้ำ หรือไขขาว สีฝุนเปนสีที่มีลักษณะทึบแสง มีเนื้อสีคอนขางหนา  เขียนสีทับ กันได สีฝุนมักใชในการเขียนภาพทั่วไป     โดยเฉพาะภาพฝาผนัง  ในสมัยหนึ่งนิยมเขียนภาพผาฝนัง ที่เรียกวา สีปูนเปยก (Fresco) โดยใชสีฝุนเขียนในขณะที่ปูนที่ฉาบผนังยังไมแหงดี  เนื้อสีจะซึมเขาไป ในเนื้อปูนทำใหภาพไมหลุดลอกงาย สีฝุนในปจจุบัน มีลักษณะเปนผง เมื่อใชงานนำมาผสมกับน้ำโดย ไมตองผสมกาว เนื่องจากในกระบวนการผลิตไดทำการผสมมาแลว  การใชงานหมือนกับสีโปสเตอร

Tempera สีฝุน มักใชเขียนภาพเขียนไทย หรือผนังโบสถ ์

สีอะครีลิค  ACRYLIC  COLOUR คุณสมบัติทึบแสงและโปรงใสก็ไดขึ้นอยูกับการผสมน้ำ มีการใชสารผสมพลาสติกทำใหแหงแลวลางไมออก

 สีอะครีลิค  เปนสีที่มีสวนผสมของสารพลาสติกโพลีเมอร ( Polymer) จำพวก อะครีลิค ( Acrylic ) หรือ ไวนิล ( Vinyl ) เปนสีที่มีการผลิตขึ้นมาใหมลาสุด วลาจะใชนำมาผสมกับน้ำ  ใชงานไดเหมือนกับสีน้ำ และสีน้ำมัน มีทั้งแบบโปรงแสง และทึบแสง แตจะแหงเร็วกวาสีน้ำมัน 1 - 6 ชั่วโมง  เมื่อแหงแลวจะมี คุณสมบัติกันน้ำไดและเปนสีที่ติดแนนทนนาน  คงทนตอสภาพดินฟาอากาศ สามารถเก็บไวไดนาน ๆ ยึดเกาะติดผิวหนาวัตถุไดดี    เมื่อระบายสีแลวอาจใชน้ำยาวานิช  ( Vanish )  เคลือบผิวหนาเพื่อปองกัน การขูดขีด เพื่อใหคงทนมากยิ่งขึ้น  สีอะครีลิคที่ใชวาดภาพบรรจุในหลอด  มีราคาคอนขางแพง

สรุปสีที่แห้งเร็วจากมากไปน้อยคือ อะคริลิค น้ํา และน้ํามัน

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 10

การตูนเคลื่อนไหวอยางงาย Flip BookThe German word for flip book—Daumenkino, literally "thumb cinema"—reflects this process.

Flip Book คือการ์ตูนแอนิเมชั่นที่สร้างด้วยการลงทุนน้อยขั้นตอนวิธีการ

1 .ออกแบบตัวการ์ตูนให้ตรงกับเนื้อเรื่อง ใน Sketch design

Character Design: คือการออกแบบตัวการ์ตูนให้ตอบรับกับโจทย์ที่ตั้งไว้ อาจนําไปใช้ในการพรีเซ็นเตอร์ให้กับสินค้าของตนเอง นั่นก็คือ Character เช่นกันหรืออาจจะนํามาใช้ในธุรกิจการค้า หรืออุตสาหกรรม ยกตัวอย่างเช่น

ตัวการ์ตูนโลดแล่นอยู่ในโฆษณาต่างๆ หรือแม้แต่เกมส์ออนไลน์ก็เช่นกัน นอกจากนี้จะพบ Character Design ได้ในเครื่องใช้และของกินต่างๆ เช่น น้ํายาทําความสะอาดรถ ขนมปัง ไอศกรีม อื่นๆ คํานึงว่าต้องสื่อถึงอารมณ์บุคลิคลักษณะของตัวการ์ตูนชัดเจน

ขั้นตอนการสร้างงาน Character Design

1. สร้างเนื้อเรื่อง วางโครงเรื่องให้กับตัวเอก

2.สร้างบุคลิกเฉพาะตัวให้แก่ตัวละคร

3. สร้างตัวละครโดยอยู่บนพื้นฐานของบุคลิกตัวการ์ตูนในเรื่อง

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 11

2. วาดการวางแผนเรื่องราว ใครทําอะไร และผลของการกระทําคืออะไรลงไว่เป็นฉากๆ ใน Story board

3. คั่นหน้ากระดาษด้วยที่คั่นเพื่อแยกช่อง เป็นโดยการประมาณ

4. วาดภาพตามแผนที่วางใน Flipbook โดยคํานึงถึงการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่อง

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 12

ทบทวนทัศนธาตุทัศนธาตุ หรือองคประกอบศิลป ( Visual Element of Art)หมายถึง สิ่งตางๆที่จำเปนในการสรางสรรคงานดานทัศนศิลป ไดแก จุด , เสน, รูปราง ,รูปทรง, รูปและพื้น, ลักษณะพื้นผิว , มิติ , สีและแสงเงา

นักเรียนจำเปนตองศึกษาใหเขาใจเพื่อสรางงานใหเกิดความสวยงาม

T จุด เป็นพื้นฐานทางโครงสร้างของทุกสิ่ง มีมิติเป็นศูนย์

T เสนเสนแสดงความรูสึกไดดวยตัวของมันเอง มี 1 มิติ และดวยการสรางเปนรูปทรงตาง ๆ ขึ้น ฮารแลน แคล

วิน (Harlan Calvin) กลาววาเสนสามารถแทนไดทั้งสิ่งที่มองเห็นและมองไมเห็น มีขนาดตางกันตามขนาดของวัสดุที่นำมาเขียน เสน หมายถึงจุดจำนวนนับไมถวน เคลื่อนไหวในบริเวณวาง (Space) ตามทิศทางที่ผู้ลากต้องการ เส้นอาจจะเกิดจากการลาก

ขูดขีด เขียนด้วยดินสอ ปากกา สีชอล์ก แปรง และวัสดุอื่น ๆ เส้นที่เกิดจากรอยแปรงและมีทิศทาง

คุณลักษณะของเส้น - เส้นมีมิติเดียวคือความยาว มีลักษณะต่าง ๆ มีทิศทาง และมีขนาดลักษณะต่าง ๆ ของเส้น ได้แก่ ตรง โค้ง คด เป็นคลื่น ฟันปลา เกล็ดปลา ก้นหอย ชัด พร่า ประ ฯลฯ- ทิศทางของเส้น ได้แก่ แนวราบ แนวดิ่ง แนวเฉียง แนวลึก - ขนาดของเส้น เส้นไม่มีความกว้าง มีแต่เส้นหนา เส้นบาง หรือเส้นใหญ่ เส้นเล็ก ความหนาของเส้นจะต้อง- พิจารณาเปรียบเทียบกับความยาว ถ้าเส้นสั้นแต่มีความหนามากจะหมดคุณลักษณะของความเป็นเส้นกลายเป็น รูปร่าง สี่เหลี่ยมผืนผ้าไป นอกจากนั้น ลักษณะของเส้นยังให้ความรู้สึกต่าง ๆ อีกด้วยคือ

เสนตรง ใหความรูสึกมั่นคงหรือแข็งแรงแสดงถึงความมีระเบียบ เที่ยงตรง เขมแข็ง ไมประนีประนอม และเอาชนะ

เสนนอน  เปนเสนที่ใหความรูสึกสงบนิ่งไมเคลื่อนไหว  แสดงถึงความรูสึกกวางออกไป  

เสนเฉียงหรือเสนแทยง  เปนเสนที่ใหความรูสึกเคลื่อนไหวไมอยูนิ่ง

เสนประ เปนเสนที่ใหความรูสึกตื่นเตน ไมตอเนื่อง

เสนโคง เปนเสนที่ใหความรูสึกนุมนวล  ออนโยนกลมกลืน

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 13

เสนฟนปลา หรือเสนคดที่หักเหโดยกะทันหัน เปลี่ยนทิศทางรวดเร็วมากทำใหประสาทกระตุก ใหจังหวะกระแทก เกร็ง ทำใหนึกถึงพลังไฟฟา ฟาผา กิจกรรมที่ขัดแยงความรุนแรง และสงคราม

เสนโคงกนหอย ใหความรูสึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย และเติบโตเมื่อมองจากภายในออกมา ถามองจากภายนอกเขาไปจะใหความรูสึกที่ ไมสิ้นสุดของพลังเคลื่อนไหวเสนกอนหอยที่พบในธรรมชาติมักจะวนทวนเข็มนากา เห็นไดในกนหอย ในควันเพลิง ในอาการเกี่ยวพันของไมเลื้อย เสนโคงกนหอยเปนเสนโคงที่ขยายตัวออกไมมีจุดจบ 

รูปร่าง หมายถึง แบบรูปที่เป็น 2 มิติ แสดงเนื้อที่ของผิวที่เป็นระนาบมากกว่าจะเป็นปริมาตรหรือมวล

V คำวา รูปราง นี้มีความหมายทั่วๆไปตื้นกวาคำวา รูปทรง คนกลุมหนึ่งมีรูปทรงเปนอยางเดียวกัน มีหัว มีลำตัว แขนขา มีโครงสรางเหมือนกัน แตคนเหลานั้นมีรูปรางไมเหมือนกัน มีอวน มีผอม มีสูง มีต่ำ ดินเหนียวกอนหนึ่งจะมีรูปรางตามบึญตามกรรมของมันจนกวาประติมากรจะปนขึ้นรูปใหมีความหมายขึ้น T เมื่อเขียนเสนหนึ่งไมวาจะเปนเสนตรงหรือเสนโคง ยอมมีจุดเริ่มตนและจุดสุดทาย และถานำเอาปลายของเสนมาเชื่อมตอกันก็จะเกิดบริเวณ พื้นที่ ซึ่งมีเสนเปนขอบรูปนอกที่แสดงถึงอาณาบริเวณ บริเวณนี้เรียกวารูปรางเกิดจากเสนที่ลากโดยมีทิศทางมาบรรจบกันมีอยู 3 ลักษณะคือ วงกลม สามเหลี่ยม และสี่เหลี่ยม เปนรูปรางพื้นฐานหรือรูปรางเรขาคณิต รูปรางเหลานี้มีความหมายในตัวเอง ซึ่งเราสามารถที่จะรับรูได เชน รูปสี่เหลี่ยมใหความรูสึกสงบ ตรงไปตรงมาและซื่อสัตย รูปสามเหลี่ยมมีพลังใหความรูสึกโตแยงและเฉียบคม สวนวงกลมใหความรั้สึกอบอุน มีความปลอดภัย ไมมีความสิ้นสุดเปนอมตะ

ประเภทของรูปร่างในทางทัศนศิลป์รูปร่าง คือหนึ่งในสวนประกอบขั้นมูลฐาน (Element) ของทัศนศิลป ไดมีการจำแนก จนเปนที่ยอมรับและเปนที่เขาใจ กันมานานแลววา แบงออกเปน

3 ประเภท คือ

1. รูปร่างธรรมชาต ิ(Natural Shape)

หมายถึงรูปรางที่ถายทอดแบบมาจากธรรรมชาติเปนสิ่งที่พบเห็นโดยทั่วไป ไดแก คน สัตว พืช หรือเรียกอีกนัยหนึ่งวารูปรางที่ไดจากสิ่งที่มีชีวิต (Organic)2. รูปร่างเรขาคณิต (Geometric Shape) หมายถึงรูปราง ที่มนุษยสรางขี้นมาใหม โดยอาจจะ มีที่มาจากธรรมชาตินำมา ดัดแปลง โดยรูปรางเรขาคณิตนี้ จะมีโครงสรางแนนอน วัดระยะได ไดแก รูปรางวงกลม รูปรางสามเหลี่ยม รูปรางสี่หลี่ยม ฯลฯ3. รูปร่างนามธรรม (Abstract Shape)หมายถึงรูปรางที่ถูกเปลี่ยนแปลง อาจเปนรูปราง ที่มาจากธรรมชาติ เรขาคณิต หรือจากจินตนาการ ซึ่งรูปรางลักษณะนี้ อาจพอมองออกวา คลายกับรูปรางอะไร หรือไมสามารถระบุไดวา เปนรูปรางอะไร อาจเรียก รูปรางชนิดนี้วารูปราง ไมแสดงเนื้อหาหรือรูปรางอิสระ ซึ่งเปนรูปราง ที่เกิดขึ้น โดยไมจำเปนตอง อางอิงธรรมชาตหรือเรขาคณิตตัวอยางรูปรางที่ใชในการสรางสรรคงานออกแบบ

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 14

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 15

รูปทรง (Form) : กวาง ยาว

หนา ลึก กินพื้นที่ระวางในอากาศ

ไดแก 1. รูปทรงของสิ่งมีชีวิตใน

ธรรมชาติ 2. รูปทรงเรขาคณิต 3. รูป

ทรงอิสระ เปนรูปทรงที่ไมมีโครงสราง

ชัดเจนแนนอน เชน เมฆ หมอก ควัน

น้ำตก

ในการเขียนใหมีความลึกเรียก

“ทัศนียวิทยา หรือ ทัศนียภาพ” Perspective มี 1 ,2 และ 3 จุดรวมสายตา (VP)

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 16

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 17

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 18

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 19

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 20

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 21

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 22

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 23

ส ีเปนองคประกอบที่สำคัญของศิลปะเชนเดียวกับเสน เปนปรากฏการณธรรมชาติที่นามหัศจรรย การที่เราสามารถมองเห็นสีตางๆ ไดนั้น เปนเพราะสภาพความเขมของแสงจากวัตถุที่สะทอนเขาสูสายตาเรา ไมวาจะเปนแสงธรรมชาติหรือแสงไฟ ถาแสงมากก็เห็นสีไดชัดเจนสดใส ถาแสงนอยก็เห็นสีหมนมัว และสีที่มองเห็นสามารถสรางความประทับใจ ราอารมณตอผูดูไดอยางรวดเร็ว

เมื่อเรามองไปรอบๆ ตัว สิ่งที่สะดุดตาก็คือสี สีชวยใหธรรมชาติ และสภาพแวดลอมนาสนใจ และนาอยูอาศัยมากขึ้น ถาทุกสิ่งทุกอยางบนโลกใบนี้เปนสีขาวดำเพียง 2 สี สำหรับเราที่ชินอยูกับสีสันตางๆ เราคงตองวุนวายกับการจดจำสิ่งของเครื่องใชที่มีสีเหมือนๆกัน การจราจรบนทองถนนคงไมมีไฟเขียวเหลืองแดงกำกับการจราจร ดอกไมเองคงไมมีT ในทางจิตวิทยา สีจะใหความรูสึกตางๆตอเรา เชน ความรูสึกสุขสดชื่น สงบเยือกเย็น เรารอน เศราหมอง ฯลฯ ซึ่งความรูสึกโดยสวนรวมที่เกิดขึ้นเชนนี้ มีผลมาจากประสบการณในชีวิตประจำวันของเราที่มีตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เราสะสมประสบการณเกี่ยวกับตนไม ใบหญา ทองทุงที่เขียวขจี เมื่อเราพบสีเขียวความรูสึกจากประสบการณก็จะปรากฏขึ้น เรารูวาดวงอาทิตยและไฟสีแดงมีความรอน เมื่อพบสีแดงความรูสึกรอนรุนแรงก็จะปรากฎขึ้น เปนตน นักออกแบบและศิลปนไดนำความรูสึกที่เรามีตอสีมาใชมาใชในงานออกแบบ และงานศิลปะ สถาปนิกเลือกใชสีกับอาคารบานเรือนใหดูสงางาม นาอยูอาศัย นักออกแบบตกแตงจะตองรูจักเลือกสีไปใชในสถานที่ตางๆกัน เชน สีที่เลือกใชในโรงพยาบาล ก็จะตองเลือกสีที่ชวยใหผูปวยรูสึกสดชื่น ถาเลือกสีมาใชในหองทำงานก็ตองเลือกสีที่ใหความรูสึกเครงครึม และถาเปนโรงเรียนก็ควรเลือกสีที่ใหความรูสึกสนุกสนาน เปนตนT นอกจากความรูสึกทางดานความรูสึกแลว สียังถูกนำไปใชกับการเตือนอันตรายในสังคมอีกดวย เชนสัญญาณไฟเขียว หมายถึงไป เหลืองหมายถึงระวัง แดงหมายถึงหยุด ขอบถนนสีแดงหมายถึงหามจอด เขต สีเหลืองในโรงงานอุตสาหกรรม คือ เขตอันตราย เปนตน ขอตกลงในสังคมเชนนี้เปนขอตกลงที่ทุกคนตองปฏิบัติตาม ไมเชนนั้นจะเกิดความเขาใจผิดหรืออันตรายตามมาไดTT อิทธิพลของส ีในชวงกอนป ค.ศ.1900 โจแอนเนส อิทเทน ผูเชี่ยวชาญการใชสีชาวเยอรมันเปนคนแรกที่สังเกตธรรมชาติของสีแท พบวา เปนสีที่มีอยูในตัวของมันเอง ไดมีนักวิจัยหลายทานพบวา สีที่แตกตางกันสามารถทำใหเกิดปฏิกิริยาแกผูพบเห็นได ดังนี้T 1. สีแดง ใหความรูสึกรอนแรง ตื่นเตนเราใจT 2. สีชมพู ใหความรคูสึกออนหวาน ละเอียดออน ดูประณีตT 3. สีสม ใหความรูสึกกระปรี้กระเปรา ทำใหเบิกบานT 4. สีเขียว ใหความรูสึกสงบสุขT 5. สีน้ำเงินใหความรูสึกเย็นสบายT 6. สีมวงแดง ใหความรูสึกสงาผาเผย หรูหราT 7. สีน้ำตาล ใหความรูสึกเชื่อถือ วางใจไดT 8. สีดำ ใหความรูสึกลึกลับ ซอนเรนT 9. สีเทา ใหความรูสึกอนุรักษ แลดูสบายT 10. สีขาว ใหความรูสึกสวาง สะอาด บริสุทธิ์

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 24

สีในงานโฆษณาHealthy Tasty

Fresh Fun

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 25

Feminine Rich

วงสีแท ้ ที่เป็นรงควัตถุธาตุ มีท้ังหมด 12 สีหกคูสีตัดกัน เชนคูตรงขามของสี แดงคือเขียว เหลืองคือมวง น้ำเงินคือสม

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 26

สีขั้นที่ 1 คือ แมสี ไดแก สีแดง   สีเหลือง  สีน้ำเงิน

   

   สีขั้นที่ 2 คือ สีที่เกิดจากสีข้ันที่ 1 หรือแมสีผสมกันในอัตราสวนที่เทากัน จะทำให

  เกิดสีใหม 3 สี ไดแก  

                   สีแดง ผสมกับสีเหลือง  ไดสี สม

                   สีแดง ผสมกับสีน้ำเงิน  ไดสีมวง

                   สีเหลือง ผสมกับสีน้ำเงิน  ไดสีเขียว

   สีขั้นที่ 3 คือ สีที่เกิดจากสีข้ันที่ 1 ผสมกับสีข้ันที่ 2 ในอัตราสวนที่เทากัน จะไดสีอื่น ๆ

   อีก 6  สี คือ

                   สีแดง ผสมกับสีสม  ไดสี สมแดง

                   สีแดง ผสมกับสีมวง  ไดสีมวงแดง

                   สีเหลือง ผสมกับสีเขียว ไดสีเขียวเหลือง

                   สีน้ำเงิน ผสมกับสีเขียว  ไดสีเขียวน้ำเงิน

                   สีน้ำเงิน ผสมกับสีมวง  ไดสีมวงน้ำเงิน

                   สีเหลือง ผสมกับสีสม ไดสีสมเหลือง

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 27

วรรณะของสี คือสีที่ใหความรูสึกรอน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีรอน 7 สี และ

  สีเย็น 7 สี ซ่ึงแบงที่ สีมวงกับสีเหลือง ซ่ึงเปนไดทั้งสองวรรณะ

สีตรงขาม หรือสีตัดกัน หรือสีคูปฏิปกษ เปนสีที่มีคาความเขมของสี

ตัดกันอยาง

  รุนแรง ในทางปฏิบัติไมนิยมนำมาใชรวมกัน เพราะจะทำใหแตละสี

ไมสดใส

  เทาที่ควร  การนำสีตรงขามกันมาใชรวมกัน อาจกระทำไดดังนี้

     1. มีพื้นที่ของสีหนึ่งมาก อีกสีหนึ่งนอย

     2. ผสมสีอื่นๆ ลงไปสีสีใดสีหนึ่ง หรือทั้งสองสี

     3. ผสมสีตรงขามลงไปในสีทั้งสองสี

   

  สีกลาง คือ สีที่เขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีน้ำตาล

กับ สีเทา

  สีน้ำตาล เกิดจากสีตรงขามกันในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนที่เทากัน สีน้ำตาลมี

  คุณสมบัติสำคัญ คือ ใชผสมกับสีอื่นแลวจะทำใหสีนั้น ๆ เขมข้ึนโดยไมเปลี่ยน

  แปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ำตาล  

  สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ สีในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนเทากัน สีเทา มีคุณสมบัติ

  ที่สำคัญ คือ ใชผสมกับสีอื่น ๆ แลวจะทำให มืด หมน ใชในสวนที่เปนเงา ซ่ึงมีน้ำหนัก

 ออนแกในระดับตาง ๆ ถาผสมมาก ๆ เขาจะกลายเปนสีเทา

น้ำหนัก (Tone): ระดับความเขมของแสงเงาที่ปรากฏบนวัตถุที่มองเห็น น้ำหนักในงานจิตรกรรมจะทำใหภาพดูมี

ความต้ืนลึกระดับน้ําหนักอ่อน-แก่ (Value) หมายถึง จํานวนความเข้ม ความอ่อนของสีต่าง ๆ และแสงเงาตามที่ประสาทตารับรู้ เมื่อเทียบกับน้ําหนักของสีขาว-ดํา ความอ่อนแก่ของแสงเงาทําให้เกิดมิติ เกิดระยะใกล้ไกลและสัมพันธ์กับเรื่องสีโดยตรง

พื้นผิว (Texture)

หมายถึง พื้นผิวของวัตถุต่าง ๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น พื้นผิวของวัตถุที่แตกต่างกัน ย่อมให้ ความรู้สึกที่แตกต่างกันด้วย 

ลักษณะของบริเวณผิวหนาของส่ิงตาง ๆ ที่เม่ือสัมผัสแลวสามารถ

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 28

  รับรูได วามีลักษณะอยางไร คือรูวา หยาบ ขรุขระ เรียบ

มัน ดาน เนียน สาก  เปนตน   ลักษณะที่สัมผัสไดของพื้นผิว มี  2  ประเภท คือ    

   1. พ้ืนผิวที่สัมผัสไดดวยมือ หรือกายสัมผัส เปน

ลักษณะพื้นผิวที่เปนอยูจริง ๆ ของ   ผิวหนาของวัสดุนั้น ๆ   ซ่ึงสามารถสัมผัสไดจากงาน

ประติมากรรม งานสถาปตกรรม   และส่ิงประดิษฐอื่น ๆ     2. พ้ืนผิวที่สัมผัสไดดวยสายตา จากการมองเห็นแต

ไมใชลักษณะที่แทจริงของผิว   วัสดุนั้น ๆ เชน การวาดภาพกอนหินบนกระดาษ   จะใหความรูสึกเปนกอนหินแต

  มือสัมผัสเปนกระดาษ  หรือใชกระดาษพิมพลายไม หรือลาย

หินออน  เพื่อปะ  ทับ   บนผิวหนาของส่ิงตาง ๆ เปนตน ลักษณะเชนนี้ถือวา   

เปนการสรางพื้นผิวลวงตา   ใหสัมผัสไดดวยการมองเห็นเทานั้น    

     พื้นผิวลักษณะตาง ๆ จะใหความรูสึกตองานศิลปะที่แตก

ตางกัน พื้นผิวหยาบจะ   ใหความรูสึกกระตุนประสาท หนักแนน ม่ันคง แข็งแรง ถาวร   

ในขณะที่ผิวเรียบ   จะใหความรูสึกเบา สบาย การใชลักษณะของพื้นผิวที่แตกตาง

กัน  เห็นไดชัดเจน   จากงานประติมากรรม และมากที่สุดในงานสถาปตยกรรมซ่ึง

มีการรวมเอาลักษณะ   ตาง ๆ กันของพื้นผิววัสดุหลาย ๆ อยาง   เชน อิฐ  ไม โลหะ  กระจก  คอนกรีต หิน   ซ่ึงมีความขัดแยงกันแตสถาปนิกไดนำมาผสมกลมกลืนไดอยางเหมาะสม ลงตัวจน   เกิดความสวยงาม 

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 29

การจัดองค์ประกอบศิลป์ (Composition)

หมายถึง การนําทัศนธาตุต่างๆ มากําหนดการจัดวางในตําแหน่งที่เหมาะสมหรือตาม

1. เอกภาพ  Unity หมายถึง ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันขององคประกอบศิลปทั้งดานรูปลักษณะ  และดานเนื้อหาเรื่องราว  เปนการประสานหรือจัดระเบียบของสวนตาง ๆใหเกิดความเปน หนึ่งเดียว เพื่อผลรวมอันไมอาจแบงแยกสวนใดสวนหนึ่ง

ออกไป     การสรางงานศิลปะ คือ  การสรางเอกภาพข้ึนจากความสับสน  ความยุงเหยิง  เปนการจัดระเบียบ และดุลยภาพ ใหแกส่ิงที่ขัดแยงกันเพื่อใหรวมตัวกันได โดยการเชื่อมโยงสวนตาง ๆใหสัมพันธกัน เอกภาพของงานศิลปะ มี

อยู  2 ประการ คือ

1. เอกภาพของการแสดงออก หมายถึง การแสดงออกทีมีจุดมุงหมายเดียว แนนอน และมี   ความเรียบงาย  งานชิ้นเดียวจะแสดงออกหลายความคิด หลายอารมณไมได จะทำใหสับสน   ขาดเอกภาพ  และการแสดงออกดวยลักษณะเฉพาตัวของศิลปนแตละคน ก็สามารถทำให   เกิดเอกภาพแกผลงานได

 2. เอกภาพของรูปทรง คือ การรวมตัวกันอยางมีดุลยภาพ และมีระเบียบขององคประกอบ   ทางศิลปะ เพื่อใหเกิดเปนรูปทรงหนึ่ง ที่สามารถแสดงความคิดเห็นหรืออารมณของศิลปน   ออกไดอยางชัดเจน เอกภาพของรูปทรง เปนส่ิงที่สำคัญที่สุดตอความงามของผลงานศิลปะ   เพราะเปนส่ิงที่ศิลปนใชเปนส่ือในการแสดงออกถึงเรื่องราว  ความคิด และอารมณ  ดังนั้น

  กฎเกณฑในการสรางเอกภาพในงานศิลปะเปนกฎเกณฑเดียวกันกับธรรมชาติ  ซ่ึงมีอยู 2   หัวขอ  คือ

 1. กฎเกณฑของการขัดแยง (Opposition) มีอยู 4 ลักษณะ คือ           1.1 การขัดแยงขององคประกอบทางศิลปะแตละชนิด  และรวมถึงการขัดแยง

กันของ

 องคประกอบตางชนิดกันดวย           1.2 การขัดแยงของขนาด           1.3 การขัดแยงของทิศทาง           1.4 การขัดแยงของที่วางหรือ จังหวะ

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 30

 2. กฎเกณฑของการประสาน (Transition) คือ การทำใหเกิดความกลมกลืน ใหส่ิงตาง ๆ   เขากันดอยางสนิท      เปนการสรางเอกภาพจากการรวมตัวของส่ิงที่เหมือนกันเขาดวยกัน

  การประสานมีอยู  2   วิธี  คือ           2.1 การเปนตัวกลาง (Transition) คือ  การทำส่ิงที่ขัดแยงกันใหกลมกลืนกัน ดวยการ   ใชตัวกลางเขาไปประสาน  เชน สีขาว กับสีดำ ซ่ึงมีความแตกตาง ขัดแยงกันสามารถทำให

  อยูรวมกันไดอยางมีเอกภาพ   ดวยการใชสีเทาเขาไปประสาน  ทำใหเกิดความกลมกลืนกัน   มากข้ึน           2.2 การซ้ำ (Repetition)  คือ การจัดวางหนวยที่เหมือนกันต้ังแต 2 หนวยข้ึนไป  เปน   การสรางเอกภาพที่งายที่สุด แตก็ทำใหดูจืดชืด นาเบื่อที่สุด

      นอกเหนือจากกฎเกณฑหลักคือ การขัดแยงและการประสานแลว ยังมีกฎเกณฑ

รอง อีก 2 ขอ คือ    1. ความเปนเดน (Dominance)  ซ่ึงมี 2 ลักษณะ คือ       1.1 ความเปนเดนที่เกิดจากการขัดแยง ดวยการเพิ่ม หรือลดความสำคัญ   ความ

นาสนใจ

  ในหนวยใดหนวยหนึ่งของคูที่ขัดแยงกัน       1.2 ความเปนเดนที่เกิดจากการประสาน

  2. การเปลี่ยนแปร (Variation) คือ การเพิ่มความขัดแยงลงในหนวยที่ซ้ำกัน เพื่อ

ปองกัน   ความจืดชืด นาเบื่อ ซ่ึงจะชวยใหมีความนาสนใจมากข้ึน การเปลี่ยนแปรมี  4  ลักษณะ คือ

     2.1 การปลี่ยนแปรของรูปลักษณะ       2.2 การปลี่ยนแปรของขนาด       2.3 การปลี่ยนแปรของทิศทาง       2.4 การปลี่ยนแปรของจังหวะ             การเปลี่ยนแปรรูปลักษณะจะตองรักษา

คุณลักษณะของการซ้ำไว ถารูปมีการเปลี่ยน   แปรไปมาก  การซ้ำก็จะหมดไป  กลายเปนการขัดแยง

เขามาแทน และ  ถาหนวยหนึ่งมีการ   เปลี่ยนแปรอยางรวดเร็ว   มีความแตกตางจากหนวย

อื่น ๆ มาก   จะกลายเปนความเปนเดน

  เปนการสรางเอกภาพดวยความขัดแยง

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 31

!

! 2. ความกลมกลืน ( Harmony ) หมายถึง การนำเอาองคประกอบที่มี

ความคลายหรือเหมือนกันมาจัดวาง ใหเกิดการประสานกันอยางเหมาะสมและลงตัวในผลงาน ดูแลวไมขัดตา เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

T 3. การตัดกัน ( Contrast ) หรือการขัดแยง หมายถึงการจัดองคประ กอบพื้นฐานที่มีคุณสมบัติตางกันมาไวดวยกัน ความแตกตางมีตั้งแตเล็กนอยจนถึงตางกันอยางสิ้นเชิง การตัดกันถาใชอยางเหมาะสมจะทำใหเกิดความเดนปรากฏชัดเจนขึ้นในผลงาน กลายเปนจุดรวมของความสนใจ นอกจากนี้ยังชวยลดความนาเบ่ือจากความกลมกลืนที่มากเกินไป แตถามีการตัดกันมากเกินไปก็จะทำใหเกิดการไมเขากัน หรือขัดกัน

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 32

T 4. ความสมดุล ( Balance )

ความสมดุล หรือ ดุลยภาพ หมายถึง น้ําหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบ  ไม่เอนเอียง

ไปข้างใดข้างหนึ่ง 

ในทางศิลปะยังรวมถึงความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะพอดีของ ส่วนต่าง ๆ ในรูปทรงหนึ่ง หรืองาน

ศิลปะชิ้นหนึ่ง การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ   ลงใน งานศิลปกรรมนั้นจะต้องคํานึงถึงจุดศูนย์ถ่วง ในธรรมชาตินั้น   ทุกสิ่งสิ่งที่ทรงตัวอยู่ได้โดยไม่ล้มเพราะมีน้ําหนักเฉลี่ยเท่ากันทุกด้าน    ฉะนั้น  ในงานศิลปะถ้ามองดูแล้วรู้สึกว่าบางส่วนหนักไป แน่นไป  หรือ เบา  บางไปก็จะทําให้ภาพนั้นดูเอนเอียง   และเกิดความ รู้สึกไม่สมดุล เป็นการบกพร่องทางความงาม 

ดุลยภาพในงานศิลปะ มี  2 ลักษณะ คือ

  1. ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซายขวาเหมือนกัน   คือ การวางรูปทั้งสองขางของแกนสมดุล    เปนการสมดุลแบบธรรมชาติลักษณะแบบนี้ใน   ทางศิลปะมีใชนอย สวนมากจะใชในลวดลายตกแตง ในงานสถาปตยกรรมบางแบบ หรือ   ในงานที่ตองการดุลยภาพที่นิ่งและม่ันคงจริง ๆ

  2. ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบ

ซายขวาไมเหมือน

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 33

  กัน มักเปนการสมดุลที่เกิดจาการจัดใหมของมนุษย   ซ่ึง

มีลักษณะที่ทางซายและขวาจะไม   เหมือนกัน ใชองคประกอบที่ไมเหมือนกัน  แตมีความ

สมดุลกัน   อาจเปนความสมดุลดวย   น้ำหนักขององคประกอบ หรือสมดุลดวยความรูสึกก็ได 

การจัดองคประกอบใหเกิดความ   สมดุลแบบอสมมาตรอาจทำไดโดย    เลื่อนแกนสมดุล

ไปทางดานที่มีน้ำหนักมากวา   หรือ   เลื่อนรูปที่มีน้ำหนักมากวาเขาหาแกน  จะทำใหเกิดความสมดุลข้ึน หรือใชหนวยที่มีขนาด

  เล็กแตมีรูปลักษณะที่นาสนใจถวงดุลกับรูปลักษณะที่มีขนาดใหญแตมีรูปแบบธรรมดา

5.การเนน  Emphasis

หมายถึง  การกระทําให้เด่นเป็นพิเศษกว่าธรรมดา 

ในงานศิลปะจะต้องม ีส่วนใดส่วนหนึ่ง  หรือจุดใดจุดหนึ่ง ที่มีความสําคัญกว่าส่วนอื่น ๆ   เป็นประธานอยู ่ถ้าส่วนนั้นๆ อยู่ปะปนกับส่วนอื่น ๆ  และมีลักษณะเหมือน ๆ กัน  ก็อาจถูกกลืน หรือ ถูกส่วนอื่นๆ ที่มีความสําคัญ

น้อยกว่าบดบัง หรือแย่งความสําคัญ ความน่าสนใจไปเสีย งานที่ไม่มีจุดสนใจ หรือประธาน  จะทําให้ดูน่าเบื่อ

เหมือนกับลวดลายที่ถูกจัดวางซ้ํากันโดยปราศจากความหมาย หรือเรื่องราวที่น่าสนใจดังนั้น  ส่วนนั้นจึงต้องถูกเน้น ให้เห็นเด่นชัดขึ้นมา เป็นพิเศษกว่าส่วนอื่น ๆ  ซึ่งจะทําให้ผลงานมีความงาม สมบูรณ์ ลงตัว และน่าสนใจมากขึ้น การเน้นจุดสนใจสามารถทําได้  3  วิธี คือ

 1. การเนนดวยการใชองคประกอบที่ตัดกัน (Emphasis by Contrast) ส่ิงที่แปลกแตก

ต่างไปจากส่วนอื่นๆ ของงาน จะเป็นจุดสนใจ ดังนั้น การใช้องค์

ประกอบที่มีลักษณะ   แตกต่าง หรือขัดแย้ง กับส่วนอื่น ก็จะทําให้เกิดจุดสนใจขึ้นในผลงานได ้แต่ทั้งนี้ต้อง   พิจารณาลักษณะความแตกต่างที่นํามาใช้ด้วยว่า ก่อให้เกิดความขัดแย้งกันในส่วนรวม   และทําให้เนื้อหาของงานเปลี่ยนไปหรือไม่  โดยต้องคํานึงว่า แม้มีความขัดแย้ง แตก   ต่างกันในบางส่วน และในส่วนรวมยังมีความกลมกลืนเป็นเอกภาพ

เดียวกัน

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 34

  2. การเนนดวยการดวยการอยูโดดเด่ียว (Emphasis by Isolation)  เม่ือส่ิงหนึ่งถูกแยก  ออกไปจากสวนอื่น ๆ ของภาพ หรือกลุมของ

มัน ส่ิงนั้นก็จะเปนจุดสนใจ   เพราะเม่ือแยกออกไปแลวก็จะเกิดความสำคัญข้ึนมา   ซ่ึงเปนผลจากความแตกตาง    ที่ไมใชแตกตาง

ดวยรูปลักษณะ แตเปนเรื่องของตำแหนงที่จัดวาง  ซ่ึงในกรณีนี้ รูปลักษณะนั้นไม จำเปนตองแตกตางจากรูปอื่น   แตตำแหนงของมัน

ไดดึงสายตาออกไป    จึงกลายเปน   จุดสนใจข้ึนมา

  3. การเน้นด้วยการจัดวางตําแหน่ง (Emphasis by Placement) เมื่อองค์ประกอบอื่น ๆ ชี้นํามายังจุดใด ๆ จุดนั้นก็จะเป็นจุดสนใจที่ถูกเน้นขึ้นมา     และการจัดวางตําแหน่งที่   เหมาะสม ก็สามารถทําให้จุดนั้นเป็นจุดสําคัญขึ้นมาได้เช่นกัน    พึงเขาใจวา การเนน ไมจำเปนจะตองชี้แนะใหเห็นเดนชัดจนเกินไป ส่ิงที่จะตอง   ระลึกถึงอยูเสมอ คือ เม่ือจัดวางจุดสนใจแลว จะตองพยายามหลีกเลี่ยงไมใหส่ิงอื่นมา   ดึงความสนใจออกไป จนทำใหเกิดความสับสน  การเนน สามารถกระทำไดดวยองค   ประกอบตาง ๆ ของศิลปะ ไมวาจะเปน เสน  สี แสง-เงา  รูปราง รูปทรง หรือ พื้นผิว   ทั้งนี้ข้ึนอยูความตองการในการนำเสนอของศิลปนผูสรางสรรค

ข้อควรทราบ

ศิลปินพยายามแก้ปัญหาเรื่องมิติของงานจิตรกรรมโดยอาศัยหลักเกณฑ์ดังนี้ 1.ขนาด ของสองสิ่งมีขนาดเทากัน สิ่งที่อยูไกลกวามีขนาดเล็กกวา

2.แสงและเงา วัตถุที่อยูระยะใกลกวายอมมีสีสดและเงาเขมมากกวาที่อยูไกลออกไป

3.สี วัตถุสองสิ่งสีเดียวกัน ถาอยูไกลกวามักมีสีออนกอนและมีสีบรรยากาศเขาไปผสมอยูมากกวา

4. บดบัง วัตถุที่อยูใกลกวายอมบดบังวัตถุที่อยูไกลกวา 5.ตำแหนงจรดพ้ืน วัตถุที่อยูใกลไกลมีตำแหนงจรดพื้นตางกัน

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 35

ประวัติศาสตรศิลปอียิปต : พีระมิด

อียิปต : จิตรกรรมภาพจิตรกรรมอียิปต์

มีการวาดหน้าคนแบบหันข้าง ตัวหันตรง ขาหันข้าง และตัดเส้นขอบดํา มีอักษรภาพประกอบอยู่ ไม่คํานึงถึงหลักทัศนียภาพ

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 36

กรีกหัวเสากรีก ศิลปะคลาสสิค 3 รูปแบบ ดอริค ไอโอนิค โครินเทียน

โรงแสดงละคร Acropolis - Agora

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 37

โรมันประตูชัยที่บอกเล่าเรื่องราวการรบและประวัติศาสตร์

เราเห็นทุกอยางท่ีปรากฏแตไมสามารถรับรูทุกอยางท่ีปรากฏพรอมกันได

บรรณานุกรมhttp://aca.212cafe.com/archive/2007-05-08/2-1-fine-art-6-1-1-1-2-1-3-1-4-1-5-1-6-2-applied-art-5-1-1-1-2-1-3-1-4-1-5-2-1-2-3-4-5-1-2-3-4-5-6/ สืบค้นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 53wagonized.typepad.com/wagonized/...nds.html สืบค้นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 53(ข้อมูลจาก octopuzy.exteen.com/20070630/o-c-t-o-p-u-z-y-15 )http://www.prc.ac.th/newart/webart/colour01.html

Yanawan Chaiyo Sheet, Page 38