AR TH 01 new...products 55.8% Stamping 43.7% IAV 31.9% IAIPL 7.0% PTITI 0.0% PTIMV 7.2% TSSB 0.5%...

89

Transcript of AR TH 01 new...products 55.8% Stamping 43.7% IAV 31.9% IAIPL 7.0% PTITI 0.0% PTIMV 7.2% TSSB 0.5%...

  • กลุมบร�ษัทฯ มุงที่จะเปนผูผลิตชิ�นสวนยานยนต (Automotive Components Manufacturer)

    ชั้นนำในตลาดในภูมิภาคเอเซีย (ASIA) ที่สามารถขยายฐานลูกคาไปทั่วโลก ดวยการใช

    เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยและเปนที่ยอมรับ

    เปาหมายและพันธกิจ

    วิสัยทัศนบร�ษัทฯ มีว�สัยทัศนในการดำเนินธุรกิจ คือการสรางใหกลุมบร�ษัทฯ เปนองคกรธุรกิจที่มี

    วัฒนธรรมในการสรางหุนสวนทางธุรกิจ (Business Partners) ทั้งในและนอกองคกรที่มีความพรอม

    ดวยคุณลักษณะของความเปนผูประกอบการ (Entrepreneurship) และความ

    เปนมืออาชีพ (Professionalism)

  • www.ingress.co.th

    Main Business

    Financial Highlight

    Risk Factors

    21

    24

    35

    41

    43

    44

    45

    51

    55

    57

    71

    76

    79

    85

    96

    99

    101

    103

    106

    110

    120

    บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    สารบัญ

    ขอมูลสำคัญทางการเงิน

    โครงสรางรายได

    สารจากคณะกรรมการบริษัท

    คณะกรรมการบริษัทฯ

    องคกรและการบริหารจัดการ

    กลุมธุรกิจของ INGRS

    ธุรกิจหลัก

    กาวยางความสำเร็จของ INGRS

    การดำเนินธุรกิจ

    ผลิตภัณฑของ INGRS

    รางวัลและความสำเร็จ

    ที่ตั้งโรงงานหลักของ INGRS

    โครงสรางการถือหุนของ INGRS

    การแขงขันและแนวโนมอุตสาหกรรม

    ปจจัยความเสี่ยง

    โครงสรางผูถือหุน

    การกำกับดูแลกิจการ

    ความรับผิดชอบตอสังคม

    ภายในและการบริหารความเสี่ยง

    รายการระหวางกัน

    การวิเคราะหของฝายบริหาร

    รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

    รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

    รายงานของคณะกรรมการบริหาร

    ขอมูลการติดตอบริษัทฯ

    รายงานของผูสอบบัญชี

    งบการเงิน

    หมายเหตุประกอบงบการเงิน

    01

    02

    03

    05

    10

    17

    18

  • 02บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    01รายงานประจำป 2561/2562

    ขอมูลสำคัญทางการเงิน

    งบแสดงฐานะการเงิน (ลานบาท)

    สินทรัพยหมุนเวียน

    สินทรัพยไมหมุนเวียน

    หนี้สินหมุนเวียน

    หนี้สินไมหมุนเวียน

    ทุนจดทะเบียนและชำระแลว

    สวนของผูถือหุน

    รวมสวนของผูถือหุน

    งบกำไรขาดทุน (ลานบาท)

    รายไดจากการขาย

    กำไรขั้นตน

    รายไดอ�นๆ

    กำไรกอนดอกเบี้ย ภาษี

    คาเส�อมราคาและคาตัดจำหน�าย

    กำไรกอนภาษีเงินได

    กำไรหลังภาษีเงินได

    กำไรสุทธิสวนที่เปนสวนของ

    ผูถือหุนของบริษัท

    กำไรตอหุน

    เงินปนผลระหวางกาล

    เงินปนผลประจำป

    อัตราสวนทางการเงิน

    อัตราสวนสภาพคลอง (เทา)

    อัตรากำไรขั้นตน (%)

    อัตรากำไรสุทธิกอนภาษีเงินได (%)

    อัตรากำไรสุทธิหลังภาษีเงินได (%)

    อัตราผลตอบแทนสินทรัพยรวม (%)

    อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%)

    อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา)

    อัตราการจายเงินปนผล (%) ของ

    กำไรสุทธิสวนที่เปนสวนของผูถือหุน

    ของบริษัท

    2561/62

    1,173.8

    3,068.2

    1,014.9

    659.0

    1,446.9

    1,758.4

    2,568.1

    3,199.3

    633.0

    92.1

    464.8

    99.5

    76.4

    54.1

    0.04

    37.6

    37.6

    1.16

    19.8%

    3.1%

    2.4%

    1.3%

    2.1%

    0.65

    139.0%

    2560/61

    (ปรับปรุงใหม)

    1,259.4

    3,221.8

    1,155.5

    780.7

    1,446.9

    1,739.5

    2,544.9

    2,912.9

    644.3

    65.6

    516.1

    142.8

    147.2

    97.1

    0.07

    94.4

    37.6

    1.09

    22.1%

    4.9%

    5.1%

    2.2%

    3.8%

    0.76

    135.9%

    2559/60

    1,362.3

    3,163.0

    1,302.5

    957.7

    1,185.4

    1,444.3

    2,265.1

    2,915.9

    636.4

    137.7

    586.3

    193.4

    210.4

    169.6

    0.14

    37.9

    37.9

    1.05

    21.8%

    6.6%

    7.2%

    3.7%

    7.5%

    1.04

    44.7%

    2558/59

    1,173.7

    3,222.9

    1,237.1

    837.5

    1,185.4

    1,470.0

    2,322.0

    3,158.6

    642.0

    146.8

    574.9

    210.0

    177.0

    132.0

    0.11

    40.0

    37.9

    0.95

    20.3%

    6.6%

    5.6%

    3.0%

    5.7%

    0.88

    59.0%

    * 2557/58

    1,597.7

    2,897.8

    1,439.9

    945.7

    1,185.4

    1,246.7

    2,109.9

    3,852.5

    715.0

    145.7

    562.9

    180.3

    209.3

    155.6

    0.13

    -

    -

    1.11

    18.6%

    4.7%

    5.4%

    3.5%

    7.4%

    1.14

    0.0%

    งบการเงินรวม

    * ผลการดำเนินงานรวมตามหลักการควบคุมรวมที่กลุม INGRS มี นับตั้งแตวันที่เริ่มกอตั้งกลุม Ingress Corporation Berhad

    โครงสรางรายได

    รายไดจากการขายแยกตามบริษัท

    Ingress Autoventures Co., Ltd

    Fine Components (Thailand) Co., Ltd

    Ingress Precision Sdn Bhd

    Ingress Technologies Sdn Bhd

    Talent Synergy Sdn Bhd

    PT Ingress Malindo Ventures

    PT Ingress Technologies Indonesia

    Ingress Autoventures (India) Pvt Ltd *

    รายไดจากการขายแยกตามประเทศ

    ประเทศไทย

    ประเทศมาเลเซีย

    ประเทศอินโดนีเซีย

    ประเทศอินเดีย *

    รายไดจากการขายแยกตามผลิตภัณฑ

    ประเภทรีดขึ้นรูป (Rollforming)

    ประเภทปนขึ้นรูป (Stamping)

    Automation so lution

    2561/62

    1,021.5

    182.2

    311.7

    1,214.3

    17.0

    228.8

    0.0

    223.8

    3,199.3

    1,194.8

    1,542.5

    238.3

    223.7

    3,199.3

    1,785.8

    1,396.5

    17.0

    3,199.3

    2560/61

    972.6

    165.0

    319.0

    1,217.7

    12.6

    188.8

    0.3

    36.9

    2,912.9

    1,137.6

    1,549.3

    189.1

    36.9

    2,912.9

    1,517.3

    1,383.0

    12.6

    2,912.9

    2559/60

    984.7

    178.6

    370.8

    1,132.2

    9.4

    239.7

    0.5

    -

    2,915.9

    1,163.3

    1,512.4

    240.2

    -

    2,915.9

    1,595.2

    1,311.3

    9.4

    2,915.9

    2558/59

    1,024.5

    205.1

    365.8

    1,343.1

    15.3

    204.3

    0.5

    -

    3,158.6

    1,229.6

    1,724.2

    204.8

    -

    3,158.6

    1,594.6

    1,548.7

    15.3

    3,158.6

    2557/58

    1,314.3

    150.2

    402.7

    1,721.1

    6.7

    256.9

    0.6

    -

    3,852.5

    1,464.5

    2,130.5

    257.5

    -

    3,852.5

    1,973.9

    1,871.9

    6.7

    3,852.5

    งบการเงินรวมรายไดจากการขาย

    (ลานบาท)

    *Ingress Autoventures (India) Pvt Ltd เขาเปนบริษัท ในเครือของ INGRS ที่มีผลตั้งแตวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

    รายไดจากการขายแยกตามบริษัท รายไดจากการขายแยกตามประเทศ รายไดจากการขายแยกตามผลิตภัณฑ

    Automation solution

    0.5%

    Rollforming

    products

    55.8%

    Stamping

    products

    43.7%

    IAV 31.9%

    IAIPL 7.0%

    PTITI 0.0%

    PTIMV 7.2%

    TSSB 0.5%

    ITSB 38.0%

    IPSB 9.7%

    FCT 5.7%

    Thailand

    37.3%

    India

    7.0%

    Indonesia

    7.5%

    Malaysia

    48.2%

  • 04บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    03รายงานประจำป 2561/2562

    ป 2561 เปนปท ี ่ 2 ของบริษัทอิงเกรส อินดัสเตรียล

    (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน) หรือ INGRS ที่เขาจดทะเบียน

    อยูในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ต้ังแตวันท่ี 9 สิงหาคม

    พ.ศ. 2560 เปนตนมา

    ในนามของ INGRS, ผู ถ ือหุ น, กรรมการและผู บริหาร

    ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและ

    ตลาดหลักทร ัพย , ตลาดหลักทร ัพยแหงประเทศไทย,

    ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัทหลักทรัพย เมยแบงค กิมเอ็ง

    (ประเทศไทย), ผูสอบบัญชีและท่ีปรึกษาของบริษัทฯ ทุกทาน

    ท่ีใหการสนับสนุนและความรวมมือดวยดีมาตลอด

    ดวยศักยภาพฐานการผลิตในเอเชียที่มีอยูใน ประเทศไทย

    มาเลเซีย อินโดนีเซียและอินเดีย โดยมีโรงงานผลิต 10 แหง

    ทำให INGRS ยังคงสรางความพึงพอใจใหกับกลุมลูกคา

    ไดอยางมีประสิทธิภาพและการไดรับความรวมมือทางเทคนิค

    จากพันธมิตรประเทศญ่ีปุนและเกาหลี ย่ิงสรางความแข็งแกรง

    และความตอเน�องในการพัฒนาสินคาการผลิตและการ

    ออกแบบเคร�องมือจนเปนท่ีน�าพอใจ อีกท้ัง ไดมีการนำระบบ

    “ลีน” (ILS) มาประยุกตใชท่ัวท้ังองคกรทำให INGRS มีการ

    พัฒนาอยางตอเน�องและมีความเปนเลิศดานการผลิต

    INGRS ไดรับการสนับสนุนพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่แข็งแกรง

    ของแตละประเทศในชวงหลายปที่ผานมา การเจริญเติบโต

    ของจีดีพีในประเทศไทยชวงปที ่ผานมาอยูที ่รอยละ 3.8

    ในขณะที่มาเลเซียและอินโดนีเซียเติบโตขึ้นรอยละ 5.0

    ในสวนของอินเดียมีการเติบโตข้ึนรอยละ 7.0 ในปปฏิทิน 2561

    ปริมาณการผลิตยานยนตเพิ่มขึ้นรอยละ 9.0, 13.1, 10.4

    และ 9.8 สำหรับประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซียและ

    อินเดียตามลำดับ

    สารจากคณะกรรมการยอดขายรถยนต ในประเทศไทยเติบโตรอยละ 19.5 หรือ

    จำนวน 1,041,739 คัน เม�อเทียบกับปที ่แลว ในขณะที่

    มาเลเซีย อินโดนีเซียและอินเดียยอดขายโตขึ ้นรอยละ

    3.8, 6.6 และ 8.0 ตามลำดับ ในชวงเวลาดังกลาวปริมาณ

    การสงออกของ CBU เพิ ่มขึ ้นรอยละ 11.3 โดยมาจาก

    ทุกประเทศ ยกเวนประเทศมาเลเซียที่จะมีปริมาณเพิ่มขึ้น

    ตามการผลิตที่มีอยูใน OEMs

    Ingress Autoventures Co., Ltd. ทั้งโรงงานที่ระยองและ

    อยุธยา มีสวนสำคัญในการทำกำไรในกลุมบริษัทอยางตอเน�อง

    Ingress Technologies Sdn Bhd เปนบริษัทที่ทำผลงาน

    ไดดีที ่สุดในกลุม ซึ่งเปนผูนำดานการผลิตปมขึ ้นรูปและ

    ประกอบชิ้นสวนในมาเลเซียการเปดตัวรถยนตรุนใหมและ

    ปริมาณการบริโภคที่สูงขึ้นสงผลใหรายไดเติบโตขึ้น เม�อ

    เทียบกับปที่ผานมา

    INGRS ไดซื้อหุน 100% ของหนึ่งในบริษัทรวมในอินเดีย

    ดวยความสามารถในการควบคุมการดำเนินการที่อินเดีย

    INGRS พรอมที่จะใชประโยชนจากศักยภาพตลาดรถยนต

    ของอินเดีย จำนวนยานพาหนะในอินเดียในป พ.ศ. 2560/61

    มีทั้งสิ้นจำนวน 5.9 ลานคันและคาดการณวาจะเติบโตในอีก

    ไมก่ีปขางหนาและ INGRS กำลังมองหาพ้ืนท่ีเพ�อเสริมสราง

    ความเขมแข็งในประเทศอินเดียนอกเหนือจากฐานผลิต

    ปจจุบันที่เมืองมาเนซา ในนิวเดลี

    ในชวงปดปงบการเงินที่ผานมาสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มกราคม

    2562 น้ัน INGRS มีรายไดรวมท้ังส้ิน 3.2 พันลานบาท และ

    มีกำไรสุทธิ 76.4 ลานบาท รายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 9.8 เม�อ

    เทียบกับปกอน

    ตามผลประกอบการปงบประมาณ 2561/2562 คณะกรรมการ

    เสนอใหจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 0.026 บาท

    โดยจะตองไดรับอนุมัติจากท่ีประชุมผูถือหุนในเดือนพฤษภาคม

    2562 พรอมกับประกาศจายเงินปนผลใหแกผูถือหุน หากจาย

    เงินปนผลระหวางกาลในวันที่ 31 มกราคม 2562 จะเทากับ

    รอยละ 5.2 จากจำนวนหุนที่ออกและชำระแลวเปนจำนวน

    1,446,942,690 หุน ในราคาหุนละ 1 บาท

    สำหรับรายงานประจำปงบประมาณ 2561/2562 ขาพเจา

    ขอขอบคุณทุกการสนับสนุนและความรวมมือที ่ด ีจาก

    พันธมิตรทางธุรกิจ, บริษัทฯ, ลูกคา, ผูมีสวนไดเสียอ�นๆ

    และคณะกรรมการบริษัท รวมไปถึงพนักงานทุกทาน และ

    ขาพเจาถือโอกาสนี้แสดงความขอบคุณอยางจริงใจและ

    หวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับการสนับสนุนอยางตอเน�องในป

    งบประมาณ พ.ศ. 2562/63

    คณะบอรดบริหาร

    บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน)

  • 06บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    05รายงานประจำป 2561/2562

    นาย ณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน

    ประธาน

    กรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหา

    และพิจารณาคาตอบแทน

    นายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน จบการศึกษาปริญญานิติศาสตรบัณฑิต และ

    ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิตจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และไดรับ

    ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง และประกาศนียบัตร

    ภาษาอังกฤษเฉพาะวิชาชีพกฎหมายจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    นอกจากจะไดเปนทนายความรับอนุญาต นายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน

    ยังเปนเนติบัณฑิตไทย

    ปจจุบันนายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน เปนกรรมการผูจัดการ บริษัท บีเคเค

    ลีกัล จำกัด และเปนผูมีประสบการณและความรูเกี่ยวกับกฎหมายแพงและ

    พาณิชย โดยเริ่มประกอบวีชาชีพตั้งแตป 2535 เปนตนมา นายณัฐวุฒิ

    ฉัตรเลิศพิพัฒน เคยมีประสบการณทำงานกับสำนักงานกฎหมายระหวาง

    ประเทศ ไดแก J Koh & Co., DLA Piper และ Watson, Farley &

    Williams ในระหวางป พ.ศ. 2544 ถึงป พ.ศ. 2556 นอกจากน้ี นายณัฐวุฒิ

    ฉัตรเลิศพิพัฒน เคยไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการในคณะกรรมการ

    บริหารความเสี ่ยงขององคการสวนพฤษศาสตร กระทรวงทรัพยากร

    ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระหวางป พ.ศ. 2555 ถึงพ.ศ. 2556

    นายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน เปนกรรมการอิสระของบริษัท อิงเกรส

    อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน) เปนคณะกรรมการตรวจสอบ

    และประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน นายณัฐวุฒิ

    ฉัตรเลิศพิพัฒน ไดรับการแตงตั้งใหเปนประธานคณะกรรมการของบริษัท

    เม�อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2560

    ดาโตะ ราเมลี บิน มูซา

    รองประธาน

    ดาโตะ ราเมลี มูซา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร

    และปริญญาโทดานการส�อสารคล�นไมโครเวฟ จากมหาวิทยาลัย University

    of Sheffield United Kingdom ดาโตะ ราเมลี มูซา เริ่มตนการทำงาน

    ในฐานะวิทยากรดานโทรคมนาคมอิเล็กทรอนิกสและคล�นไมโครเวฟ

    ที่ Universiti Technologi Malaysia ในป พ.ศ. 2515, ในปพ.ศ. 2518

    ไดลาออกจาก Universiti Technologi Malaysia เพ�อทำงานรวมกับ

    Pernas NEC Telecommunications Sdn. Bhd., ซึ่งไดทำงานตั้งแตป

    พ.ศ. 2519 ถึงป พ.ศ. 2523 กอนที่จะเขารวมกับ Sapura Holdings

    Sdn. Bhd โดยขึ้นดำรงตำแหน�งประธานกรรมการบริหาร ทานเปนผูกอตั้ง

    กลุมบริษัทอิงเกรส โดยเร่ิมแรกดวยบริษัท Ingress Engineering Sdn. Bhd

    ในป 2534 ปจจุบันทานดำรงตำแหน�งรองประธานกรรมการบริหารของบริษัท

    Ingress Corporation Berhad ทานไดรับเกียรติจากการมอบปริญญา

    วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิจาก Universiti Teknologi Malaysia

    ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2555

    ดาโตะ ราเมลี มูซา เปนกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนและ

    ประธานกรรมการบริหารของบริษัท

    ประวัติของคณะกรรมการ

    1

    นายอับดุล คุดุส บิน โหมด นาอีม

    กรรมการอิสระ ประธานกรรมการฝายตรวจสอบ

    คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน5

    ดาติน ศรี ฟารา บินตี้ ดาโตะ ราเมลี

    กรรมการบริหาร7

    ดาโตะ ราเมลี บิน มูซา

    รองประธาน2

    นายอภิชาติ สุทธิศิลธรรม

    กรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ

    คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน6

    นายสุรินทร หวังเจริญ

    กรรมการบริหาร8

    นายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน

    ประธาน กรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ

    ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

    นายฮามิดี บิน เมาลอด

    ประธานเจาหนาที่บริหาร (CEO)

    ดาโตะ ดร. เอบี วาฮับ บิน อิสมาอีล

    กรรมการ

    3

    4

    1 23

    4 8 5 67

  • 08บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    07รายงานประจำป 2561/2562

    นายอับดุล คุดุส บิน โหมด นาอีม

    กรรมการอิสระ

    ประธานกรรมการฝายตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

    นายอับดุล คุดุส โหมด นาอีม เปนผูสอบบัญชีรับอนุญาตจากสถาบันบัญชี

    มาเลเซีย, พันธมิตรสมาคมผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ, สมาชิก

    สถาบันภาษีอากรของมาเลเซีย,

    นายอับดุล คุดุส โหมด นาอีม เริ่มตนการทำงานเปนผูตรวจสอบจูเนียร

    ของ Audit Junior of Arthur Young & Co., Public Accountants,

    กรุงกัวลาลัมเปอร ตั ้งแตเดือนมกราคม พ.ศ. 2519 ถึงเดือนธันวาคม

    พ.ศ.2519 และทำหนาท่ีผูตรวจสอบอาวุโสท่ี Ramoss Jassen & Partners,

    Chartered Accountants, ลอนดอน ตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2523

    ถึงธันวาคม พ.ศ. 2527 ทานเคยเปนนักบัญชีที่ Islamic Finance House

    PLC, ลอนดอน ตั ้งแตเดือนมกราคม ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2528,

    เขารวม Syarikat Takaful Malaysia Berhad ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2529

    ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2536 โดยดำรงตำแหน�งสุดทายเปนผูจัดการอาวุโส

    ฝายการเงิน, ตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2536 ถึงธันวาคม พ.ศ. 2539

    ดำรงตำแหน�งผูอำนวยการฝายกิจการองคกรที่ Emile Woolf Group of

    Colleges ในกรุงกัวลาลัมเปอร ทานไดรวมงานกับ SKMN Associates,

    Chartered Accountants, ประเทศมาเลเซีย ตั้งแตเดือนมกราคม พ.ศ.

    2540 ถึงกันยายน พ.ศ. 2542 ในฐานะหุนสวน, ตอจากนั้นไดเขารวมกับ

    AKN Arif, Chartered Accountants ตั้งแตเดือนมกราคม พ.ศ. 2543

    ทานดำรงตำแหน�งเปนกรรมการและกรรมการตรวจสอบในบริษัทอ�น ไดแก

    Inch Kenneth Kajang Rubber PLC กรุงลอนดอน ใน พ.ศ. 2544 ถึง

    พ.ศ. 2552 ทานเปนประธานกรรมการและกรรมการตรวจสอบของบริษัท

    Concrete Engineering Products Bhd, KL

    นายอับดุล คุดุส โหมด นาอีม เปนประธานกรรมการตรวจสอบและเปน

    กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนของบริษัท

    นายอภิชาติ สุทธิศิลธรรม

    กรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา

    คาตอบแทน

    ปริญญาตรีวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและปริญญาโทบริหาร

    ธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

    นายอภิชาติ เปนวิศวกรทางวิชาชีพและดำรงตำแหน�งรองกรรมการผูจัดการ

    บริษัท เอบิโก โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) ในป พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2540

    เปนกรรมการผูจัดการ บริษัท วิริยะฟูดอินดัสตร้ี จำกัด ในป พ.ศ. 2547 ถึง

    พ.ศ. 2550 ในบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ทานดำรงตำแหน�ง

    รองประธานฝายธุรกิจการเกษตรในป พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2551 และ

    เปนผูอำนวยการฝายผลิตของกลุมบริษัท ทิปโกฟูด (ประเทศไทย) จำกัด

    (มหาชน) ประจำป 2553 ถึงป พ.ศ. 2554 เขารวม บริษัท 3I Energy

    Company Limited และดำรงตำแหน�งกรรมการบริษัท จนถึงปจจุบัน

    นายอภิชาติ สุทธิศิลธรรม เปนกรรมการตรวจสอบและกรรมการสรรหา

    และพิจารณาคาตอบแทนของบริษัท

    นายฮามิดี บิน เมาลอด

    ประธานเจาหนาที่บริหาร (CEO)

    นายฮามิดี บิน เมาลอด สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาศาสตร

    บัณฑิตสาขาวิศวกรรมอุตสาหการเม�อปพ.ศ. 2528 จากมหาวิทยาลัย

    University of Toledo มลรัฐOhio, ประเทศสหรัฐอเมริกา นายฮามิดี บิน

    เมาลอด เร่ิมตนทำงานท่ีบริษัท Mitsubishi Electric (Malaysia) Sdn. Bhd.

    ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 จนถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2537

    หลังจากนั้นไดรวมงานกับบริษัท Atasi Consultant ในตำแหน�งผูจัดการ

    ฝายปฎิบัตการ จนถึงปพ.ศ. 2538

    ในปพ.ศ. 2538 นายฮามิดี บิน เมาลอด ไดเขารวมกับ Ingress Engineering

    Sdn, Bhd. ดำรงตำแหน�งเปนผูจัดการและไดดำรงตำแหน�งตางๆ ในกลุม

    บริษัทในเครือ Ingress จนป พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2553 ดำรงตำแหน�ง

    กรรมการผูจัดการบริษัท Ingress Autoventures Co., Ltd. และดำรง

    ตำแหน�งกรรมการผูจัดการบริษัท Ingress Technologies Sdn. Berhad

    ในป พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2561

    นายฮามิดี บิน เมาลอด ไดดำรงตำแหน�งกรรมการบริหารและประธาน

    เจาหนาที่บริหารของบริษัทตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 จนถึงปจจุบัน

    ดาโตะ ดร. เอบี วาฮับ บิน อิสมาอีล

    กรรมการ

    ดาโตะ ดร. เอบี วาฮับ บิน อิสมาอีล เปนวิศวกรทางวิชาชีพ สำเร็จการศึกษา

    ปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิศวกรรมเคร�องกล (Ph.D) จาก University of

    Leeds, ประเทศอังกฤษ เริ ่มตนการทำงานในฐานะครูสอนพิเศษในป

    พ.ศ. 2521 ณ University Kebangsaan Malaysia, Selangor และเคย

    ดำรงตำแหน�งอาจารยในมหาวิทยาลัยเดียวกันในป พ.ศ. 2525

    ในป พ.ศ. 2527 ดาโตะ ดร. เอบี วาฮับ บิน อิสมาอีล เขาทำงานในบริษัท

    ที่มีช�อเสียงหลายแหงเชน Perusahaan Otomobil Nasional Sdn. Bhd.

    (Proton) และ บริษัท Sapura Holding Sdn. Bhd ดวยตำแหน�งลาสุด

    ในฐานะกรรมการผูจัดการกลุมของ Sapura Motors Berhad (ปจจุบัน

    เปนที่รูจักในช�อ Sapura Industrial Berhad) ดาโตะ ดร. เอบี วาฮับ บิน

    อิสมาอีล เปนสมาชิกคณะกรรมการของ Bina Darulaman Berhad ตั้งแต

    ป พ.ศ. 2551 จนถึงป พ.ศ. 2556

    ดาโตะ ดร. เอบี วาฮับ บิน อิสมาอีล เปนผูรวมกอตั้งกลุมบริษัทอิงเกรส

    และทานเปนกรรมการบริหารของบริษัท Ingress Corporation Berhad

    และบริษัท เอกชนอีกหลายแหง

    ดาโตะ ดร. เอบี วาฮับ บิน อิสมาอีล เปนกรรมการสรรหาและพิจารณา

    คาตอบแทน และประธานกรรมการบริหารของบริษัท

  • 10บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    09รายงานประจำป 2561/2562

    ดาติน ศรี ฟารา บินตี้ ดาโตะ ราเมลี

    กรรมการบริหาร

    ดาติน ศรี ฟารา บินตี้ ดาโตะ ราเมลี จบการศึกษาปริญญาตรีวิทยาศาสตร

    บัณฑิตสาขาวิศวกรรมไฟฟา จาก Tecknologi University Malaysia และ

    ปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาวิศวกรรมการจัดการจาก University of

    Coventry, สหราชอาณาจักร

    ดาติน ศรี ฟารา บินตี้ ดาโตะ ราเมลี เริ่มตนทำงานเปนผูจัดการทั่วไปใน

    บริษัท Ingress Corporation Berhad (ICB) ในป พ.ศ. 2556 และในตนป

    พ.ศ. 2560 ไดดำรงตำแหน�งกรรมการบริหาร ดานการบริการองคกร และ

    ทานยังไดดำรงตำแหน�งเปนคณะกรรมการบริษัท ICB ตั้งแตเดือนมีนาคม

    พ.ศ. 2560 จนถึงปจจุบัน

    นายสุรินทร หวังเจริญ

    กรรมการบริหาร

    นายสุรินทร หวังเจริญ จบการศึกษาปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร จาก

    มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาพระนครเหนือ

    ทานเริ่มตนทำงานในบริษัทกลุมสมบูรณ ในป พ.ศ. 2526 ถึงป พ.ศ. 2541

    ขณะที่อยูในกลุมสมบูรณ ทานไดรับการแตงตั้งใหเปนคณะกรรมการราง

    และจัดทำมาตรฐานอุตสาหกรรมสำหรับช้ินสวนท่ีใช ในอุตสาหกรรมยานยนต

    อาทิเชน สปริงมวน, เหล็กกันโครง, ทอรชั่นบาร, ผาเบรคและแผนคลัทช

    นอกจากน้ีทานยังรับผิดชอบในการตรวจสอบการผลิตเหล็กและไดตรวจสอบ

    การผลิตเหล็กกับ Mitsubishi Steel Corporation ในประเทศอินเดีย

    ทานเขารวมงานในบริษัท Ingress Autoventres Co., Ltd. ในป พ.ศ. 2541

    และตอมาไดเขารวมงานกับบริษัท ไทยออโตทูล (อีสเทิรน) จำกัด ตั้งแตป

    พ.ศ. 2555 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2560 ในตำแหน�งกรรมการผูจัดการ

    ในป พ.ศ. 2558 ทานไดเขารวมงานกับ บริษัท เปนหัวหนาฝายบริการ

    องคกรและเปนคณะกรรมการบริษัท ตั้งแตเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 จนถึง

    ปจจุบัน

    องคกรและการบริหารจัดการโครงสรางการประกอบธุรกิจของบริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 มกราคม 2562

    มีดังตอไปนี้

    Mr. Hamidi Bin Maulod

    CEO

    คณะกรรมการบริษัท

    เลขานุการบริษัท

    คณะกรรมการตรวจสอบ

    ผูตรวจสอบภายใน

    คณะกรรมการบริษัทคณะกรรมการสรรหา

    และพิจารณาคาตอบแทน

    นายเอ็ดดี้ ซุรไรมิน

    บิน ซุลกิปลี

    ประธานเจาหนาฝายการเงิน

    นายสุรินทร หวังเจริญ

    หัวหนาฝายบริการองคกร

    วาที่ รต.ศุภชัย มีฤกษ

    รองผูจัดการทั่วไป ฝายขาย

    และฝายพัฒนาธุรกิจ

    ผูจัดการทั่วไป

    ฝายทรัพยากรบุคคล

    ผูจัดการทั่วไป

    ฝายการส�อสารองคกร

    ผูจัดการ

    การเงินและบัญชี

    ผูจัดการทั่วไป

    ฝายบริหาร

  • 12บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    11รายงานประจำป 2561/2562

    คณะกรรมการบริษัท

    ณ วันท่ี 31 มกราคม 2562 คณะกรรมการ บริษัท อิงเกรสอินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการ

    8 ทาน ซึ่งมีรายช�อดังนี้

    หมายเหตุ:

    1 กรรมการผูมีอำนาจลงนาม (ในสองคนนี้) ลงลายมือช�อรวมกันในนาม บริษัท พรอมประทับตราสำคัญของ บริษัท

    2 นายฮามิดี บิน เมาลอด ไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการบริหารของบริษัท มีผลตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2562

    คณะกรรมการไดรับการแตงตั้งและรับรองโดยที่ประชุมผูถือหุนใหมีอำนาจและหนาที่แตงตั้งผูบริหาร ผูบริหารอาวุโส และ

    กรรมการของบริษัท รวมทั้งติดตามผลการดำเนินงานของบริษัท โดยบทบาทและความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ

    กับผูบริหารระดับสูงไดกำหนดไวอยางชัดเจน และเปนไปตามกฎหมายขอบังคับและจรรยาบรรณทางธุรกิจ

    ช�อ

    นายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน

    ดาโตะ ราเมลี บิน มูซา

    ดาโตะ เอบี วาฮับ บินอิสมาอีล

    นายฮามิดี บิน เมาลอด

    นายอับดุล คุดุส โหมด นาอิม

    ดาติน ศรี ฟารา บินติ ดาโตะ

    ราเมลี

    นายสุรินทร หวังเจริญ

    นายอภิชาติ สุทธิศิลธรรม

    คณะกรรมการ

    บริษัท

    ประธาน และ

    กรรมการอิสระ

    กรรมการบริหาร

    กรรมการบริหาร

    กรรมการบริหาร

    กรรมการอิสระ

    กรรมการบริหาร

    กรรมการบริหาร

    กรรมการอิสระ

    คณะกรรมการ

    ตรวจสอบ

    กรรมการ

    -

    -

    -

    ประธาน

    -

    -

    กรรมการ

    คณะกรรมการ

    บริหาร

    -

    ประธาน

    กรรมการ

    กรรมการ

    -

    กรรมการ

    -

    -

    ลำดับ

    1.

    2.

    3.

    4.

    5.

    6.

    7.

    8.

    คณะกรรมการ

    สรรหาและ

    กำหนด

    คาตอบแทน

    ประธาน

    กรรมการ

    กรรมการ

    -

    กรรมการ

    -

    -

    กรรมการ

    1

    1

    1,2

    1

    1

    ช�อ

    นายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน

    ดาโตะ ราเมลี บิน มูซา

    ดาโตะ เอบี วาฮับ บิน อิสมาอีล

    นายฮามิดี บิน เมาลอด

    นายอับดุล คุดุส โหมด บิน นาอิม

    ดาติน ศรี ฟารา บินติ ดาโตะ

    ราเมลี

    นายสุรินทร หวังเจริญ

    นายอภิชาติ สุทธิศิลธรรม

    นายอับดุลราฮิม บินฮาญีฮิตัม

    คณะกรรมการ

    บริษัท

    6/6

    4/6

    5/6

    2/2

    6/6

    5/6

    6/6

    6/6

    4/4

    คณะกรรมการ

    ตรวจสอบ

    5/5

    -

    -

    -

    5/5

    -

    -

    5/5

    -

    คณะกรรมการ

    บริหาร

    -

    9/9

    9/9

    5/5

    -

    4/9

    -

    -

    4/4

    ลำดับ

    1.

    2.

    3.

    4.

    5.

    6.

    7.

    8.

    9.

    คณะกรรมการ

    สรรหาและ

    กำหนด

    คาตอบแทน

    3/3

    2/3

    3/3

    -

    3/3

    -

    -

    3/3

    - 2

    1

    ในระหวางปการเงินที่สิ ้นสุดในวันที่ 31 มกราคม 2562 บริษัทจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ

    ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหารดังนี้

    หมายเหตุ:

    1 นายฮามิดี บิน เมาลอด ไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการบริหาร และประธานเจาหนาที่บริหารของบริษัท มีผลตั้งแต

    วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2561

    2 นายอับดุลราฮิม บินฮาญีฮิตัม ไดลาออกจากตำแหน�งกรรมการบริหารของบริษัท มีผลวันที่ 31 สิงหาคม 2562

    การบริหารของ บริษัทอิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน)

    ฝายบริหารของบริษัท โดยอางอิงจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย มีดังตอไปนี้

    ตำแหน�ง

    ประธานเจาหนาที่บริหาร

    หัวหนาฝายบริการองคกร

    ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน

    เลขานุการบริษัท และหัวหนาฝายกฎหมาย

    รองผูจัดการทั่วไป ฝายขาย และพัฒนาธุรกิจ

    ช�อ

    นายฮามิดี บิน เมาลอด

    นายสุรินทร หวังเจริญ

    นายเอ็ดดี้ ซุรไรมิน ซุลกิปลี

    นายศราวุธ ศรีวรรณยศ

    วาที่ รต.ศุภชัย มีฤกษ

    ลำดับ

    1.

    2.

    3.

    4.

    5.

    สภาบริหารไดจัดตั้งขึ้นเพ�อใหมั่นใจวาธุรกิจของบริษัทในประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และอินเดียเปนไปในทิศทาง

    เดียวกัน นอกจากนี้ยังสรางโอกาสใหผูบริหารระดับสูงของบริษัท และบริษัทในเครือไดมีโอกาสพบปะ และแลกเปลี่ยน

    ความคิดเห็นและประสบการณทางธุรกิจรวมทั้งรวมกันหาแนวทางแกไขหากเผชิญกับปญหาในการดำเนินธุรกิจ โดยสมาชิก

    ของสภาบริหาร (MC) ประกอบดวยผูบริหารระดับสูงทั ้งหมดของบริษัทและบริษัทในเครือในประเทศไทย มาเลเซีย

  • 14บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    13รายงานประจำป 2561/2562

    อินโดนีเซีย และอินเดีย โดยมี CEO (นายฮามิดี บิน เมาลอด) ดำรงตำแหน�งประธาน การประชุม MC คือ โอกาส

    ใหผูบริหารระดับสูงของแตละบริษัทในกลุมมีโอกาสที่จะหารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจและ

    โครงการลงทุนของกลุมบริษัท กอนที่จะเสนอประเด็นใหพิจารณาและกลั่นกรองในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารและ / หรือ

    ที่ประชุมคณะกรรมการเพ�อพิจารณาอนุมัติ

    ณ วันที่ 31 มกราคม 2562 สภาบริหาร (MC) ประกอบดวยสมาชิกดังตอไปนี้:

    ช�อ

    นายฮามีดี บิน เมาลอด

    นายสุรินทร หวังเจริญ

    นายเอ็ดดี้ ซุรไรมิน ซุลกิปลี

    วาที่ รต.ศุภชัย มีฤกษ

    นายโหมด ซัฟรี่ บิน ซับตู

    นายนอสรี่ บินฮัมซะห

    นายสรายุทธ เมฆโซ

    นายจารึก ธรรมจง

    นายฮีชามมูดิน บิน ลาฮ

    นายปามี บิน ญานี

    นายชัมซุดดีน บิน อีซา

    นายโหมด อิดรีส บินการีม

    ตำแหน�ง

    ประธานสภาบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    สมาชิกสภาผูบริหาร

    เปนตัวแทนของบริษัทในเครือ

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท ITSB

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท IPSB

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท IAV

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท FCT

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท PTIMV

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท PT ITI

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท IAIPL

    สมาชิกตัวแทนของ บริษัท TSSB

    เลขานุการบริษัทรวม

    คณะกรรมการไดแตงตั้ง นายศราวุธ ศรีวรรณยศ เปนเลขาธิการบริษัทรวมเพ�อรับผิดชอบในการจัดประชุมคณะกรรมการ

    และที่ประชุมคณะกรรมการรวมทั้งจัดเตรียมหนังสือเชิญประชุมและรายงานการประชุม โดยเลขานุการบริษัทมีหนาที่ในการ

    บรรจุเอกสารตามที่กฎหมาย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสำนักงาน ก.ล.ต.กำหนด

    การใหคาตอบแทน

    คาตอบแทนของคณะกรรมการ

    คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนไดเสนอคาตอบแทนของคณะกรรมการ ตามขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบ

    และผลการปฏิบัติงานของกรรมการ โดยเปรียบเทียบกับคาตอบแทนกรรมการของบริษัทที่จดทะเบียนในอุตสาหกรรม

    ลักษณะธุรกิจ ขนาดความสามารถและความรับผิดชอบเดียวกันของกรรมการจากรายงานของสมาคมสงเสริมสถาบัน

    กรรมการบริษัทไทย โดยคาตอบแทนกรรมการจะไดรับการพิจารณาและอนุมัติในการประชุมผูถือหุนเปนประจำทุกป

    รายช�อ

    นายณัฐวุฒิ ฉัตรเลิศพิพัฒน

    นายอับดุล คุดุส โหมด นาอิม

    นายอภิชาติ สุทธิศิลธรรม

    Total

    คาตอบแทน

    700,000

    500,000

    500,000

    1,700,000

    ทั้งสิ้น

    910,000

    710,000

    710,000

    2,330,000

    BOD

    90,000

    90,000

    90,000

    270,000

    AC *

    75,000

    75,000

    75,000

    225,000

    NRC

    45,000

    45,000

    45,000

    135,000

    เบี้ยเลี้ยง

    กรรมการแตละคนจะไดรับคาตอบแทนตามหนาที่และการเขารวมประชุม โดยคาตอบแทนกรรมการจะจายใหเฉพาะ

    กรรมการอิสระเทานั้น เน�องจากคาตอบแทนของกรรมการบริหารไดรวมอยูในคาตอบแทนของผูบริหารเรียบรอยแลว

    สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ ้นสุด ณ วันที ่ 31 มกราคม 2562 บริษัทไดจายคาตอบแทนกรรมการเปนจำนวนเงิน

    2,330,000.00 บาท โดยคาตอบแทนที่บริษัทจายใหแกกรรมการของบริษัทในระหวางป พ.ศ. 2561/2562 มีรายละเอียดดังนี้

    * AC : คณะกรรมการตรวจสอบ

    สวัสดิการของกรรมการและฝายบริหาร

    ในระหวางปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2562 (“ปงบประมาณ2561/2562”) และวันที่ 31 มกราคม 2561 (“ปงบ

    ประมาณ2560/2561”) กลุมบริษัทมีคาใชจายในดานสวัสดิการพิเศษพนักงานใหแกกรรมการและผูบริหารดังนี้

    ปงบประมาณ2561/2562

    (ลานบาท)

    87.7

    3.1

    90.8

    ผลประโยชนระยะสั้นสำหรับพนักงาน

    ผลประโยชนหลังออกจากงาน

    เปนทั้งหมด

    ปงบประมาณ2560/2561

    (ลานบาท)

    83.4

    3.1

    86.5

    งบการเงินรวม

    คาตอบแทนของกรรมการสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มกราคม 2562 (“ปงบประมาณ2561/2562”)

    ประกอบดวยคาตอบแทนประจำปและเบี้ยประชุม โดยไมมีการมอบผลประโยชนอ�นใดแกกรรมการนอกเหนือจากที่กลาวมา

    ขางตน ซึ่งรายละเอียดคาตอบแทนรายปและคาเบี้ยประชุมไดอธิบายไว ในตารางตอไปนี้:

    คาตอบแทนกรรมการ

    สำหรับป 2561/62

    คาตอบแทนประจำป (คน/ป)

    • ประธาน

    • กรรมการ (กรรมการอิสระ)

    คาเบี้ยประชุม (ตอคน/การประชุม)

    คณะกรรมการ

    บริษัท

    700,000

    500,000

    15,000

    คณะกรรมการ

    ตรวจสอบ

    15,000

    คณะกรรมการ

    สรรหาและกำหนด

    คาตอบแทน

    15,000

    คณะกรรมการ

    บริหาร

    -

  • 16บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    15รายงานประจำป 2561/2562

    คาตอบแทนพนักงาน

    บริษัทจายคาตอบแทนและสวัสดิการแกพนักงานในรูปของเงินเดือน คาจาง โบนัส ประกันสังคม และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

    ตลอดจนสวัสดิการและผลประโยชนอ�นๆ ซึ่งรวมถึงผลประโยชนหลังออกจากงานและผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน

    โดยคาตอบแทนท่ีจายใหแกพนักงานในระหวางปบัญชีส้ินสุด ณ วันท่ี 31 มกราคม พ.ศ. 2562 ในรูปของเงินสดหรือเทียบเทา

    เปนจำนวนทั้งสิ้น 652.0 ลานบาท เทียบกับ 618.5 ลานบาทในปงบการเงินที่สิ้นสุดในวันที่ 31 มกราคม 2561

    สวัสดิการอ�นๆ

    กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

    กลุมบริษัทและพนักงานที่เปนสมาชิกของกองทุนมีสวนรวมในการจายเงินเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 3.7 ถึงรอยละ 13

    ของเงินเดือน โดยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้จะจายใหแกพนักงานตามหลักเกณฑที่กำหนดไว

    ผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน

    การดำเนินงานในประเทศไทย อินโดนีเซีย และอินเดีย มีการจายเงินชดเชยใหกับพนักงานเม�อเกษียณอายุหรือลาออก

    ตามกฎหมายแรงงานในประเทศ ยกเวนการดำเนินงานในประเทศมาเลเซีย

    พนักงาน

    ณ วันที่ 31 มกราคม 2562 กลุมบริษัท มีพนักงานจํานวน 1,780 คน และ 1,928 คน ตามลำดับ ซึ่งสามารถจัดประเภท

    ไดดังนี้

    การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

    บริษัทได ใหความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรและคำนึงถึงพนักงานเปนสวนสำคัญในการผลักดันการเติบโตอยางยั่งยืนของ

    บริษัท บริษัทจึงไดจัดตั้งบริษัทยอยขึ้น เพ�อจัดตั้งศูนยฝกอบรม และบริหารจัดการการฝกอบรมพนักงานของกลุมอยางเปน

    ระบบ บริษัทมีเปาหมายในการพัฒนาทักษะและความสามารถของพนักงานทุกระดับ เพ�อยกระดับมาตรฐานคุณภาพและ

    ประสิทธิภาพใหดียิ่งขึ้น บริษัทตองการกระตุนพนักงานในการแสดงศักยภาพ และสามารถปรับตัวและตอบสนองตอการ

    เปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี และความตองการทางธุรกิจและอุตสาหกรรมไดอยางทันทวงที

    บริษัทจัดใหมีการฝกอบรมและโครงการพัฒนาแกพนักงาน โดยพิจารณาจากขั้นตอนปฏิบัติงานมาตรฐาน ความตองการของ

    แตละแผนก และทักษะพื้นฐานของพนักงาน โดยมีจุดมุงหมายเพ�อใหพนักงานมีความรูความเขาใจในงานของตน เพ�อให

    สามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ หลักสูตรการฝกอบรมจะเปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมาย

    โดยมีการทบทวนทุกปซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

    ประเทศ

    มาเลเซีย

    ไทย

    อินโดนีเซีย

    อินเดีย

    ทั้งหมด

    31 มกราคม 2562

    714

    631

    171

    264

    1,780

    31 มกราคม 2561

    815

    683

    171

    259

    1,928

    การปฐมนิเทศพนักงาน

    การปฐมนิเทศพนักงานใหมจัดขึ้นเพ�อใหพนักงานใหมมีความเขาใจ คุนเคยและสามารถปฏิบัติตามนโยบายของบริษัทได

    โดยหลักสูตรนี้จะใหขอมูลเกี่ยวกับบริษัทและธุรกิจ ประกอบไปดวยวิสัยทัศน นโยบาย ระเบียบขอบังคับ ขั้นตอนการ

    ปฏิบัติงาน รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับสวัสดิการและผลประโยชนที่บริษัทมอบใหกับพนักงาน

    การฝกอบรมดานเทคนิคและวิชาชีพ

    บริษัทจัดใหมีการฝกอบรมวิชาชีพดานตางๆ เกี่ยวกับการทำงานและการดำเนินงานเพ�อพัฒนาและปรับปรุงทักษะทางเทคนิค

    ของพนักงาน เพ�อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถบรรลุมาตรฐานคุณภาพและภายใตสภาพแวดลอม

    ที่ปลอดภัย หลักสูตรฝกอบรมทักษะทางเทคนิคเหลานี้ครอบคลุมการใชเคร�องจักรตางๆ ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงาน

    ขั้นตอนการทำงาน และการส�อสารกับลูกคา เปนตน

    การฝกอบรมดานคุณภาพความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม

    บริษัทจัดใหมีโครงการฝกอบรมเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ ความปลอดภัย และการจัดการสิ่งแวดลอมภายในองคกร

    เพ�อสรางจิตสำนึกแกพนักงานใหไดมาตรฐานการทำงานที่มีคุณภาพในการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ สถานที่ทำงาน

    และสภาพแวดลอมในการทำงานท่ีปลอดภัย หลักสูตรเหลาน้ีครอบคลุมการฝกอบรมดานความปลอดภัย กฎหมายและระเบียบ

    ขอบังคับเกี่ยวกับการจัดการดานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมและระบบการจัดการคุณภาพของรถยนต IATF 16949

    การฝกอบรมดานการดูแลและการสอนทักษะ

    บริษัทจัดใหมีการอบรมเพิ่มพูนความรูและพัฒนาทักษะการฝกสอนแกผูบริหาร เพ�อสนับสนุนและเตรียมพรอมรับบทบาท

    ความเปนผูนำในระดับบริหาร

  • 18บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    17รายงานประจำป 2561/2562

    กลุมธุรกิจของ INGRSธุรกิจหลักของ บริษัท และ บริษัท ยอยสามารถแบงไดดังตอไปนี้

    หน�วยธุรกิจ ไทย มาเลเซีย อินโดเซีย อินเดีย

    งานรีดขึ้นรูปและผลิตชิ้นสวน

    ประเภทพีวิซี

    งานฉีดขึ้นรูปและผลิตชิ้นสวนประเภทพีพีและทีพีโอ

    งานรีดขึ้นรูปและผลิตชิ้นสวนประเภทกรอบประตู

    รถยนต

    งานปมขึ้นรูปโลหะ

    งานปมขึ้นรูปโลหะแบบละเอียด

    งานเช�อมประกอบชิ้นสวน

    ชิ้นสวนกันความรอน

    บานพับประตูรถยนต

    ทอแบบยุบตัวได

    EGR Pipe

    Plastic Lower Sash

    คานเหล็กนิรภัย

    แมแรงสำหรับเปลี่ยนยางรถยนต

    แมพิมพปมขึ้นรูปโลหะ

    แมพิมพปมขึ้นรูปโลหะแบบละเอียด

    บูรณาการระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ

    ตามความตองการของลูกคา

    ตัวแทนจำหน�าย Fuji Robots จากประเทศญี่ปุน

    ตัวแทนจำหน�าย Yajima Nut Weld Feeder

    จากประเทศไทยและประเทศญี่ปุน

    ตัวแทนจำหน�าย Welding gun และอุปกรณจาก

    บริษัท NAWOOTEC ประเทศเกาหลี

    ผูจัดจำหน�าย COBOT (หุนยนตที่ทำงานรวมกับ

    มนุษย) จากบริษัท NEUROMEKA ประเทศเกาหลี

    ในกลุมประเทศอาเซียน อินเดียและประเทศกลุม

    อาวอาหรับ

    งานสงเสริมการลงทุน

    1. ผลิตชิ้นสวน

    ประกอบยานยนต

    2. ออกแบบและ

    ผลิตแมพิมพ

    3. ออกแบบและ

    ผลิตอุปกรณ

    สำหรับการผลิต

    แบบอัตโนมัติ

    4. อ�นๆ

    Ingress

    Autoventures

    Co., Ltd (“IAV”)

    IAV

    IAV

    Fine Component

    (Thailand)

    Co., Ltd. (“FCT”)

    FCT

    FCT

    IAV

    IAV

    IAV

    FCT

    FCT

    Ingress Industrial

    (Thailand) Public

    Company Limited

    Ingress Precision

    Sdn Bhd

    (“IPSB”)

    IPSB

    IPSB

    Ingress

    Technologies

    Sdn Bhd

    (“ITSB”)

    ITSB

    IPSB

    ITSB

    ITSB

    ITSB

    Talent Synergy

    Sdn Bhd

    (“TSSB”)

    TSSB

    TSSB

    TSSB

    TSSB

    Ingress Industrial

    (Malaysia)

    Sdn Bhd

    PT Ingress

    Malindo Ventures

    (“PTIMV”)

    PTIMV

    PTIMV

    PT Ingress

    Technologies

    Indonesia

    (“PTITI”)

    PTIMV

    PTIMV

    Ingress

    Autoventures

    (India) Private

    Limited (“IAIPL”)

    IAIPL

    ธุรกิจหลัก

    จึงสามารถเจาะกลุมลูกคา OEM ชั้นนำทั้งจากญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา เชน Mitsubishi, Honda, Isuzu, AAT, Ford, Nissan,

    Suzuki และ General Motors ได นอกจากนี้แลว IAV มีโรงงานผลิตชิ้นสวนรถยนตสองแหง ตั้งอยูที่นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรน

    ซีบอรดจังหวัดระยอง และนิคมอุตสาหกรรมไฮเทคจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

    INGRESS AUTOVENTURES CO., LTD. (“IAV”)

    IAV ดำเนินธุรกิจดานการผลิตและจัดจำหน�ายชิ้นสวนการปองกันการ

    รั ่วซึมของรถยนต กรอบประตูและชิ ้นสวนยานยนตอ�นๆ ที ่ผลิตขึ ้น

    โดยเทคนิคการรีดขึ้นรูป สำหรับลูกคา OEM ในประเทศไทย โดย IAV

    ไดรับการจัดอันดับใหเปนผูจำหน�ายระดับ Tier-1 ซึ่งเปนผูผลิตและ

    จำหน�ายผลิตภัณฑโดยตรงไปยัง OEM ตลอดจนผลิตและจำหน�าย

    ผลิตภัณฑบางอยางใหกับผู ผลิตระดับ Tier-1 เชนเดียวกัน IAV

    มีพันธมิตร คือ Katayama Kogyo และ Yonei จากประเทศญี่ปุ น

    กลุมโรงงานผลิตชิ้นสวนยานยนตของ INGRS

    บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน) [INGRS]

    บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน) จัดตั้งเม�อ

    เดือนมีนาคม พ.ศ. 2557 เปนบริษัทใหคำปรึกษาดานธุรกิจใหกับ

    บริษัทยอยที่ผลิตชิ้นสวนยานยนตภายในกลุมอิงเกรส ทั้งในประเทศไทย

    มาเลเซีย อินโดนีเซีย และอินเดีย เพ�อเพิ่มความความแข็งแกรงและ

    ทรัพยากรที ่สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาและมุ งเนน

    การขยายการดำเนินงานทั้งภายในและนอก

    FINE COMPONENTS (THAILAND) CO., LTD. (“FCT”)

    FCT เปนบริษัทรวมลงทุนกับ บริษัท อิวาโมโตะ จำกัด จากประเทศญ่ีปุน

    ประกอบธุรกิจผลิตและจัดจำหน�ายช้ินสวนยานยนตท่ีใชเทคโนโลยีการปม

    ตัดข้ึนรูปโลหะดวยแมพิมพ รวมถึงการผลิตดวยแมพิมพแบบตัดละเอียด

    ลูกคาหลักของ FCT คือผูจัดจำหน�าย OEM ชั้นนำระดับ Tier-1 และ

    Tier-2 ของอุตสาหกรรมยานยนต ในประเทศไทยใหแกลูกคา เชน

    Thai Asakawa, Bridgestone NCR, Valeo Automotive, Schott,

    AAPICO, Adient Summit และกลุมบริษัทของ INGRS นอกจากน้ี FCT

    ยังออกแบบและผลิตแมพิมพเพ�อการใชงานภายใน และมีการผลิตแมพิมพเพ�อจำหน�ายใหกับลูกคาทั้งภายในประเทศและ

    ตางประเทศอีกดวย โรงงานการผลิตของ FCT ตั้งอยูที่ อำเภอบานฉาง จังหวัดระยอง

  • 20บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด) จํากัด (มหาชน)

    19รายงานประจำป 2561/2562

    INGRESS PRECISION SDN. BHD. (IPSB”)

    IPSB กอตั้งขึ้นใน พ.ศ.2537 โดยผลิตและจำหน�ายชิ้นสวนการปองกัน

    การรั่วซึมของรถยนต และกรอบประตู ใหกับบริษัท OEM หลักๆ ใน

    มาเลเซีย ไดแก Proton, Perodua, Honda และ Toyota โดย

    จัดจำหน�ายผลิตภัณฑใหกับ OEM และผูผลิตระดับ Tier-1 โดยตรง

    IPSB ดำเนินธุรกิจใน Nilai, Negeri Sembilan ดวยความรวมมือและ

    สนับสนุนดานเทคโนโลยีจาก Katayama Kogyo ประเทศญี่ปุน และ

    IPSB ยังคงความเปนผูนำตลาดในประเทศมาเลเซียได โดยการเปน

    ผู บุกเบิกเทคโนโลยีการรีดขึ ้นรูปในประเทศมาเลเซีย

    INGRESS TECHNOLOGIES SDN. BHD. (“ITSB”)

    ITSB เปนบริษัทที ่มีความชำนาญในการผลิตและประกอบชิ ้นสวน

    ยานยนต ดวยเคร�องจักรปมข้ึนรูปขนาดกลางถึงใหญ เพ�อจำหน�ายใหกับ

    ลูกคา OEM ในประเทศมาเลเซีย ดวยการสนับสนุนทางดานเทคโนโลยี

    จาก AOI Kikai และ Metal Tech จากประเทศญี่ปุน ITSB จึงเปนผูนำ

    ในการผลิตระดับ Tier-1 ในประเทศมาเลเซีย โดยผลิตและจำหน�าย

    ผลิตภัณฑ โดยตรงใหกับ OEM และผู ผลิตระดับ Tier-1 ดวยกัน

    โดยลูกคาของ ITSB คือ ผู ผลิตรถยนตรายใหญในมาเลเซีย เชน

    Perodua, Proton และ Honda ITSB ซึ่งมีโรงงานผลิตสองแหงใน Bukit Beruntung, Selangor และ Kelemak, Malacca

    ซึ่งทั้งสองโรงงานมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย เชน เคร�องปมขึ้นรูปความเร็วสูง และสายการประกอบอัตโนมัติ

    PT INGRESS MALINDO VENTURES (“PT IMV”)

    PTIMV กอตั ้งขึ ้นใน พ.ศ. 2547 และมีโรงงานผลิตที ่ Jababeka

    ประเทศอินโดนีเซีย ดวยความรวมมือกับบริษัททองถิ่นอยาง PT Tidar

    และบริษัท Katayama Kogyo และ Yonei จากประเทศญี่ปุน PTIMV

    ดำเนินธุรกิจดานการผลิตและจัดจำหน�ายชิ้นสวนการปองกันการรั่วซึม

    ของรถยนต กรอบประตู และแผนกันความรอน ใหกับลูกคา OEM

    ในประเทศอินโดนีเซีย ซึ ่งประกอบไปดวย Daihatsu, Mitsubishi,

    Honda, Toyota, Suzuki และ PTIMV ถือวาเปนผูนำในการผลิตระดับ

    Tier-1 ในประเทศอินโดนีเซีย โดยผลิตและจำหน�ายผลิตภัณฑโดยตรง

    ใหกับ OEMs และลูกคาระดับ Tier-1 ดวยกัน

    TALENT SYNERGY SDN. BHD. (“TSSB”)

    TSSB กอตั้งขึ้นใน พ.ศ.2540 โดยเปนธุรกิจผู ใหบริการระบบอัตโนมัติ

    สำหรับอุตสาหกรรมยานยนตและอุตสาหกรรมอ�น TSSB มุงเนนไปที่

    การบริการดานการออกแบบ การประดิษฐและติดตั้งระบบอัตโนมัติ

    ในโรงงานอุตสาหกรรมเพ�อใหเหมาะสมกับความตองการของลูกคา

    ซึ่งลูกคาของ TSSB ไดแก บริษัทกลุมอิงเกรส ผูผลิต OEM ผูผลิต

    ระดับ Tier-1 และผู ผลิตอ�นๆ ซึ ่งสินคาบางสวน TSSB ได ใหการ

    สนับสนุนสถาบันการเรียนรูและหน�วยงานทดสอบโดย TSSB จะให

    บริการหลังการขายแกลูกคาตามระยะเวลาที่ตกลงรวมกันไวอีกดวย

    การออกแบบและผลิตอุปกรณสำหรับการผลิตแบบอัตโนมัติ

    PT INGRESS TECHNOLOGIES INDONESIA. (“PT ITI”)

    PTITI ตั้งอยูใน Jababeka ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเปนบริษัทยอยของ

    ITSB โดย ITSB เปนผูถือหุน 100% ผลิตภัณฑสวนใหญเปนการปม

    ชิ้นสวนขนาดเล็ก และแผนกันความรอน โดย PTITI ผลิตและจำหน�าย

    ผลิตภัณฑในฐานะผูขายระดับ Tier-2 ใหแก Tier-1 ซึ่งคือ PTIMV

    และ Miyuki Indonesia

    INGRESS AUTOVENTURES (INDIA) PRIVATE LIMITED.

    (“IAIPL”)

    IAIPL เปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นในอินเดียเม�อ พ.ศ. 2553 ธุรกิจหลักของ

    IAIPL คือการผลิตและจำหน�ายชิ้นสวนยานยนตในอินเดีย ชิ้นสวนหลัก

    ที่ผลิตและจำหน�าย เปนชิ้นสวนการปองกันการรั่วซึมของรถยนต ซึ่ง

    รวมถึงการข้ึนรูป�