[email protected]...

1
อภินันท์ บุญชะโด 1 ประภาพร ดวงพุทธ 1 พัฒนสุข ชานินอก 1 วัชรินกร เมฆลา 1* วินัดดา วงศ์วิริยะพันธ์ 2 1 ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อาเภอเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, 34190 2 ห้องปฎิบัติการ carbon anometerials research laboratory (CNMR lab) วิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, เขตลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร 10520 Apinan [email protected] 1 , Prapaporn [email protected] 1 บทคัดย่อ งานวิจัยนี ้ได ้ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั น โดยนาถ่านกัมมันต์ที่มีขนาด 70 นาโนเมตร มาปรับปรุงพื ้นที่ผิวด้วยไฮโดรเทอร์มัล แล้วนาไปเตรียมเป็น ขั วอิเล็กโทรดของตัวเก็บประจุ ไฟฟ้าเคมีแบบสองชั น ซึ ่งใช้เทคนิคกล้องจุลทรรศน์อิเล็กโทรดแบบส ่องกราด สาหรับศึกษาพื ้นที่ผิว ใช้เทคนิคเครื่องควบคุมศักย์ไฟฟ้ าวัดค่าความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ ไฟฟ้ าสารตัวอย่างโดยใช้เทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตรีสาหรับคานวณหาค่าความจุไฟฟ้ าต่อกรัม พบว่าถ่านกัมมันต์ที่เตรียมด้วยกระบวนการไฮโดรเทอมัลมีขนาดอนุภาคประมาณ 62 นาโนเมตร และค่าความจุต่อกรัม ของสารตัวอย่างที่เตรียมขึ ้นโดยใช ้สแกนเรด 20 มิลลิโวลต์ต่อวินาที ค่าความจุไฟฟ้าของถ่านกัมมันต์ที่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัล มีค่า 92.49 ฟารัดต่อกรัม และถ่านกัมมันต์ทางการค้า มีค่า 33.14 ฟารัดต่อกรัม เมื่อใช้สแกนเรด 100 มิลลิโวลต์ต่อวินาที พบว่า ค่าความจุไฟฟ้าของถ่านกัมมันต์ที่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัล มีค่า 175.57 ฟารัดต่อกรัม และถ่านกัมมันต์ทางการค้ามีค่า 47.76 ฟารัดต่อกรัม บทนา ตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั นแตกต่างจากแบตเตอรี่ตรงที่สามารถชาร์ตประจุได้รวดเร็วและคายประจุได้ช้าและยังสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ดีกว่าแบตเตอรี่ในปัจจุบัน วัสดุที่นิยมใช้ในการผลิตตัวเก็บประจุ ไฟฟ้ าประสิทธิภาพสูงได้แก่ คาร์บอนที่มีการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวเช่น ผงถ่านกัมมันต์ (activated carbon) เส้นใยคาร์บอนแบบผืนผ้า (woven carbon fiber cloth) ท่อนาโนคาร์บอน ( carbon nanotube) ฯลฯ ข้อจากัดใน การใช้คาร์บอนที่มีการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวเป็นอิเล็กโทรด คือ ไม่สามารถควบคุมขนาดของรูพรุนในโครงสร้างของคาร์บอนได้ แม้ว่าคาร์บอนนาทิวบ์เป็นวัสดุที่มีความเหมาะสมและเป็นไปได้สูงในการใช้ผลิตตัว เก็บประจุชนิดพิเศษที่มีประสิทธิภาพเนื่องจากมีปริมาณพื ้นผิวที่สูงและมีขนาดรูพรุนในระดับอนุภาคนาโน หากแต่ว่า เมื่อพิจารณาในเชิงพาณิชย์พบว่า วัสดุชนิดนี ้ยังไม่เหมาะสมในระดับอุตสาหกรรมเนื่องจากราคา ต้นทุนการผลิตที่สูง วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาวิธีการเตรียมตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั 2. ศึกษาลักษณะเชิงพื ้นผิวของถ่านกัมมันต์ (active carbon) 3. หาค่าความจุ (capacitance) ของตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั ขั ้นตอนการเตรียมการทดลอง ศึกษาทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ออกแบบตัวเก็บประจุ การเตรียมฐานรองรับ การเตรียมวัสดุขั วไฟฟ้ า การทาขั วไฟฟ้ า การประกอบอุปกรณ์ตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั วิเคราะห์ผลการวิจัย สรุปผล Potentiostat SEM XRD ผลการวิจัย - ลักษณะเชิงพื ้นผิวของถ่านกัมมันต์ ภาพที1 (ก.) ผงถ่านกัมมันต์ (ข.) ถ่านกัมมันต์ที่มีขนาด 1 ไมโครเมตร ที่ยังไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัล (ค.) ถ่านกัมมันต์ที่มีขนาด 1 ไมโครเมตรที่ผ่านกระบวนการ ไฮโดรเทอร์มัล (ง.) เคลื่อบถ่านกัมมันต์ (จ.) ตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั น (ฉ.) วัดศักย์ไฟฟ้า - ค่าความจุจาเพาะ (Capacitance) โดยใช้เทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตรี ภาพที่ 2 (ก.) ถ่านกัมมันต์ที่ยังไม่ผ่านการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธีไฮโดรเทอร์มัล สแกนเรด 20 มิลลิโวลต์ต่อวินาที ได้ค่าความจุ 33.14 ฟารัด/กรัม (ข.) ถ่านกัมมันต์ที่ยังไม่ผ่านการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธีไฮโดรเทอร์มัล สแกนเรด 100 มิลลิโวลต์ต่อวินาที ได้ค่าความจุ 44.76 ฟารัดต่อกรัม (ค.) ถ่านกัมมันต์ที่ผ่านการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธี ไฮโดรเทอร์มัลสแกนเรด 20 มิลลิโวลต์ต่อวินาที ได้ค่าความจุจาเพาะ 92.49 ฟารัดต่อกรัม (ง.) ถ่านกัมมันต์ที่ผ่าน การปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธีไฮโดรเทอร์มัล สแกนเรด 100 มิลลิโวลต์ต่อวินาที ได้ค่าความจุ 175.57 ฟารัดต่อกรัม (จ.) กราฟแสดงความสาพันธ์ระหว่าง ความเร็วรอบกับค่าความจุจาเพาะของขั วไฟฟ้ าที่ยังไม่ผ่านกระบวนการไฮโดร เทอร์มัล กับการผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัล 175.57 F/g 92.49 F/g 33.14 F/g 47.79 F/g สรุปผลการวิจัย 1. เราสามารถเตรียมตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั นได้ 2. จากการศึกษาการเตรียมตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั น ซึ ่งใช้ถ่านกัมมันต์ที่ผ่านการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธี ไฮโดรเทอร์มัล และถ่านกัมมันต์ที่ยังไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลไปศึกษาโดยใช้เทนนิคกล้องจุลทรรศ์แบบส่องกราด พบว่า ลักษณะถ่านกัมมันต์ที่ยังไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลจะมีจะมีความกว้างระหว่างอนุภาค อยู ่ที่ประมาณ 62 - 142 นาโนเมตร และ ถ่านกัมมันต์ ที่ผ่านการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธีไฮโดรเทอร์มัลมีความกว้างอยู ่ที่ประมาณ 31 - 133 นาโนเมตร 3. จากการศึกษาการเตรียมตัวเก็บประจุไฟฟ้ าเคมีแบบสองชั น ซึ ่งใช้ถ่านกัมมันต์ที่ผ่านการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธี ไฮโดรเทอร์มัลถ่านกัมมันต์ที่ยังไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัล เมื่อนาไปเตรียมแล้วหาค่าความจุจาเพาะ โดยใช้เทคนิคไซ คลิกโวลแทมเมตรี จะพบว่า ถ่านกัมมันต์ที่ยังไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลจะได้ค่าความจุจาเพาะอยู ่ที่ 33.14 ฟารัดต่อ กรัม และ 47.76 ฟารัดต่อกรัม และถ่านกัมมันต์ที่ผ่านการปรับปรุงสภาพพื ้นผิวด ้วยวิธีไฮโดรเทอร์มัล จะได้ค่าความจุจาเพาะอยู ที่ 92.49 ฟารัดต่อกรัม และ 175.57 ฟารัดต่อกรัม จะเห็นว่าเมื่อผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลจะมีค่าความจุจาเพาะสูงขึ ้น ซึ ่งสอดคล้องกับลักษณะพื ้นผิวที่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลจะมีความกว้างน้อยกว่า ถ่านกัมมันต์ที่ยังไม่ผ่าน กระบวนการไฮโดรเทอร์มัล [1] ภควดี สุขอนันต์. การศึกษาสมบัติและคุณลักษณะของพื ้นผิวของถ่านกัมมันต์จากเปลือกมังคุด ที่เตรียมแบบ 1 ขั น และ 2 ขั น. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาเคมีภาควิชา ทยาศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 2010. [2] ดร. มนตรีสว่างพฤกษ์. โครงการสารเก็บประจุไฟฟ้ าเคมียิ่งยวดนาโนแมงกานีสออกไซด์บนวัสดุ รองรับคาร์บอนนาโนโฟม. สัญญาเลขที่ MRG5480195 มิถุนายน 2556. [3] D.P. Dubal, D.s.Dhawale, R.R. Salunkhe, V.S. Jamdade, and C.D. Lokhande. Fabrication of copper oxide multilayer nanosheets for supercapaciter application.Journal of Alloys and Compounds 492 (2010) p.26-30. [4] Elmouwahidi, A. et. al., Activated cabons from KOH-activate of argan (Arganiaspinosa) seed shell as supercapacitore electrode. Bioresource Technology, Vol.111, (2012). p.185 เอกสารอ้างอิง กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี ้ได ้สาเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช ่วยศาสตราจารย์ ดร. พัฒนสุข ชานินอก อาจารย์ ดร.วัชรินกร เมฆลา อาจารย์ ดร.วินัดดา วงศ์วิริยะพันธ์ หัวหน้าห้องปฎิบัติการ carbon anometerials research laboratory (CNMR lab) นางสาวปาวีณา ดุลยเสรี นางสาวจุฑาภรณ์ วิชัย และคณะบดี วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง ข้อเสนอแนะ ในการเตรียมตัวเก็บประจุไฟฟ้าแบบสองชั นวัสดุที่ใช้ในการทาขั วไฟฟ้าควรมีคุณสมบัติเป็นวัสดุที่มีพื ้นที่ผิวต่อปริมาณสูง และ ฐานรองรับขั วไฟฟ้ าควรมีคุณสมบัติที่ชอบน า (Hydrophilic) เพื่อให้ไอออนของอิเล็กโตรไลท์สามารถเข้าถึงขั วไฟฟ้าได้ง่าย ถ่านกัมมันต์เป็น โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นรูพรุนมีพื ้นที่ผิวสูง และมีสมบัติในการดูดซับสารต่างๆ ได้ดี

Transcript of [email protected]...

Page 1: Apinan91992@gmail.com1 Prapaporn253511@gmailnestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015229.pdfศึกษาทฤษฎีและงานวิจยัที่เกี่ยวของ้

อภินันท์ บุญชะโด1 ประภาพร ดวงพุทธ1 พฒันสุข ช านินอก1 วชัรินกร เมฆลา1* วนัิดดา วงศ์วริิยะพนัธ์21ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อ าเภอเมือง, จังหวัดอุบลราชธานี, 34190

2ห้องปฎบิัติการ carbon anometerials research laboratory (CNMR lab) วิทยาลัยเทคโนโลยพีระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, เขตลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร [email protected], [email protected]

บทคดัย่องานวจิยัน้ีไดศึ้กษาเก่ียวกบัการเตรียมตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น โดยน าถ่านกมัมนัตท่ี์มีขนาด 70 นาโนเมตร มาปรับปรุงพื้นท่ีผิวดว้ยไฮโดรเทอร์มลั แลว้น าไปเตรียมเป็น ขั้วอิเลก็โทรดของตวัเกบ็ประจุ

ไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น ซ่ึงใชเ้ทคนิคกลอ้งจุลทรรศน์อิเล็กโทรดแบบส่องกราด ส าหรับศึกษาพื้นท่ีผิว ใชเ้ทคนิคเคร่ืองควบคุมศกัยไ์ฟฟ้าวดัค่าความสัมพนัธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศกัยข์องตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าสารตวัอยา่งโดยใชเ้ทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตรีส าหรับค านวณหาค่าความจุไฟฟ้าต่อกรัม พบว่าถ่านกมัมนัตท่ี์เตรียมดว้ยกระบวนการไฮโดรเทอมลัมีขนาดอนุภาคประมาณ 62 นาโนเมตร และค่าความจุต่อกรัมของสารตวัอยา่งท่ีเตรียมข้ึนโดยใชส้แกนเรด 20 มิลลิโวลตต่์อวินาที ค่าความจุไฟฟ้าของถ่านกมัมนัตท่ี์ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มลั มีค่า 92.49 ฟารัดต่อกรัม และถ่านกมัมนัตท์างการคา้ มีค่า 33.14 ฟารัดต่อกรัม เม่ือใชส้แกนเรด 100 มิลลิโวลตต่์อวนิาที พบวา่ ค่าความจุไฟฟ้าของถ่านกมัมนัตท่ี์ผา่นกระบวนการไฮโดรเทอร์มลั มีค่า 175.57 ฟารัดต่อกรัม และถ่านกมัมนัตท์างการคา้มีค่า 47.76 ฟารัดต่อกรัม

บทน าตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้นแตกต่างจากแบตเตอร่ีตรงท่ีสามารถชาร์ตประจุไดร้วดเร็วและคายประจุไดช้า้และยงัสามารถเกบ็ประจุไฟฟ้าไดดี้กว่าแบตเตอร่ีในปัจจุบนั วสัดุท่ีนิยมใชใ้นการผลิตตวัเกบ็ประจุ

ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงไดแ้ก่ คาร์บอนท่ีมีการปรับปรุงสภาพพื้นผวิเช่น ผงถ่านกมัมนัต์ (activated carbon) เส้นใยคาร์บอนแบบผนืผา้ (woven carbon fiber cloth) ท่อนาโนคาร์บอน ( carbon nanotube) ฯลฯ ขอ้จ ากดัในการใชค้าร์บอนท่ีมีการปรับปรุงสภาพพื้นผิวเป็นอิเลก็โทรด คือ ไม่สามารถควบคุมขนาดของรูพรุนในโครงสร้างของคาร์บอนได ้แมว้่าคาร์บอนนาทิวบเ์ป็นวสัดุท่ีมีความเหมาะสมและเป็นไปไดสู้งในการใชผ้ลิตตวัเกบ็ประจุชนิดพิเศษท่ีมีประสิทธิภาพเน่ืองจากมีปริมาณพื้นผิวท่ีสูงและมีขนาดรูพรุนในระดบัอนุภาคนาโน หากแต่ว่า เม่ือพิจารณาในเชิงพาณิชยพ์บว่า วสัดุชนิดน้ียงัไม่เหมาะสมในระดบัอุตสาหกรรมเน่ืองจากราคาตน้ทุนการผลิตท่ีสูง

วตัถุประสงค์1. ศึกษาวธีิการเตรียมตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น2. ศึกษาลกัษณะเชิงพื้นผวิของถ่านกมัมนัต์ (active carbon)3. หาค่าความจุ (capacitance) ของตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น

ขั้นตอนการเตรียมการทดลอง

ศึกษาทฤษฎี และงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง

ออกแบบตวัเกบ็ประจุ

การเตรียมฐานรองรับ

การเตรียมวสัดุขั้วไฟฟ้า

การท าขั้วไฟฟ้า

การประกอบอุปกรณ์ตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น

วิเคราะห์ผลการวิจยั

สรุปผล

Potentiostat

SEM

XRDผลการวจิัย

- ลกัษณะเชิงพื้นผวิของถ่านกมัมนัต์

ภาพที่ 1 (ก.) ผงถ่านกมัมนัต์ (ข.) ถ่านกมัมนัตท่ี์มีขนาด 1 ไมโครเมตร ท่ียงัไม่ผา่นกระบวนการไฮโดรเทอร์มลั (ค.) ถ่านกมัมนัตท่ี์มีขนาด 1 ไมโครเมตรท่ีผา่นกระบวนการไฮโดรเทอร์มลั (ง.) เคล่ือบถ่านกมัมนัต์ (จ.) ตวัเก็บประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น (ฉ.) วดัศกัยไ์ฟฟ้า

- ค่าความจุจ าเพาะ (Capacitance) โดยใชเ้ทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตรี

ภาพที่ 2 (ก.) ถ่านกมัมนัตท่ี์ยงัไม่ผ่านการปรับปรุงสภาพพ้ืนผิวดว้ยวิธีไฮโดรเทอร์มลั สแกนเรด 20 มิลลิโวลตต่์อวินาทีไดค่้าความจุ 33.14 ฟารัด/กรัม (ข.) ถ่านกัมมนัตท่ี์ยงัไม่ผ่านการปรับปรุงสภาพพ้ืนผิวดว้ยวิธีไฮโดรเทอร์มลั สแกนเรด100 มิลลิโวลต์ต่อวินาที ไดค่้าความจุ 44.76 ฟารัดต่อกรัม (ค.) ถ่านกมัมนัตท่ี์ผ่านการปรับปรุงสภาพพ้ืนผิวดว้ยวิธี ไฮโดรเทอร์มลัสแกนเรด 20 มิลลิโวลต์ต่อวินาที ไดค่้าความจุจ าเพาะ 92.49 ฟารัดต่อกรัม (ง.) ถ่านกัมมนัต์ท่ีผ่าน การปรับปรุงสภาพพ้ืนผิวดว้ยวิธีไฮโดรเทอร์มลั สแกนเรด 100 มิลลิโวลตต่์อวินาที ไดค่้าความจุ 175.57 ฟารัดต่อกรัม (จ.) กราฟแสดงความส าพนัธ์ระหว่าง ความเร็วรอบกับค่าความจุจ าเพาะของขั้วไฟฟ้าท่ียงัไม่ผ่านกระบวนการไฮโดร เทอร์มลั กบัการผา่นกระบวนการไฮโดรเทอร์มลั

175.57 F/g

92.49 F/g

33.14 F/g47.79 F/g

สรุปผลการวจิัย1. เราสามารถเตรียมตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้นได้2. จากการศึกษาการเตรียมตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น ซ่ึงใชถ่้านกมัมนัตท่ี์ผ่านการปรับปรุงสภาพพื้นผิวดว้ยวิธี

ไฮโดรเทอร์มลั และถ่านกมัมนัตท่ี์ยงัไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มลัไปศึกษาโดยใชเ้ทนนิคกลอ้งจุลทรรศแ์บบส่องกราด พบวา่ ลกัษณะถ่านกมัมนัตท่ี์ยงัไม่ผา่นกระบวนการไฮโดรเทอร์มลัจะมีจะมีความกวา้งระหว่างอนุภาค อยูท่ี่ประมาณ 62 - 142 นาโนเมตร และ ถ่านกมัมนัต์ ท่ีผ่านการปรับปรุงสภาพพื้นผิวด้วยวิธีไฮโดรเทอร์มลัมีความกวา้งอยู่ท่ีประมาณ 31 - 133 นาโนเมตร

3. จากการศึกษาการเตรียมตวัเกบ็ประจุไฟฟ้าเคมีแบบสองชั้น ซ่ึงใชถ่้านกมัมนัตท่ี์ผ่านการปรับปรุงสภาพพื้นผิวดว้ยวิธีไฮโดรเทอร์มลัถ่านกมัมนัตท่ี์ยงัไม่ผา่นกระบวนการไฮโดรเทอร์มลั เม่ือน าไปเตรียมแลว้หาค่าความจุจ าเพาะ โดยใชเ้ทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตรี จะพบว่า ถ่านกมัมนัตท่ี์ยงัไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มลัจะไดค่้าความจุจ าเพาะอยูท่ี่ 33.14 ฟารัดต่อกรัม และ 47.76 ฟารัดต่อกรัม และถ่านกมัมนัตท่ี์ผา่นการปรับปรุงสภาพพื้นผวิดว้ยวธีิไฮโดรเทอร์มลั จะไดค่้าความจุจ าเพาะอยู่ท่ี 92.49 ฟารัดต่อกรัม และ 175.57 ฟารัดต่อกรัม จะเห็นวา่เม่ือผา่นกระบวนการไฮโดรเทอร์มลัจะมีค่าความจุจ าเพาะสูงข้ึน

ซ่ึงสอดคลอ้งกบัลกัษณะพื้นผิวท่ีผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลจะมีความกวา้งน้อยกว่า ถ่านกมัมนัต์ท่ียงัไม่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มลั

[1] ภควดี สุขอนนัต.์ การศึกษาสมบติัและคุณลกัษณะของพ้ืนผิวของถ่านกมัมนัตจ์ากเปลือกมงัคุดท่ีเตรียมแบบ 1 ขั้น และ 2 ขั้น. วทิยานิพนธ์ สาขาวชิาเคมีภาควชิา ทยาศาสตร์คณะวทิยาศาสตร์ และเทคโนโลยมีหาวทิยาลยัราชภฏัพระนครศรีอยธุยา 2010.

[2] ดร. มนตรีสวา่งพฤกษ.์ โครงการสารเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิง่ยวดนาโนแมงกานีสออกไซดบ์นวสัดุรองรับคาร์บอนนาโนโฟม. สญัญาเลขท่ี MRG5480195 มิถุนายน 2556.

[3] D.P. Dubal, D.s.Dhawale, R.R. Salunkhe, V.S. Jamdade, and C.D. Lokhande. Fabrication of copper oxide multilayer nanosheets for supercapaciter application.Journal of Alloys and Compounds 492 (2010) p.26-30.

[4] Elmouwahidi, A. et. al., Activated cabons from KOH-activate of argan (Arganiaspinosa) seed shell as supercapacitore electrode. Bioresource Technology, Vol.111, (2012). p.185

เอกสารอ้างองิ

กติติกรรมประกาศ

งานวจิยัฉบบัน้ีไดส้ าเร็จไดด้ว้ยความกรุณาจาก อาจารยท่ี์ปรึกษา ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. พฒันสุข ช านินอก อาจารย ์ดร.วชัรินกร เมฆลาอาจารย ์ดร.วินดัดา วงศว์ิริยะพนัธ์ หวัหนา้ห้องปฎิบติัการ carbon anometerials research laboratory (CNMR lab) นางสาวปาวีณา ดุลยเสรี นางสาวจุฑาภรณ์ วชิยั และคณะบดี วทิยาลยันาโนเทคโนโลยพีระจอมเกลา้ลาดกระบงั

ก ข ค

ง จ ฉ

ข้อเสนอแนะ ในการเตรียมตวัเก็บประจุไฟฟ้าแบบสองชั้นวสัดุท่ีใช้ในการท าขั้วไฟฟ้าควรมีคุณสมบติัเป็นวสัดุท่ีมีพื้นท่ีผิวต่อปริมาณสูง และ

ฐานรองรับขั้วไฟฟ้าควรมีคุณสมบติัท่ีชอบน ้า (Hydrophilic) เพื่อใหไ้อออนของอิเล็กโตรไลทส์ามารถเขา้ถึงขั้วไฟฟ้าไดง่้าย ถ่านกมัมนัตเ์ป็นโครงสร้างท่ีมีลกัษณะเป็นรูพรุนมีพื้นท่ีผวิสูง และมีสมบติัในการดูดซบัสารต่างๆ ไดดี้

ก ข

ค ง