ผลการใช...

54
ผลการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที6 นางพรพิมล อติชาติธานินทร โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ปการศึกษา 2553

Transcript of ผลการใช...

Page 1: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ผลการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6

นางพรพิมล อติชาติธานินทร

โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ปการศึกษา 2553

Page 2: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 กอนเรียนและหลังเรียนดวย ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2553 จํานวน 40 คน ไดมาจากการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาไดแก ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ t – test

ผลการศึกษาพบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 หลังเรียนดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

Page 3: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

สารบัญ

หนา บทคัดยอ ง สารบัญ จ สารบัญตาราง ช บทท่ี 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 4 สมมติฐานของการศึกษาคนควา 4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 4 ขอบเขตของการศึกษาคนควา 5 นิยามศัพทเฉพาะ 6 กรอบแนวคิดในการศึกษาคนควา 6 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 7 เอกสารท่ีเกี่ยวของกับทักษะการเขียน 7 เอกสารท่ีเกี่ยวของกับชุดกิจกรรม 19 เอกสารท่ีเกี่ยวของกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 27 เอกสารท่ีเกี่ยวของกับการหาประสิทธิภาพ 35 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 41 3 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา 43 ประชากรและกลุมตัวอยาง 43 เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 43 การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควา 44 แบบแผนการทดลอง 44 การเก็บรวบรวมขอมูล 45

สารบัญ (ตอ)

Page 4: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

หนา การวิเคราะหขอมูล 45 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 45 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 47 สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหและแปลผลขอมูล 47 ผลการวิเคราะหขอมูล 47 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 49 สรุปผลการศึกษา 49 อภิปรายผล 49 ขอเสนอแนะ 50 บรรณานุกรม 51 ภาคผนวก 56

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design 44

Page 5: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวย ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 48

Page 6: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ในการศึกษาครั้งนี้ผูรายงานไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของและไดนําเสนอตามลําดับดังตอไปนี ้ 1. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับทักษะการเขียน 2. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับชุดกิจกรรม 3. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 4. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เอกสารที่เกี่ยวของกับทักษะการเขียน 1. ความหมายของการเขียน สมพร มันตสูตร (2540, หนา 3) ใหความหมายของการเขียนวาเปนความสามรถ ในการการถายทอดความรู ความคิด ทัศนคต ิ และอารมณ ดวยลายลักษณอักษร โดยมุงใหเกิดความรูความเขาใจ (สาร) เปนสําคัญ อัจฉรา วงศโสธร (2544, หนา 89) ไดกลาวถึงความหมายของทักษะเขียนวาเปนระบบของการส่ือความหมายทางสายตา (Visual Communication) ภาษาเขียนไมไดเปนการถายทอดภาษาพูดออกมาเปนตัวอักษรบนหนากระดาษ พิตรวัลย โกวิทวที (2537, หนา 32) ไดสรุปความหมายของการเขียนวา หมายถึง การรวบรวมความคิด ความรูสึก และความตองการของผูสงขาวออกมาเปนภาษาเขียนในลักษณะตาง ๆ กัน เพ่ือใหผูรับไดเขาใจจุดประสงคของตนเอง พิตรวัลย โกวิทวที (2537, หนา 31) กลาวถึงความหมายของการเขียนวาเปนความสามารถในการส่ือความหมายดวยตัวอักษร ซ่ึงเปนท่ีเขาใจกันระหวางผูเขียน และผูอาน เปนการใชภาษา เพ่ือการส่ือสารมีการเรียบเรียงขอความตามลักษณะโครงสรางภาษาท่ีใช ใชแบบฟอรมใหตรงกับจุดประสงคของการเขียนแตละเรื่อง ๆ ไป ตลอดจนใชสํานวนไดอยางถูกตอง สุภัทรา อักษรานุเคราะห (2532, หนา 108) ไดกลาวถึงทักษะการเขียนวา การเขียน เปนกระบวนการท่ีมีความสัมพันธกับความคิดเปนอยางยิ่ง เพราะกอนท่ีจะเขียน ผูเขียนจะตองคิด กอนเสมอวาตนจะเขียนอะไร เขียนใหใครอาน และมีจุดประสงคในการเขียนอยางไร โดยพยายาม ส่ือสารทางความคิดกับผูอาน ผูเขียนจะตองรวบรวมขอมูล เลือกสรรส่ิงท่ีตนตองการถายทอด ความคิด นํามาลําดับความดวยการเรียบเรียงออกมาเปนอักษรตั้งแตระดับประโยคจนถึงระดับ

Page 7: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ขอความ หรือสูงกวาขอความ โดยใชความรูทางดานกลไกของการเขียน วิทยา ดํารงเกียรติศักดิ ์(2531, หนา 1) ไดใหความหมายของการเขียนวาเปนระบบ การส่ือสาร หรือบันทึกถายทอดภาษา เพ่ือแสดงออกซ่ึงความรู ความคิด ความรูสึก และอารมณตาง ๆ โดยใชตัวหนังสือ และเครื่องหมายตาง ๆ เปนสัญลักษณ จากขอมูลดังกลาวขางตน จึงสรุปไดวาความสามารถในการเขียนมีความสัมพันธ กับความคิด เปนความสามารถในการรวบรวมความคิด เรียบเรียงตัวอักษร ถอยคํา ขอความ ประโยคใหถูกตองตามโครงสรางไวยากรณ และจุดประสงค ใหสามารถส่ือสารในส่ิงท่ีผูเขียน ตองการใหผูอานเขาใจไดถูกตอง 2. ความสําคัญของการเขียน วิทยา ดํารงเกียรติศักดิ ์(2531, หนา 1-2) ไดสรุปความสําคัญของการเขียนดังนี ้ 1. เปนเครื่องแสดงออกของความรู ความคิด และความรูสึกของมนุษย 2. เปนเครื่องมือสําคัญในการวัดความเจริญ หรืออารยธรรมของมนุษย ในแตละยุคแตละสมัย 3. เปนเครื่องมือใชสําหรับส่ือสารท้ังเรือ่งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต 4. เปนเครื่องมือท่ีใชสนองความปรารถนาของมนุษย เชน ความรัก ความเขาใจ เปนตน 5. เปนเครื่องมือทางวัฒนธรรมท่ีถายทอดมรดกทางดานสติปญญาของมนุษย 6. เปนส่ือท่ีชวยแพรกระจายความรูความคิดใหกวางไกล และไดรวดเร็ว 7. เปนส่ือกลางใหความรู ความคิด และความเพลิดเพลินแกคนทุกเพศทุกวัย 8. เปนบันทึกทางสังคมท่ีใหคุณประโยชนแกคนรุนปจจุบัน และอนาคต 9. เปนงานอาชีพท่ีสําคัญอยางหนึ่งในปจจุบัน จากขอมูลขางตนสามารถสรุปความสําคัญของการเขียนไดวา เปนทักษะสําคัญในการส่ือสารท่ีเราตองใชในชีวิตประจําวัน เพ่ือแสดงออกถึงความรู ความคิด เผยแพรความรู ตาง ๆ รวมท้ังบันทึกขอมูล เรื่องราวตาง ๆ ของมนุษยตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน และอนาคต 3. องคประกอบของการเขียน ฮีตัน (Heaton, 1975, p. 138) กลาวถึงทักษะท่ีสําคัญของการเขียน 4 ประการ 1. ทักษะทางไวยากรณ (Grammatical Skills) ไดแก ความสามารถในการเขียนประโยคตาง ๆ ไดถูกตอง 2. ทักษะทางลีลาภาษา (Stylistically Skills) ไดแก ความสามารถในการเลือกใชประโยคหลาย ๆ แบบ และใชภาษาไดอยางถูกตองมีประสิทธิภาพ 3. ทักษะทางกลไก (Mechanical Skill) ไดแก ความสามารถในการใชแบบแผนทางภาษาไดถูกตอง เชน การใชเครื่องหมายวรรคตอน และการสะกดคํา

Page 8: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

4. ทักษะทางการเลือกขอความท่ีเหมาะสม (Judgement Skill) ไดแกความสามารถในการเขียนขอความไดเหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค โดยคํานึงถึงผูอานเปนสําคัญ ตลอดจนความสามารถท่ีจะเลือกสรร รวบรวม และจัดลําดับเรื่องราวใหมีความสัมพันธตอเนื่องกัน แฮริส (Harris, 1974, pp. 68-69) กลาววาองคประกอบของการเขียนท่ีดีมีอยู 5 ประการ คือ 1. เนื้อหา (Content) ไดแก เนื้อหาสาระท่ีใชในการเขียน ตลอดจนความนึกคิด ท่ีแสดงออกมา 2. รูปแบบ (Form) ไดแก การเรียบเรียงจัดลําดับเนื้อหาใหความตอเนื่องกัน 3. ไวยากรณ (Grammar) ไดแกความสามารถในการใชโครงสรางไวยากรณ มาเขียนประโยคท่ีถูกตอง และส่ือความหมายได 4. ลีลาภาษา (Style) ไดแก ทางเลือกในการใชคําสํานวนในการเขียน เพ่ือใหเกิดลักษณะเฉพาะของผูเขียน ตลอดจนอารมณ และความเปนธรรมชาติในขอความท่ีเขียน 5. กลไกในการเขียน (Mechanics) ไดแก สัญลักษณตาง ๆ ของภาษา เชน การใชเครื่องหมายวรรคตอน การสะกดอักษร และการเขียนเบ้ืองตนใหถูกตองตามแบบแผนของภาษา พินคาศ (Pincus) ไดแบงองคประกอบของทักษะการเขียนออกเปน 3 ดาน ดังตอไปนี ้ (กุสุมา ลานุย, 2538, หนา 148-149) 1. รูปแบบการเขียน (Type) ซ่ึงจะมีอยู 4 แบบ ตามลําดับความยากงาย คือ ขั้นทําความคุนเคย ขั้นการเขียนในลักษณะท่ีมีการควบคุม ขั้นการเขียนในลักษณะท่ีมีการช้ีแนะ และขั้นการเขียนในระดับอิสระ 2. เทคนิค หรือยุทธวิธีในการสอน เชน การใชนักเรียนเขียนขอความเลียนแบบ ขอความท่ีกําหนดให 3. ตัวส่ือ หรือตัวกระตุน เชน การใชเกมส เพลง ไดอะแกรม สมพร มันตสูตร (2540, หนา 10) ไดสรุปองคประกอบสําคัญของการเขียนวา คือ ผูเขียนงานเขียน และกลวิธีในการเขียน การเขียนสรางสรรค จะตองเกิดขึ้นจากนักเขียนสรางสรรค อัจฉรา วงศโสธร (2544, หนา 89) ไดกลาววาทักษะเขียนประกอบดวย ทักษะกลไก คือ การสะกดตัว การใชเครื่องหมายวรรคตอน ทักษะในการใชวงคําศัพท ทักษะใชไวยากรณ และการคิดอยางมีเหตุผล ไดแก การเรียบเรียงความคิดตลอดจนความชัดเจนของ การส่ือความหมาย

Page 9: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

จากขอมูลขางตนสรุปไดวาองคประกอบสําคัญในการเขียน คือ ตองอาศัยหลาย ๆ ส่ิงประกอบกัน ท้ังความรูทางดานเนื้อหา ความรูทางดานหลักโครงสรางไวยากรณ รวมท้ังมี ประสบการณเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะเขียน มีจุดประสงคในการเขียน นอกจากนี้ยังตองขึ้นอยูกับ ตัวผูเขียนเองดวย ในการมีความสามารถลําดับเรียบเรยีงถอยคํา ขอความ และประโยคใหผูอานสามารถเขาใจในส่ิงท่ีผูเขียนเขียนดวย 4. ขั้นตอนการเขียน การสอนเขียนครูควรดําเนินการสอนตามลําดับขั้น เพ่ือใหนักเรียนไดรับผลด ีในการฝกหัดเขียน เปนการดําเนินการสอนท่ีตองอาศัยความรวมมือ การช้ีแนะ การวางแผนรวมกันระหวางครูกับนักเรียน ซ่ึงพิตรวัลย โกวิทวที (2537, หนา 47-49) ไดลําดับขั้นตาง ๆ มีดังตอไปนี ้ 1. Generating Idea เปนการอภิปรายรวมกันระหวางครูกับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ท่ีจะเขียน ความสนใจ ความตองการ และจุดประสงคในการเขียนแตและครั้ง ครูจะอธิบาย ใหนักเรียนเขาใจจุดประสงคท่ีจะเขียนกอนลงมือเขียน เพ่ือสรางความม่ันใจใหกับนักเรียน กอนลงมือเขียนจริง 2. Composing and Prevision การเขียนเปนทักษะท่ียาก บางครั้งนักเรียน จะประสบความยุงยากในการเขียน คือ คิดไมออก ไมสามารถเรียบเรยีงความคิดออกมาเปน ภาษาเขียนได ก็จะประสบกับความวางเปลาของแผนกระดาษ ควรชวยใหนักเรียนสามารถเริ่มตนการเขียนไดด ี เชน อาจจะเริ่มดวยการยอมเสียเวลาเกี่ยวกับการอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหาท่ีจะเขียนกอนเขียน ควรช้ีแจงชวยเหลือใหนักเรียนรวบรวมความคิด ใหกําลังใจ และปจจัยตาง ๆ ท่ีจะชวยใหเกิดงานเขียนขึ้นมาในชวงเวลานี ้ เราจึงเรียกวา “Prevision” มีการตรวจสอบ และขัดเกลาสํานวนตาง ๆ ของการเขียนฉบับรางใหกับนักเรียนดวย 3. Marking papers การตรวจงานเขียนของนักเรียนเปนส่ิงสําคัญท่ีครูตองระวัง อยาใชคําวิพากษวิจารณท่ีคอนขางรุนแรง เพราะจะทําใหนักเรียนเกิดความกลัว ขาดความม่ันใจ ในการเขียน ไมกลาเขียนอีกตอไป ครูควรวางแผน และกําหนดเวลาในการตรวจแกไขงานของนักเรียน มีการวิจารณไปในทางบวก เชน ใชคําวา “yes” “I agree!” “Try it again” การวจิารณในทางบวกจะชวยเพ่ิมพูนความคิด และพัฒนาการในการเขียนใหนักเรียน ทําใหนักเรียนมองเห็นลูทางท่ีจะปรับปรุงงานเขียนของตนเอง 4. Discussion โดยท่ัวไปแลว เม่ือนักเรียนเขียนเนื้อเรื่องเสร็จแลวก็มักจะสง ใหครูตรวจ และเขียนคําวิจารณผลงานนั้น ถาจะใหการเขียนของนักเรียนไดผลดียิ่งขึ้น ครูควรหาทางใหกําลังใจแกนักเรียน เพ่ือใหเกิดความม่ันใจกลาจะอานผลงานของตนใหนักเรียนคนอ่ืนฟง ใหเพ่ือนแสดงความคิดเห็นตอผลงาน ซ่ึงทักษะเกี่ยวกับการวิพากษวิจารณนี ้ ครูตองใชเวลา

Page 10: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ในการฝกใหกับนักเรียน เพราะบางครั้งคําวิพากษวิจารณของเพ่ือนกันเองอาจจะไปทําใหนักเรียนขาดความเช่ือม่ันในตัวเองได 5. Teaching เม่ืองานเขียนแตละเรื่องไดรับการขัดเกลา และแสดงความคิดเห็น แลวก็ใหนักเรียนกลับไปทบทวนใหม ดูความถูกตองของโครงสรางไวยากรณ คําศัพท เครื่องหมายวรรคตอน นอกจากนี้ควรพิจารณาเรื่องการลําดับความคิด เหตุการณ สํานวนตาง ๆดวย เพ่ือชวยใหงานเขียนมีผลสมบูรณมากท่ีสุด 6. Revising papers เปนขั้นสุดทาย เปนการขัดเกลา และทบทวนอยางรอบคอบ เพ่ือตรวจสอบขอผิดพลาดตาง ๆ การตัดตอเพ่ิมเติมความคิดตาง ๆ ลําดบัเหตุการณเรื่องราวใหม การเสนอขั้นตอนการสอนเขียนท่ีชวยใหผูเรียนสามารถเขียนไดอยางตอเนื่องนั้น อรุณ ี วิริยะจิตรา (2532, หนา 158 – 198) ไดเสนอขั้นตอนไวดังตอไปนี ้ 1. ขั้นเสนอรูปแบบ และวิธีการใชภาษา (Presentation) คือ การท่ีจะใหผูเรียน ผลิตภาษา เพ่ือใชในการส่ือสารใด ๆ นั้น ผูเรียนจะตองไดรับขอมูลทางภาษาอยางเพียงพอ จนผูเรียนพรอมท่ีจะผลิตภาษาชนิดนั้น ๆ ในการเตรียมผูเรียนใหพรอมนี้ควรใหผูเรียนมีโอกาส ไดเห็น หรือไดยินรูปแบบของภาษาท่ีตองการใหผูเรียนผลิตกอน ใหผูเรียนเรยีนรูคําศัพท ท่ีจะตองใช และใหผูเรียนมีความรูในเรื่องราวท่ีจะเขียนกอน ใหรูจุดมุงหมายในการเขียน วาเพ่ือส่ืออะไร 2. ขั้นฝกการใชภาษา (Practice) คือ ในขั้นนี้ผูสอนก็จะฝกใหผูเรียน มีความแมนยําในรูปแบบของภาษา เพ่ือจะไดนําไปใชในการส่ือสารตอ ในขั้นนี้ควรฝกอยางมีความหมาย (Meaningful Drills) ไมใชฝกแบบกลไก (Mechanical Drills) การฝกแบบกลไก หมายถึง การฝกท่ีผูเรียนไมมีอิสระในการเลือกใชภาษา และเปนการฝกท่ีผูเรียนไมมีเจตนาท่ีจะส่ือความหมายอยางใดอยางหนึ่ง ดังนั้นการฝกในขั้นนี้ คือ ผูเรียนอาจยังไมมีอิสระในการเลือกใชภาษา หรือเนื้อหาท่ีตองการมากนัก ท้ังนี้เพราะจุดมุงหมายในระดับนี้ คือ ใหผูเรียนมีความแมนยําในรูปแบบของภาษาท่ีตองการใหฝกเสียกอน 3. ขั้นการนําภาษาไปใช (Use) คือ หลังการฝกจนแนใจวาผูเรียนมีความแมนยํา ในรูปแบบความหมาย และวิธีการใชภาษาแลว ผูเรียนควรมีโอกาสไดนําส่ิงท่ีตนไดเรียนนี้มาใช ในการส่ือสารจริงดวยการเขียน ซ่ึงขึ้นอยูกับวัตถุประสงคท่ีตั้งไวกอนเรียน ในการสอนขั้นนี ้กิจกรรมท่ีใหผูเรียนทําควรเปนกิจกรรมท่ีใหผูเรียนมีความตองการ และมีจุดมุงหมายในการส่ือสาร นอกจากนี้ยังเปดโอกาสใหผูเรียนไดเลือกใชภาษา หรือเนื้อหาดวยตนเองใหมากท่ีสุด สุภัทรา อักษรานุเคราะห (2532, หนา 79 – 80) ไดสรุปขั้นตอนการจัดกิจกรรม การเขียนวาแบงเปน 3 ระยะ คือ

Page 11: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

1. กิจกรรมกอนการเขียน (Pre-writing Activities) เปนการสรางความสนใจ ในเรื่องท่ีจะเขียน และปูพ้ืนความรูในเรื่องท่ีจะเขียน โดยอาจทบทวนความรูเกี่ยวกับกลไก ทางการเขียน ซ่ึงมีการสะกดตัว การใชเครื่องหมายวรรคตอน การใชกาลใหถูกตองกับเรื่อง ท่ีจะเขียน 2. กิจกรรมระหวางเขียน (While-writing Activities) เปนกิจกรรมท่ีผูสอนนํามาใชฝกทักษะในขณะท่ีเขียนเรื่อง 3. กิจกรรมหลังเขียน (Post-writing Activities) โดยผูเรียนพยายามใช ความสามารถในการเขียนใหสัมพันธกับทักษะอ่ืน คือ นําเรื่องท่ีเขียนมาอานใหเพ่ือนในช้ันฟง นํามาถามคําถาม นํามาเขียนบทสนทนาแสดงบทบาทสมมต ิ หรือนํามาอภิปรายแสดงความคิดเห็น วาเล็ต และดิสสิค (Valett and Disick, 1972, pp. 171-177) ไดจําแนกขั้นตอน การเขียน โดยเริ่มจากระดับท่ีงายไปหายาก 1. ขั้นทักษะดานกลไก (Mechanical Skills) เปนขั้นเริ่มตน เริ่มจาก การเลียนแบบ เปนระดับความสามารถท่ีเกิดจาการฝกจนคลองเปนอัตโนมัต ิ แสดงออกทางความจํามากกวาความเขาใจ พฤติกรรมท่ีแสดงออกในการเขียน คือ การลอกแบบคํา หรือประโยค ท่ีกําหนดใหไดอยางถูกตอง และสามารถเขียนสะกดคํา และประโยคตาง ๆ ท่ีใหทองจําได อยางถูกตอง โดยไมจําเปนตองเขาใจคํา หรือขอความเหลานั้น 2. ขั้นความรู (Knowledge) เปนขั้นท่ีแสดงออกซ่ึงความรูในกฎเกณฑขอเท็จจริง และขอมูลท่ีเกี่ยวกับภาษา พฤติกรรมท่ีแสดงออกในขั้นนี ้ คือ การระลึกได ผูเรียนจะรูจัก และทราบความสัมพันธระหวางเสียง และสัญลักษณท่ีถูกตองของภาษาตางประเทศนั้น สามารถ สะกดคํา หรือขอความท่ีเคยเรียนมาไดแลว โดยเขียนตามคําบอกไดอยางถูกตอง สามารถเขียน ประโยคท่ีเหมาะกับรูปภาพอยางถูกตองตามไวยากรณท่ีเคยเรียนมา และสามารถเขียนตอบคําถามในเรื่องท่ีเคยเรียนได ในขั้นนีผู้เรียนตองมีความเขาใจในขอความท่ีเขียนไดด ี 3. ขั้นการถายโอน (Transfer) เปนขั้นท่ีผูเรียนสามารถนําความรูไปใช ในสถานการณใหมได พฤติกรรมท่ีแสดงออก คือ การนําไปใช ผูเรียนสามารถนําความรูเกี่ยวกับ กฎไวยากรณ และคําศัพทท่ีเรียนไปแลวมาเขียนประโยคใหม ๆ โดยมีตัวอยางให สามารถเขียน ประโยคตามท่ีมีการช้ีแนะ เชน เขียนประโยคบอกเลาเปนประโยคคําถาม ตั้งคําถามจากคําตอบ ท่ีกําหนดให หรือรวมประโยค 4. ขั้นการส่ือสาร (Communication) เปนขั้นท่ีผูเรียนสามารถใชภาษา เปนส่ือกลางในการติดตอส่ือสารได พฤติกรรมท่ีแสดงออกในระดับนี ้ คือ การแสดงออก ซ่ึงความคิดเห็น ผูเรียนสามารถส่ือสารความคิดเห็นออกมาเปนภาษาเขียน แสดงความคิด ความตองการของตนออกมาเปนภาษาตางประเทศได โดยครูไมตองกําหนด หรือแนะนําให

Page 12: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ในขั้นนี้เนนความสําคัญของความสามารถในการเขียนท่ีจะทําใหผูอานเกิดความเขาใจเนื้อความ หรือเนื้อเรื่องมากกวาการเขมงวดในเรื่องของความถูกตองทางไวยากรณ 5. ขั้นการวิเคราะหวิจารณ (Criticism) เปนขั้นท่ีผูเรียนสามารถ วิเคราะห สังเคราะห และประเมินภาษาท่ีใชได พฤติกรรมท่ีแสดงออก คือ การสังเคราะห คือ ผูเรียน สามารถเขียนแสดงความคิดเห็นของตนไดอยางคลองแคลว สามารถเขียนโดยใชลีลาการเขียนของ ตนไดสอดคลองกับเนื้อหา และจุดประสงคของการเขียนนั้น ๆ รูจักเลือกใชภาษาใหเหมาะสม ตามเนื้อหาของเรื่องตามจุดมุงหมาย และความตองการของผูอาน และความสามารถในการใชคํา และสํานวนของผูเรียน ในขั้นนี้จะใกลเคียง หรือเทียบเทากับความสามารถของเจาของภาษา จอหนสัน และมอรโรว (Johnson and Morrow) สรุปขั้นตอนการเขียนไวดังนี ้(สุภัทรา อักษรานุเคราะห, 2532, หนา 111-112) 1. ตั้งจุดมุงหมายของการเขียน ในขั้นนี้ผูสอนตองตั้งวัตถุประสงควาตองการให ผูเขียนมีความสามารถ หรือบรรลุจุดประสงคใดเม่ือเขียนเสร็จแลว 2. ดําเนินการสอน ขั้นนี้ผูสอนจะใชส่ือ หรืออุปกรณตาง ๆ มาชวย ในการกําหนดขอบขายใหสําหรับขั้นสุดทาย อาจใหนักเรียนเขียนเองโดยอิสระ 3. ลงมือเขียนในส่ิงท่ีตั้งจุดมุงหมายไวในขั้นแรก อาจใชวิธีเขียนแบบกําหนด ขอบขายใหสําหรับขั้นสุดทาย อาจใหนักเรียนเขียนเองโดยอิสระ 4. การถายโอน เปนการนําความรูท่ีไดเรียนไปแลวไปเขียนเรื่องใหมท่ีคลายกับ เรื่องเดิม หรือเขียนเรื่องใหมได 5. การประเมินทักษะการเขียน กรมวิชาการ (2545, หนา 10 – 21) ไดกําหนดรูปแบบการประเมินท่ีหลากหลาย มากขึ้นเปนทางเลือกท่ีเหมาะสมจะนํามาใชประเมินการเรียนรูท่ีเปนสภาพจริง ซ่ึงมีแนวทาง การใหคะแนน (Scoring Guide) สามารถท่ีจะแยกระดับตาง ๆ ของความสําเร็จในการเรียน หรือการปฏิบัติของนักเรียนไดอยางชัดเจนดีมากไปจนถึงตองปรับปรุงแกไข ในการประเมินภาษาตางประเทศมักกําหนดเกณฑได 2 ประเภท ไดแก 1. เกณฑการประเมินในภาพรวม (Holistic Scoring) คือ แนวการใหคะแนน โดยพิจารณาจากภาพรวมของช้ินงาน โดยจะมีคําอธิบายลักษณะของงานในแตละระดับไวอยาง ชัดเจน เกณฑการประเมินในภาพรวมนี้เหมาะสมท่ีจะใหในการประเมินทักษะการเขียนท่ีจะตรวจสอบความตอเนื่อง ความคิดสรางสรรค และความสละสลวยของภาษาท่ีเขียนได

เกณฑการประเมินทักษะการเขียนในภาพรวม

ระดับคะแนน ลักษณะของงาน

Page 13: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

3 (ด)ี – เขียนไดตรงประเด็นตามท่ีกําหนดไว – มีการจัดระบบการเขียน เชน มีคํานํา เนื้อหา และบทสรุปอยางชัดเจน – ภาษาท่ีใช เชน ตัวสะกด และไวยากรณมีความถูกตองสมบูรณ ทําให ผูอานเขาใจงาย – มีแนวคิดท่ีนาสนใจ ใชภาษาสละสลวย

2 (ผาน/พอใช) – เขียนไดตรงประเด็นตามท่ีกําหนดไว – มีการจัดระบบการเขียน เชน มีคํานํา เนื้อหา และบทสรุป – ภาษาท่ีใชทําใหผูอานเกิดความสับสน – ใชคําศัพทท่ีเหมาะสม

1 (ตองปรับปรุง) – เขียนไมตรงประเด็น – ไมมีการจัดระบบการเขียน – ภาษาท่ีใชทําใหผูอานเกิดความสับสน – ใชคําศัพทท่ีเหมาะสม

0 ไมมีผลงาน 2. เกณฑการประเมินแบบแยกสวน (Analytical Scoring) คือ แนวทาง การใหคะแนน โดยพิจารณาจากแตละสวนของงาน ซ่ึงแตละสวนจะตองกําหนดแนวทาง การใหคะแนน โดยมีคํานิยาม หรือคําอธิบายลักษณะของงานในสวนนัน้ ๆ ในแตละระดับไว อยางชัดเจน เชน การประเมินงานเขียน มีประเด็นการประเมิน คือ เนื้อหา และการใชภาษา แบงรายละเอียดไวเปน 4 ระดับ ยกตัวอยางเชน เนื้อหา ระดับ 1 สอดคลองกับเนื้อเรื่อง 2 ลําดับเนื้อเรื่องชัดเจน 3 เรื่องนาสนใจ 4 มีจินตนาการ การใชภาษา ระดับ 1 ผิดพลาดมากส่ือความหมายได 2 ถูกตองสวนมาก และส่ือความหมายได 3 ผิดพลาดนอย เช่ือมโยงภาษาไดด ี 4 ถูกตองเกือบท้ังหมด สละสลวย งดงาม อัจฉรา วงศโสธร (2544 : 251) ไดสรุปมาตรการประเมินผลความสามารถของ ผูใชภาษามีท้ังหมด 7 ระดับ ความสามารถท่ีประเมินนั้นเปนความสามารถในดานการส่ือสารเทากับความสามารถดานกฎเกณฑทางภาษา ระดับท่ี 1 สามารถคัดลอกภาษาอังกฤษตามตัวอยางได

Page 14: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ระดับท่ี 2 สามารถเขียนตามคําบอกท่ีชา ๆ ได แตยังมีท่ีผิดตองแกไข และสามารถท่ีจะเปล่ียนคําบางคําในประโยคท่ีให เชน เปล่ียนจาก She wrote with a pen. เปน She wrote with a pencil. หรือ She is writing with a pen. ระดับท่ี 3 สามารถเขียนประโยคเดี่ยว ๆ หรือขอความท่ีทองจํามาได แตยังมี ผิดพลาดเรื่องไวยากรณ ตัวสะกด และเครื่องหมายวรรคตอนอยู มีความสามารถเขียนขอความ ตอเนื่องกันนอยมาก พอท่ีจะเขียนเปล่ียนแปลงเนื้อความใหไดบางในดานเนื้อหาเทานั้น ยังเปล่ียนแปลงดานลีลา ภาษาของการเขียนไมได และจําเปนตองใชพจนานุกรมชวยอยูมาก ระดับท่ี 4 สามารถเขียนเนื้อความตอเนื่องภายใตหัวขอท่ีคุนเคยได และรายงาน เหตุการณใหขาวสารท่ีเปนจริงได แตยังมีการใชรูปประโยคท่ีผิดอยู ความสามารถในการเขียนพลิกแพลงวิธีการตาง ๆ ยังมีนอยมาก และยังคงตองใชพจนานุกรมชวยอยูมาก ระดับท่ี 5 มีความสามารถเขียนเนื้อความตาง ๆ เชน บรรยาย พรรณนา จากเรื่องหนึ่งไปอีกเรื่องหนึ่งได แตยังมีอิทธิพลของการเขียนแบบภาษาไทยหลงเหลืออยู สามารถเขียนวิธีตาง ๆ ตามตองการได มีการใชพจนานุกรมบาง และมีการเขียนท่ีชากวาเจาของภาษาเขียนได ระดับท่ี 6 สามารถเขียนเนื้อความทุกแบบ และเขียนทุกวิธีไดโดยไมผิด ไวยากรณ ตัวสะกด และเครื่องหมายวรรคตอนเลย มีการใชรูปประโยค และคําศัพทแบบตาง ๆเพ่ือการเขียนวิธีตาง ๆ และไมจําเปนตองใชพจนานุกรม ตางจากเจาของภาษาในการใชศัพทบางคํา ลีลา ภาษา และยังเขียนชากวาเจาของภาษาเล็กนอย ระดับท่ี 7 มีความสามารถในการเขียนระดับเดียวกับเจาของภาษา คือ จะถูก จํากัดเฉพาะความรูท่ีมี และเชาวปญญาเทานั้น ระดับนี้เปนระดับความสามารถของผูท่ีเคยทํางานในสภาวะท่ีตองใชภาษาอังกฤษเปนประจํา อัจฉรา วงศโสธ (2538, หนา 112-126) กลาวถึงการทดสอบทักษะการเขียนวา สามารถแยกได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษท่ัวไป และทักษะเขียน ภาษาอังกฤษเฉพาะสาขา 1. ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษท่ัวไป เปนการเขียนแบบควบคุมท่ีสัมพันธ กับความรูไวยากรณ ซ่ึงทดสอบการเขียนคําท่ีถูกตองไวยากรณ และไดความหมายตามเนื้อความ และการกรอกแบบฟอรม การเขียนแบบแนะนําท่ีมีการเปล่ียนแปลงรูปประโยค การเขียนขยาย รูปประโยคตามความคิดความสามารถของผูเรียน และการเขียนแบบเสรีตามหัวขอเรื่องท่ีกําหนด 1.1 แบบทดสอบ Preliminary English Test เปนการทดสอบภาษาอังกฤษ เบ้ืองตน การสอบเขียนของ PET มีอยู 3 ภาค คือ ภาคท่ี 1 เปนการทดสอบท่ีเนนการใชโครงสรางไวยากรณ โดยการเปล่ียนแปลงประโยคท่ีให โดยไมไดกําหนดรูปการเปล่ียนท่ีตายตัว

Page 15: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ภาคท่ี 2 เปนการเขียนกรอบแบบฟอรม การทําบันทึกจากการอาน จากความจํา หรือบันทึกประจําวัน และการจดบันทึกขอความท่ีมีผูฝากไว จํานวนคําท่ีเขียนประมาณ 75 คํา มีการกําหนดกรอบการเติมคําใหไวตายตัว ภาคท่ี 3 การเขียนเลา ซ่ึงอาจเปนการเขียนจดหมายถึงเพ่ือนหรือญาต ิ เลาเกี่ยวกับเหตุการณ หรือแผนการ ท่ีเปนเรื่องท่ัว ๆ ไป ความยาวประมาณ 100 คํา

เกณฑการตรวจใหคะแนนการเขียนแบบทดสอบ PET

18 – 20 ดีเยี่ยม ใชภาษาอังกฤษไดอยางเปนธรรมชาต ิ มีท่ีผิดเพียงเล็กนอย และเขาใจกิจกรรมท่ีใหเขียนอยางถองแท

16 – 17 ดีมาก สามารถใชประโยครปูแบบตาง ๆ ได ไมใชเปนเพียงประโยคธรรมดา ๆ ใชศัพท และโครงสรางไดด ี ไมมีท่ีผิดแบบพ้ืนฐาน

12 – 15 ดี

เขาใจกิจกรรมการเขียนท่ีกําหนดใหอยางธรรมดาแตถูกตอง มีการเขียนภาษาอังกฤษอยางเปนธรรมชาติพอเพียง และไมมีท่ีผิดหลายแหง

8 – 11 ผาน ใชภาษาไดถูกตองพอสมควรแตไมสละสลวย ไมส่ือความหมาย หรือเขียนตามท่ีกําหนดไดดีพอใช และเปนธรรมชาติแตมีท่ีผิดสําคัญ ๆ อยูบาง

5 – 7 ออน การใชคําศัพท และไวยากรณในการแสดงความคิดของตนเอง ไมเหมาะสมถูกตองตามกิจกรรม

0 – 4 ออนมาก เขียนอยางไมปะติดปะตอกัน มีท่ีผิดมากบงถึงการขาดพ้ืนฐานท่ีจําเปนและสําคัญทางภาษาอังกฤษ

1.2 แบบทดสอบ First Certificate in English (FCE) เปนการเขียนแบบเสรีตามหัวขอท่ีกําหนด ซ่ึงพิจารณาจากระดับความยากงายท่ีเหมาะสมตอระดับ เวลาท่ีกําหนดให 1 ช่ัวโมงครึ่ง กิจกรรมการเขียนมี 5 ประเภท ใหเลือกเขียน 2 เรื่อง จาก 5 เรื่อง ความยาว เรื่องละ 120 – 180 คํา การใหคะแนนการเขียนของ FCE คณะกรรมการตรวจโดยใชคะแนนดิบ คะแนนรอยละ พรอมท้ังคําอธิบายระดับคะแนน ถาขอเขียนใดส้ันกวาท่ีกําหนดให คือ 120 – 180 คํา จะทอนคะแนนลงตามสัดสวนจากคะแนนเต็ม 20 ผูตรวจจะขีดเสนท่ีจุดความยาวตามกําหนด และตรวจใหคะแนนเฉพาะสวนท่ีอยูในขอบเขตความยาวตามกําหนด การใหคะแนนพิจารณาดังนี ้ 1. ขอเขียนท้ัง 5 เรื่อง มีกิจกรรมท่ีใชเทคนิควีตางกัน จึงมีการเขียนตอบ ท่ีตางกัน

Page 16: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

2. คุณภาพของขอเขียนประเมินจากการเขียนตามขอกําหนดวาสมบูรณ หรือไม และความสามารถดําเนินเรื่อง หรือเรียบเรียงความของแตละอนุเฉทใหสอดคลองตอเนื่องกัน และกับเรียงความท้ังเรื่อง 3. วงคําศัพทท่ีใชวาเหมาะสมไดใจความ ใชโครงสรางประโยคตาง ๆ อยางเหมาะสม ความถูกตองดานไวยากรณ การสะกดคํา และการใชเครื่องหมายวรรคตอน 4. ความสมดุลระหวางความถูกตอง และขอบเขตของการเขียนโดยเสร ีความสามารถในการเขียนอยางเปนธรรมชาต ิ ใชภาษาไดด ี เหมาะสมไมติดขัด การเลือกใชคําศัพทท่ีเหมาะสม และการไมใชภาษาผิด ๆ มาก โดยเฉพาะอยางยิ่งการผิดท่ีสําคัญ ๆ 1.3 แบบทดสอบ Certificate of Proficiency in English (CPE) การทดสอบแบบนี้มีการกําหนดกิจกรรมการเขียนให 5 แบบ ผูเขาสอบเลือกทํา 2 กิจกรรม ซ่ึงมี การกําหนดใหเขียนความยาวแตกตางกัน และเขียนภายในเวลา 2 ช่ัวโมง ในเรื่องท่ีเปน การบรรยาย การพรรณนา และการเลา ความยาว 300 คํา นอกจากนี้ทดสอบการเขียน ตามหัวเรื่องเฉพาะท่ีกําหนดใหดวยความยาว 250 – 300 คํา การตรวจทําโดยวิธีคลายคลึงกับ PET ท่ีกรรมการจะไดตัวอยางการตอบ และคะแนนเกณฑท่ีใชสําหรับตรวจ CPE มีการกําหนด หนวยคะแนนเหมือนกับ PET แตความหมายของระดับคะแนนตางกัน

เกณฑการตรวจใหคะแนนการเขียนแบบทดสอบ CPE

18 – 20 ดีเยี่ยม ไมมีท่ีผิด ความยาวเพียงพอ การใชภาษาด ี มีการเลือกใชคํา การเรียบเรียงใจความ และการเสนอความคิดเหมาะสมถูกตอง

16 – 17 ดีมาก ความยาว และโครงสรางด ี เขียนไดถูกตามท่ีกําหนด และดวย ความพยายาม ลีลาภาษาท่ีใชเหมาะสมเปนธรรมชาต ิ

12 – 15 ดี ปราศจากท่ีผิดพ้ืนฐาน เขียนไดตามแกนเรื่อง และใชศัพทเหมาะสม 8 – 11 ผาน ใชภาษาอังกฤษเพ่ือสงสารไดอยางชัดเจน เสนอความคิดอยางตอเนื่อง

เปนลําดับขั้นตอน ใชศัพท และโครงสรางไดอยางถูกตอง และเปนธรรมชาติพอควร

5 – 7 ออน โดยท่ัวไปเกือบถึงระดับผานแตมีท่ีผิดหลายแหง แนวการเขียน ยังไมพัฒนา หรือการเขียนไมเกี่ยวของกับกิจกรรมท่ีกําหนดไว

0 – 4 ออนมาก มีท่ีผิดมากมาย และความจํากัดของวงศัพททําใหส่ือสารไมได นอกจากนี้ยังมีการทดสอบวัดความสามารถทางการเขียนอีกหลายแบบ

Page 17: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

แตเปนการทดสอบในระดับสูง เชน แบบทดสอบ TOEFL เปนแบบทดสอบท่ีเนนความถูกตองดานไวยากรณในระดับประโยค แบบทดสอบ Michigan English Language Assessment Battery (MELAB) เปนการทดสอบเหมือนแบบทดสอบ TOEFL สําหรับคัดเลือกนักศึกษาตางชาต ิเขาเรียนในสถาบันอุดมศึกษาอเมริกัน แบบทดสอบ Test of Written English (TWE) เปนการสอบเขียนแบบมีกรอบกําหนดพัฒนาขึ้นเสริมแบบทดสอบ TOEFL เปนตน 2. ทักษะเขียนเฉพาะสาขา เปนการทดสอบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษสําหรับ สาขาวิชา ไมใชการทดสอบความรูท่ัวไป หรือทดสอบพ้ืนฐานทางวิชาการในสาขาวิชาของ ผูเขาสอบแตเปนการทดสอบความสามารถในการใชทักษะเขียนภาษาอังกฤษเกี่ยวกับสาขาวิชาท่ีตนศึกษา อาจสามารถจําแนกประเภทได 3 ประเภท คือ การเขยีนแบบเสรีตามหัวขอ การเขียนตามกรอบกําหนด และการเขียนโดยใชประสบการณท่ีเปนกิจกรรมท่ีสัมพันธกัน แบบทดสอบทักษะการเขียนก็เชน แบบทดสอบ Test in English for Educational Purposes (TEEP) เปนแบบทดสอบท่ีใหผูเขาสอบตอบคําถามเกี่ยวกับส่ิงท่ีใหอาน และฟง ซ่ึงเปนการทดสอบแบบทักษะสัมพันธการอาน ฟง และเขียน English Language Institute of Victoria University (ELI) เปนการทดสอบเขียน ตามกรอบกําหนด และเปนแบบใหผูเรียนไดใชประสบการณดานภาษา เอกสารที่เกี่ยวของกับชุดกิจกรรม ความหมายของชุดกิจกรรม วัฒนาพร ระงับทุกข (2542, หนา 27) ไดใหความหมายของชุดกิจกรรม หมายถึง กิจกรรมการเรียนรูท่ีไดออกแบบและจัดอยางมีระบบ ประกอบดวย จุดมุงหมาย เนื้อหา และวัสดุอุปกรณโดยกิจกรรมตาง ๆ ดังกลาว ไดรับการรวบรวมไวเปนระเบียบในกลอง เพ่ือเตรียมไวใหผูเรียนไดศึกษาจากประสบการณท้ังหมด สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545, หนา 51) ไดใหความหมายของชุดกิจกรรมวา เปนส่ือการสอนชนิดหนึ่งท่ีเปนลักษณะของส่ือประสม และเปนการใชส่ือตั้งแตสองชนิดขึ้นไปรวมกันเพ่ือใหนักเรียนไดรับความตองการ โดยอาจจัดขึ้นสําหรับหนวยการเรียนตามหัวขอเรื่องและประสบการณของแตละหนวยท่ีตองการใหนักเรียนไดเรียนรูอาจจัดไวเปนชุดในกลอง ซอง กระเปา ชุดกิจกรรมอาจประกอบดวยเนื้อหาสาระ คําส่ัง ใบงานในการทํากิจกรรม วัสดุ อุปกรณ เอกสาร ความรู เครื่องมือ หรือส่ือจําเปนสําหรบักิจกรรมตาง ๆ รวมท้ังแบบวัด และประเมินผลการเรียนรู ชลสีต จันทาสี (2543, หนา 10) กลาววาชุดการเรียนหรือชุดกิจกรรม คือ การรวบรวมส่ือสําเร็จรูปซ่ึงสวนมากประกอบดวย คําช้ีแจง ช่ือเรื่อง จุดมุงหมาย กิจกรรม และการประเมินผลนักเรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเองตามความสามารถและความสนใจท่ีเปนขั้นตอนตามท่ีกําหนดไวในชุดการเรียนนั้น ๆ เพ่ือพัฒนาการเรียนรูของตนใหบรรลุเปาหมายท่ีตั้งไว

Page 18: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

สุดารัตน ไผพงศาวงศ (2543 : 52) กลาววา ชุดกิจกรรม คือ ชุดการเรียนหรือชุด การสอนนั่นเอง ซ่ึงหมายถึง ส่ือการสอนท่ีครูเปนผูสรางประกอบดวยวัสดุอุปกรณหลายชนิด และ องคประกอบอ่ืนเพ่ือใหผูเรียนศึกษา และปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง เกิดการเรียนรูโดยครูเปนผูให คําแนะนําชวยเหลือ และมีการนําหลักการทางจิตวิทยามาใชประกอบในการเรียน เพ่ือสงเสริมให ผูเรียนไดรับความสําเร็จ เยาวลักษณ ช่ืนอารมณ (2549, 14) กลาววา ชุดกิจกรรม คือ การจัดประสบการณเรียนรูใหผูเรียนเกิดการเรียนรู แกปญหาดวยตนเอง มีอิสระในการเรียนรู โดยใชแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย โดยครูตองเปนผูวางแผน กําหนดเปาหมาย วัตถุประสงคการเรียนรู ส่ิงท่ีตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ครูมีหนาท่ีเปนผูใหคําปรึกษาเทานั้น พรศรี บุญรอด (2545, หนา 10) ไดใหความหมายของชุดกิจกรรมวา ชุดกิจกรรม คือ ชุดการเรียนหรือชุดการสอนท่ีหมายถึงเปนส่ือการสอน ซ่ึงครูสรางขึ้น ประกอบไปดวย ส่ืออุปกรณและกิจกรรมการเรียนการสอนอยางหลากหลาย เพ่ือใหผูเรียนไดศึกษาดวยตนเอง โดยท่ีครูเปนท่ีปรึกษาคอยใหคําแนะนําและชวยเหลือ ธัญสินี ฐานา (2546, หนา 9) กลาววา ชุดกิจกรรม หมายถึง ชุดการเรียนการสอน ท่ีใชเปนส่ือการสอนท่ีมีการนํานวัตกรรมและกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาง ๆมาบูรณาการโดยครูเปนผูสรางขึ้นมีลักษณะเปนชุด ในแตละชุดประกอบดวยส่ืออุปกรณ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย และเปนแบบฝกทักษะท่ีนําหลักการทางจิตวิทยามาใชประกอบ ท้ังนี้เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด จากการศึกษาความหมายของชุดกิจกรรมขางตน สรุปไดวา ชุดกิจกรรม หมายถึง ชุดการเรียนการสอนท่ีครูเปนผูสรางขึ้น โดยการนํานวัตกรรมและกระบวนการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน มาบูรณาการเขาดวยกัน ซ่ึงในแตละชุดประกอบดวยส่ืออุปกรณ แบบฝกหัด และกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ประเภทของชุดกิจกรรรม บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542, หนา 94-95) ไดแบงชุดกิจกรรมท่ีใชอยูเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ชุดกิจกรรมประกอบคําบรรยาย เปนชุดการสอนสําหรับผูสอนจะใชสอนผูเรียนเปนกลุมใหญ หรือเปนการสอนท่ีตองการปูพ้ืนฐานใหนักเรียนสวนใหญรูและเขาใจในเวลาเดียวกันมุงในการขยายเนื้อหาสาระใหชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ชุดการสอนแบบกลุมกิจกรรม เปนชุดการสอนสําหรับใหนักเรียน เรียนรวมกนัเปนกลุมเล็ก ๆ ประมาณ 5-7 คน โดยใชส่ือการสอนท่ีบรรจุไวในชุดกิจกรรมแตละชุด มุงท่ีจะฝกทักษะในเนื้อหาวิชาท่ีเรียน และใหนักเรียนมีโอกาสทํางานรวมกัน

Page 19: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

3. ชุดการสอนแบบรายบุคคล หรือชุดการสอนตามเอกัตภาพเปนชุดการสอนสําหรับเรียนดวยตนเองเปนรายบุคคล คือ ผูเรียนจะตองศึกษาหาความรู ตามความสามารถและความสนใจของตนเอง ผูเรียนไดทําความเขาใจในเนื้อหาวิชาท่ีเรียนเพ่ิมเติม ผูเรียนสามารถจะประเมินผลการเรียนดวยตนเองไดดวย สุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา (2545, หนา 52-53) ไดแบงประเภทของชุดการสอนไว 3 ประเภท คือ 1. ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครู เปนชุดการสอนสําหรับครูใชสอนนักเรียนเปนกลุมใหญ หรือเปนการสอนท่ีตองการปูพ้ืนฐานใหนักเรียนสวนใหญรูและเขาใจในเวลาเดียวกัน มุงในการขยายเนื้อหาสาระใหชัดเจนยิ่งขึ้น ชุดการสอนแบบนี้ จะชวยใหครลูด การพูดใหนอยลง และใชส่ือการสอนท่ีมีพรอมในชุดการสอน 2. ชุดการสอนแบบกลุมกิจกรรม เปนชุดการสอนสําหรับใหนักเรียนรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ ประมาณ 5-7 คน โดยใชส่ือการสอนท่ีบรรจุไวในชุดการสอนแตละชุด มุงท่ีจะฝก ทักษะในเนื้อหาวิชาท่ีเรียน และใหนักเรียนมีโอกาสทํางานรวมกัน 3. ชุดการสอนแบบรายบุคคล หรือชุดการสอนตามเอกัตภาพ เปนชุดการสอนสําหรับเรียนดวยตนเองเปนรายบุคคล คือ นักเรียนจะตองศึกษาหาความรูตามความสามารถและความสนใจของตนเอง อาจจะเรียนท่ีโรงเรียนหรือท่ีบานก็ได สวนมากมักจะมุงใหนักเรียนไดทําความเขาใจในเนื้อหาวิชาท่ีเรียนเพ่ิมเติม นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนไดดวยตนเอง จากการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับชุดกิจกรรม สรุปไดวาชุดกิจกรรมแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ชุดกิจกรรมสําหรับครู มีลักษณะเปนส่ือประกอบการสอน ใชสอนนักเรียนเปนกลุมใหญ เพ่ือลดบทบาทการบรรยายของครู ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูตามลําดับขั้นของชุดกิจกรรม และชุดกิจกรรมสําหรับผูเรียน ซ่ึงแบงออกเปนชุดกิจกรรมรายบุคคลและชุดกิจกรรมสําหรับกลุม ชุดกิจกรรมรายบุคคลมีเปาหมายสงเสริมใหผูเรียนลงมือปฏิบัติไดดวยตนเองตามลําดับขั้นท่ีระบุไว สามารถประเมินผลไดดวยตนเอง และนําไปศึกษาตอท่ีบานได สวน ชุดกิจกรรมสําหรับกลุม มีลักษณะการจัดเปนศูนยการเรียนรู ผูเรียนสามารถเรียนรูตามฐานเปนกลุมในคราวเดียวโดยไมซํ้าเรื่องกัน สามารถรวมกันเรียนโดยอาศัยความรวมมือของกลุม ครูมีบทบาทแนะนําการชุดกิจกรรมประกอบในตอนตน เม่ือผูเรียนเขาใจแลวสามารถเรียน ดวยตนเองได องคประกอบของชุดกิจกรรม บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542, หนา 95-96) ไดกลาววาชุดการสอนหรือชุดกิจกรรม มีองคประกอบท่ีสําคัญ ๆ แบงออกเปน 4 สวน คือ

Page 20: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

1. คูมือครู เปนคูมือและแผนการสอนสําหรับผูสอนหรือผูเรียน ตามแตละชนิดของชุดการสอนภายในคูมือจะช้ีแจงถึงวิธีการใชชุดเอาไวอยางละเอียด อาจทําเปนเลมหรือแผนพับก็ได 2. บัตรคําส่ังหรือคําแนะนํา จะเปนสวนท่ีบอกใหผูเรียนดําเนินการเรียน หรือประกอบกิจกรรมตามขั้นตอนท่ีกําหนดไว บัตรคําส่ังจะมีอยูในชุดการสอนแบบกลุมและรายบุคคล ซ่ึงประกอบดวยคําอธิบายในเรื่องท่ีศึกษา คําส่ังใหผูเรียนดําเนินกิจกรรม และการสรุปบทเรียน 3. ใบความรูและส่ือจะบรรจุไวในรูปของส่ือการสอนตาง ๆ อาจประกอบดวยบทเรียน โปรแกรมสไลด เทปบันทึกเสียง ฟลมสตริป แผนภาพโปรงใส หุนจําลอง รูปภาพ เปนตน 4. แบบประเมินผูเรียนจะทําการประเมินผลการเรียนรูดวยตนเองกอนและ หลังเรียนแบบประเมินท่ีอยูในชุดการสอน อาจจะเปนแบบฝกหัดจับคู หรือใหทํากิจกรรม เปนตน กิดานันท มลิทอง (2543, หนา 26) กลาววาชุดกิจกรรมจะประกอบไปดวย คูมือสําหรับผูสอนและผูเรียนในการใชชุดกิจกรรม คําส่ัง เพ่ือกําหนดแนวทางในการสอนหรือ การเรียน เนื้อหาสาระบทเรียน จะจัดอยูในรูปของสไลด ฟลม เทปบันทึกเสียง วีดีโอเทป หนังสือ บทเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน เปนการใหผูเรียนทํารายงาน กิจกรรมท่ีกําหนดใหหรือคนควาตอจากท่ีเรียนไปแลว เพ่ือความรูท่ีกวางขึ้น และการประเมินผล เปนแบบทดสอบ เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียนนั้น สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545, หนา 52) กลาววา ชุดการเรียนหรือ ชุดกิจกรรมประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี ้ 1. คูมือการใชชุดการสอน เปนคูมือและแผนการสอนสําหรับครูหรือนักเรียนตามแตชนิดของชุดการสอนภายในคูมือ จะช้ีแจงถึงวิธีการใชชุดการสอนอาจจะทําเปนเลมหรือแผนพับก็ได 2. บัตรคําส่ังหรือคําแนะนํา จะเปนสวนท่ีบอกใหนักเรียนดําเนนิการเรียน หรือประกอบกิจกรรมแตละอยางตามขั้นตอนท่ีกําหนดไว มักอยูในรูปของกระดาษแข็ง ซ่ึงจะประกอบดวย 2.1 คําอธิบายในเรื่องท่ีจะศึกษา 2.2 คําส่ังใหนักเรียนดําเนินกิจกรรม 2.3 การสรุปบทเรียน 3. เนื้อหาสาระและส่ือ จะบรรจุไวในรูปของส่ือการสอนตาง ๆ อาจจะประกอบดวยบทเรียน โปรแกรม สไลด เทปบันทึกเสียง วีดีโอ แผนภาพโปรงใส วัสดุกราฟก หุนจําลอง ของตัวอยาง รูปภาพ เปนตน นักเรียนจะศึกษาจากส่ือการสอนตาง ๆ ท่ีบรรจุอยูใน

Page 21: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ชุดการสอนตามบัตรคําท่ีกําหนดไวให 4. แบบประเมินผล นักเรียนจะทําการประเมินผลดวยตนเอง กอนและหลังเรียนแบบประเมินผลท่ีอยูในชุดการสอนอาจจะเปนแบบฝกหัดใหเติมคําในชองวาง เลือกคําตอบท่ีถูก จับคูดูผลการทดลอง หรือใหทํากิจกรรม สวนประกอบขางตนนี้ จะบรรจุในกลองหรือซอง จัดเอาไวเปนหมวดหมูเพ่ือสะดวกแกการใช นิยมแยกออกเปนสวนตาง ๆ ดังนี ้ 4.1 กลอง 4.2 ส่ือการสอนและบัตรบอกชนิดของส่ือการสอนเรียงตามการใช 4.3 บันทึกการสอน ประกอบดวยรายละเอียด ดังนี ้ 4.3.1 รายละเอียดเกี่ยวกับวิชาและหนวยการสอน 4.3.2 รายละเอียดเกี่ยวกับนักเรียน 4.3.3 เวลา จํานวนช่ัวโมง 4.3.4 วัตถุประสงคท่ัวไป 4.3.5 วัตถุประสงคเฉพาะ 4.3.6 เนื้อหาวิชาและประสบการณ 4.3.7 กิจกรรมและส่ือการสอนประกอบวิธีสอน 4.3.8 การประเมินผล วัดผล การทดสอบกอนและหลังเรียน จากการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับองคประกอบของชุดกิจกรรม จะเห็นวามีลักษณะองคประกอบท่ีคลายคลึงกัน คือ มีคูมือการใชชุดกิจกรรม คําช้ีแจง จุดมุงหมาย เนื้อหา กิจกรรมการเรียน ส่ือการสอนและประเมินผล หลักการสรางชุดกิจกรรม ในการสรางชุดการเรียนท่ีตองยึดทฤษฎีการเรียนรูทางจิตวิทยานั้นจากการศึกษาของปรียาพร วงศอนุตรไพโรจน (2539, หนา 55-56) ไดกลาวถึงการประยุกตนํากฎการเรียนรูของ ธอรนไดค มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี ้ 1. การนํากฎแหงความพรอม (Law of Readiness) มาใชกอนท่ีจะมีการเรียน การสอนเกิดขึ้นจะตองสํารวจดูเสียกอนวา นักเรียนมีความพรอมท่ีจะเรียนท้ังรางกาย และ จิตใจ หรือยังถายังไมพรอมควรจะมีความเตรียมความพรอมเปนการนําเขาสูบทเรียน จึงจะเริ่มการสอน โดยยึดหลักความพึงพอใจ ถาพบวา นักเรียนไมพึงพอใจ จงอยาพยายามฝนใจนักเรียนเปนอันขาด เพราะจะไมทําใหเกิดการเรียนรูได ท้ังยังทําใหเกิดทัศนคติท่ีไมดีตอวิชานั้นๆ ดวย 2. การนํากฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) มาใชเม่ือตองการใหนักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู โดยเฉพาะบทเรียนท่ีเกี่ยวของกับส่ิงท่ีตองการฝกหัด เชน กีฬา ดนตรีตาง ๆ จะตองเริ่มจากการสรางใหนักเรียนเกิดความเขาใจกับบทเรียนนั้นเสียกอน และหม่ันฝกฝนหรือ

Page 22: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

นําส่ิงท่ีเรียนรูนั้นมาใชบอย ๆ จะทําใหการเรียนรูนานและคงทนถาวร แมระยะเวลาจะผานไปนานเทาใดก็ตาม เชน การเรียนภาษา ถาออกเสียงในภาษานั้นไดถูกตองตามหลักการออกเสียงและไวยากรณก็จะทําใหการฝกทักษะนั้นไดผล 3. การนํากฎแหงผล (Law of Affect) มาใช กฎนี้เปนกฎท่ี ธอรนไดคไดรับช่ือเสียงมากในวงการศึกษา จึงมีผูนิยมใชกฎนี้อยางกวางขวาง ในลักษณะการเสริมแรงทางบวก คือนักเรียนจะพึงพอใจเม่ือผลการเรียนไดดี มีรางวัล ส่ิงของหรือคําชมเชย รวมท้ัง คํายกยองสรรเสริญ หากเปนนักเรียนท่ีมีวุฒิภาวะ ความสําเร็จในผลท่ีไดรับทําใหเกิดความภาคภูมิใจ นําไปสูการเรียนรู ความคาดหวังของแตละคน บางคนนั้นเรียนแลวก็อยากจะสอบใหไดคะแนนมาก แตบางคนเม่ือรูวาผานวิชานั้นก็พอใจแลว ฉะนั้นจึงควรท่ีจะศึกษาความตองการนั้นดวย 4. การท่ีนักเรียนจะเรียนรู ตามหลักการเรียนรูของธอรนไดค ซ่ึงเปนการเรียนรูดวยการลองผิดลองถูก จึงควรท่ีนักเรียนจะเรียนดวยตนเอง จนกวาท่ีนักเรียนจะพบวิธีการเรียนรู ท่ีดี และเหมาะสมท่ีสุด ซ่ึงวิธีการเรียนดวยตนเองจะใชไดดีในนักเรียนท่ีโตพอควร ขั้นตอนการสรางชุดกิจกรรม ภาษิต สุโพธ์ิ (2547, หนา 46-50) กลาวถึงลําดับขั้นตอนของการเขียนชุดกิจกรรม การเรียนรู ดังนี ้ ขั้นท่ี 1 กําหนดจุดประสงคท่ัวไปซ่ึงเปนจุดประสงคกวาง ๆ ของกิจกรรมท้ังหมด ในชุดกิจกรรมการเรียนรู ขั้นท่ี 2 ศึกษาสํารวจสถานท่ีหรือแหลงท่ีจะนํานักเรียนไปศึกษาภาคสนามโดย ใหศึกษาสถานท่ีตั้ง สภาพท่ัวไป สํารวจวาส่ิงใดท่ีนาสนใจ สมควรท่ีจะใหนักเรียนไดศึกษาบางพรอมท้ังกําหนดจุดศึกษาในแตละบริเวณวาจุดใดเหมาะสมท่ีจะเปนจุดศึกษาบาง ขั้นท่ี 3 กําหนดจุดประสงคเฉพาะโดยใหกําหนดเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใน 3 ดาน ดวยกันคือ ดานความรูความเขาใจ ดานทักษะ และดานเจตคติ จุดประสงคเฉพาะนี้จะกําหนดไดตอเม่ือไดทราบวาจุดศึกษาแตละจุดมีอะไรท่ีนาจะศึกษาไดบาง ขั้นท่ี 4 กําหนดกิจกรรมแตละบริเวณท่ีศึกษา กิจกรรมนี้ควรจะสอดคลองกับ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม จากนั้นใหจัดลําดับกิจกรรมวากิจกรรมใดควรจะศึกษากอนหลังอยางไร ขั้นท่ี 5 ลงมือรางชุดกิจกรรมการเรียนรู ขั้นท่ี 6 นําชุดกิจกรรมการเรียนรูฉบับรางนี้ไปทําการทดลองกับนักเรียนเพ่ือหาความเปนไปได และขอบกพรอง เพ่ือจะนํามาปรับปรุงแกไข ขั้นท่ี 7 แกไขปรับปรุง เปนฉบับท่ีสมบูรณใหสามารถนําไปใชได นงลักษณ แกวมาลา (2547, หนา 14) รุงโรจน กิติสัทธาธิก (2547, หนา 18) ศิรินทิพย คําพุทธ (2548, หนา 24) สุรชัย จามรเนียม (2548, หนา 25-26) และประไพ เหมรา (2549, หนา 30) ไดสรุปขั้นตอนในการสรางชุดกิจกรรมไวในแนวทางเดียวกัน ดังนี ้

Page 23: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

1. กําหนดหัวขอเรื่องท่ีตองการทําในรูปของชุดกิจกรรม 2. ศึกษาหลักสูตรเนื้อหาสาระของหนวยการเรียนรูและจุดประสงคการเรียนรูของเรื่องท่ีจะนํามาสรางชุดกจิกรรมอยางละเอียด 3. แบงหนวยการเรียนรูออกเปนหนวยยอย 4. กําหนดจุดประสงคการเรียนรูในแตละหนวยการเรียนรู 5. จัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 6. เลือกและผลิตส่ือการเรียนท่ีเหมาะสมกับแตละหนวยการเรียนรู พรอมท้ังจดั ส่ือการเรียนอยางเปนระบบ 7. กําหนดแบบประเมิน พรอมท้ังกําหนดเกณฑการประเมินอยางละเอียด 8. ทดลองใชชุดกิจกรรมกับผูเรียนท่ีเปนตัวอยางของกลุมเปาหมาย เพ่ือใหไดชุดกิจกรรมท่ีมีคุณภาพและเหมาะสมกับผูเรียน สรุปไดวาการสรางชุดกิจกรรม ควรมีการวางแผน กําหนดเนื้อหา ผลการเรียนรู ท่ีคาดหวัง กําหนดกิจกรรม กําหนดเวลา ส่ืออุปกรณ และมีการประเมินผล แลวทดลองใชเพ่ือปรับปรุงขอบกพรอง หลักการนําชุดกิจกรรมไปใชในการเรียนการสอน กานดา ทิววัฒนปกรณ (2543, หนา 98) ไดทําการวิจัยและเสนอแนะการนํา ชุดการเรียนไปใช ดังนี ้ 1. ในการเรียนเพ่ือใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ บรรยากาศในหองเรียนมี ความสําคัญมาก ดังนั้น การจัดการเรียนรูใหนักเรียนควรจัดบรรยากาศใหเปนอิสระแกนักเรียน ไมเครียดกับระเบียบวินัยมากเกินไป ควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นอยางเสร ี 2. การสรางชุดการเรียนการคิด ควรตั้งคําถามใหเหมาะสมกับวัย สติปญญา และเวลาท่ีใชในการเรียน เพราะชุดการเรียนการคิดบางแบบใชในการเรียนไมเทากัน นอกจากนี ้ควรมีการเสริมแรงหลังจากท่ีจบการเรียนแตละชุดเพ่ือเปนการกระตุนใหนักเรียนไดใชความคิดตนเองอยางเต็มความสามารถ 3. ถาจะพัฒนาใหนักเรียนเกิดความคิดสรางสรรคดานความคิดริเริ่ม ควรใช ชุดการเรียนการคิดดานโยงความสัมพันธ ซ่ึงจากการวิจัย พบวา นักเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนรูการคิดดานอุปมาอุปไมย และดานการเปล่ียนแปลงรูป โดยดัดแปลงตัวเราใหเหมาะสมกับระดับช้ันของนักเรียน ประโยชนของชุดกิจกรรม กรรณิการ ไผทฉันท (2541, หนา 21) เนื้อทอง นายี่ (2544, หนา 22) และสุมาลี โชติชุม (2544, หนา 29-30) ไดกลาวถึงประโยชนของชุดกิจกรรมไว ดังนี ้ 1. เปดโอกาสใหผูเรียนไดใชความสามารถตามความตองการของตน ชวยให

Page 24: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ทุกคนประสบความสําเร็จในการเรียนรูไดท้ังส้ิน ตามอัตราการเรียนรูของผูนั้น 2. ฝกการตัดสินใจ แสวงหาความรูดวยตนเอง และทําใหผูเรียนมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม 3. ชวยใหผูสอนสามารถถายทอดเนื้อหาและประสบการณท่ีซับซอนและ มีลักษณะเปนนามธรรมสูง ซ่ึงไมสามารถถายทอดดวยการบรรยายได 4. ทําใหการเรียนรูเปนอิสระจากอารมณและบุคลิกภาพของครูผูสอน 5. ชวยสรางความพรอมและความม่ันใจใหกับผูสอน 6. เราความสนใจของผูเรียน ไมทําใหเกิดความเบ่ือหนายในการเรียน 7. สงเสริมใหผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรค เพ่ือใหเกิดการพัฒนาในทุก ๆ ดาน พรศรี ดาวรุงสวรรค (2548, หนา 15) ไดกลาวถึง ประโยชนของชุดกิจกรรมสรุปได ดังนี ้ 1. ผูเรียนมีอิสระในการเรียนรูและสามารถแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ท่ีพบดวยตนเอง 2. ผูเรียนไดฝกทักษะกระบวนการคิดดานตาง ๆ 3. ผูเรียนไดใชส่ือการเรียนรูท่ีหลากหลาย ไดรับประสบการณตรงท่ีเปนรูปธรรม 4. เรียนรูไดตลอดเวลา และทุกสถานท่ี 5. ย้ําใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาท่ีเรียนมากยิ่งขึ้น เม่ือผูเรียนยังเกดิความไมเขาใจก็สามารถนํามาศึกษาเรียนรูไดอยูเสมอ แมกระท่ังอาจจะลืมเรื่องท่ีเรียนมาแลว 6. ลดบทบาทหนาท่ีในการสอนของครู โดยใหนักเรียนมีบทบาทสําคัญใน การเรียนรูแทน 7. เปนการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนครู โดยจะตองทันสมัยทันตอเหตุการณในปจจุบัน 8. เปนการประเมินผูเรียนตามสภาพจริง คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล 9. ลดความกดดันใหกับผูเรียนท่ีเรียนรูชาไมทันเพ่ือน 10. ชวยพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหเกิดประสิทธิภาพ เบญจวรรณ ใจหาญ (2550, หนา 18) ไดกลาวถึงประโยชนของชุดกิจกรรมจะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครู และสงเสริมพัฒนาใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรูดวยตนเอง โดยเปดโอกาสใหนักเรียนศึกษา และปฏิบัติกิจกรรมท่ีหลากหลายจากชุดกิจกรรม ทําใหนักเรียนไมเบ่ือหนายท่ีจะเรียน แตมีความกระตือรือรนท่ีจะคนควาหาคําตอบดวยตนเอง ซ่ึงเปนการเรียน โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญตามศักยภาพของแตละคน จากท่ีกลาวมาขางตนสรุปไดวา ประโยชนของชุดกิจกรรม คือ สงเสริมใหนักเรียนไดใชความสามารถตามความตองการของตนชวยฝกการตัดสินใจ แสวงหาความรูดวยตนเอง และ

Page 25: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ทําใหนักเรียนมีความรบัผิดชอบตอตนเองและสังคม ผูสอนสามารถถายทอดเนื้อหาและประสบการณท่ีซับซอนและมีลักษณะเปนนามธรรมสูง ซ่ึงไมสามารถถายทอดดวยการบรรยายได ลดบทบาทการบรรยาย เปนเพียงผูช้ีแนะใหนักเรียนไดรับประสบการณตรงจากการลงมือปฏิบัติจริง เราความสนใจของนักเรียน ไมทําใหเกิดความเบ่ือหนายในการเรียน และสงเสริมใหผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรคเพ่ือใหเกิดการพัฒนาในทุกๆ ดาน ท้ังดานรางกาย จิตใจ และปญญา การสอนโดยการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู ทําใหนักเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองตามหลักสูตรท่ีจัดให โดยนักเรียนไดรับประสบการณตรงจากส่ิงแวดลอมใกล ๆ ตัว ไดฝกทักษะ ฝกการแกปญหา ตลอดจนสรางเจตคติใหเกิดขึ้นกับตัวนักเรียน นอกจากนั้นยังเปนการเรียนท่ีสนุกสนาน ชวนคิด ชวนติดตาม ซ่ึงครูมีบทบาทในการจัดประสบการณ คอยแนะนําช้ีแนะแนวทางท่ีถูกตองปองกันอันตรายท่ีจะเกดิ อํานวยความสะดวกตาง ๆ แกนักเรียนท่ีจะเปนอุปสรรคตอการเรียนรูของนักเรียน และมีบทบาทในการกระตุนความสนใจการเรียนรูของนักเรียนดวย การใชคําถามท่ีนาสนใจ นาติดตามตลอดเวลา เอกสารที่เกี่ยวของกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ภาษิต สุโพธ์ิ (2547, หนา 137) ไดใหความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะและประสบการณเรียนรูท่ีเกิดจากการฝกอบรม หรือจากการสอน จึงเปน การตรวจสอบความสามารถหรือความสัมฤทธ์ิผลของบุคคลวาเรียนรูแลวเทาไร มีความสามารถชนิดใด พวงรัตน ทวีรัตน (2540, หนา 19) ไดใหความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไววาเปนแบบทดสอบท่ีมุงตรวจสอบความรู ทักษะและสมรรถภาพสมองดานตาง ๆ ของผูเรียนวา หลังการเรียนรูเรื่องนั้นๆ แลว ผูเรียนมีความรูความสามารถในวิชาท่ีเรียนมากนอยเพียงใด มีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปจากพฤติกรรมเดิมตามความมุงหมายของหลักสูตรในวิชานั้น ๆ เพียงใด จงกล แกวโก (2547, หนา 64) ไดสรุปวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงความรูหรือทักษะซ่ึงเกิดจากการทํางานท่ีประสานกัน และตองอาศัยความพยายามอยางมาก ท้ังองคประกอบทางดานสติปญญา และองคประกอบท่ีไมใชสติปญญาแสดงออกในรูปของความสําเร็จสามารถวัดโดยใชแบบสอบถามหรือคะแนนท่ีครูให วนิดา เดชตานนท (2540, หนา 7) กลาววา ผลสัมฤทธ์ิในการเรียน (Academic Achievement) หมายถึง ความรูความสามารถของบุคคลอันเปนผลมาจากการเรียนการสอนซ่ึง ทําใหบุคคลเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทางสมองในดานตาง ๆ ดังนั้น การวัดผลสัมฤทธ์ิใน การเรียน จึงเปนการตรวจสอบการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทางสมองของบุคคลวาเรียนรูอะไรบาง และมีความสามารถดานใดมากนอยเทาไร หลังจากไดรับการฝกฝนอบรมมาแลว

Page 26: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

นิลรัตน ทศชวย (2547, หนา 58) ใหความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลการเรียนรูดานเนื้อหาวิชา และทักษะตาง ๆ ของแตละวิชา ท่ีนักเรียนไดรับการเรียนรูผานมาแลว เปนความสามารถในการเขาถึงความรู (Knowledge Attained) การพัฒนาทักษะในการเรียนโดยอาศัยความพยายามจํานวนหนึ่งและแสดงออกในรูปความสําเร็จซ่ึงสามารถสังเกตและวัดไดโดยอาศัยเครื่องมือทางจิตวิทยา หรือแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ัวไป จากความหมายผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดังกลาวจะเห็นไดวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลสําเร็จหรือประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเปล่ียนแปลงทางสมองนักเรียน ภายหลังไดรับประสบการณเรียนรูดวยวิธีการตาง ๆ ผลท่ีเกิดขึ้นนี้จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับศักยภาพของแตละคนในการรับรู โดยใชเครื่องมือชนิดตาง ๆ มาทดสอบ เชน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ เปนตน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2545, หนา 95) ไดใหความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ คือ แบบทดสอบท่ีใชวัดความรู ทักษะ และความสามารถทางวิชาการท่ีผูเรียนไดเรียนรูมาแลววาบรรลุผลสําเร็จตามจุดประสงคท่ีกําหนดไวเพียงใด บุญชม ศรีสะอาด (2545, หนา 53) กลาววา แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Test) หมายถึง แบบทดสอบท่ีใชวัดความรูความสามารถของบุคคลในดานวิชาการซ่ึงเปนผลในการเรียนรูสาระและตามจุดประสงคของวิชา หรือเนื้อหาท่ีสอนนั้น โดยท่ัวไปจะวัดผลสัมฤทธ์ิ ในวิชาตาง ๆ ท่ีเรียนในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือสถาบันการศึกษาตาง ๆ อาจจําแนกออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบอิงเกณฑ (Criterion Referenced Test) หมายถึง แบบทดสอบท่ีสรางขึ้นตามจุดประสงคเชิงพฤติกรรมมีคะแนนจุดตัด หรือคะแนนเกณฑ สําหรับใชตัดสินวาผูสอนมีความรูตามเกณฑท่ีกําหนดไวหรือไมการวัดตรงตามจุดประสงคเปนหัวใจสําคัญของขอสอบในแบบทดสอบประเภทนี ้ 2. แบบทดสอบอิงกลุม (Norm Referenced Test) หมายถึง แบบทดสอบท่ี มุงสรางเพ่ือวัดครอบคลุมหลักสูตร จึงสรางตามตารางวิเคราะหหลักสูตร ความสามารถใน การจําแนกผูสอบตามความแกออนไดดี เปนหัวใจของแบบทดสอบประเภทนี้ การรายงานผล การสอบอาศัยคะแนนมาตรฐาน ซ่ึงเปนคะแนนท่ีสามารถใหความหมายแสดงสถานภาพความสามารถของบุคคลนั้นเม่ือเปรียบเทียบกับบุคคลอ่ืน ๆ ท่ีใชเปนกลุมเปรียบเทียบ ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ (2538, หนา 171-172) ไดใหความหมายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไววา เปนแบบทดสอบท่ีวัดความรูของนักเรียนท่ีไดเรียนไปแลวซ่ึงมักจะเปนขอคําถามใหนักเรียนตอบดวยกระดาษและดินสอกับใหนักเรียนปฏิบัติจริง

Page 27: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ซ่ึงแบงแบบทดสอบประเภทนี้ไดเปน 2 พวก คือ 1. แบบทดสอบของครู หมายถึง ชุดของขอคําถามท่ีครูเปนผูสรางขึ้น ซ่ึงเปน ขอคําถามท่ีถามเกี่ยวกับความรูท่ีนักเรียนไดเรียนในหองเรียนวานักเรียนมีความรูมากแคไหน บกพรองสวนใดจะไดสอนซอมเสริม หรือเปนการวัดดูความพรอมท่ีจะเรียนบทเรียนใหม ซ่ึงขึ้นอยูกับความตองการของคร ู 2. แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบท่ีสรางขึ้นจากผูเช่ียวชาญใน แตละสาขาวิชาหรือจากครูท่ีสอนวิชานั้น แตผานการทดลองหาคุณภาพหลายครั้งจนกระท่ัง มีคุณภาพดีพอ จึงสรางเกณฑปกติของแบบทดสอบนั้น สามารถใชเปนหลักเปรียบเทียบผล เพ่ือประเมินคาของการเรียนการสอนในเรื่องใดๆ ก็ได แบบทดสอบมาตรฐานจะมีคูมือ ดําเนินการสอบบอกถึงวิธีการสอบ และยังมีมาตรฐานในดานการแปลผลคะแนนดวย สมนึก ภัททิยธนี (2546, หนา 73-79) ไดใหความหมายของแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไววา แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนประเภทท่ีครูสรางมีหลายแบบแตท่ีนิยมมี 6 แบบ ดังนี ้ 1. ขอสอบแบบอัตนัยหรือความเรียง ลักษณะท่ัวไปเปนขอสอบท่ีมีเฉพาะคําถามและใหผูเรียนเขียนตอบอยางเสรี เขียนบรรยายความรูและความเห็นของแตละคน 2. ขอสอบแบบกาถูก-ผิด เปนขอสอบท่ีมี 2 ตัวเลือกแตตัวเลือกเปนแบบคงท่ี และมีความหมายตรงขามกัน 3. ขอสอบแบบเติมคํา ประกอบดวยประโยคหรือขอความท่ีไมสมบูรณ แลว ทําใหผูตอบเติมคํา ประโยค หรือขอความลงไป เพ่ือใหประโยชนนั้นสมบูรณและถูกตอง 4. ขอสอบแบบตอบส้ัน ๆ เปนการตอบคําตอบแบบส้ัน ๆ 5. ขอสอบแบบจับคู เปนขอสอบแบบเลือกตอบชนิดหนึ่ง โดยมีคําตอบหรือขอความแยกออกจากกันเปน 2 ชุด เปนการหาความสัมพันธ 6. ขอสอบแบบเลือกตอบ คําถามแบบเลือกตอบโดยท่ัวไปจะประกอบดวย 2 ตอน ตอนนําหรือตอบตอนคําถาม กับตอนเลือก ในตอนเลือก ประกอบดวยตัวเลือกท่ีเปนคําตอบท่ีถูกตอง และตัวเลือกท่ีเปนคําตอบลวง สรุปแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบท่ีวัดสมรรถภาพของสมองดานตาง ๆ ทําใหบุคคลเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมหลังจากไดรับการฝกฝนอบรมมาแลว เชนวัดความรูความสามารถของบุคคลในดานวิชาการ ซ่ึงเปนผลจากการเรียนรูเนื้อหาสาระตามจุดประสงคของวิชาท่ีสอบนั้น ดังนั้น การวัดผลสัมฤทธ์ิในการเรียน จึงเปน การตรวจสอบการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทางสมองของบุคคลวาเรียนรูอะไรบางและมีความสามารถดานใดมากนอยเทาไร และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบงได 2 ประเภทคือ แบบทดสอบท่ีครูสราง และแบบทดสอบมาตรฐาน

Page 28: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บุญชม ศรีสะอาด (2545, หนา 59-61) กลาวถึงการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอิงเกณฑ ดําเนินตามขั้นตอนตอไปนี ้ 1. วิเคราะหจุดประสงค เนื้อหาขั้นแรกจะตองทําการวิเคราะหวามีหัวขอเนื้อหาใดบางท่ีตองการให ผูเรียนเกิดการเรียนรู และท่ีจะตองวัด แตละหัวขอเหลานั้นตองการใหผูเรียนเกิดพฤติกรรมหรือสมรรถภาพอะไร กําหนดออกมาใหชัดเจน 2. กําหนดพฤติกรรมยอยท่ีจะออกขอสอบ จากขั้นแรกพิจารณาตอไปวาจะวัดพฤติกรรมยอยอยางไรบาง อยางละกี่ขอ พฤติกรรมยอยดังกลาวคือจุดประสงคเชิงพฤติกรรมนั่นเอง เม่ือกําหนดจํานวนขอท่ีตองการจริงเสร็จแลว ตอมาพิจารณาวา จะตองออกขอสอบเกินไวหัวขอละกี่ขอ ควรออกเกินไวไมต่ํากวา 25% ท้ังนี้หลังจากท่ีนําไปทดลองใช และวิเคราะหหาคุณภาพของขอสอบรายขอแลว จะตัดขอท่ีมีคุณภาพไมเขาเกณฑออก ขอสอบท่ีเหลือจะไดไมนอยกวาจํานวนท่ีตองการจริง 3. กําหนดรูปแบบของขอคําถามและศึกษาวิธีเขียนขอสอบขัน้ตอนนี้จะเหมือนกับขั้นตอนท่ี 2 ของการวางแผนสรางขอสอบแบบอิงกลุมทุกประการ คือตัดสินใจวาจะใชขอคําถามรูปแบบใด และศึกษาวิธีเขียนขอสอบ เชน ศึกษาหลักในการเขียนคําถามแบบนั้น ๆ ศึกษาวิธีเขียนขอสอบเพ่ือวัดจุดประสงคประเภทตาง ๆ ศึกษาเทคโนโลยีในการเขียนขอสอบเพ่ือท่ีจะไดนํามาใช ในการเขียนขอสอบของตน 4. เขียนขอสอบ ลงมือเขียนขอสอบตามจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ตามตารางท่ีกําหนดจํานวนขอสอบของแตละจุดประสงคเชิงพฤติกรรม และใชรูปแบบเทคนิคการเขียนตามท่ีไดศึกษาใน ขั้นท่ี 3 5. ตรวจทานขอสอบ นําขอสอบท่ีไดเขียนไวแลวในขั้นท่ี 4 มาพิจารณาทบทวนอีกครั้งหนึ่ง โดยพิจารณาความถูกตองตามหลักวิชา แตละขอวัดพฤติกรรมยอยหรือจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ท่ีตองการหรือไม ภาษาท่ีใชเขียนมีความชัดเจนเขาใจงายหรือไม ตัวถูกตัวลวงเหมาะสมเขาเกณฑหรือไม ทําการปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้น 6. ใหผูเช่ียวชาญพิจารณาความเท่ียงตรงตามเนื้อหานํา จุดประสงคเชิงพฤติกรรมและขอสอบท่ีวัดแตละจุดประสงคไปใหผูเช่ียวชาญดานการวัดผลและดานเนื้อหาจํานวนไมต่ํากวา 3 คน พิจารณาวาขอสอบแตละขอวัดตามจุดประสงคท่ีระบุไวนั้นหรือไม ถามีขอท่ีไมเขาเกณฑควรพิจารณาปรับปรุงใหเหมาะสมเวนแตจะไมสามารถปรับปรุงใหดีขึ้นไดอยางชัดเจน 7. พิมพแบบทดสอบฉบับทดลอง

Page 29: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

นําขอสอบท้ังหมดท่ีผานการพิจารณาวาเหมาะสมเขาเกณฑในขั้นท่ี 6 มาพิมพ เปนแบบทดสอบมีคําช้ีแจงเกี่ยวกับแบบทดสอบ วิธีตอบ จัดวางรูปแบบการพิมพใหเหมาะสม 8. ทดลองใช วิเคราะหคุณภาพ และปรับปรุง 9. พิมพแบบทดสอบฉบับจริง นําขอสอบท่ีมีคาอํานาจจําแนกเขาเกณฑ จากผลการวิเคราะหในขั้นท่ี 8 มาพิมพเปนแบบทดสอบฉบับจริงตอไป โดยเนนรูปแบบการพิมพท่ีประณีต มีความถูกตองมี คําช้ีแจงท่ีละเอียดแจมชัด ผูอานเขาใจงาย สมนึก ภัททิยธนี (2546, หนา 82-92) ไดกลาวถึงหลักในการสรางแบบทดสอบแบบ เลือกตอบ (Multiple Choice Test) ดังนี้ 1. เขียนตอนนําใหเปนประโยคคําถามท่ีสมบูรณ อาจจะใสเครื่องหมายปรัศนี (?) ดวยแตไมควรสรางตอนนําใหเปนแบบอานตอความ เพราะทําใหคําถามไมกระชับ เกิดปญหา สองแง หรือขอความไมตอกัน หรือเกิดความสับสนในการคิดหาคําตอบ 2. เนนเรื่องจะถามใหชัดเจน และตรงจุด ไมคลุมเครือ เพ่ือใหผูอานไมไขวเขว สามารถมุงความคิดในการตอบไปถูกทิศทาง (เปนปรนัย) ไมตองอานคําถาม คําตอบยอนขึ้น ยอนลงหลายครั้ง 3. ควรถามในเรื่องท่ีมีคุณคาตอการวัด หรือถามในส่ิงท่ีดีงาม มีประโยชน คําถามแบบเลือกตอบสามารถถามพฤติกรรมในสมองไดหลาย ๆ ดาน 4. หลีกเล่ียงคําถามปฏิเสธ ถาจําเปนตองใช ใหขีดเสนใตคําปฏิเสธนั้น แตคําปฏิเสธซอนไมควรใชอยางยิ่ง เพราะปกตินักเรียนจะยุงยากตอการแปลความหมายของคําถาม และคําตอบท่ีถามกลับ หรือปฏิเสธซอน ผิดมากกวาถูก 5. อยาใชคําฟุมเฟอย ควรถามปญหาตรง ส่ิงใดไมเกี่ยวของหรือไมไดใชประโยชนเง่ือนไขในการคิด ก็ไมตองนํามาเขียนไวในคําถาม จะชวยใหคําถามรัดกุมชัดเจนขึ้น 6. เขียนตัวเลือกใหเปนเอกพันธ หมายถึง เขียนตัวเลือกทุกตัวใหเปนลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง หรือมีทิศทางแบบเดียวกันหรือมีโครงสรางสอดคลองทํานองเดียวกัน 7. ควรเรียงลําดับตัวเลขในตัวเลือกตาง ๆ ไดแก คําตอบท่ีเปนตัวเลข นิยมเรียงจากนอยไปหามาก 8. ใชตัวเลือกปลายเปดและปลายปดใหเหมาะสม 9. ขอเดียวตองมีคําตอบคําเดียว 10. เขียนท้ังตัวถูกและตัวผิดใหถูกหรือผิดตามหลักวิชาการคือ จะกําหนดตัวถูกหรือผิด เพราะสอดคลองกับความเช่ือของสังคมหรือกับคําพังเพยท่ัว ๆ ไปไมได 11. เขียนตัวเลือกใหมีอิสระขาดจากกันคือ อยาใหตัวเลือกตัวใดตัวหนึ่งเปน สวนหนึ่งหรือสวนประกอบของตัวเลือกนั้น

Page 30: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

12. ควรมีตัวเลือก 4-5 ตัว ขอสอบแบบเลือกตอบนี้ ถาเขียนตัวเลือกเพียง 2 ตัว ก็จะกลายเปนขอสอบแบบกาถูก-ผิด หากเปนขอสอบระดับประถมศึกษาปท่ี 1-2 ควรใช 3 ตัวเลือก ระดับประถมศึกษาปท่ี 3-6 ควรใช 4 ตัวเลือก และระดับมัธยมศึกษาขึ้นไปควรใช 5 ตัวเลือก 13. อยาแนะคําตอบ สรุปไดวา การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนั้น ควรจะสรางตามลําดับขัน้ตอน ดังนี้ วิเคราะหจุดประสงค กําหนดพฤติกรรมยอยท่ีจะออกขอสอบ กําหนดรูปแบบของขอคําถามและศึกษาวิธีเขียนขอสอบ เขียนขอสอบ ตรวจทานขอสอบ ใหผูเช่ียวชาญพิจารณาความเท่ียงตรง พิมพแบบทดสอบฉบับทดลอง ทดลองใช วิเคราะหคุณภาพ และปรับปรุง พิมพแบบทดสอบฉบับจริง และตองคํานึงถึงหลักในการแบบทดสอบแบบเลือกตอบ คุณลักษณะของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิท่ีด ี วนิดา เดชตานนท (2540, หนา 26-28) กลาวถึงแบบทดสอบท่ีดีนั้นมิใชจะทําหนาท่ีประเมินผลอยางเดียว แตจะทําหนาท่ีสงเสริมการเรียนรูอีกดวย ดังนั้นการสรางจะตองยึดหลัก ลักษณะของแบบทดสอบท่ีดี 10 ประการ คือ 1. มีความเท่ียงตรง หมายถึง ความสามารถของแบบทดสอบท่ีสามารถวัดได ในส่ิงท่ีตองการจะวัด หรือคะแนนจากแบบทดสอบนั้น ใหความหมายตรงตามท่ีตองการซ่ึง ความเท่ียงตรงของแบบทดสอบ แบงได 4 ชนิด คือ 1.1 ความเท่ียงตรงตามเนื้อหา หมายถึง แบบทดสอบนั้นมีคําถามสอดคลองและครอบคลุมเนื้อหาวิชาท่ีระบุไวในหลักสูตรและไดสัดสวนท่ีถูกตองตรงตามความจริงซ่ึงสามารถตรวจสอบได จากการนําไปเปรียบเทียบกับตารางวิเคราะหหลักสูตรท่ีทําไวในดานเนื้อหาวิชา ถาพิจารณาจากจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม คือ ดูจากสวนท่ีเปนสถานการณและเกณฑ 1.2 ความเท่ียงตรงตามโครงสราง หมายถึง ความสามารถของแบบทดสอบ ท่ีจะวัดพฤติกรรมทางสมอง หรือพฤติกรรมดานตาง ๆ ของผูเรียนไดตรงตามท่ีไดระบุไวในหลักสูตร ซ่ึงสามารถตรวจสอบไดจากการนําไปเปรียบเทียบกับตารางวิเคราะหหลักสูตรท่ีทําไว ในดานพฤติกรรมถาพิจารณาจากจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม คือ ดูจากสวนท่ีเปนพฤติกรรม และเกณฑ 1.3 ความเท่ียงตรงตามสภาพ หมายถึง ความสามารถของแบบทดสอบ ท่ีสามารถเราใหผูเรียนตอบสนองออกมาตรงตามสภาพความเปนจริงของเขา ซ่ึงดไูดจากการสังเกต หรือการสอบภาคปฏิบัติ เกณฑท่ีใชเทียบก็คือสภาพความเปนจริงในปจจุบันของนักเรียน 1.4 ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ หมายถึง ความสามารถของแบบทดสอบ ท่ีสามารถพยากรณผลการเรียนในอนาคตของผูเรียนไดอยางถูกตองตามความจริง เกณฑท่ีใชเทียบ ก็คือสภาพความสําเร็จในอนาคตของผูเรียน

Page 31: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

2. ความเช่ือม่ันได หมายถึง แบบทดสอบนั้นสามารถใหผลการวัดท่ีไมกลับไปกลับมาไมวาจะนําไปวัดกี่ครั้งกับผูเรียนกลุมเดิมก็ตาม เชน เด็กเกงไดคะแนนมาก เด็กออนไดคะแนนนอย ถาทําการสอบอีกครั้งโดยใชขอสอบชุดเดิมกับกลุมเดิม เด็กเกงก็ยังเกงอยูและเด็กออนก็ยังออนอยูเหมือนเดิม แสดงวาแบบทดสอบนั้นมีความเช่ือม่ันสูง การสรางแบบทดสอบใหมีความเช่ือม่ันก็คือ ขอคําถามของแบบทดสอบจะตองถามพฤติกรรมในระดับสูง ไมควรถามแตความจําและมีจํานวนขอมากพอท่ีจะครอบคลุมเนื้อหาในวิชานั้น ๆ 3. มีความยุติธรรม หมายถึง ขอคําถามในแบบทดสอบนั้นตองไมแนะแนวทางใหนักเรียนเดาคําตอบไดถูก ไมลําเอียงตอเด็กกลุมใดกลุมหนึ่งโดยเฉพาะ การท่ีขอสอบจะใหความเสมอภาคเชนนี้ได ก็ตองอาศัยการสรางขอสอบใหครอบคลุมเนื้อหาในหลักสูตรนั้นเอง 4. ถามลึก หมายถึง แบบทดสอบท่ีมีคําถามวัดพฤติกรรมหลายดาน ไมเนนเฉพาะดานความจําเพียงดานเดียว ควรใชคําถามท่ีใหนักเรียนไดใชสติปญญาในการคิดหาคําตอบ ใหมากกวาการจํานั่นคือควรถามความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห และ การประเมินคา 5. มีความยากงายพอเหมาะ หมายถึง ขอสอบแตละขอควรมีคนตอบถูกและผิดอยางละครึ่งของจํานวนคนท่ีเขาสอบ ขอสอบท่ีงายคือ จํานวนคนตอบถูกมาก และขอสอบท่ียากเกินไป คือมีจํานวนคนตอบถูกนอย ซ่ึงจัดไดวาไมมีประโยชนอะไร เพราะไมสามารถจําแนกผูเรียนไดวาใคร เกง-ออนกวากัน 6. มีอํานาจจําแนก หมายถึง แบบทดสอบนั้นสามารถแยกนักเรียนออกเปนประเภท ๆ ไดทุกช้ันทุกระดับ ตั้งแตออนสุด ถึงเกงสุด คือถาแบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม โดยท่ีกลุมหนึ่งไดคะแนนมากอีกกลุมหนึ่งไดคะแนนนอย ถากลุมไดคะแนนมากตอบถูกมากกวากลุมท่ีไดคะแนนนอยในแตละขอแสดงวาขอสอบนั้น ๆ มีอํานาจจําแนกดี แตถาหากแตละกลุมไดคะแนนมากตอบไดคะแนนไดถูกพอ ๆ กับกลุมไดคะแนนนอย ก็แสดงวาขอสอบนั้น ๆ ไมมีอํานาจจําแนก 7. มีความเปนปรนัย ความเปนปรนัยของแบบทดสอบ หมายถึง คุณสมบัต ิของแบบทดสอบ 3 ประการ คือ 7.1 มีความชัดเจนในตัวคําถาม 7.2 มีความชัดเจนในวิธีการตรวจใหคะแนน ทําใหผูตรวจไมวาใครก็ตามตรวจแลวคะแนนตรงกัน 7.3 มีความชัดเจนในการแปลความหมายของคะแนน คือคะแนนท่ีบอกสถานภาพของผูเรียนใหตรงกัน 8. ตองยั่วยุ หมายถึง แบบทดสอบนั้นจะตองมีลักษณะทาทายชวนใหนักเรียนคิดคนหาคําตอบ เชน การเรียงลําดับคําถามจากของายไปหาขอยาก การใชรูปภาพประกอบคําถาม

Page 32: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

หรือเปนขอสอบท่ีมีลักษณะยั่วยุเปนเยี่ยงอยางท่ีดีใหกับผูสอบ โดยไมถามส่ิงท่ีเปนตัวอยางท่ี ไมเหมาะสม ไมควรปฏิบัต ิ 9. จําเพาะเจาะจง หมายถึง มีความชัดเจนในคําถาม ไมถามหลายแงหลายมุมหรือใชคําคลุมเครือ ซ่ึงจะทําใหนักเรียนงงได คําถามท่ีจําเพาะเจาะจง คือ ทุกคนท่ีอานแลว ตองเขาใจคําถามตรงกัน 10. ประสิทธิภาพ หมายถึง แบบทดสอบนั้นสามารถวัดความรูไดมากท่ีสุด ในเวลาท่ีกําหนดใหสอบ และการตรวจใหคะแนนทําไดรวดเร็วถูกตอง สะดวกในการคุมสอบและดําเนินการสอบ ตนทุนหรือคาใชจายในการจัดทําแบบทดสอบนอย พิมพไดชัดเจน อานงาย และถูกตองเปนตน สรุปไดวาแบบทดสอบท่ีดีควรมีความเท่ียงตรง ยุติธรรม มีความเช่ือม่ันได ถามลึก มีความยากงายพอเหมาะ มีอํานาจจําแนก มีความเปนปรนัย ตองยั่วยุ จําเพาะเจาะจง และ มีประสิทธิภาพ จึงจะเปนแบบทดสอบท่ีดีมีมาตรฐานและใชวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไดตรงตามจุดประสงคของผูวัดไดอยางแทจริง ประโยชนของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ พรพิศ เถ่ือนมณเฑียร (2542, หนา 50-51) ไดกลาวถึงประโยชนของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไว ดังนี ้ 1. ใชสําหรับวัดผลสัมฤทธ์ิในการเรียนเปนรายบุคคลและเปนกลุม 2. ใชสําหรับปรับปรุงการเรียนการสอนใหเหมาะสมยิ่งขึ้น 3. ใหแยกประเภทนักเรียนออกเปนกลุมยอย ๆ ตามความสามารถ 4. ใชในการวินิจฉัยสมรรถภาพเพ่ือใหไดรับการชวยเหลือไดตรงจุด 5. ใชเปรียบเทียบความงอกงาม 6. ใชตรวจสอบประสิทธิภาพของการเรียน 7. ใชพยากรณความสําเร็จในการศึกษา 8. ใชในการแนะแนว 9. ใชในการประเมินผลการศึกษา 10. ใชในการศึกษาคนควาวิจัย สรุปไดวา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีประโยชนตอผูสอนคือ ไดรูความสามารถและศักยภาพของนักเรียนเปนรายบุคคลเพ่ือท่ีจะไดรับการดูแลและชวยเหลือให ตรงจุดและสามารถวางแผนการสรางหลักสูตรใหสอดคลองกับความสามารถของผูเรียนตอไป เอกสารที่เกี่ยวของกับการหาประสิทธิภาพ

Page 33: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

บุญชม ศรีสะอาด (2550, หนา 98-103) ประสิทธิภาพของส่ือการสอนหรือนวัตกรรมทางการศึกษา (E1/E2) ในการวิจัยบางครั้งนักวิจัยใชเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางการศึกษา เชน แผนการสอน บทเรียนคอมพิวเตอร ชุดส่ือผสม เปนตน เปนเครื่องมือในการทําวิจัยดวย ดังนั้นตองมีวิธีหาคุณภาพของส่ือดังกลาวดวย ซ่ึงมีขั้นตอนคลายกับการหาคุณภาพของแบบทดสอบ หรือเครื่องมือชนิดอ่ืน ๆ คือ วิเคราะหคําอภิปรายรายวิชา กําหนดเนื้อหาสาระเปนรายบท แลววิเคราะหเนื้อหาสาระเปนรายบทในรูปของตารางความสัมพันธ ระหวางเนื้อหายอย ความคิด รวบยอด และจุดประสงคเรียนรู ขั้นตอไปดําเนินการดังนี ้ 1. ตรวจสอบความเท่ียงตรง (Validity) มักอาศัยผูเช่ียวชาญ ซ่ึงควรใหผูเช่ียวชาญพิจารณาตารางความสัมพันธดังกลาว 2. สรางแผนการสอนหรือส่ือตาง ๆ แลวใหผูเช่ียวชาญพิจารณาความถูกตองจากนั้นนําไปทดลองกับนักเรียนเปนรายบุคคล ซ่ึงนิยมใชกับนักเรียนระดับการเรียนเกง ปานกลาง ออน อยางละ 1 คน เพ่ือพิจารณาเรื่องการออกแบบส่ือ คําอธิบายการใชส่ือ การส่ือความ หรืออาจจะทดลองใชแผนการสอนเปนรายกลุม เพียง 1-2 แผน เพ่ือดูเรื่องเวลาท่ีใชจัดกิจกรรมบรรยากาศการเรียนการสอน เปนตน สวนการหาประสิทธิภาพของส่ือ (E1/E2) เปนขั้นตอนทําการทดลองจริงกับกลุมตัวอยางท่ีกําหนดไวแลว (ไมใชเปนขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือท่ีใชกับนักเรียนท่ีไมใชกลุมตัวอยาง) สรุปไดดังนี ้ 1. ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เปนคาท่ีบงบอกวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นสามารถพัฒนาผูเรียนใหเกิด การเรียนรูอยางตอเนื่องหรือไมภายใตสถานการณและกิจกรรมท่ีกําหนดให โดยจะมีการเก็บขอมูลของผลการเรียนรูอันเนื่องมาจากนวัตกรรมหรือแผนการเรียนรูเปนระยะ ๆ ซ่ึงสามารถสะทอน ใหเห็นถึงพัฒนาการและความงอกงามของผูเรียนได โดยท่ัวไปมักจะคํานวณจากคะแนนท่ีได จากการทําแบบทดสอบยอย แบบฝกทักษะการใชชุดการเรียนรู หรือคะแนนจากพฤติกรรม การเรียนในระหวางท่ีผูเรียนกําลังเรียนตามแผนการจัดการเรียนรู ซ่ึงคํานวณไดจากสูตร

1001

ANX

E เม่ือ E1 แทน ส่ือประสิทธิภาพของกระบวนการ X แทน ผลรวมของคะแนนทุกสวนท่ีผูเรียนทุกคนทําได N แทน จํานวนผูเรียน A แทน คะแนนเต็มของท้ังหมด

Page 34: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

2. ประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) เปนคาท่ีบงบอกวาแผนการจัดการเรียนรูนั้น สามารถสงผลใหผูเรียนเกิดสัมฤทธ์ิผลไดหรือไม บรรลุวัตถุประสงคหรือเปนไปตามท่ีกําหนดไวในแผนการจัดการเรียนรูมากนอยเพียงใดซ่ึงคํานวณจากคะแนนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (ทดสอบหลังเรียน) ของผูเรียนทุกคน ซ่ึงคํานวณไดจากสูตร

1002

BNY

E เม่ือ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ Y แทน ผลรวมของคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ท่ีผูเรียนทุกคนทําได N แทน จํานวนผูเรียน B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายเหต ุ

คาของ ANX

หรือ BNY

คือคะแนนเฉล่ียของกลุม เม่ือคูณดวย 100 คือ คะแนนเฉล่ียคิดเปนรอยละหรือเรียกส้ัน ๆ วา รอยละของคะแนนเฉล่ีย จากท่ีกลาวมาสามารถคํานวณไดคาตัวเลขท่ีบอกถึงประสิทธิภาพของส่ือหรือแผนการจัดการเรียนรู แตการท่ีจะสรุปวาส่ือหรือแผนการจัดการเรียนรูท่ีพัฒนาขึ้นนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม จะตองมีการกําหนดเกณฑเพ่ือใชในการพิจารณา โดยเกณฑดังกลาวนิยมใชหลักการเรียนแบบรอบรู (Mastering Learning) คือตั้งเกณฑไวท่ี รอยละ 80 และยอมรับ ความผิดพลาดไดไมเกินรอยละ 2.5 ดังนั้นตองมีประสิทธิภาพไมต่ํากวา 80-2.5 = 77.5 หรือยอมรับความผิดพลาดไดไมเกินรอยละ 5 ดังนั้นตองมีประสิทธิภาพไมต่ํากวา 80-5=75 ตัวอยางเชน ตั้งเกณฑของ E1/E2 ไวท่ี 80/80 และกําหนดความผิดพลาดท่ียอมรับไดไมเกิน รอยละ 5 คํานวณคา E1/E2 ได 76/77 ก็ถือไดวามีประสิทธิภาพอยูในเกณฑท่ียอมรับได สวนการกําหนดเกณฑความผิดพลาดท่ียอมรับไดไมควรเกินรอยละ 5 หมายเหตุ การเลือกเกณฑเพ่ือกําหนดคาประสิทธิภาพของส่ือการสอนหรือนวัตกรรมควรพิจารณาจากหลายปจจัย เชน ประเภทของส่ือนวัตกรรม สติปญญาของกลุมผูเรียน ความสามารถในการอานและเขียนของผูเรียน วุฒิภาวะของผูเรียน และวัตถุประสงคของการเรียน เปนตน โดยท่ัวไป นวัตกรรมหรือส่ือการสอนท่ีมุงเนนการพัฒนาทักษะมักจะกําหนดเกณฑ

Page 35: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ประสิทธิภาพต่ํากวาการพัฒนาความรู ท้ังนี้เนื่องจากทักษะเปนส่ิงท่ีพัฒนาไดยากกวา และอาจตองใชเวลาในการพัฒนามากกวา เผชิญ กิจระการ (2544, หนา 46-57) ไดกลาววา การหาประสิทธิภาพของส่ือการสอน ใด ๆ มีกระบวนการสําคัญอยู 2 ขั้นตอน ไดแกขั้นตอนของการหาประสิทธิภาพตามวิธีการหา ประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) และขั้นตอนการหาประสิทธิภาพตามวิธีการหา ประสิทธิภาพเชิงประจักษ (Empirical Approach) ท้ังสองวิธีนี้ควรทําควบคูกันไป จึงจะม่ันใจไดวาส่ือหรือเทคโนโลยีการเรียนการสอนท่ีผานกระบวนการหาประสิทธิภาพจะเปนท่ียอมรับได มีรายละเอียด ดังนี ้ 1. วิธีการหาประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) กระบวนการนี้เปนการหาประสิทธิภาพโดยใชหลักของความรู และเหตุผลในการตัดสินคุณคา ซ่ึงเปนการหาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และความเหมาะสมในดานความถูกตองของการนําไปใช (Usability) ผลจากการประเมินของผูเช่ียวชาญแตละคนจะนํามาหาประสิทธิภาพโดยใชสูตร ดังนี ้

12

NNCVR e

เม่ือ CVR แทน ประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) Ne แทน จํานวนผูเช่ียวชาญท่ียอมรับ (Number of Panelists Who had Agreement) N แทน จํานวนผูเช่ียวชาญท้ังหมด (Total Number of Panelists) ผูเช่ียวชาญจะประเมินส่ือการเรียนการสอนตามแบบประเมินท่ีสรางขึ้นในลักษณะของแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) (นิยมใชมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ) นําคาเฉล่ียท่ีไดจากแบบประเมินของผูเช่ียวชาญแตละคนไปแทนคาในสูตร สําหรับคาเฉล่ียของผูเช่ียวชาญท่ียอมรับจะตองอยูในระดับมากขึ้นไป คือคาเฉล่ียตั้งแต 3.50 – 5.00 คาท่ีคํานวณไดตองสูงกวาคาในตาราง ตามจํานวนผูเช่ียวชาญ ถาคาท่ีคํานวณไดไมถึงเกณฑท่ีกําหนดจะตองปรับปรุงแกไขส่ือและนําไปใหผูเช่ียวชาญพิจารณาใหม ดังนี ้

จํานวนผูเช่ียวชาญท้ังหมด จํานวนผูเช่ียวชาญท้ังหมด 5 6 7

.99

.99

.99

Page 36: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

8 9 10 11 12 13 14 15 20 25 30

.78

.75

.62

.59

.56

.54

.51

.49

.42

.37

.33 หมายเหต ุ ผลการหาวิธีนี้จะไมนิยมใช เพราะโอกาสท่ีคาการยอมรับขั้นต่ําของส่ือจะสูงขึ้นจนถึงขั้นยอมรับเปนไปไดยาก 2. วิธีการหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ (Empirical Approach) วิธีการนี้จะนําส่ือไปทดลองใชกับกลุมนักเรียนเปาหมาย การหาประสิทธิภาพของส่ือสวนใหญใชวิธีนี ้ ประสิทธิภาพสวนใหญจะพิจารณาจากเปอรเซ็นตการทําแบบฝกหัดหรือกระบวนการเรียน หรือแบบทดสอบยอย โดยแสดงเปนคาตัวเลข 2 ตัว เชน E1/E2 = 80/80, E1/E2 = 85/85, E1/E2 = 90/90 เปนตน เกณฑประสิทธิภาพ (E1/E2) มีความหมายแตกตางกันหลายลักษณะ ในท่ีนี้จะ ยกตัวอยาง E1/E2 = 80/80 ดังนี ้ 1. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 1 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ นักเรียนท้ังหมดทําแบบฝกหัดหรือแบบทดสอบยอยไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 ถือเปนประสิทธิภาพของกระบวนการ สวน 80 ตัวหลัง (E2) คือ นักเรียนท้ังหมดท่ีทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 ถือเปนประสิทธิภาพของผลลัพธ สวนการหา E1 และ E2 ใชสูตร ดังนี้

1

X100

NE = A

เม่ือ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ Σ x แทน คะแนนของแบบฝกหัดหรือแบบทดสอบยอยทุกชุดรวมกัน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกหัดทุกชุดรวมกัน

Page 37: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

N แทน จํานวนนักเรียนท้ังหมด

2

F100

NE =B

เม่ือ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ Σ F แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียน B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน N แทน จํานวนนักเรียนท้ังหมด 2. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 2 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ จํานวนนักเรียนรอยละ 80 ทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 ทุกคน สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือ นักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียนครั้งนั้นไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 3. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 3 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ จํานวนนักเรียนท้ังหมดท่ีทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือ คะแนนเฉล่ียรอยละ 80 ท่ีนักเรียนทําเพ่ิมขึ้นจากแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยเทียบกับคะแนนท่ีทําไดกอนการเรียน (Pre-test) 4. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 4 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ นักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือ นักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) แตละขอถูกมีจํานวนรอยละ 80 ถานักเรียนทําขอสอบขอใดถูกมีจํานวนนักเรียนไมถึงรอยละ 80 แสดงวา ส่ือไมมีประสิทธิภาพ และช้ีใหเห็นวาจุดประสงคท่ีตรงกับขอนั้นมีความบกพรอง กลาวโดยสรุปเกณฑในการหาประสิทธิภาพของส่ือการเรียนการสอนจะนิยมตั้งเปนตัวเลข 3 ลักษณะ คือ 80/80 85/85 และ 90/90 ท้ังนี้ขึ้นอยูกับธรรมชาติของวิชาและเนื้อหา ท่ีนํามาสรางส่ือนั้น ถาเปนวิชาท่ีคอนขางยากก็อาจตั้งเกณฑไว 80/80 หรือ 85/85 สําหรับวิชาท่ีมีเนื้อหางาย ก็อาจตั้งเกณฑไว 90/90 เปนตน นอกจากนี้ยังตั้งเกณฑเปนคาความคลาดเคล่ือนไวเทากับรอยละ 2.5 นั่นคือ ถาตั้งเกณฑไวท่ี 90/90 เม่ือคํานวณแลวคาท่ีถือวาใชไดคือ 87.5/87.5 หรือ 87.5/90 เปนตน (เผชิญ กิจระการ, 2544, หนา 50) งานวิจัยที่เกี่ยวของ

Page 38: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

นงคราญ ทองประสิทธ์ิ (2540, บทคัดยอ). สรางชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 กลุมตัวอยางเปนนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2539 โรงเรียนเกล็ดแกว สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี จํานวน 30 คน ซ่ึง กลุมตัวอยางไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) สรุปผลการศึกษาคนควา พบวา ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ท่ีสรางขึ้น มีประสิทธิภาพ 92.67/86.6 ชวนพิศ ฟุงเกียรติ (2550, บทคัดยอ). ไดพัฒนาการจัดการเรียนรูดานการอาน และการเขียนดวยชุดกิจกรรมการอานภาษาอังกฤษ วิชาภาษาอังกฤษอาน-เขียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ใชวิธีเลือกโดยการสุมแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) เปนนักเรียนแผนการเรียนภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตร ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 หอง 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ จํานวน 45 คน ผลการศึกษาพบวา ชุดกิจกรรมการอานภาษาอังกฤษดวยวิธีเรียนแบบรวมมือ มีประสิทธิภาพเทากับ 81.67 / 83.56 สูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว คือ 80 / 80 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 กอนเรียนและหลังเรียน ดวยชุดกิจกรรมการอานภาษาอังกฤษ วิชาภาษาอังกฤษอาน-เขียน แตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีมีตอการจัดการเรียนรูดานการอาน และการเขียน ดวยชุดกิจกรรมการอานภาษาอังกฤษ ในภาพรวมพบวาอยูในระดับพึงพอใจมาก กุสุมา คําทิพย (2551, บทคัดยอ). ไดพัฒนาชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนอุตรดิตถ กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/2 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนอุตรดิตถ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ ผลการศึกษาพบวา ชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 มีคาประสิทธิภาพเทากับ 87.00/82.88 ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังการเรียนดวยชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 สูงกวากอนการเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และนักเรียนมีความพึงพอใจตอชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษ อยูในระดับมาก ดวงกมล สาโรชสัมพันธ (2551, บทคัดยอ).ไดสรางชุดกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือประเภทการแบงกลุมผลสัมฤทธ์ิเพ่ือพัฒนาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนพนมทวนชนูปถัมภ อําเภอ พนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี จํานวน 1 หองเรียน มีจํานวนนักเรียน 32 คน ผลการศึกษาวิจัยพบวา ชุดกิจกรรมการเรียนรูภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 มีประสิทธิภาพเทากับ 85.53 / 84.43 นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง

Page 39: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

เรียนดวยชุดกิจกรรมสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .01 และนักเรียนมีความพึงพอใจตอการเรียนรูดวยชุดกิจกรรมอยูในระดับมาก เบญจมาศ อยูเช้ือ (2551, บทคัดยอ). ท่ีไดศึกษาผลการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูฝกทักษะการอานภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน กลุมตัวอยาง ไดแก กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2551 โรงเรียนศรีนคร สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสุโขทัย เขต 2 จํานวน 40 คน ผลการศึกษาพบวา ชุดกิจกรรม การเรียนรูฝกทักษะการอานภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6/1 ท่ีผูรายงานสรางและพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ 82.46/83.08 ซ่ึงสูงกวาเกณฑ 80/80 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญ ท่ีระดับ .05 และนักเรียนมีความพึงพอใจตอการเรียนโดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูฝกทักษะ การอานภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน อยูในระดับมากท่ีสุด จากการศึกษางานวิจัยท่ีเกี่ยวของพบวา การจัดการเรียนการสอนโดยใชชุดกิจกรรม การเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพจะทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวาการเรียนโดยไมใช ชุดกิจกรรมการเรียนรู และนักเรียนสวนใหญท่ีเรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรูมีความพึงพอใจ อยูในระดับมาก ดังนั้นผูรายงานจึงไดนําแนวทางดังกลาวมาใชในการจัดทําชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6

Page 40: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา

การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 มีลําดับขั้นตอนในการศึกษาคนควาดังตอไปนี ้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 3. การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควา 4. แบบแผนการทดลอง 5. การเก็บรวบรวมขอมูล 6. การวิเคราะหขอมูล 7. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรท่ีใชในการศึกษาคนควา เปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียน บานสวนอุดมวิทยา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 2 หองเรียน รวมนักเรียนท้ังหมด 60 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนบานสวนอุดมวิทยา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 30 คน ไดมาจากการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) จากหองเรียน สุมหองเรียนมา 1 หองเรียน เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 1. ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 จํานวน 3 เลม 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จํานวน 30 ขอ การสรางและหาคุณภาพเคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาคนควา

Page 41: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

1. การสรางชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ผูวิจัยไดดําเนินการตามลําดับดังนี ้ 1.1 ศึกษาสาระมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูตางประเทศ เพ่ือวิเคราะหเนื้อหา และจุดมุงหมาย เพ่ือใชในการสรางชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 1.2 ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับหลักการและวิธีสรางชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 1.3 สรางชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผูวิจัยมีการดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี ้ 2.1 ศึกษาหลักสูตรเนื้อหาและหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ 2.2 ศึกษาทฤษฎี หลักการ และวิธีการสรางแบบทดสอบ 2.3 วิเคราะหเนื้อหาและจุดประสงคของเนื้อหาแตละเรื่องเพ่ือเขียนจุดมุงหมาย เชิงพฤติกรรม 2.4 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม จํานวน 50 ขอ ใชจริง 30 ขอ แบบแผนการทดลอง การทดลองครั้งนี้ใชรูปแบบแผนการทดลอง One Group Pre-test – Post-test Design ดังแสดงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design

กลุม Pre-test Treatment Post-test ทดลอง T1 X T2

เม่ือ T1 หมายถึง การทดสอบกอนการทดลอง (Pre-test)

T2 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง (Post-test) X หมายถึง การเรียนดวยชุดกิจกรรม

การเก็บรวบรวมขอมูล 1 ผูวิจัยไดอธิบายช้ีแจงทําความตกลงกับนักเรียนท่ีเปนกลุมตัวอยางในเรื่อง

Page 42: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

การเรียน เวลาเรียน วิธีการในการเรียน 2. ทําการเก็บขอมูลกอนศึกษา โดยใหนักเรียนกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธ์ิทางการเรียน จํานวน 30 ขอ เพ่ือนําคะแนนท่ีไดเปนคะแนนทดสอบกอนเรียน 3. ใหนักเรียนกลุมตัวอยางเรียนดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 4. หลังจากเรียนดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ครบทุกชุด และใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน จํานวน 30 ขอ 5. ตรวจผลการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีไดจากการทดสอบ กอนเรียนและหลังเรียน แลวนํามาวิเคราะหโดยใชวิธีการทางสถิติตอไป การวิเคราะหขอมูล เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กอนและหลังการเรียนดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โดยใชสูตร t – test แบบ Dependent Samples สถิติที่ใชการวิเคราะหขอมูล 1. สถิติพ้ืนฐาน 1.1 คารอยละ (percentage) 1.2 คาเฉล่ีย ( X ) โดยใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, หนา 59)

NX

X เม่ือ X แทน คะแนนเฉล่ีย X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง 1.3 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใชสูตร

)1()(

..22

NN

XXNDS

Page 43: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

เม่ือ S.D. แทน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของกลุมตัวอยาง X แทน ขอมูลแตละตัว X2 แทน คาเฉล่ียของคะแนน N แทน จํานวนขอมูลท้ังหมดของกลุมตัวอยาง 2. สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนโดยใชสูตร t – test (Dependent Sample) (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, หนา 87)

2 2

Dt=

N D - DN-1

เม่ือ t แทน คาทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉล่ียรายคู D แทน ผลรวมความแตกตางของคะแนนกอน – หลังเรียนรายคู 2D แทน ผลรวมของคะแนนกําลังสองของความแตกตางกอน และหลังเรียนรายคูยกกําลังสอง N แทน จํานวนคนท้ังหมด

Page 44: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดกําหนดสัญลักษณท่ีใชในการแปลความหมายของการวิเคราะหขอมูล ดังนี ้ สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหและแปลผลขอมูล การวิเคราะหขอมูลและแปลความหมายผลการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยใชสัญลักษณดังตอไปนี ้

n แทน จํานวนนักเรียน X แทน คะแนนเฉล่ีย

S.D. แทน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน t แทน คาสถิติท่ีใชพิจารณา t- test for Dependent Samples

** แทน มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

ผลการวิเคราะหขอมูล การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนและหลังการเรียนดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ดังแสดงในตารางท่ี 2

Page 45: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวย ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6

การทดสอบ n คะแนนเต็ม X S.D. t p กอนเรียน 40 30 16.58 1.30 41.55** .000 หลังเรียน 40 30 24.83 1.63

** มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 จากตารางท่ี 2 พบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 หลังเรียนดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

Page 46: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

รายงานการใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 มีขั้นตอนสรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ดังนี ้ 1. สรุปผลการศึกษา 2. อภิปรายผล 3. ขอเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 หลังเรียนดวย ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ สูงกวา กอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 อภิปรายผล ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 หลังเรียนสูงกวา กอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไว ท้ังนี้การจัด การเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 เปนการสงเสริมใหนักเรียนปฏิบัติงานในลักษณะรายบุคคลและกลุมยอย ทําใหนักเรียนมีโอกาสพัฒนาความสามารถในการเรียนรูดวยตนเองและเปนกลุมไดอยางสรางสรรค ทําใหนักเรียนไดพัฒนาตนเองอยางเปนระบบ จึงทําใหนักเรียนมีคะแนนความรูและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษจากการเรียนเพ่ิมขึ้น ซ่ึงสอดคลองกับชวนพิศ ฟุงเกียรติ (2550, บทคัดยอ) ท่ีไดพัฒนาการจัดการเรียนรูดานการอาน และการเขียนดวยชุดกิจกรรมการอานภาษาอังกฤษ วิชาภาษาอังกฤษอาน-เขียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ ผลการศึกษาพบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 กอนเรียนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมการอานภาษาอังกฤษ วิชาภาษาอังกฤษอาน-เขยีน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และสอดคลองกับดวงกมล สาโรชสัมพันธ (2551, บทคัดยอ).ท่ีไดสรางชุดกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือประเภทการแบงกลุมผลสัมฤทธ์ิเพ่ือพัฒนาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ผลการศึกษาวิจัยพบวา

Page 47: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .01 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการเรียนการสอน 1. ผูวิจัยมีขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอผูสอน คือผูสอนควรนําชุดกิจกรรม ฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ไปใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เพราะ ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษนี้ชวยใหผูสอนสามารถนําไปพัฒนาการเรียนรูและทักษะการเขียนของนักเรียนใหมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีขึ้น 2. การเรียนจากชุดกิจกรรมควรมีส่ือท่ีหลากหลายเพ่ือใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนในการเรียนรู 3. ควรจัดเวลาใหเหมาะสมกับพ้ืนฐานความรูของผูเรียน และมีการกําหนดเวลา ในการดําเนินกิจกรรมใหชัดเจน ขอเสนอแนะในการทําการศึกษาคร้ังตอไป 1. ควรศึกษาผลการจัดการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษกับตัวแปรตัวอ่ืน ๆ เชน ความสนใจในการเรียน ความรับผิดชอบ และความคิดสรางสรรค 2. ควรมีการศึกษาผลการใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษกับนักเรียนโรงเรียนอ่ืน 3. ควรมีการศึกษาผลการจัดการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ในเนื้อหาอ่ืน ๆ ของช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6

Page 48: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2543). ยุทธศาสตรในการเรียนรู. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : การศาสนา. ________. (2545). หลักสูตรการศึกษาขึ้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว. กรรณิการ ไผทฉันท. (2541). ผลการใชชุดกิจกรรมส่ิงแวดลอมตามวิธีการวิจัยในการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเจตคติตอส่ิงแวดลอมในกิจกรรมชุมนุมวิทยาศาสตร ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กานดา ทิววัฒนปกรณ. (2543). ผลการฝกแบบการคิดท่ีมีตอความคิดสรางสรรคของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กิดานันท มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีทางการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. กุสุมา ลานุย. (2538). การสอนภาษาอังกฤษ เพ่ือการส่ือสาร ระดับมัธยมศึกษา. สงขลา :

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. กุสุมา คําทิพย.(2551).รายงานผลการใชชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษสําหรับ

นักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนอุตรดิตถ.วันท่ีคนบทคัดยอ 25 พฤษภาคม 2552, เขาถึงไดจาก http://www.utd.ac.th

จันทรแรม แปนเมือง. (2545). กลวธีิการเรียนท่ีสงผลตอความสามารถทางการเรียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัด มหาสารคาม. วิทยานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

จิระวัฒน วงศสวัสดิวัฒน. (2547). ทัศนคติ ความเช่ือและพฤติกรรม :การวดั การพยากรณและการ เปล่ียนแปลง. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.

ชลสีต จันทาสี. (2543). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตรและความสามารถ ในการตัดสินใจอยางสรางสรรค ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดย ใชชุดกิจกรรมการตัดสินใจทางวิทยาศาสตรกับการสอนตามคูมือคร.ู ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ชวนพิศ ฟุงเกียรต.ิ (2550). รายงานผลการพัฒนาการจัดการเรียนรูดานการอาน และการเขียนดวย ชุดกิจกรรมการอานภาษาอังกฤษ วิชาภาษาอังกฤษอาน-เขียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ.วันท่ีคนบทคัดยอ 25 พฤษภาคม 2552, เขาถึงไดจาก http://www.vcharkarn.com/vblog/41356

Page 49: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ดวงกมล สาโรชสัมพันธ.(2551).รายงานผลการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือประเภท การแบงกลุมผลสัมฤทธ์ิเพ่ือพัฒนาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1.วันท่ีคนบทคัดยอ 26 พฤษภาคม 2553, เขาถึงไดจาก http://www.ptcn.ac.th/duang/duang.htm ธัญสินี ฐานา. (2546). การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตรเพ่ือแกไขขอบกพรองทางดานทักษะ กระบวนการคิดคํานวณของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. นงคราญ ทองประสิทธ์ิ.(2540). ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6.วันท่ีคนบทคัดยอ 24 พฤษภาคม 2553, เขาถึงไดจาก http://www.lib.buu.ac.th นิลรัตน ทศชวย. (2547). การเปรียบเทียบเหตุผลเชิงจริยธรรม และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จังหวัดขอนแกน ท่ีมีความสามารถ ดาน เหตุผลและการคิดเชิงวิพากษแตกตางกัน. วิทยานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เนื้อทอง นายี่. (2544). ผลการใชชุดกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ: อาร เอส. ปรินติ้ง. บุญชม ศรีสะอาด.(2543).การวิจัยเบ้ืองตน. (พิมพครั้งท่ี 6). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน. ________. (2545). การวิจัยเบ้ืองตน. (พิมพครั้งท่ี 7). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. ________. (2550). พ้ืนฐานการวิจัยการศึกษา. (พิมพครั้งท่ี 3). กาฬสินธุ: ประสานการพิมพ. เบญจมาศ อยูเช้ือ.(2551).รายงานผลการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูฝกทักษะการอาน ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน. วันท่ีคนบทคัดยอ 24 พฤษภาคม 2552, เขาถึงไดจาก http://www.thaigoodview.com/node/75414 เบญจวรรณ ใจหาญ. (2550). การศึกษาผลของการจัดการเรียนรูดวยชุดกิจกรรมฝกทักษะ การจัดการความรูทางวิทยาศาสตรท่ีมีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทักษะการนําเสนอ ความรูทางวิทยาศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ประนอม สุรัสวดี. (2539). กิจกรรมและส่ือการสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 50: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ประไพ เหมรา. (2549). ผลการใชชุดกิจกรรมคณิตศาสตรแบบปฏิบัติการของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2539). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนยสงเสริมกรุงเทพ. พรพิศ เถ่ือนมณเฑียร. (2542). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสนใจในการเรียนวิชา

ภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 ท่ีไดรับการฝกดวยเกมท่ีใชคําถามตางกัน. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การประถมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. พรศร ี ดาวรุงสวรรค. (2548). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตรและความสามารถ ในการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ท่ีไดรับการสอนโดยใช ชุดกิจกรรมแกปญหาทางวิทยาศาสตร. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พรศร ี บุญรอด. (2545). การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตรท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ เรื่องปริมาตร และพ้ืนท่ีผิว ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พวงรัตน ทวีรัตน. (2540). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. (พิมพครั้งท่ี 8). กรุงเทพฯ: สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พิชิต ฤทธ์ิจรูญ. (2545). หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา. (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ:

ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พิตรวัลย โกวิทวที. (2537). ทักษะและแนวคิดการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ภาษิต สุโพธ์ิ. (2547). การใชแหลงเรียนรูธรรมชาติในบริเวณโรงเรียนในการพัฒนาการเรียนรู เกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละส่ิงแวดลอม. ปริญญานิพนธ กศ.ม.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ . เยาวลักษณ ช่ืนอารมณ. (2549). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีไดรับการสอนโดยใชชุดกิจกรรมวฏัจักรการเรียนรู 5E. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ : สุวีริยาศาสน. วชิราภรณ ประสบศิลป. (2546). รูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุของตัวแปรกลวิธีการเรียนท่ีมี

Page 51: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

อิทธิพลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ. วิทยานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วนิดา เดชตานนท. (2540). การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ. นครราชสีมา: ม.ป.ท. วัฒนาพร ระงับทุกข. (2542). แผนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. (พิมพครั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. วิทยา ดํารงเกียรติศักดิ.์ (2531). การเขียนในการสงเสริม เอกสารประกอบการบรรยายวิชา สษ.610. พิมพครั้งท่ี 3. เชียงใหม : สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ. วิมลรัตน สุนทรโรจน. (2545). เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการพัฒนาการสอน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศิรินทิพย คําพุทธ. (2548). ชุดกิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตรแบบ STAD เรื่อง แบบรูปและ ความสัมพันธ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. (พิมพครั้งท่ี 4). กาฬสินธุ: ประสานการพิมพ. สมพร มันตสูตร. (2540). การเขียนเพ่ือการส่ือสาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. สํารวล ประดับศร.ี (2547). การพัฒนาแผนการเรียนรู โดยใชบทเรียนสําเร็จรูปประกอบภาพการตูน เรื่อง ทันตสุขภาพ กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4. การศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุดารัตน ไผพงศาวงศ. (2543). การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตรท่ีใชการจัดการเรียนการสอน แบบCIPPA MODEL เรื่องเสนขนานและความคลาย ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุธิดา หงษศรีหมน. (2547). การพัฒนาแผนการจัดประสบการณแบบบูรณาการ เพ่ือเตรียม ความพรอมทางคณิตศาสตร ช้ันอนุบาล 2. การศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุภัทรา อักษรานุเคราะห. (2532 ). การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุมาลี โชติชุม. (2544). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตรและเชาวอารมณของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ดวยการสอนโดยใชชุดการเรียนวิทยาศาสตรท่ีสงเสริมเชาวอารมณ กับการสอนตามคูมือคร.ู ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). แนวคิดและเทคนิควิธีการสอนภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษา. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 52: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

สุรชัย จามรเนียม. (2548). ผลของการใชชุดกิจกรรมคณิตศาสตรบูรณาการเชิงเนื้อหาเรื่อง พ้ืนท่ีผิว และปริมาตรท่ีมีตอความสนใจในวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3.

สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545). 20 วิธีการเรียนรู. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ. อรุณ ี วิริยะจิตรา. (2532). การเรียนการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสาร. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน. อัจฉรา วงศโสธร. (2538). แนวทางการสรางขอสอบภาษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ________. (2544). การทดสอบและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. (พิมพครัง้ท่ี 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อาภาภรณ จินดาประเสริฐ. (2540). รายงานการวิจัย การพัฒนากลวิธีการเรียนภาษาตางประเทศ. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน. อาภาภรณ จินดาประเสริฐ และสุขุม วสุนธราโสภิต. (2543). การใชกลวิธีการจัดการดูแล การเรยีนดวยตนเอง เพ่ือพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน. Harris, David P. (1974). Testing English as a Second Language. New delhi : Tata McGraw – Hill Publishing. Heaton, J.B. (1975). Writing English Language Tests. London : Longman Group Ltd. Oxford, Rebecca L. (1990). Language Learning Strategies. New York : Newbury HousePublishers Valett, Rebecca M. and Renee S Disick . (1972). Modern Language Performance Objectives and Individualization : A handbook. New York : Harcourt Brace Jovanovich.

Page 53: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

ภาคผนวก

Page 54: ผลการใช ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ของ ... · ข อเสนอแนะ

T-Test Paired Samples Statistics

16.58 40 1.299 .20524.83 40 1.631 .258

PRETESTPOSTTEST

Pair 1Mean N Std. Deviation

Std. ErrorMean

Paired Samples Correlations

40 .654 .000PRETEST & POSTTESTPair 1N Correlation Sig.

Paired Samples Test

-8.25 1.256 .199 -8.65 -7.85 -41.551 39 .000PRETEST - POSTTESTPair 1Mean Std. Deviation

Std. ErrorMean Lower Upper

95% ConfidenceInterval of the

Difference

Paired Differences

t df Sig. (2-tailed)