ผลการศึกษาเบ...

34
ผลการศึกษาเบื้องต้น การประเมินผลโครงการสนับสนุนการเข้าถึง บริการอนามัยโรงเรียนโดยความร่วมมือของท้องถิ่น8 พฤษภาคม 2560 ดร. จอมขวัญ โยธาสมุทร ดร. ภญ.ศรีเพ็ญ ตันติเวสส นายดนัย ชินคํา ภญ.นิธิเจน กิตติรัชกุล ..วิไลลักษณ์ แสงศรี ดร. นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท์

Transcript of ผลการศึกษาเบ...

Page 1: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ผลการศึกษาเบื้องต้น “การประเมินผลโครงการสนับสนุนการเข้าถึงบริการอนามัยโรงเรียนโดยความร่วมมือของท้องถิ่น”

8 พฤษภาคม 2560

ดร. จอมขวัญ โยธาสมุทร

ดร. ภญ.ศรีเพ็ญ ตันติเวสส

นายดนัย ชินคํา

ภญ.นิธเิจน กิตติรัชกุล

น.ส.วไิลลักษณ์ แสงศรี

ดร. นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท์

Page 2: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

เค้าโครงการนําเสนอ

1. ที่มาและความสําคัญ

2. วัตถุประสงค์ของการประเมิน

3. วิธีการประเมิน

4. ข้อค้นพบ

4.1 ระดับนโยบายของประเทศ

4.2 ระดับหน่วยงานในจงัหวัดและเขต

4.3 ระดับพื้นที่

4.4 การอบรมและคู่มอืต่างๆ

5. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการสนับสนุนฯ

2

Page 3: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

1

ที่มาและความสําคัญ

3

Page 4: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4

ปัญหาอนามัยโรงเรียน1,2

• ขาดการประสานงานด้านนโยบาย

• ขาดงบประมาณในการดําเนินงาน

• ขาดทรัพยากรบุคคล

• ระบบข้อมูลไม่มีประสิทธิภาพ

โครงการสนับสนุนการเข้าถึงบริการอนามัยโรงเรียน โดย

ความร่วมมือของท้องถิ่น

• ครูประจําชั้นเป็นผู้ให้บริการหลักในงานอนามัยโรงเรียน

• กําหนดให้มีแนวทางดําเนินกิจกรรมอนามัยโรงเรียนที่เป็น

มาตรฐาน และจัดอบรมครูและผู้จัดการ (ผู้บริหาร)

• บริหารจัดการทรัพยากรที่อยู่ในพื้นที่ให้เสริมการ

ดําเนินงานอนามัยโรงเรียน

• พัฒนาระบบข้อมูล

• ประเมินโครงการอย่างเป็นระบบ โดย HITAP

1 นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร และคณะ. การประเมินบริการอนามัยโรงเรียนระดับประถมศึกษา. นนทบุรี. 25592 สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. การประเมินผลการเฝ้าระวังสุขภาพนักเรียนจากการใช้แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเองสําหรับนักเรียน. นนทบุรี. 2559.

Page 5: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

2

วัตถุประสงค์ของการประเมิน

5

Page 6: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ เพื่อพัฒนางานอนามัยโรงเรียนในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

6

วัตถุประสงค์หลัก

Page 7: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์เฉพาะ1. ศึกษาปัจจัยความสําเร็จ และปัจจัยที่มีผลต่อการดําเนินงานตามรูปแบบบริการอนามัยโรงเรียน

2. ศึกษากระบวนการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของครูผู้ให้บริการอนามัยโรงเรียน และ

บุคลากรที่เกี่ยวข้อง

3. ศึกษากระบวนการการให้บริการต้นแบบ และการดูแลเด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ โดย

โรงเรียน และการส่งต่อไปรับบรกิารจากสถานพยาบาล ครอบครัว และชุมชน

4. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการต้นแบบ และการดูแลเด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ ตาม

แนวทางมาตรฐานคุณภาพ

5. ศึกษาการเข้าถึง (ความครอบคลุม) บริการฯ ตามแนวทางมาตรฐานคุณภาพ ของเด็กนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

6. ศึกษาประสิทธิผลของมาตรการทั้งสี่ในแง่ผลลัพธ์ทางสุขภาพ

7. ศึกษาความพึงพอใจต่อโครงการฯ ของผู้บริหารและบุคลากรของ อปท . โรงเรียน

สถานพยาบาลในพื้นที่ และผู้ปกครอง

8. ให้ข้อเสนอแนะในการขยายโครงการฯ ไปยังโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ

และโรงเรียนในสังกัดอื่นๆ ในอนาคต

7

Page 8: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

3

วิธีการประเมิน• ขอบเขตของการประเมิน

• การเก็บข้อมูลและกลุ่มตัวอย่าง

• ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล

• ข้อจํากัดของการประเมิน

8

Page 9: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

9

สปสช. (สํานักปฐมภูมิ)

โครงการสนับสนุนฯ

ประสานความร่วมมือ

จัดหาเอกสารคู่มือ

จัดการประชุม

จัดการอบรม

ประเมินผลโครงการ (โดย HITAP)

โครงการพัฒนาศกัยภาพของบคุลากรฯ

กรมอนามัย (สํานักส่งเสรมิสขุภาพ)

กําหนดกรอบแนวทางการดําเนินงาน

จัดการอบรม

ทํารายงานเสนอ สปสช. และกรมอนามัย

กรมอนามัย (ศูนย์อนามัยเขต)

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

เทศบาล

(ฝ่ายการศกึษา ฝ่ายสาธารณสุข)

จัดทําแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 59

จัดสรรงบประมาณ

ประสานงานภายในและภายนอก

ติดตาม/ประเมินผล

รายงาน/ข้อมูล?

โรงเรียนเทศบาล คัดกรอง

ยาเสริมธาตุเหล็ก

ดูแลเบื้องต้น

ส่งต่อ

รายงาน/ข้อมูล (Student Health)

สถานพยาบาล-สธ.

สถานพยาบาล-อื่นๆ

สถานพยาบาล‐เทศบาล

ดูแลรักษา

รายงาน/ข้อมูล

ระบบส่งต่อ

ขอบเขตของการประเมิน

Interventions• อบรม ผจก. + ครู

• คู่มือการดําเนินงาน

• Software

• การติดตาม

สนับสนุนวิชาการ

Page 10: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

การเก็บข้อมูลและกลุ่มตัวอย่าง

10

จังหวัด

1.

สัมภาษณ์ผู้จัดการอนามัยโรงเรียน2.

Focus group

3. แบบสอบถาม

บริการอนามัย

โรงเรียน

ผอ./รอง

ผอ.

โรงเรียน

ผอ.สํานกั

การศึกษา และ

สาธารณสุข

เทศบาล

สถานพยาบาลที่ดูแล

โรงเรียน (PCU)

CUP สสจ.

/ศูนย์อนามัยเขต

ครูอนามัย และครู

ประจําชั้น

โรงเรียนเทศบาล 4

แห่ง

เชียงราย • ศูนย์บริการฯ

• รพ.สต.

อุดรธานี • ศูนย์บริการฯ

• รพ.สต.

• PCU รพ.จังหวดั

• ไม่ได้

สัมภาษณ์

ศูนย์ฯ

สระบุรี • สํานักสาธารณสุขฯ

• PCU รพ.ค่าย

สุราษฎรธ์านี • ศูนย์บริการฯ

• PCU รพ.จังหวดั • ไม่ได้

สัมภาษณ์

ศูนย์ฯ

Page 11: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลจังหวัด วันที่

เชียงราย 16-21 ต.ค. 2559

อุดรธานี 22-25 พ.ย. 2559

สระบุรี 29 พ.ย. – 2 ธ.ค. 2559

สุราษฎร์ธานี 6-9 ธ.ค. 2559

11

1. ขาดข้อมูลผลการตรวจคัดกรองทีค่รบถ้วน• บางโรงเรียนเพิ่งตรวจสุขภาพนักเรียน (ตามปกติ) จึงยังไม่มีผลการตรวจคัดกรอง

• บางโรงเรียนต้องรอเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นผู้ประเมินผล

• ครูยังไม่กรอกข้อมูลให้ เพราะมีภาระงานอื่น

2. ขาดข้อมูลการส่งต่อ และการรักษา• การส่งต่อการรักษา หรือการพานักเรียนไปตรวจยืนยันบางอย่างเป็นหน้าที่ของผู้ปกครอง

ข้อจํากัดของการประเมิน

Page 12: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4

ข้อค้นพบ

4.1 ข้อค้นพบ – ระดับนโยบายของประเทศ

12

Page 13: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.1 ข้อค้นพบ – ระดับนโยบายของประเทศ

4.1.1 ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน

กรมอนามัย และ สปสช.

การประสานนโยบายอนามัยโรงเรียนยังไม่เข้มข้น จริงจัง ชัดเจน

• ขาดการประสานงานโดยเฉพาะโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีบทบาทไม่มากพอในการดําเนินโครงการ

สนับสนุนฯ

• สปสช. พิจารณาประสานกับผู้เกี่ยวข้องให้มี

บทบาทในการให้นโยบายและกํากับติดตาม

4.1.2 ระบบข้อมูลสุขภาพนักเรียน

ระบบข้อมูลสุขภาพ

การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ไม่มีข้อบังคับการรายงานและขาดแรงจูงใจ ยกเว้นข้อมูลน้ําหนักและส่วนสูง

• หน่วยงานสาธารณสุข ข้อมูล 43 แฟ้ม

• เทศบาลรายงานน้ําหนัก ส่วนสูง

โปรแกรม Student Health• กรอกทาง internet

• พิมพ์ผลรายบุคคลได้ และใช้รายงานข้อมูลให้

ผู้ปกครองทราบ

• ใช้เป็นฐานข้อมูลสนับสนุนการประเมิน

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

• พบปัญหาเชิงเทคนิค 13

Page 14: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4

ข้อค้นพบ

4.2 ข้อค้นพบ – ระดับหน่วยงานในจังหวัด

และเขต

14

Page 15: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.2 ข้อค้นพบ – ระดับหน่วยงานในจังหวัดและเขต

15

ขาดการประสานงานและความ

ร่วมมือจากหน่วยงานสําคัญ เช่น

ศูนย์อนามัย ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จะต้อง

ให้ความรู้ ให้ความช่วยเหลือทาง

เทคนิคต่าง ๆ

เทศบาลไมม่นีโยบาย/ตัวชี้วัด เพื่อการ

ดําเนินงานด้านอนามัยโรงเรียนที่ชัดเจน

บทบาทศูนย์เขต/สสจ.

• ให้ความรู้ จัดอบรม ติดตาม สนับสนุนโครงการ

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

• ส่งต่อนโยบายและตัวชี้วัดเรื่องสุขภาพของกระทรวง

สาธารณสุขแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด

Page 16: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4

ข้อค้นพบ4.3 ข้อค้นพบ – ระดับพื้นที่4.3.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการและดแูลเด็กที่มีปัญหาสขุภาพ

4.3.2 การบริหารจัดการ

4.3.3 การให้บริการอนามัยโรงเรียนจําแนกรายจงัหวดั

4.3.4 การให้บริการอนามัยโรงเรียนจําแนกตามบริการ

4.3.5 ข้อค้นพบระดับเทศบาลตามเป้าหมายโครงการสนับสนุนฯ

4.3.6 ข้อค้นพบระดับโรงเรียนตามเป้าหมายโครงการสนับสนุนฯ

16

Page 17: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.3.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการและดูแลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ

17

หน่วยงาน เชียงราย อุดรธานี สระบุรี สุราษฎร์ธานี

สถานพยาบาลที่ดูแลโรงเรียน

PCU สังกัด สธ. (รพ.สต. และ PCU รพ.

จังหวัด)

✓ ✓ ✓ ✓

PCU สังกัดเทศบาล ✓ ✓ - ✓

PCU สังกัดอื่นๆ (เช่น กระทรวงกลาโหม) - - ✓ -

CUP

รพ. จังหวัด ✓ ✓ ✓ ✓

รพ. เทศบาล - ✓ - -

สสอ. - - - ✓

สสจ. ✓ ✓ ✓ ✓

ศูนย์อนามัยเขต ✓ ✓ - -

อื่นๆ วิทยาลัยพยาบาลฯ มหาวิทยาลัยในพื้นที่ ✓ ✓ ✓ ✓

Page 18: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.3.2 การบริหารจัดการ

สปสช. ได้จัดสรรงบประมาณ P&P ไปยังสถานพยาบาลแล้ว แต่พบว่าสถานพยาบาลหลายแห่งไม่จัดสรรบริการ P&P ที่เด็กควรได้รับ เช่น การจัดหายาเสริมธาตุเหล็ก หรือการเจาะเลือด

สสจ. และ CUP: ขาดความชัดเจนในเรื่องการส่งต่อ และขาดแรงจูงใจในการจัดทรัพยากร เช่น จัดหายาเสริมธาตุเหล็ก และบทบาทในการสนับสนุนงานบริการอนามัยโรงเรียน

เทศบาลบางแห่งมีแผนจัดงบประมาณของตน/กองทุนสุขภาพพื้นที่ มาจัดบริการอนามัยโรงเรียนให้เด็ก ซึ่งบางบริการอยู่ใน P&P แล้ว เกิดความซ้ําซ้อน

18

Page 19: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.3.3 การให้บริการอนามัยโรงเรียนจําแนกรายจังหวัด

บริการอนามัย

โรงเรียน

เชียงราย อุดรธานี สระบุรี สุราษฎร์ธานี

ก่อนปี 59 ปี 59 ก่อนปี 59 ปี 59 ก่อนปี 59 ปี 59 ก่อนปี 59 ปี 59

ตรวจสายตา นําร่อง นําร่อง นําร่อง นําร่อง

ตรวจฟัน

ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง

ประเมินการ

เจริญเติบโต

ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก เฉพาะซีด เฉพาะซีด เฉพาะป.1

ตรวจสุขภาพ 10 ท่า

ตรวจตาบอดสี

19

มีบริการครบทุกโรงเรียนในสังกัดเทศบาลที่ศกึษา แต่ไมส่ามารถบอกได้ว่าครบถ้วน และมีคุณภาพหรือไม่

มีบริการไมค่รบทุกโรงเรียนในสังกัดเทศบาลที่ศกึษา

ปี หมายถึง ปีการศึกษา

Page 20: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.3.4 การให้บริการอนามัยโรงเรียนจําแนกตามบริการ

20

การประเมินการเจรญิเตบิโต ทําโดยครูทุกแห่ง เป็นข้อบังคับจาก

หน่วยงานต้นสังกัด โรงเรียนหลายแห่งให้ความสนใจแก้ปัญหา

โรคอ้วน และทําโครงการอาหารเช้า

การตรวจสายตา เป็นหน้าที่ครูเฉพาะในจังหวดันาํร่อง แต่

ในจังหวัดอื่นครูไม่ได้ทํา/ส่งต่อแล้วไม่ได้แว่น/แก้ปัญหาโดย

การส่งไปที่หน่วยงานอื่นเพื่อรับแวน่

การตรวจฟัน เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตรวจ

และรักษาได้เลย ครูสอนแปรงฟันและกิจกรรมส่งเสรมิสุขภาพ

การให้ยาเสริมธาตุเหล็กโครงการสนับสนนุฯ:

• ให้ข้อมูลที่นําไปสู่การเขา้ใจผิดเกี่ยวกับประโยชน์ธาตุเหล็ก

• มีการสุ่มเด็กทีค่ิดว่าซดีไปตรวจเลือด และแจกยา dose prevention ให้เด็กซีด (เด็กที่เหลือไม่ได้ยา)

• ครูกังวลเรื่องการจ่ายยาให้เด็ก สื่อสารกับผู้ปกครองไม่ได้

ตามชุดสิทธิประโยชน ์สปสช.:

• หลายพื้นที่ไม่มีการให้บริการเจาะเลือดหาภาวะซีด

การตรวจสุขภาพ 10 ท่า ทําโดยครูทุก

โรงเรยีน ต้องติดตามเรื่องความครบถ้วนและ

ความถูกต้อง ครูแก้ปัญหาเบื้องต้น เช่น

กําจัดเหา รักษาความสะอาดได้

การตรวจตาบอดสี ไม่ใช่นโยบาย

สาธารณสุข/สปสช. ขาดเครื่องมือ ไม่ตรวจซ้ํา

ไม่ส่งต่อ/รักษา เสนอให้ยกเลิก

Page 21: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.3.5 ข้อค้นพบระดับเทศบาลตามเป้าหมายโครงการสนับสนุนฯ

ผู้จัดการฯ ตั้งกรรมการ และทําแผนการดําเนินงานในพื้นที่• แต่งตั้งคณะกรรมการ (3 จังหวัด) และวางแผนการดําเนินงานในพื้นที่

(ทุกจังหวัด) แต่ยังไม่มีการประชุม

เทศบาลใช้ทรัพยากรและงบประมาณสนับสนุน• ไม่มีปัญหาเรื่องงบประมาณ แต่ยังไม่มีนโยบาย/แนวปฏิบัติที่ชัดเจน• มีการขอและใช้งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสขุภาพในระดับท้องถิ่นหรือ

พื้นที่ (2 จังหวัด)

มีการส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ• เรื่องฟันทําได้ดีแล้ว • พบปัญหาการส่งต่อกรณีพบความผิดปกติโดยเฉพาะเรื่องสายตา (3 จังหวัด)

21

Page 22: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.3.6 ข้อค้นพบระดับโรงเรียนตามเป้าหมายโครงการสนับสนุนฯ

ครู และเจ้าหน้าทีส่าธารณสุขร่วมกันใหบ้ริการฯ

• บทบาทของครูประจําชั้น/อนามัย ยังมีข้อจํากัดในเรื่องการตรวจสขุภาพนักเรียน แต่ได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (เป็นการแก้ปัญหาร่วมกันในพื้นที่)

• โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนที่มีที่มีเศรษฐานะต่าํ ครูเน้นแก้ปัญหาครอบครัวและสงัคมของเด็ก (2 จังหวัด)

ผู้จัดการฯ ทุกระดับให้การสนับสนุน

• ยังไม่พบว่ามีการดําเนินนโยบายและการสนับสนุนที่เป็นรูปธรรม

มีการส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ

• มีการส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพไปรักษาต่อที่สถานพยาบาลในความรับผิดชอบแต่ยังไม่มีระบบการสง่ต่อที่ชัดเจน

• มีข้อจํากัดในเรื่องการขอความร่วมมือจากผูป้กครองในการส่งต่อ (2 จังหวัด) 22

Page 23: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4

ข้อค้นพบ

4.4 ข้อค้นพบ – การอบรมและคู่มือต่าง ๆ4.4.1 การอบรมผู้จัดการอนามัยโรงเรียนและครู

4.4.2 การใช้ประโยชน์คู่มือมาตรฐาน

23

Page 24: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.4.1 การอบรมผู้จัดการอนามัยโรงเรียนและครู

การอบรมผู้จัดการอนามัยโรงเรียน• มีประโยชน์ ได้ความรู้• เห็นความสําคัญเรื่องสุขภาพนักเรียน• แต่ยังไม่เห็นบทบาท และการดําเนินงานที่ชดัเจนหลังการอบรม ซึ่งอาจเกิดจากขาด

แนวทางการนําไปปฏิบัติจริงในพื้นที่ และการสร้างเครือข่ายการทํางานร่วมกัน

การอบรมครูประจําชั้น ครูอนามัย• มีประโยชน์ ได้ความรู้ใหม่และได้ทบทวนความรู้เดิม• การบรรยายใช้ศัพท์เทคนิค และคําภาษาอังกฤษเยอะเกินไป• เวลาน้อยเกินไป โดยเฉพาะฐานสาธิตต่างๆ ทําให้ยังไม่เข้าใจมากนัก โดยเฉพาะ

เรื่องโปรแกรมฯ ส่วนใหญ่ต้องกลับมาเรียนรู้ด้วยตัวเอง• ควรมีการอบรมซ้ํา และให้เวลามากขึ้น• พบว่าเกิดความเข้าใจผิด เช่น เข้าใจว่าจะให้ครูเป็นคนเจาะเลือด

24

Page 25: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.4.2 การใช้ประโยชน์คู่มือมาตรฐาน

ครู• เข้าใจยาก อยากให้อ่านง่ายและสั้นกว่านี้ • ไม่มีเวลาอ่าน ควรทําเป็นแผนภาพแผ่นเดียว

หรือเป็นสื่อภาพเคลื่อนไหว• อ่านเฉพาะหัวข้อที่สนใจ (รับผิดชอบ)• หาข้อมูลอ่านในอินเตอร์เน็ต เพราะสะดวกกว่า

เจ้าหน้าที่สาธารณสุข• เข้าใจง่าย มีประโยชน์ • ได้ฟื้นฟูความรู้

ผู้จัดการอนามัยโรงเรียน• ไม่ได้อ่าน มอบงานให้ผู้รับผิดชอบ

25

Page 26: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

5

ข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการสนับสนุนฯ

5.1 ระดับประเทศ

5.2 ระดับเขตสุขภาพ

5.3 ระดับจังหวัด

26

Page 27: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

5.1 ระดับประเทศ

• ประสานงานระหว่าง สปสช. กับกรมส่งเสริมฯ เพิ่มบทบาทเชิงนโยบายและ

ติดตามการดําเนินงาน

• สปสช. และกรมอนามัยควรประสานงานเชิงนโยบายให้มีความชัดเจน

• สปสช. ปรับบทบาทโดยสนับสนุนให้ประชาชนในพืน้ที ่รวมถึง ผู้จัดการฯ ทราบ

สิทธิของตนและทาํหน้าที่เรียกร้องบริการทีค่วรได้รับ รวมถึงติดตามการ

ให้บริการของสถานบริการที่เป็นคูส่ญัญา สปสช.

• วางแนวทางการพัฒนาฐานข้อมูลของประเทศเพือ่การแก้ปัญหาการบันทกึและ

ใช้ประโยชน์ข้อมูลในระยะยาว

27

Page 28: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

5.2 ระดับเขตสุขภาพ (สปสช. เขต ศูนย์อนามัยเขต สสจ.)

• ประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ให้ทราบนโยบาย เพื่อให้การทํางานเป็นไป

อย่างราบรื่นและสนับสนุนกัน

• ควรประสานเชื่อมนโยบายในระดับเขตสขุภาพสู่องค์กรปกครองสว่นทอ้งถิ่น

เพื่อให้เกิดแนวนโยบายการลงทนุด้านสขุภาพทีเ่ป็นไปในทศิทางเดียวกัน

28

Page 29: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

5.3 ระดับจังหวัด

• สื่อสารให้ผู้จัดการอนามัยโรงเรียนและครู รวมถึงบุคลากรสาธารณสุขเข้าใจและเห็นความสําคัญและความเชื่อมโยงของทั้งสองโครงการติดตามการบริหารจัดการ รวมถึงให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้จัดการอนามัยโรงเรียน

• สปสช. แก้ปัญหาการให้บริการอนามัยโรงเรียนทีส่ถานพยาบาลคูส่ญัญา/ สนับสนุนพื้นทีใ่ห้ทราบสทิธิและทาํหน้าที่ติดตามการให้บริการ

• กระตุ้นให้เทศบาลเห็นความสําคัญของงานอนามัยโรงเรียนโดยกําหนดให้เป็นตัวชี้วัด (KPI)

• พิจารณา package ของมาตรการที่โครงการสนับสนุนฯ ดาํเนินการในระยะ ยาว มาตรการใดเป็นมาตรการส่วนเพิ่มทีจ่ะสนบัสนุนบริการอนามัยโรงเรียนในบริบทเทศบาลอย่างแทจ้ริง (การอบรม? การประสานงาน?)

29

Page 30: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

Follow us at

Page 31: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.ข้อค้นพบรายจังหวัด: เชียงราย

31

สิ่งที่คาดหวัง ข้อค้นพบ

ระดับ

เทศบ

าล

1. ผู้จัดการฯ ตั้งกรรมการ และ

ทําแผนการดําเนินงานในพื้นที่• ฝ่ายสาธารสุขเป็นแกนนําในการตั้งกรรมการ (แต่ยังไม่มีการประชุม) และทําแผนการ

ดําเนินงานในพื้นที่

2. เทศบาลใช้ทรัพยากรและ

งบประมาณสนับสนุนบริการ

อนามัยโรงเรียน

• ผู้บริหารเทศบาล ไม่มีปัญหาเรื่องงบประมาณ แต่ยังไม่มีนโยบาย/แนวปฏิบตัิชัดเจน

• ใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในการทําโครงการ

สุขภาพ (เทศบาลทําให้)

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ระบบสาธารณสุข: เรื่องฟันทําได้ดีแล้ว พบปัญหาการส่งต่อกรณีพบความผิดปกติเรื่อง

สายตา

ระดับ

โรงเรีย

1. ครู และเจ้าหน้าที่

สาธารณสุขร่วมกันให้บริการฯ

• การให้บริการฯ ดําเนินโดยผู้ประสานงาน (เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เทศบาล)

• ครูประจําชั้น/อนามัยมีข้อจํากัดการให้บริการเรื่อง ตรวจสายตาและตาบอดสี

2. ผู้จัดการฯ ทุกระดับให้การ

สนับสนุน

• ผอ. โรงเรียนบางแห่งมีนโยบายสนับสนุน บางแห่งยังไม่เห็นความสําคัญ คิดว่าเป็น

หน้าที่สาธารณสุขและมีข้อกังวลเรื่องการจ่าย “ยาเสริมธาตุเหล็ก”

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ผู้ปกครอง: ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองในการส่งต่อ และทําโครงการต่าง ๆ บ้าง

แต่มีข้อจํากัดในโรงเรียนที่อยู่ในชุมชนที่มีเศรษฐานะต่ํา

Page 32: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.ข้อค้นพบรายจังหวัด: อุดรธานี

32

สิ่งที่คาดหวัง ข้อค้นพบ

ระดับ

เทศบ

าล

1. ผู้จัดการฯ ตั้งกรรมการ และ

ทําแผนการดําเนินงานในพื้นที่• กําหนดโครงสร้างการทํางาน (แต่ยังไม่มีการประชุม ต้องติดตามต่อ) มีแผนการ

ดําเนินงานในพื้นที่

2. เทศบาลใช้ทรัพยากรและ

งบประมาณสนับสนุนบริการ

อนามัยโรงเรียน

• เทศบาลมีนโยบายให้ทุกโรงเรียนในสังกัดเข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ดําเนินการโดยเทศบาล ปรับตัวชี้วัดเองจากกรมอนามัย

• ยังไม่มีการของบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

• ผู้บริหารเทศบาล ไม่มีปัญหาเรื่องงบประมาณ แต่ ยังไม่มีนโยบาย/แนวปฏิบตัิชดัเจน

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ระบบสาธารณสุข: เรื่องฟันทําได้ดีแล้ว พบปัญหาการส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ

โดยเฉพาะเรื่องสายตา

ระดับ

โรงเรีย

1. ครู และเจ้าหน้าที่

สาธารณสุขร่วมกันให้บริการฯ

• การให้บริการ สุ่มเด็กที่คิดว่า ซีด ให้เจ้าหน้าที่ PCU เจาะเลือด

• บทบาทของครูประจําชั้น/อนามัย ยังมีข้อจํากัดโดยเฉพาะเรื่องตรวจสายตา

2. ผู้จัดการฯ ทุกระดับให้การ

สนับสนุน

• ผอ./รอง ผอ. แจ้งให้ครูทราบถึงโครงการสนับสนุนการเข้าถึงฯ ให้นโยบายและ

สนับสนุนเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพ

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ผู้ปกครอง: มีข้อจํากัดความร่วมมือจากผู้ปกครองในเรื่องการส่งต่อ และเขา้ร่วม

โครงการส่งเสริมสุขภาพ

Page 33: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.ข้อค้นพบรายจังหวัด: สระบุรี

33

สิ่งที่คาดหวัง ข้อค้นพบ

ระดับ

เทศบ

าล

1. ผู้จัดการฯ ตั้งกรรมการ และ

ทําแผนการดําเนินงานในพื้นที่• ยังไม่มีการตั้งกรรมการ แต่มีแผนการดําเนินงานในพื้นที่ (เป็นแผนเดิมที่โรงเรียน กับ

PCU ดําเนินการอยู่แล้ว ไม่จําเป็นต้องปรับใหม่)

2. เทศบาลใช้ทรัพยากรและ

งบประมาณสนับสนุนบริการ

อนามัยโรงเรียน

• มีการของบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยแต่ละ

โรงเรียนขอเอง แต่ขาดความเข้าใจในเรื่องเกณฑ์ต่าง ๆ จึงไม่ประสบความสําเร็จ

• ผู้บริหารเทศบาล ไม่มีปัญหาเรื่องงบประมาณ แต่ยังไม่มีนโยบาย/แนวปฏิบตัิชัดเจน

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ระบบสาธารณสุข: เรื่องฟันทําได้ดีแล้ว พบปัญหาการส่งต่อ เด็กไม่ได้รับแว่นสายตา

ระดับ

โรงเรีย

1. ครู และเจ้าหน้าที่

สาธารณสุขร่วมกันให้บริการฯ

• ครูประจําชั้น/อนามัยมีส่วนร่วมในการให้บริการคัดกรองมาก โดยเฉพาะเรื่องสายตา

(เป็นจังหวัดนําร่อง)

2. ผู้จัดการฯ ทุกระดับให้การ

สนับสนุน

• ระดับโรงเรียน มีการวางระบบการดําเนินงานด้านอนามัยโรงเรียนและการบันทึกข้อมูล

และกําหนดนโยบาย

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ผู้ปกครอง: มีข้อจํากัดความร่วมมือจากผู้ปกครอง โรงเรียนเทศบาลทั้งหมดอยู่ในเขต

ชุมชนที่มีเศรษฐานะต่ํา ครูเน้นแก้ปัญหาครอบครัวและสังคมของเด็ก

Page 34: ผลการศึกษาเบ ื้องต้นการประเมินผลโครงการสน ับสนุนการเข ้า ... · โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

4.ข้อค้นพบรายจังหวัด: สุราษฎร์ธานี

34

สิ่งที่คาดหวัง ข้อค้นพบระ

ดับเท

ศบาล

1. ผู้จัดการฯ ตั้งกรรมการ และ

ทําแผนการดําเนินงานในพื้นที่• มีการตั้งกรรมการจํานวน 4 ชุด (ก่อน สปสช. ประชุมเพียงไม่กี่วัน) และยังไม่มีการ

ประชุมหรือจัดทําแผนการดําเนินงาน

2. เทศบาลใช้ทรัพยากรและ

งบประมาณสนับสนุนบริการ

อนามัยโรงเรียน

• เพิ่มบริการเจาะเลือด (และให้ยาเสริมธาตุเหล็ก) ตามนโยบายกรมอนามัย เด็กได้

ยาเสริมธาตุเหล็กไม่ครบ ได้เฉพาะคนที่ซีดสัปดาห์ละ 1 เม็ด

• ไม่มีการของบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

• ผู้บริหารเทศบาล ไม่มีปัญหาเรื่องงบประมาณ แต่ยังไม่มีนโยบาย/แนวปฏิบตัิชัดเจน

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ทําได้ดีทั้งเรื่องฟันและสายตา โดยระบุว่าเด็กได้รับแว่นครบถ้วน

ระดับ

โรงเรีย

1. ครู และเจ้าหน้าที่

สาธารณสุขร่วมกันให้บริการฯ

• บทบาทของครูประจําชั้น/อนามัย ยังมีข้อจํากัด แต่ได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่

สาธารณสุข (เป็นการแก้ปัญหาร่วมกันในพื้นที่)

• มีปัญหาโครงสร้างการบริหารจัดการหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่

2. ผู้จัดการฯ ทุกระดับให้การ

สนับสนุน

• ผอ./รอง ผอ. ร่วมกําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานอนามัยโรงเรียน

• บทบาท สสอ. ในการสนับสนุนการให้บริการเป็นตัวอย่างที่ดี

3. มีการส่งต่อกรณีพบความ

ผิดปกติ

• ทําได้ดีทั้งเรื่องฟันและสายตา โดยระบุว่าเด็กได้รับแว่นครบถ้วน