ผลกระทบของ AEC ต่อ...

26
ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคม สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) 26 พฤศจิกายน 2555 การสัมมนาวิชาการประจาปี 2555 “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: มายาคติ ความเป็นจริง โอกาสและความท้าทาย”

Transcript of ผลกระทบของ AEC ต่อ...

Page 1: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลกระทบของ AEC ต่อช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคม

สมชัย จิตสุชนสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (ทีดอีาร์ไอ)

26 พฤศจิกายน 2555

การสัมมนาวิชาการประจ าปี 2555“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: มายาคติ ความเป็นจริง โอกาสและความท้าทาย”

Page 2: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ประเด็นน าเสนอ

1. ผลทางสังคมของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ: บทส ารวจองค์ความรู้

2. ผลของ AEC ต่อช่องว่างทางรายได้ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน

3. การวิเคราะห์ผลกระทบทางสังคมของข้อตกลง AEC4. แนวทางเตรียมการด้านนโยบายสังคมเพื่อใช้ประโยชน์

และรองรับ AEC

Page 3: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

บทส ารวจองค์ความรู้

• เกือบไม่มีงานวิจัยที่เกี่ยวกับผลกระทบด้านสงัคมของ AEC โดยตรงo แต่มีงานวิจัยผลด้านสังคมของโลกาภิวัตน์และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใน

ภูมิภาคต่าง ๆ โดยเฉพาะกรณี EU มีงานวิจัยค่อนข้างมาก

• ยังไม่มีข้อสรุปชัดเจนถึงผลกระทบทางสังคมของโลกาภิวัตน์และการรวมกลุ่มo Gunter & Hoeven (2004) เชื่อว่ามีผลลบหลายช่องทาง (child labor, wage

pressure/poverty/inequality, labor insecurity, migration)o Gärtner (2011) ระบุการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเพิ่มปริมาณแรงงานเด็ก ส่วน Ozcan &

Acaroglu (2010) พบว่าการใช้แรงงานเด็กจะเพิ่มในระยะแรกเท่านั้น จากนั้นจะลดลงo Pelkman (2007) ไม่พบว่า EU ท าให้ตัวแปรด้านสังคมแย่ลง o Esteban (2004) กล่าวว่า EU ท าให้เกิดความเหลื่อมล้ าระหว่างพื้นที่ (region) ภายในประเทศo Anderson (1996) ไม่พบหลักฐานชัดเจนว่าการขยายการค้าเกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมใน

ประเทศ

• การรวมกลุ่มอาจท าให้ประเทศสมาชิกมีนโยบายด้านสงัคมเคลื่อนเขา้หากัน (Falkner 2009)

Page 4: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลของ AEC ต่อช่องว่างรายได้ระหว่างประเทศอาเซียน

• พบว่า AEC มีผลลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศอาเซียนo Harrigan และคณะ (2006) o Lee and Palmer (2011)o Itakura (2012)

• มีความแตกต่างกันบ้างว่าประเทศใดได้ประโยชน์มากกว่าo ในกลุ่ม ASEAN5 ส่วนใหญ่พบว่าไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ได้ประโยชน์มาก

(Harrigan และคณะ (2006)) แต่หากรวมกลุ่มกับประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ (ASEAN+6) เวียดนามจะได้ประโยชน์สูงสุด

o การรวมกลุ่มกับจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ให้ประโยชน์ต่อ ASEAN มากกว่ากับ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์

o ในกลุ่ม CLMV เวียดนามและกัมพูชาได้ประโยชน์มากกว่าลาว (Itakura (2012))

Page 5: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

5

ผลต่อ GDP ของข้อตกลง AEC ด้านภาษี ภาคบริการ และการอ านวยความสะดวกด้านการค้า

(Cumulative percentage increase over baseline 2011-2015 in 2015)

0.86

2.18

0.18

0.66

0.140.33 0.34 0.38

0.820.92

2.94

1.62

0.830.62

0.82

1.371.24

2.67

1.51

4.37

1.98

2.33

0.94 0.99

1.651.52

3.52

0.0

0.5

1.0

1.5

2.0

2.5

3.0

3.5

4.0

4.5

5.0

RoSEAsia Cambodia Indonesia Laos Malaysia Philippines Singapore Thailand Viet Nam

A5: Tariff AS: Tariff+Services AT: Tariff+Services+Time

Notes: Brunei is proxied by “Rest of South East Asia” in the simulation. No estimates for Myanmar because of

serious data problems.

Source: Computed by Itakura for MTR project.

Page 6: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

2.3

9.5

5.8

3.0

5.0

3.3 2.9

8.3

13.4

0.0

2.0

4.0

6.0

8.0

10.0

12.0

14.0

16.0

ASEAN

Coexistence of Five ASEAN+1 FTAs

Coexistence of Five ASEAN+1 FTAs and CJK FTAs

ASEAN+6 FTA

ผลกระทบต่อ GDP ของข้อตกลงด้านภาษี (FTAs)กรณีเพิ่มความครอบคลุมประเทศ

Source: Dynamic GTAP Simulation by Itakura (2012)

NOTE: Cumulative Percentage Point, deviation from baseline, 2011 to 2015; NA for Myanmar due to data availability 6

Page 7: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสังคม: วิธีการศึกษา

ผลกระทบทางเศรษฐกิจและช่องว่างรายได้

1. การลดภาษีการค้า2. การลงทุน3. การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ4. การเคลื่อนย้ายเงินทุน

ผลกระทบทางสังคม

Panel Regression

ทบทวนวรรณกรรม

ทบทวนวรรณกรรม

ข้อตกลง AEC

Page 8: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

4 กรณีการรวมกลุ่ม

• กรณี 1: ปรับลดภาษีการค้าระหว่างประเทศสมาชิกเหลือศูนย์• กรณี 2: เหมือนกับกรณี 1 แต่เพิ่มการลดลงของต้นทุน

เนื่องจากการเปิดเสรีการค้าภาคบริการมากขึ้น • กรณี 3: เหมือนกับกรณี 2 แต่เพิ่มการลดลงของต้นทุน

เนื่องจากการลดลงของเวลาในการท าการค้าระหว่างประเทศ (เช่นเวลาในกระบวนการน าเข้าและส่งออกสินค้า)

• กรณี 4: เหมือนกรณี 3 แต่ขยายความครอบคลุมถึงอีก 6 ประเทศคือจีน อินเดีย เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ (เป็นกรณทีี่มีระดับการรวมกลุ่มมากที่สุด)

Page 9: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

มิต/ิตัวแปรด้านสังคมที่ศึกษา

1. ความยากจน: สัดส่วนคนจนที่ใช้เสน้ความยากจนของแต่ละประเทศ

2. ความเหลื่อมล้ าในประเทศ: สัมประสิทธิ์ความเหลื่อมล้ า Gini Coefficient

3. สุขภาพพื้นฐาน: อัตราตายของทารกแรกเกิด 4. สุขภาพทั่วไป: อายุขัยเฉลี่ย5. การศึกษาทั่วไป: อัตราการเข้าเรยีนต่อระดับมัธยมศึกษา6. สิ่งแวดล้อม: อัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อ

รายได้ประชาชาติ

Page 10: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

แหล่งข้อมูลส าหรับแบบจ าลอง

• WB (World Development Indicator)oมีตัวแปรเศรษฐกิจส าคัญครบถ้วนส าหรบัประเทศ ASEAN

รวมการลงทุนโดยตรง แต่ไม่มีการลงทุนทางอ้อม (portfolio investment)

ข้อมูลการเคลื่อนย้ายแรงงานไม่สมบูรณ์oสามารถดูช่องว่างรายได้ใน ASEAN และภายในแต่ละประเทศoมีตัวแปรด้านสังคมจ านวนหนึ่ง (ความยากจน ความเหลื่อมล้ า

การศึกษา สุขภาพ การจ้างงาน เป็นต้น)oตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม (CO2 การใช้พลังงานทดแทน)

Page 11: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

วิธีการประมาณการ

• ใช้ Panel Regression โดยoครอบคลุมข้อมูลปี 1980-2010oแยกประมาณการเป็น 2 กลุ่ม คือ ASEAN5 (อินโดนีเซีย มาเลเซีย

ฟิลิปปินส์ ไทย สิงคโปร์) และ CLMV (กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม) เพราะพบว่าความสัมพนัธ์ของตัวแปรสังคมกับตัวแปรเศรษฐกิจมีความต่างกันระหว่างสองกลุม่นี้

oFixed Effect ประเทศoตัวแปรเศรษฐกิจใช้รายได้ประชาชาติราคาคงที่แบบ PPP ปี 2005oปรับใช้อัตราการขยายตัวเศรษฐกิจสะสมปี 2011-2015 โดย

Itakura (2012) ใน 4 กรณี

Page 12: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลการวิเคราะห์

Page 13: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลต่อความยากจน

ลดภาษีเพ่ิมเปดิเสรี

การค้าบริการ

เพ่ิมการลด

ต้นทนุด้าน

เวลา

ASEAN+6

กมัพชูา 30.1 29.9 29.9 29.8 29.3

ลาว 27.6 27.6 27.6 27.5 27.5

เวยีตนาม 14.5 13.9 12.6 12.0 5.0

อนิโดนีเซีย 15.4 15.3 14.6 14.4 12.4

มาเลเซีย 3.8 3.8 3.7 3.6 2.8

ฟลิิปปินส์ 26.5 26.4 26.3 26.3 25.9

ไทย 8.1 8.0 7.7 7.7 5.7

ค่าเฉล่ีย (อย่างง่าย) 18.0 17.8 17.5 17.3 15.5

ค่าเฉล่ีย CLMV-ASEAN4 10.6 10.4 10.3 10.1 8.9

CV 1.394 1.408 1.461 1.481 1.851

ประเทศ ปฐีาน

4 กรณีข้อตกลง

Page 14: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลต่อความเหลื่อมล้ าในประเทศ (Gini)

ลดภาษีเพ่ิมเปดิเสรี

การค้าบริการ

เพ่ิมการลด

ต้นทนุด้าน

เวลา

ASEAN+6

กมัพชูา 37.85 37.85 37.85 37.85 37.86

ลาว 36.74 36.74 36.74 36.74 36.74

เวยีตนาม 35.57 35.58 35.59 35.60 35.67

อนิโดนีเซีย 34.01 34.00 33.95 33.94 33.80

มาเลเซีย 46.21 46.21 46.20 46.20 46.14

ฟลิิปปินส์ 42.98 42.98 42.97 42.97 42.94

ไทย 40.02 40.01 39.99 39.99 39.85

ค่าเฉล่ีย (อย่างง่าย) 39.05 39.05 39.04 39.04 39.00

ค่าเฉล่ีย ASEAN4-CLMV 4.09 4.08 4.05 4.04 3.93

CV 0.2709 0.2708 0.2712 0.2712 0.2710

ประเทศ ปฐีาน

4 กรณีข้อตกลง

Page 15: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลสุขภาพพื้นฐาน (อัตราการตายทารก)

ลดภาษีเพ่ิมเปดิเสรี

การค้าบริการ

เพ่ิมการลด

ต้นทนุด้าน

เวลา

ASEAN+6

กมัพชูา 45.60 45.49 45.45 45.37 45.10

ลาว 44.30 44.28 44.28 44.24 44.22

พมา่ 52.20 52.07 52.06 51.97 51.85

เวยีตนาม 19.30 18.92 18.05 17.65 13.03

อนิโดนีเซีย 28.10 27.98 27.03 26.79 24.26

มาเลเซีย 5.60 5.56 5.44 5.35 4.28

ฟลิิปปินส์ 23.90 23.81 23.71 23.67 23.11

ไทย 11.60 11.46 11.14 11.04 8.51

สิงคโปร์ 2.10 2.04 1.86 1.81 1.59

ค่าเฉล่ีย (อย่างง่าย) 25.86 20.26 19.90 19.75 18.09

ค่าเฉล่ีย CLMV-ASEAN5 26.09 26.02 26.12 26.08 26.20

CV 1.9924 2.0022 2.0362 2.0480 2.2372

CV2 1.5588 1.5676 1.5980 1.6090 1.7965

4 กรณีข้อตกลง

ประเทศ ปฐีาน

Page 16: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลต่อสุขภาพทั่วไป (อายุขัยเฉลี่ย)

ลดภาษีเพ่ิมเปดิเสรี

การค้าบริการ

เพ่ิมการลด

ต้นทนุด้าน

เวลา

ASEAN+6

กมัพชูา 60.82 60.87 60.88 60.91 61.02

ลาว 65.35 65.36 65.36 65.38 65.38

พมา่ 62.66 62.71 62.72 62.75 62.80

เวยีตนาม 72.69 72.85 73.20 73.36 75.25

อนิโดนีเซีย 66.89 66.92 67.13 67.18 67.75

มาเลเซีย 71.62 71.63 71.66 71.68 71.92

ฟลิิปปินส์ 64.95 64.97 64.99 65.00 65.12

ไทย 70.45 70.48 70.55 70.58 71.14

สิงคโปร์ 78.90 78.91 78.95 78.96 79.01

ค่าเฉลีย่ (อยา่งง่าย) 68.26 69.78 69.89 69.93 70.43

ค่าเฉลีย่ ASEAN5-CLMV 5.18 5.14 5.12 5.08 4.87

CV 0.2348 0.2349 0.2362 0.2365 0.2448

CV2 0.1701 0.1706 0.1734 0.1743 0.1913

ประเทศ ปฐีาน

4 กรณีข้อตกลง

Page 17: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลต่อการศึกษา (การเรียนต่อมัธยม)

ลดภาษีเพ่ิมเปดิเสรี

การค้าบริการ

เพ่ิมการลด

ต้นทนุด้าน

เวลา

ASEAN+6

กมัพชูา 45.14 45.33 45.39 45.51 45.95

ลาว 44.66 44.69 44.69 44.76 44.79

พมา่ 53.25 53.46 53.48 53.62 53.82

เวยีตนาม 76.20 76.83 78.24 78.89 86.41

อนิโดนีเซีย 75.06 75.18 76.20 76.46 79.15

มาเลเซีย 70.30 70.34 70.47 70.56 71.71

ฟลิิปปินส์ 84.82 84.92 85.03 85.07 85.67

ไทย 76.09 76.24 76.59 76.70 79.38

ค่าเฉลีย่ (อยา่งง่าย) 65.69 68.81 69.24 69.44 71.56

ค่าเฉลีย่ ASEAN4-CLMV 21.75 21.59 21.62 21.50 21.23

CV 0.6301 0.6299 0.6372 0.6379 0.6773

ประเทศ ปฐีาน

4 กรณีข้อตกลง

Page 18: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

ผลต่อสภาพแวดล้อม (CO2 Emission)

ลดภาษีเพ่ิมเปดิเสรี

การค้าบริการ

เพ่ิมการลด

ต้นทนุด้าน

เวลา

ASEAN+6

กมัพชูา 0.175 0.176 0.176 0.176 0.177

ลาว 0.126 0.126 0.126 0.126 0.126

พมา่ 0.186 0.186 0.186 0.187 0.187

เวยีตนาม 0.573 0.575 0.577 0.579 0.594

อนิโดนีเซีย 0.484 0.484 0.486 0.487 0.491

มาเลเซีย 0.585 0.585 0.585 0.586 0.588

ฟลิิปปินส์ 0.273 0.273 0.273 0.273 0.274

ไทย 0.567 0.568 0.568 0.568 0.573

สิงคโปร์ 0.139 0.139 0.139 0.140 0.140

ค่าเฉลีย่ (อยา่งง่าย) 0.345 0.401 0.402 0.403 0.407

ค่าเฉลีย่ ASEAN5-CLMV 0.145 0.144 0.144 0.144 0.142

CV 1.6586 1.6581 1.6598 1.6598 1.6711

CV2 1.4263 1.4257 1.4275 1.4274 1.4374

ประเทศ ปฐีาน

4 กรณีข้อตกลง

Page 19: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

สรุปผลต่อสังคมเปรียบเทียบระหว่างกรณีต่าง ๆ

-20 - 20 40 60

รายได้ประชาชาติ PPP

ความยากจน

Gini

การตายของทารก

อายุขัยเฉลี่ย

เรียนต่อมัธยม

CO2ลดภาษี

เพิ่มเปิดเสรีการค้าบริการ

เพิ่มการลดต้นทุนด้านเวลา

ASEAN+6

Page 20: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

สรุปผลต่อช่องว่างทางสังคมระหว่างประเทศอาเซียน

-0.100 0.000 0.100 0.200 0.300 0.400 0.500

รายได้ประชาชาติ PPP

ความยากจน

Gini

การตายของทารก

อายุขัยเฉลี่ย

เรียนต่อมัธยม

CO2ลดภาษี

เพิ่มเปิดเสรีการค้าบริการ

เพิ่มการลดต้นทุนด้านเวลา

Page 21: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

สรุปผลการศึกษา

• AEC ท าให้มิติด้านสังคมดขีึ้น และผันแปรโดยตรงกับความเข้มข้นของการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ

• ยกเว้นเรื่องผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ได้รับการกระตุ้นจาก AEC

• ผลต่อความเหลื่อมล้ าในประเทศo ความเหลื่อมล้ าในประเทศกลุ่ม CLMV ปรับตัวแย่ลง o ส่วนความเหลื่อมล้ าในประเทศอาเซียนเดมิดีขึ้น แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง และสูงกว่า CLMVo ดังนั้นประเทศในกลุ่ม ASEAN โดยรวมยังต้องแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ าต่อเนื่องต่อไปภายใต้ AEC

• ช่องว่างทางสังคมระหว่างประเทศสมาชิกo เพิ่มมากขึ้น สวนทางกับการลดลงของช่องว่างทางเศรษฐกิจ o ช่องว่างทางสังคมจะยิ่งเพิ่มมากขึ้นตามระดับการรวมตัวทางเศรษฐกิจ o คาดว่าเป็นเพราะการส่งผ่านประโยชน์จากด้านเศรษฐกิจไปสู่ด้านสังคมนั้นมีมากกว่าในประเทศที่มีรายได้สูง

กว่า

• ยังมีมิติทางด้านสังคมอีกมากที่ไม่ได้รวมในการศึกษา panel regression นี้ o เช่นการใช้แรงงานเด็กที่อาจเพิ่มตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจและระดับการแข่งขันที่สูงข้ึน o กิจกรรมเศรษฐกิจผิดกฎหมายหรือเศรษฐกิจใต้ดินก็อาจเพิ่มมากขึ้น

Page 22: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

แนวทางเตรียมการด้านนโยบายสังคม

• เร่งความร่วมมือภายใต้กรอบ ASCC o สร้าง ASCC scorecard ให้เสร็จในเร็ววัน (อยู่ระหว่างจัดท า) และท าการ monitor

ความก้าวหน้าอย่างแท้จริง

• เพ่ิมระดับความคุ้มครองทางสังคมและสวัสดิการ (social protection/welfare) ให้ทั่วถึงo อาจใช้แนวคิด social protection floor ของ ILO/UN เพราะ (ก) affordable (b)

high impacts on SP/Welfare

• เร่งพัฒนาด้าน human development เพราะมีความส าคัญมากขึ้นภายใต้การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

• ปรับปรุงนโยบายด้านการลงทุน (FDI/Domestic) ให้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

Page 23: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

เปรียบเทียบระบบคุ้มครองทางสังคมของชาติอาเซียนบางประเทศ

ประเทศกลยุทธ์

ระดับชาติประกันสังคม

ประกันสุขภาพ การช่วยเหลือทางสังคมบริการ

ทางสังคมถ้วนหน้า

ระดับชุมชน

กองทุนสุขภาพ

เงินโอนเงิน

อุดหนุนเงิน

ผู้สูงอายุอาหาร

จ้างงานโดยรัฐ

กัมพูชา √ √ √ √ √ √ √ √ √

ลาว ? √ √ √ √ √ √

พม่า ? √ √ √ √ √ √

เวียดนาม √ √ √ √ √ √ √ √

อินโดนีเชีย ? √ √ √ √ √ √ √ √

ฟิลิปปินส์ ? √ √ √ √ √ √ √ √

ไทย ? √ √ √ √ √

Page 24: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

เปรียบเทียบระบบประกันสังคมของชาติอาเซียนบางประเทศ

ประเทศ เจ็บป่วย คลอดบุตร ชราภาพ ทุพพลภาพ

สงเคราะห์บุตร

เสียชีวิตบาดเจ็บจากการท างาน

ว่างงาน

กัมพูชา

ลาว √ √ √ √ √ √

พม่า √ √ จ ากัด จ ากัด จ ากัด √

เวียดนาม √ √ √ √ √ √ √

อินโดนีเชีย In-kind √ √ √ √

ฟิลิปปินส์ √ √ √ √ √ √

ไทย √ √ √ √ √ √ √ √

Page 25: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

เปรียบเทียบ CO2 กับ FDI

CO2 Emission

FDI Stock

Page 26: ผลกระทบของ AEC ต่อ ช่องว่างทางรายได้และมิติด้านสังคมtdri.or.th/wp-content/uploads/2012/11/PPT_SEC4_YE2012.pdf ·

แนวทางวิจัยเพิ่มเติม

• เพ่ิมมิติด้านสังคมo เช่นการใช้แรงงานเด็ก

• พัฒนาแบบจ าลองให้ดีขึ้น เช่น