⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

26
) การศึกษาความหลากชนิด ถิ่นที่อยูอาศัย และการสรางรังวางไขของนกในบึงบอระเพ็ดไดดําเนิน การเก็บขอมูลเกี่ยวกับสภาพถิ่นที่อยูอาศัย ความหลากชนิด และการสรางรังวางไขของนกตามแนวเขตของ เขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ ถึงกันยายน 2544 ผลการศึกษาสภาพพื้นที่ของบึงบอระเพ็ด สามารถแบงพื้นที่ออกไดเปน 7 ลักษณะ คือ บริเวณ พื้นน้ํา บริเวณพืชลอยน้ํา บริเวณพืชปริ่มน้ํา บริเวณพืชโผลพนน้ํา บริเวณพื้นที่เกาะ บริเวณพื้นที่ปาพรุ และปาละเมาะ และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย ความหลากชนิดของนกจากการศึกษาพบนก ทั้งสิ้น 153 ชนิด โดยในเดือนมีนาคม 2544 พบชนิดนกมากที่สุด คือพบ 110 ชนิด นกที่สรางรังวางไข ในพื้นที่พบจํานวน 45 ชนิด โดยพบนกสรางรังวางไขตั้งแตเดือนกุมภาพันธ จนถึงเดือนกันยายน และใน เดือนมิถุนายน และกรกฎาคม พบนกสรางรังวางไขมากที่สุดโดยพบ 26 ชนิด เทากัน ความสัมพันธระหวางถิ่นที่อยูอาศัยกับจํานวนชนิดนกที่เขามาใชประโยชนพื้นที่แตละลักษณะ มีดัง นีบริเวณพื้นน้ํา พบ 25 ชนิด บริเวณพืชลอยน้ํา พบ 40 ชนิด บริเวณพืชปริ่มน้ํา พบ 31 ชนิด บริเวณพืชโผลพนน้ํา พบ 64 ชนิด บริเวณพื้นที่เกาะ พบ 85 ชนิด บริเวณพื้นที่ปาพรุ และปาละเมาะ พบ 132 ชนิด และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย พบ 99 ชนิด บึงบอระเพ็ด ตั้งอยูระหวางเสนละติจูด (latitude) 15° 41'–15° 45' เหนือ และเสนลองจิจูด (longitude) 100° 10'–100° 23' ตะวันออก หรืออยูในทองที่อําเภอเมืองนครสวรรค อําเภอชุมแสง และ อําเภอทาตะโก จังหวัดนครสวรรค มีเนื้อที่ทั้งหมด 132,737 ไร 56 ตารางวา (212.4 ตารางกิโลเมตร) นับ เปนแหลงประมงน้ําจืดที่สําคัญของประเทศ โดยเปนที่ตั้งของศูนยพัฒนาประมงน้ําจืดนครสวรรค (เดิมชื่อ สถานีประมงน้ําจืดจังหวัดนครสวรรค ซึ่งจัดไดวาเปนสถานีประมงแหงแรกของประเทศไทย) นอกจากนี้ยัง เปนเขตหามลาสัตวปา (Wildlife Non-hunting Area) ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ ลงวันที15 กรกฎาคม .. 2518 อีกดวย บึงบอระเพ็ด ในแงของการประมง รัฐบาลไดกําหนดพื้นที่หวงหามเอาไวในชวงแรก (.. 2470) ประมาณ 250,000 ไร ตอมาใน .. 2480 ไดเพิกถอนการหวงหามที่ดินบางสวนคงเหลือพื้นที่หวงหาม

Transcript of ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

Page 1: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

⌫ ⌦

)

การศึกษาความหลากชนิด ถิ่นที่อยูอาศัย และการสรางรังวางไขของนกในบึงบอระเพ็ดไดดําเนิน

การเก็บขอมูลเกี่ยวกับสภาพถิ่นที่อยูอาศัย ความหลากชนิด และการสรางรังวางไขของนกตามแนวเขตของเขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค ต้ังแตเดือนกุมภาพันธ ถึงกันยายน 2544

ผลการศึกษาสภาพพื้นที่ของบึงบอระเพ็ด สามารถแบงพื้นที่ออกไดเปน 7 ลักษณะ คือ บริเวณพื้นน้ํา บริเวณพืชลอยน้ํา บริเวณพืชปริ่มน้ํา บริเวณพืชโผลพนน้ํา บริเวณพื้นที่เกาะ บริเวณพื้นที่ปาพรุและปาละเมาะ และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย ความหลากชนิดของนกจากการศึกษาพบนกทั้งสิ้น 153 ชนิด โดยในเดือนมีนาคม 2544 พบชนิดนกมากที่สุด คือพบ 110 ชนิด นกที่สรางรังวางไขในพื้นที่พบจํานวน 45 ชนิด โดยพบนกสรางรังวางไขต้ังแตเดือนกุมภาพันธ จนถึงเดือนกันยายน และในเดือนมิถุนายน และกรกฎาคม พบนกสรางรังวางไขมากที่สุดโดยพบ 26 ชนิด เทากัน

ความสัมพันธระหวางถิ่นที่อยูอาศัยกับจํานวนชนิดนกที่เขามาใชประโยชนพื้นที่แตละลักษณะ มีดังนี้ บริเวณพื้นน้ํา พบ 25 ชนิด บริเวณพืชลอยน้ํา พบ 40 ชนิด บริเวณพืชปริ่มน้ํา พบ 31 ชนิด บริเวณพืชโผลพนน้ํา พบ 64 ชนิด บริเวณพื้นที่เกาะ พบ 85 ชนิด บริเวณพื้นที่ปาพรุ และปาละเมาะ พบ 132 ชนิด และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย พบ 99 ชนิด

บึงบอระเพ็ด ต้ังอยูระหวางเสนละติจูด (latitude) 15° 41'–15° 45' เหนือ และเสนลองจิจูด

(longitude) 100° 10'–100° 23' ตะวันออก หรืออยูในทองที่อําเภอเมืองนครสวรรค อําเภอชุมแสง และอําเภอทาตะโก จังหวัดนครสวรรค มีเนื้อที่ทั้งหมด 132,737 ไร 56 ตารางวา (212.4 ตารางกิโลเมตร) นับเปนแหลงประมงน้ําจืดที่สําคัญของประเทศ โดยเปนที่ต้ังของศูนยพัฒนาประมงน้ําจืดนครสวรรค (เดิมชื่อสถานีประมงน้ําจืดจังหวัดนครสวรรค ซึ่งจัดไดวาเปนสถานีประมงแหงแรกของประเทศไทย) นอกจากนี้ยังเปนเขตหามลาสัตวปา (Wildlife Non-hunting Area) ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ ลงวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 อีกดวย

บึงบอระเพ็ด ในแงของการประมง รัฐบาลไดกําหนดพื้นที่หวงหามเอาไวในชวงแรก (พ.ศ. 2470) ประมาณ 250,000 ไร ตอมาใน พ.ศ. 2480 ไดเพิกถอนการหวงหามที่ดินบางสวนคงเหลือพื้นที่หวงหาม

Page 2: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

132,737 ไร ในป พ.ศ. 2528 กรมธนารักษไดสงแผนที่บึงบอระเพ็ดมาใหธนารักษจังหวัดนครสวรรคตรวจสอบ ยังคงมีพื้นที่ 132,737 ไร แตตอมาในป พ.ศ. 2542 จากการสํารวจของธนารักษจังหวัดนครสวรรคพบวามีราษฎรบุกรุก เหลือพื้นที่จริงในปจจุบัน 96,000 ไร (สํานักงานจังหวัดนครสวรรค, 2543)

เนื่องจากบึงบอระเพ็ดเปนบึงน้ําจืดขนาดใหญจึงมีสภาพที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชน้ํานานาชนิด ซึ่งไมน้ําเหลานี้จะเปนอาหารอยางดีของนกน้ําหลายชนิด รวมถึงเปนที่อยูอาศัยของสัตวชนิดตางๆ ดวย จึงเปนการดึงดูดใหนกจํานวนมากมาอาศัยและหาอาหารอยูภายในบึงบอระเพ็ด ซึ่งนกหลายชนิดก็สรางรังและวางไขในบริเวณบึงบอระเพ็ดดวย บึงบอระเพ็ดจึงกลายเปนถิ่นที่อยูอาศัยและแหลงหากินของนก โอภาส (2534) ไดแบงพื้นที่บึงบอระเพ็ดออกเปน 6 สวน ตามสภาพของพรรณพืชซึ่งเหมาะสําหรับการเปนแหลงอาหาร และหากินของนก ดังนี้คือ บริเวณพื้นน้ํา (Open water zone) บริเวณพืชลอยน้ํา (Floating weed zone) บริเวณพืชที่พนน้ํา (Emergent weed zone) บริเวณเกาะ (Island) บริเวณปาพรุ (Swamp forest) และบริเวณทุงนา (Paddy field)

จากการศึกษาของพงษชัย (2539) ถึงสภาพถิ่นที่อยูอาศัย แหลงหากิน และแหลงหลบภัยของนกภายในเขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด สามารถจําแนกสภาพถิ่นที่อยูอาศัยโดยแบงตามชนิดของพรรณพืชและลักษณะการขึ้นอยูไดดังนี้ บริเวณพื้นน้ํา (Open water zone) บริเวณพืชลอยน้ํา (Floating weed zone) บริเวณพืชที่พนน้ํา (Emergent weed zone) ซึ่งแบงยอยออกเปน 3 แบบ คือ บริเวณพืชปริ่มน้ํา บริเวณพืชโผลพนน้ํา และบริเวณที่มีหญาแพรกน้ํา บริเวณเกาะ (Island) และบริเวณปาพรุ และปาละเมาะ (Swamp and scrub forest)

บุบผา (2542) ไดศึกษาสภาพถิ่นที่อยูอาศัย แหลงหากิน แหลงหลบภัยและที่ทํารังของนกภายในเขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด สามารถจําแนกถิ่นที่อยูอาศัย (Habitat) ตามองคประกอบของพรรณพืชและบริเวณลกัษณะพืน้ทีท่ีม่คีวามแตกตางกนัออกเปน 11 แบบ คอื บรเิวณทุงนา (Paddy field) บรเิวณทุงหญา (Range field) บริเวณปาบัวหลวง บริเวณจอกหูหนู บริเวณบัวสาย บริเวณสาหรายขาวเหนียว บริเวณหญาแพรกน้ํา บริเวณปายูคาลิปตัส บริเวณพื้นน้ําโลง (Open water) บริเวณที่เปนเกาะ (Island) และบริเวณที่เปนบอปลา ทุงนาและทุงหญา (Fish pond, paddy field , rice field)

ความหลากชนิดของนกในบึงบอระเพ็ดไดมีผูศึกษามาเปนระยะๆ โดยกองอนุรักษสัตวปา (2526) พบ 86 ชนิด โอภาส (2527) พบ 97 ชนิด วิเชียร (2537) พบ 124 ชนิด พงษชัย (2539) พบ 73 ชนิด และบุบผา (2542) พบ 122 ชนิด

การสรางรังวางไขของนกในบึงบอระเพ็ดจากการศึกษาของ โอภาส (2534) พบนกสรางรังวางไข 14 ชนิด วิเชียร (2537) พบ 13 ชนิด น้ําออย (2537) พบ 7 ชนิด และบุบผา (2542) พบ 33 ชนิด

การศึกษาถึงความสัมพันธของชนิดนกกับการเลือกใชประโยชนสภาพถิ่นที่อยูอาศัยของนกในบึงบอระเพ็ด รวมถึงชนิดนกที่เลือกถิ่นที่อยูอาศัยในบึงบอระเพ็ดเพื่อใชในการสรางรังวางไข จะทําใหทราบถึงความสาํคญัของสภาพถิน่ทีอ่ยูอาศยัของนกแตละแบบ ทีจ่ะเอือ้อาํนวยตอการดาํรงชวิีตของนกน้าํอยางปกตสิขุและเพื่อจะไดเปนขอควรคํานึงและพิจารณา หากจะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพถิ่นที่อยูอาศัยของนก โดยเฉพาะนกน้ํา จากการพัฒนาแหลงน้ําแหงอื่นๆ ตอไปในอนาคต

Page 3: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อ

1. เพื่อศึกษาความหลากชนิดของนกในป พ.ศ. 2544 ที่ปรากฏในบึงบอระเพ็ด2. เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธระหวางถิ่นที่อยูอาศัยกับชนิดนก3. เพื่อศึกษาความหลากชนิดของนกที่สรางรังวางไขในบึงบอระเพ็ด

⌫⌦

การศึกษาความหลากชนิด ถิ่นที่อยูอาศัย และการสรางรังวางไขของนกในบึงบอระเพ็ด เริ่มดําเนินการตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2544–กันยายน 2544 รวมระยะเวลา 8 เดือน ในพื้นที่ที่ประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ

⌫อุปกรณ

1. กลองสองทางไกลชนิดสองตา (binocular)2. กลองโทรทรรศน (telescope)3. กลองถายรูปพรอมอุปกรณ4. หนังสือคูมือดูนก

4.1 นกในบึงบอระเพ็ด โดย โอภาส (2541 ก)4.2 A Guide to the Birds of Thailand โดย Lekagul และ Round (1991)4.3 Field Guide to the Birds of Thailand and Southeast Asia โดย Robson (2000)

5. เรือติดเครื่องยนตหางยาว6. สมุดบันทึกพรอมอุปกรณเครื่องเขียน

⌫⌦

1. ดําเนินการสํารวจจําแนกสภาพถิ่นที่อยูอาศัยของนกที่ปรากฏอยูภายในเขตหามลาสัตวปา บึงบอระเพ็ด ตลอดจนสํารวจการใชประโยชนพื้นที่อยูอาศัยของนก

2. ดําเนินการสํารวจจําแนกชนิดนก โดยใชกลองสองทางไกลสองดูนกเพื่อจําแนกชนิดพรอมกับบันทึกรายละเอียดการพบเห็นนก ตําแหนง และสภาพถิ่นที่อยูอาศัยที่พบนก โดยใชัวิธีการสํารวจโดยตรง (direct count) ทั้งการนั่งเรือไปตามพื้นที่บริเวณตาง ๆ และเดินสํารวจตามเกาะกลางน้ํา บริเวณปาพรุและปาละเมาะ พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่อยูอาศัยของมนุษย ภายในของเขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด

Page 4: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

นําชนิดของนกที่สํารวจพบมาวิเคราะหเพื่อเปรียบเทียบตามสภาพถิ่นที่อยูอาศัย การแพรกระจาย และคํานวณหาปริมาณความชุกชุม (relative abundance) ตามวิธีการของ Pettingill (1969)

รอยละความชุกชุม = (จํานวนครั้งที่พบนก/จํานวนครั้งที่สํารวจนก) x 100

นําอัตรารอยละที่ไดมาเปรียบเทียบกับอัตรารอยละตามแนวทางของ โอภาส (2534) และ Pettingill (1969) เพื่อกําหนดระดับความชุกชุมของนกในพื้นที่เขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด

3. ดําเนินการสํารวจชนิดนกที่สรางรังวางไข ตลอดจนจําแนกถิ่นที่อยูอาศัยที่นกแตละชนิดเลือกเปนที่สรางรังวางไข

สภาพถิ่นที่อยูอาศัยของนก

จากการศึกษาสภาพถิ่นที่อยูอาศัยของนก ภายในเขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ดสามารถจําแนกสภาพถิ่นที่อยูอาศัย โดยแบงตามลักษณะพื้นที่ ชนิดของพรรณพืช และลักษณะการขึ้นอยูได ดังนี้

1. บริเวณพื้นน้ํา เปนบริเวณที่แลเห็นเปนพื้นน้ําโลง ดูคลายกับไมมีพืชใด ๆ ขึ้นอยูแตแทจริงแลวมีพืชใตน้ํา (submerged weeds) จํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระดับความลึกของน้ําอยูระหวาง 1 – 3 เมตร ระดับความลึกของน้ํามากกวานี้ จะพบพืชใตน้ํานอยหรือไมพบเลย พืชใตน้ําที่พบสวนใหญจะเปนสาหรายเสนดาย (Najas malesiama De wilde) พืชใตน้ําอื่นที่พบไดแก สาหรายหางกระรอก (Hydrilla vertictllata (Li.f.) Roy) สาหรายขาวเหนียว (Utricularia aurea Lour) บริเวณพื้นน้ําพบบริเวณกลางบึง ทอดเปนแนวยาวจากสวนที่แคบทางทิศตะวันออกบริเวณที่เปนแนวคลองบอระเพ็ดเดิม ขยายความกวางขึ้นเรื่อย ๆ ไปสูทิศตะวันตก บริเวณพื้นน้ํานี้เปนพื้นที่ที่ระดับน้ําคอนขางลึกเมื่อเทียบกับพื้นที่สวนอื่น ๆ

2. บริเวณพืชลอยน้ํา เปนบริเวณที่มีพืชลอยอยูเหนือน้ําหรือปริ่มน้ํา โดยที่รากของพืชดังกลาว จะลอย ไมเกาะกับพื้นดินใตน้ํา หรือเกาะกับซากพืชตาง ๆ ซึ่งก็ลอยน้ําเชนเดียวกัน พรรณพืชของบริเวณนี้ไดแก จอกหูหนู (Salvinia cucullata Roxb.) ผักตบชวา (Eichhornia crassipes Solms) แหน (Lemna perpusilla Torr.) ผักบุง (Ipomoea aquatica Forsk.) และแพงพวยน้ํา (Jussiaea repens Linn.) บริเวณนี้พรรณพืชมักจะเจริญเกาะติดกันจนเปนแพขนาดใหญเคลื่อนยายหรือลอยไปตามกระแสลมหรือน้ํา

3. บริเวณพืชปริ่มน้ํา เปนบริเวณที่มีพืชที่ปลายหรือยอด หรือสวนหนึ่งสวนใดโผลพนน้ําเพียงเล็กนอย ซึ่งสวนใหญจะอยูระดับเดียวกับผิวน้ํา ขณะที่รากจะอยูในดินใตน้ํา ไมลอยเหมือนกับพืชลอยน้ํา พบไดในพื้นที่ที่ระดับน้ําตื้น ๆ ไปจนพื้นที่ที่ระดับน้ําลึกประมาณ 2.50 เมตร พรรณไมที่พบไดแก บัวสาย (Nymphaea lotus Linn.) ดีปลีน้ํา (Potamogeton malaianus Miq.) สาหรายหางกระรอก หญาแพรก (Pseudoraphis spinnescens Vickery) สาหรายขาวเหนียว และบัวเผื่อน (Nymphaea nouchah Burm.)

4. บริเวณพืชที่โผลพนน้ํา เปนบริเวณที่มีพืชที่ปลายหรือยอดของพืชโผลพนน้ําเห็นไดชัดเจนขณะที่รากจะอยูในดินใตน้ํา สวนใหญจะพบบริเวณใกลแนวขอบหรือริมบึงบอระเพ็ดที่มีน้ําตื้น ถาพบที่ไกลแนว

Page 5: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ขอบบึงเขามากลางบึงจะเปนกลุมของบัวหลวง (Nelumbo mucifera Gaerth) เพียงชนิดเดียว พรรณไมที่พบไดแก กกตาง ๆ (Cyperus spp.) กกสามเหลี่ยมใหญ (Actinoscipus grosus Linn) บัวหลวง ธูปฤาษี(Typha angustifolia Linn.) ลําเจียก (Coix aqiuatica Roxb.) ออ (Arundo donax Linn) หญาปลอง (Hymenachne amplexicaulis (Rudge Nees)) แหวทรงกระเทียม (Eleocharis dulcis (Burm.f.) Hensch) หญาขาวนก (Echinochloa colona (L.) Link) โสนกนิดอก (Sesbania javanica Miq.)

5. บริเวณพื้นที่เกาะ เปนบริเวณที่อยูกลางบึงหรือเกาะที่อยูใกล ๆ กับฝง น้ําอาจจะทวมในฤดูที่น้ํามาก แตน้ําจะไมทวมในฤดูที่มีน้ําในระดับปกติ เกิดขึ้นจากเนินดินที่น้ําทวมไมถึงเมื่อมีการสรางฝายหรือประตูระบายน้ํา หรือเกิดจากดินที่ขุดจากการขุดคลองใหม หรือขุดลอกคลองเดิม หรือเกิดจากดินบริเวณฝงเมื่อถึงฤดูแลงจะกลายเปนแหลมยื่นออกมาจากฝง แตในฤดูน้ํามากจะมีน้ําลอมรอบกลายเปนเกาะหรืออาจเกิดจากการสะสมตะกอนทําใหเกิดจากตื้นเขินตามบริเวณตาง ๆ จนกลายเปนเกาะ พรรณไมที่พบไดแก กระถินณรงค (Acacia auruculaefomis A. Cunn. ex Benth.) กระถินยักษ (Leucaena leucucephala(Lam) de Wit) จิกนา (Barringtonia macrostachya Kurz) ทองกวาว (Butea monosperma Taub.) มะขามเทศ (Pithecellobium dulce (Roxb.) Benth) กามป ู (Samanea saman (Jacq.) Merr.) ลําเอยีก ออ แขมดอกขาว (Saccharum spontaneum L.) หญาปลอง และหญาขน (Brachiaria mutica (Forssk.) Stapf)

6. บริเวณพื้นที่ปาพรุ ปาละเมาะ เปนบริเวณที่อยูริมบึง น้ําจะทวมในบางฤดูกาล มีไมตนขึ้นอยูหลายชนิด ทั้งที่เปนไมดั้งเดิมและไมที่ปลูกขึ้นมาใหม ไมตนที่พบมาก ไดแก จิกนา สนุน (Salix tetrasperma Roxb.) กระทุมนา (Mitragyna diversifolia (Wall.ex G.Don) Havil) ทองกวาว และกานเหลือง (Nauclea orienlea Linn.) ไมพืน้ลางจะเปนหญาชนดิตาง ๆ ขึน้อยูอยางหนาแนน ในฤดแูลงมกัเกดิไฟไหม

7. บริเวณพื้นที่เกษตรกรรมและที่อยูอาศัย พบพื้นที่เกษตรกรรมรอบ ๆ บึง ซึ่งมักจะปลูกขาวในฤดูฝน สวนฤดูอื่น ๆ อาจจะปลูกพืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง ออย และถั่วเขียว ถาพื้นที่ใดมีคลองสงน้าํจะปลกูขาวตลอดป และในพืน้ทีเ่กษตรกรรมพบไมยนืตนดัง่เดมิอยู เชน ตาล (Borassus flabellifer L.)ทองกวาว และกระทุมนา นอกจากนีบ้างพืน้ทีไ่ดขดุบอเลีย้งสตัวน้ําซึง่มทีัง้ของชาวบานและกรมประมงบางแหงกป็ลอยราง มพีชืตาง ๆ ขึน้และตืน้เขิน

สําหรับพื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัย จะกระจายอยูรอบ ๆ บึงเปนหยอมๆ เหมือนกับพื้นที่เกษตรกรรม บางจุดมบีานเรอืนเบาบาง บางจดุอยูอยางหนาแนนโดยเฉพาะทีเ่ปนหมูบานหรอืหนวยงานของราชการ มกีารปลกูไมยนืตน ไมประดับมากมาย ไมที่พบ เชน ไผ กามปู มะขามเทศ เข็ม และชบาความหลากชนิดของนก

จากการสํารวจเพื่อศึกษาความหลากชนิดของนก ต้ังแตเดือนกุมภาพันธ 2544 ถึง กันยายน 2544 รวมระยะเวลา 8 เดือน พบนกทั้งสิ้น 154 ชนิด แยกตามหลักอนุกรมวิธานตามโอภาส (2541 ข) ได 12 อันดับ 44 วงศ และ 108 สกุล เดือนมีนาคม 2544 เปนเดือนที่สํารวจพบนกมากที่สุด คือพบ ทั้งหมด 110 ชนิด ขณะที่เดือน มิถุนายน 2544 พบชนิดของนกนอยที่สุด โดยพบ 72 ชนิด

Page 6: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ความหลากชนิดของนกที่สํารวจพบครั้งนี้ รวมทั้งสถานภาพ (status) ของนก ซึ่งใชตามโอภาส (2541 ก) คือ การเปนนกประจําถิ่น = R เปนนกอพยพ = M และเปนทั้งนกประจําถิ่นและนกอพยพ = R , M ถิ่นที่อยูอาศัยหรือแหลงที่พบนก (habitat) แบงออกเปน 7 สภาพ คือ บริเวณพื้นน้ํา = A บริเวณพืชลอยน้ํา = B บริเวณพืชปริ่มน้ํา = C บริเวณพืชโผลพนน้ํา = D บริเวณพื้นที่เกาะ = E บริเวณพื้นที่ปาพรุ และปาละเมาะ = F และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมและที่อยูอาศัย = H การปรากฏ (appearance) วาพบบอยครั้งแคไหน เชน พบบอยมาก (very common = VC สํารวจพบ 7 หรือ 8 เดือน) พบบอยหรือปานกลาง (commom = C สํารวจพบ 5 หรือ 6 เดือน) พบไมบอยนัก ( uncommon = UC สํารวจพบ 3 หรือ 4 เดือน) หายาก (rare = R สํารวจพบ 1 หรือ 2 เดือน) รวมทั้งเดือนที่สํารวจพบนก ไดแสดงดังตารางที่ 1

จากการศึกษาความหลากชนิดของนกภายในบึงบอระเพ็ด ระหวางเดือนกุมภาพันธ 2544 ถึงเดือนกันยายน 2544 รวมระยะเวลา 8 เดือน พบนกทั้งสิ้นจํานวน 153 ชนิด โดยสํารวจทุกสัปดาห สัปดาหละ 4 วัน แบงเปนสํารวจทางน้ําโดยการนั่งเรือสํารวจรอบบึงบอระเพ็ด 2 วัน และสํารวจทางบกโดยการเดินเทาสํารวจ 2 วัน ในเวลา 1 เดือน จะสํารวจ 16-18 วัน และจะสํารวจชวงเวลา 8.30 – 16.00 น. ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของกองอนุรักษสัตวปา (2526) พบนก 86 ชนิด โดยสํารวจเดือนละ 3 - 5 วัน รวม 12 เดือน สํารวจเฉพาะทางน้ําชวงเวลาสํารวจ 6.00 - 11.00 น. โอภาส (2527) พบนก 98 ชนิด โดยสํารวจเดือนละ 2 - 3 วัน รวม 36 เดือน สํารวจทั้งทางบกและทางน้ํา ชวงเวลาสํารวจ 6.00 - 11.00 น. และเวลา 14.00 - 18.00 น. วิเชียร (2537) สํารวจพบนก 124 ชนิด โดยสํารวจเดือนละ 2 - 3 วัน รวม 12 เดือน สํารวจทั้งทางบกและทางน้ํา ชวงเวลาสํารวจ 7.00 - 18.00 น. ปราโมทย (2537) สํารวจพบนก 110 ชนิด โดยสํารวจเดือนละ 2 - 5 วัน รวม 12 เดือน ชวงเวลาสํารวจ 7.00 - 12.00 น. และ 14.00 - 18.00 น. สํารวจทั้งทางบกและทางน้ํา พงษชัย (2539) สํารวจพบนก 73 ชนิด โดยสํารวจเดือนละ 2 - 3 วัน รวม 15 เดือน สํารวจทั้งทางบกและทางน้ํา

จากผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาในอดีต ปรากฏวามีจํานวนชนิดนกที่แตกตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการศึกษาในแตละการศึกษามีวัตถุประสงคและวิธีการศึกษาที่แตกตางกัน การกําหนดจุดสํารวจที่แตกตางกันหรือจํานวนวันที่สํารวจในเดือนๆ หนึ่งไมเทากัน ทําใหโอกาสในการพบเห็นนกนั้นแตกตางกัน นอกจากนี้ระยะเวลาของการศึกษาที่ไมเทากัน มีต้ังแตศึกษาในระยะเวลา 8 เดือน จนถึง 36 เดือน รวมถึงปการศึกษาที่แตกตางกัน ซึ่งระบบนิเวศของบึงบอระเพ็ดที่แตกตางกันในแตละปยอมมีผลถึงการปรากฏของนกที่แตกตางกันไปดวย

และในการศึกษาครั้งนี้ พบชนิดนกเปนจํานวนมากกวาการศึกษาในอดีต อาจเนื่องมาจากจํานวนวันที่ใชในการสํารวจในแตละเดือน ซึ่งสํารวจเปนระยะเวลา 16 - 18 วันตอเดือน ทําใหโอกาสในการพบนกมีมากกวา โดยเฉพาะนกอพยพผานที่จะแวะพักตามสถานที่ตางๆ เพียงไมกี่วันแลวก็บินอพยพตอไปความสัมพันธระหวางชนิดนกกับสภาพถิ่นที่อยูอาศัย

จากการสํารวจความหลากชนิดของนก เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธระหวางชนิดนกกับสภาพถิ่นที่อยูอาศัยแตละสภาพ พบวาพื้นที่บริเวณปาพรุ และปาละเมาะ มีนกเขามาใชประโยชนพื้นที่มากที่สุด จํานวน 133 ชนิด รองลงมาไดแก บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย พบจํานวน 99 ชนิด บริเวณ

Page 7: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

พื้นที่เกาะ 85 ชนิด บริเวณพืชโผลพนน้ํา 64 ชนิด บริเวณพืชลอยน้ํา 40 ชนิด บริเวณพืชปริ่มน้ํา 31 ชนิด และบริเวณพื้นน้ํา 25 ชนิด โดยในแตละพื้นที่จะพบนกที่ใชประโยชนเฉพาะพื้นที่อยู 48 ชนิด จําแนกไดเปน บริเวณพื้นน้ําพบ 1 ชนิด บริเวณพืชปริ่มน้ําพบ 1 ชนิด บริเวณพืชโผลพนน้ําพบ 1 ชนิด บริเวณพื้นที่เกาะพบ 7 ชนิด บริเวณพื้นที่ปาพรุ , ปาละเมาะพบ 33 ชนิด และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัยพบ 4 ชนิด (ตารางที่ 1 และตารางที่ 2) จะสังเกตไดวาชนิดนกที่พบเขามาใชประโยชนเฉพาะพื้นที่นั้น ไมไดหมายความวานกชนิดนั้นตองพึ่งพาระบบนิเวศแบบนั้นๆ แตเปนเพราะการศึกษาพบนกชนิดนั้นเพียงแค 1 ครั้ง และพบอยูในถิ่นที่อยูอาศัยนั้น ในทางกลับกันถิ่นที่อยูอาศัยบางประเภท เราพบนกที่เขามาใชประโยชนเฉพาะพื้นที่นั้นๆ โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ปาพรุ , ปาละเมาะ และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย อันเนื่องมาจากลักษณะทางสัณฐานวิทยา และนิเวศวิทยาของนก ที่จําเปนตองดํารงชีวิตอยูในถิ่นที่อยูอาศัยเฉพาะ

นอกจากนั้นนกบางชนิดสามารถที่จะดํารงชีวิตอยูไดในหลายๆ ถิ่นที่อยูอาศัย ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้พบนกที่เขามาใชประโยชนถิ่นที่อยูอาศัยครบทั้ง 7 สภาพ พบจํานวน 15 ชนิด คือ เปดแดง นกกระเต็นอกขาว นกจาบคาหัวเขียว นกกวัก นกอีโกง นกกาน้ําเล็ก นกกระสาแดง นกยางโทนนอย นกยางไฟหัวดํา นกปากหาง และนกนางแอนบานการสรางรังวางไข

การศึกษาการสรางรังวางไขของนกในครั้งนี้ ไดทําการศึกษาทั้งพื้นที่ที่เปนพื้นน้ํา คือ สวนของ บึงบอระเพ็ด และพื้นที่ที่เปนพื้นดินโดยยึดแนวเขตการศึกษาตามแนวเขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ ลงวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 พบนกที่สรางรังทั้งหมด 45 ชนิด เปนนกที่สรางรังวางไขบนบกหรือพื้นดิน จํานวน 33 ชนิด นกที่สรางรังวางไขบนพื้นน้ํา จํานวน 9 ชนิด และนกที่สรางรังวางไขทั้งบนบกและพื้นน้ําพบ 3 ชนิด โดยพบนกสรางรังวางไขต้ังแตเดือนกุมภาพันธ 2544 ถึง เดือนกันยายน 2544 เดอืนทีพ่บนกสรางรงัวางไขมากชนดิทีส่ดุคอืเดอืนมถินุายน 2544 และเดอืนกรกฎาคม 2544 คอืพบ 26 ชนดิเทากัน

การเปรียบเทียบการสรางรังของนกในบึงบอระเพ็ด จากการศึกษาในครั้งนี้กับผลการศึกษาในอดีตซึ่งสวนใหญขอบเขตการศึกษาจะยึดแนวเขตไมเกินขอบบึงของบึงบอระเพ็ด นอกจากบุบผา (2542) ที่ไดทําการศึกษาการสรางรังวางไขของนก ทั้งพื้นน้ําและบนบก พบนกสรางรังวางไข 33 ชนิด ซึ่งใกลเคียงกับการศึกษาครั้งนี้ สวนโอภาส (2527) สํารวจพบนกที่สรางรังในบึงบอระเพ็ดทั้งหมด 14 ชนิด วิเชียร (2537) สํารวจพบทั้งหมด 13 ชนิด น้ําออย (2537) สํารวจพบ 7 ชนิด จากการศึกษาของทั้ง 3 การศึกษา จะพบวานกที่สรางรังวางไขจะเปนนกน้ําเกือบทั้งหมด หรือสรางรังวางไขบนพืชที่ลอยน้ํา หรือพืชที่ขึ้นอยูในน้ํา ซึ่งถาพิจารณาถึงการศึกษาในครั้งนี้จะไดผลการศึกษาที่คลายกัน คือพบนกที่สรางรังวางไขในสภาพ พื้นที่ที่เปนพื้นน้ํา 9 ชนิด และมีอยู 3 ชนิด ที่สรางรังวางไขในสภาพพื้นที่ที่เปนพื้นน้ําและบนบก รวมเปน 12 ชนิด โดยเปนชนิดที่ศึกษาพบเหมือนกัน 11 ชนิด แตกตางกัน 1 ชนิด คือ นกกระติ๊ดสีอิฐ และไมพบ นกยางไฟหัวเทา นกอีลุม และนกอีล้ํา สรางรังวางไขในการศึกษาครั้งนี้

Page 8: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

การศึกษาความหลากชนิด ถิ่นที่อยูอาศัย และการสรางรังวางไขของนกในบึงบอระเพ็ดระหวาง

เดือนกุมภาพันธ – กันยายน 2544 รวม 8 เดือน ปรากฏผลโดยสรุปไดดังตอไปนี้1. สภาพพื้นที่ของบึงบอระเพ็ด สามารถแบงพื้นที่ออกไดเปน 7 สภาพ ตามลักษณะของพื้น

ที่ ชนิดของพรรณพืช และลักษณะการขึ้นอยูของพรรณพืช คือ บริเวณพื้นน้ํา บริเวณพืชลอยน้ํา บริเวณพืชปริ่มน้ํา บริเวณพืชโผลพนน้ํา บริเวณพื้นที่เกาะ บริเวณพื้นที่ปาพรุ และปาละเมาะ และบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย

2. ความหลากชนิดของนก พบนกทั้งสิ้น 153 ชนิด ใน 108 สกุล 44 วงศ 12 อันดับ โดยในเดือนมีนาคม 2544 พบนกมากชนิดที่สุด คือพบ 110 ชนิด รองลงมาไดแกเดือนสิงหาคม 2544 และเดือนกันยายน 2544 โดยพบจํานวน 98 ชนิด และ 94 ชนิดตามลําดับ ในขณะที่เดือนมิถุนายน 2544 พบนกนอยที่สุด จํานวน 72 ชนิด

3. ความสัมพันธระหวางถิ่นที่อยูอาศัยกับจํานวนชนิดนกที่เขามาใชประโยชนพื้นที่ คือบริเวณพื้นน้ําพบ 25 ชนิด บริเวณพืชลอยน้ํา พบ 40 ชนิด บริเวณพืชปริ่มน้ํา พบ 31 ชนิด บริเวณพืชโผลพนน้ํา พบ 64 ชนดิ บรเิวณพืน้ทีเ่กาะ พบ 85 ชนดิ บรเิวณพืน้ทีป่าพร ุ , ปาละเมาะ พบ 132 ชนดิ และบรเิวณพืน้ที่เกษตรกรรม และที่อยูอาศัย พบ 99 ชนิด

4. พบนกสรางรังวางไข จํานวน 45 ชนิด โดยพบนกสรางรังวางไขต้ังแตเดือนกุมภาพันธ จนถึงเดือนกันยายน และในเดือนมิถุนายน และกรกฎาคม พบนกสรางรังวางไข มากที่สุดโดยพบ 26 ชนิด

กองอนุรักษสัตวปา. 2526. การศึกษาประชากร และการสรางรังวางไขในเขตหามลาสัตวปาบึง

บอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค. กรมปาไม , กรุงเทพฯ. 85 น.

น้ําออย เกียรติวงศทอง. 2537. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศนตอการสรางรังวางไขของนกบางชนิดในบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค. วิทยานิพนธปริญญาโท.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

บุบผา อ่ําเกตุ. 2542. ความสัมพันธระหวางชนิดของวัสดุที่นกใชทํารังกับสภาพถิ่นที่อยูอาศัยของนก ในเขตหามลาสัตวปาบงึบอระเพด็ จงัหวดันครสวรรค. สวนวิจยัสตัวปา, กรมปาไม,กรงุเทพฯ. 134 น.

ปราโมทย ไวทยกุล. 2537. การศึกษาความหลากชนิดของนกบึงบอระเพ็ด. ภาควิชาชีววิทยา, สถาบันราชภัฎนครสวรรค, นครสวรรค. 63 น.

พงษชัย แดงสี. 2539. ความสัมพันธระหวางชนิดนกกับสภาพถิ่นที่อยูอาศัยในเขตหามลาสัตว

Page 9: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ปาบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพฯ.

วิเชียร คงทอง. 2537. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศวิทยาของนกในบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

สํานักงานจังหวัดนครสวรรค. 2543. รายงานการประชุม เรื่อง การทบทวนบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงานตาง ๆ ในพ้ืนที่บึงบอระเพ็ด ครั้งที่ 1/2543. ศาลากลางจังหวัดนครสวรรค, นครสวรรค. 7 น.

โอภาส ขอบเขตต. 2527. ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของนกในบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค.คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 45 น.

_________ . 2534. นกเจาฟาหญิงสิรินธรและนกในบึงบอระเพ็ด. วารสารราชบัณฑิตยสถาน

17 (1):19–35

_________ . 2541 ก. นกในบึงบอระเพ็ด. สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, กรุงเทพฯ. 215 น.

_________ . 2541 ข. นกในเมืองไทย เลม 1. สารคดี, กรุงเทพฯ. 248 น.

Lekagul, B. and P.D. Round. 1991. A Guide to the Birds of Thailand. Saha Karn BhaetCo.Ltd., Bangkok. 457 p.

Pettingill, O.S. 1969. A Laboratory and Field Manual of Ornithology. Burgess Publishing Company, United States. 350 p.

Robson, C. 2000. A Field Guide to the Birds of Thailand and South - east Asia. AsiaBooks Co. Ltd., Bangkok. 504 p.

Page 10: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

อันดับหาน Order Anseriformes

วงศนกเปดแดง Family Dendrocygnidae

1. เปดแดง / / / / / / / / A,B,C, D, E,F,H

VC R,M

Dendrocygna javanica ( Horsfield ) 1821

วงศนกเปดนํ้า Family Anatidae

2. เปดคับแค / / / / / / / / A, B, C, D,E, H

VC R,M

Nettapus coromandelianus ( Gmelin ) 1789

3. เปดหางแหลม / - - - - - - - A, C VR M

Anas acuta Linnaeus, 1758

4. เปดปากพลั่ว - / - - - - - - D, H VR M

A. clypeata Linnaeus,1758

5. เปดลาย / / - - - - / / C, D, F, H UC M

A. querguedula Linnaeus,1758

6. เปดดําหัวสีนํ้าตาล - / - - - - - - H VR M*

Aythya nyroca ( Guldenstadt ) 1770

อันดับนกคุมอืด Order Turniciformes

วงศนกคุมอืด Family Turnicidae

7. นกคุมอืดเล็ก / / / - - - - / F, H UC R

Turnix sylvatica ( Desfontaines ) 1787

8. นกคุมอกลาย - / - - / - / - F UC R

T. suscitator ( Gmelin ), 1789

9. นกคุมอืดใหญ - - / / - - / - F UC R

T. tanki Blyth, 1843

อันดับนกหัวขวาน Order Piciformes

วงศนกหัวขวาน Family Picidae

Page 11: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

10. นกหัวขวานดางอกลายจุด / / / / / / / / E, F, H VC R

Dendrocopos macei ( Vieillot ) 1818

วงศนกโพระดก Family Megalaimidae

11. นกตีทอง / / / / / / / / D, E, F, H VC R

Megalaima haemacephala ( Muller ) 1776

อันดับนกกระรางหัวขวาน Order Upupiformes

วงศนกกระรางหัวขวาน Family Upupidae

12. นกกระรางหัวขวาน - - - - - - / / F VR R,M*

Upupa epops Linnaeus, 1758

อันดับนกตะขาบ Order Coraciiformes

วงศนกตะขาบ Family Coraciidae

13. นกตะขาบทุง / - - - - / - / F, H UC R

Coracias benghalensis ( Linnaeus ) 1758

วงศนกกระเต็นนอย Family Alcedinidae

14. นกกระเต็นนอยธรรมดา / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R,M

Alcedo atthis ( Linnaeus ) 1758

15. นกกระเต็นนอยสามนิ้ว - / / - - - / - F UC R,M*

Ceyx erithacus ( Linnaeus ) 1758

วงศนกกระเต็น Family Halcyonidae

16. นกกระเต็นอกขาว / / / / / / - / A, B, C, D,E, F, H

VC R

Halcyon smyrnensis ( Linnaeus ) 1758

17. นกกระเต็นหัวดํา / / / / / / - / D, E, F, H VC M

H. pileata ( Boddaert ) 1783

วงศนกกระเต็นขาวดํา Family Cerylidae

18. นกกระเต็นปกหลัก / / / - - / / / D, F, H C R

Ceryle rudis ( Linnaeus ) 1758

วงศนกจาบคา Family Meropidae

Page 12: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

19. นกจาบคาเล็ก / / / / - / / / E, F, H VC R

Merops orientalis Latham, 1801

20. นกจาบคาหัวเขียว / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R,M

M. philippinus Linnaeus, 1766

21. นกจาบคาหัวสีสม / - - / / / - - D, E, F, H UC R*

M. leschenaulti Vieillot,1817

อันดับนกคัคคู Order Cuculiformes

วงศนกคัคคู Family Cuculidae

22. นกคัคคูหงอน - - - - - - / - E VR M

Clamator coromandus ( Linnaeus ) 1766

23. นกคัคคูเหยี่ยวใหญ / - - - - - - - F VR M

Hierococcyx sparverioides ( Vigors ) 1832

24. นกคัคคูเหยี่ยวอกแดง - - - - - - / - E, H VR R,M*

H. fugax Horsfield, 1821

25. นกอีวาบตั๊กแตน / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

Cacomantis merulinus ( Scopoli ) 1786

26. นกดุเหวา / / / / / / / / F, H VC R

Eudynamys scolopacea ( Linnaeus ) 1758

27. นกบ้ังรอกใหญ - / - / - - / - F, H UC R*

Phaenicophaeus tristis ( Lesson ) 1830

วงศนกกะปูด Family Centropodidae

28. นกกะปูดใหญ / / / / / / / / D, E, F, H VC R

Centropus sinensis ( Stephens ) 1815

29. นกกะปูดเล็ก / / / / / / / / D, E, F, H VC R,M

C. bengalensis ( Gmelin ) 1788

อันดับนกแอน Order Apodiformes

วงศนกแอน Family Apodidae

Page 13: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

30. นกแอนตาล / / / / - - / / E, F, H C R

Cypsiurus balasinensis ( Gray ) 1829

31. นกแอนบาน - - / - - - - - F VR R*

Apus affinis ( Gray ) 1830

อันดับนกเคา Order Strigiformes

วงศนกแสก Family Tytonidae

32. นกแสก / / / - / / / / F VC R

Tyto alba ( Scopoli ) 1769

วงศนกเคา Family Strigidae

33. นกเคากู, นกฮูก - / - - - / - - F, H VR R*

Otus bakkamoena Pennant, 1769

34. นกเคาโมง / / - - - - - - F, H VR R

Glaucidium cuculoides ( Vigors ) 1831

35. นกเคาจุด - - / / / / / / F, H C R

Athene brama ( Temminck ) 1821

วงศนกตบยุง Family Caprimulgidae

36. นกตบยุงเล็ก - / - - - - - - F VR R*

Caprimulgus asiaticus Latham, 1790

37. นกตบยุงหาวยาว - - - - / - - - H VR R

C. macrurus Horsfield, 1821

อันดับนกพิราบ Order Columbiformes

วงศนกพิราบ Family Columbidae

38. นกพิราบปา - / / / - / / / D, E, F, H C R

Columba livia Gmelin, 1789

39. นกเขาใหญ / / / / / / / / E, F, H VC R

Streptopelia chinensis ( Scopoli ) 1786

40. นกเขาไฟ / / / / / / / / D, E, F, H VC R

S. tranquebarica ( Hermann ) 1804

Page 14: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

41. นกเขาชวา / / / / / / / / D, E, F, H VC R

Geopelia striata ( Linnaeus ) 1766

อันดับนกระเรียน Order Gruiformes

วงศนกอัญชัน Family Rallidae

42. นกกวัก / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R

Amaurornis phoenicurus ( Pennant ) 1769

43. นกหนูแดง / / / / / / / / B, C, D, E,F, H

VC R

Porzana fusca ( Linnaeus ) 1766

44. นกอัญชันคิ้วขาว / / / / / / / / B, C, D, E,F, H

VC R

P. cinerea ( Vieillot ) 1819

45. นกอีลุม - - - / / / / / D, F, H C R,M

Gallicrex cinerea ( Gmelin ) 1789

46. นกอีโกง / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R

Porphyrio porphyrio ( Linnaeus ) 1758

47. นกอีล้ํา / / / / / / / - A, B, C, D,E, F

VC R,M

Gallinula chloropus ( Linnaeus ) 1758

48. นกคูต / / / - - - - - C, D UC M

Fulica atra Linnaeus, 1758

อันดับนกกระสา Order Ciconiiformes

วงศนกชายเลน Family Scolopacidae

49. นกปากซอมหางเข็ม / / - / - - - - F, H UC M

Gallinago stenura ( Bonaparte ) 1830

50. นกปากซอมหางพัด / / - - - - - / D, E, F, H UC M

G. gallinago ( Linnaeus ) 1758

51. นกพลิกหิน / - - - - - - - F VR M

Arenaria interpres ( Linnaeus ) 1758

Page 15: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

52. นกนอทเล็ก - / - - - - - - H VR M

Calidris canutus ( Linnaeus ) 1758

53. นกปากแอนหางดํา - / - - - - - - E VR M

Limosa limosa ( Linnaeus ) 1758

54. นกทะเลขาเขียว - / - - - - - - H VR M

Tringa nebularia ( Gunnerus ) 1767

55. นกชายเลนน้ําจืด - / - - - - / - B, E VR M

T. glareola Linnaeus, 1758

วงศนกโปงวิด Family Rostratulidae

56. นกโปงวิด - / - - - - - - A VR R*

Rostratula benghalensis ( Linnaeus ) 1758

วงศนกพริก Family Jacanidae

57. นกอีแจว / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R,M

Hydrophasianus chirurgus ( Scopoli ) 1786

58. นกพริก / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R

Metopidius indicus ( Latham ) 1790

วงศนกหัวโต Family Charadriidae

59. นกตีนเทียน / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R,M

Himantopus himantopus ( Linnaeus ) 1758

60. นกหัวโตเล็กขาเหลือง - - - - - / / - A, B VR M

Charadrius dubius Scopoli, 1786

61. นกกระแตหัวเทา - / - / - - - - F, H VR M

Vanellus cinereus ( Blyth ) 1842

62. นกกระแตแตแวด / / / / / / / / D, E, F, H VC R

V. indicus ( Boddaert ) 1783

วงศนกกระแตผี Family Burhinidae

63. นกกระแตผีเล็ก / / - - - - - - F, H VR M*

Page 16: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

Burhinus oedicnemus ( Linnaeus ) 1758

วงศนกแอนทุง Family Glareolidae

64. นกแอนทุงใหญ - / / / / / / / A, D, E, F,H

VC M

Glareola maldivarum Forster, 1795

65. นกแอนทุงเล็ก / / - - - - / - B, F UC R,M

G. lactea Temminck, 1820

วงศนางนวล Family Laridae

66. นกนางนวลธรรมดา - - - / - - - - C VR M

Larus brunnicephalus Jerdon, 1840

67. นกนางนวลแกลบธรรมดา - - / - - - / / A, B, C, D UC M*

Sterna hirundo Linnaeus, 1758

68. นกนางนวลแกลบเล็ก / - - - - - / - D, F VR R

S. albifrons Pallas, 1764

69. นกนางนวลแกลบทายทอยดํา - / - - - - - - D VR R*

S. sumatrana Raffles, 1822

วงศเหยี่ยว Family Accipitridae

70. เหยี่ยวขาว / / / / / / / / A, D, E, F,H

VC R

Elanus caeruleus ( Desfontaines ) 1789

71. เหยี่ยวแดง - / - - - - - - E VR R

Haliastur indus ( Boddaert ) 1783

72. เหยี่ยวดํา / - - - - - - - F VR R,M

Milvus migrans ( Boddaert ) 1783

73. เหยี่ยวทุง / / / / / / / / D, E, F, H VC R

Circus aeruginosus ( Linnaeus ) 1758

74. เหยี่ยวกิ่งกาสีดํา - / - - - - - - F VR R,M*

Aviceda leuphotes ( Dumont ) 1820

75. เหยี่ยวนกเขาชิครา / - - - - / - / F UC R,M

Page 17: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

Accipiter badius ( Gmelin ) 1788

76. เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก - - - - - - / - F VR R

A. virgatus ( Temminck ) 1822

วงศนกเปดผี Family Podicipedidae

77. นกเปดผีเล็ก / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R

Tachybaptus ruficollis ( Pallas ) 1764

วงศนกกาน้ํา Family Phalacrocoracidae

78. นกกาน้ําเล็ก / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R

Phalacrocorax niger ( Vieillot ) 1817

วงศนกยาง Family Ardeidae

79. นกกระสานวล / / / / / / / / B, C, D, E,F, H

VC R,M

Ardea cinerea Linnaeus, 1758

80. นกกระสาแดง / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R,M

A. purpurea Linnaeus, 1766

81. นกยางโทนใหญ / / / / / / / / B, C, D, E,F, H

VC R,M

Casmerodius albus ( Linnaeus ) 1758

82. นกยางโทนนอย / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC M

Mesophoyx intermedia ( Wagler ) 1829

83. นกยางเปย - / / / / / / / D, E, F, H VC R,M

Egretta garzetta ( Linnaeus ) 1758

84. นกยางควาย / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

Bubulcus ibis ( Linnaeus ) 1758

85. นกยางกรอกพันธุจีน / / / / / / / / B, C, D, E,F, H

VC M

Ardeola bacchus ( Bonaparte ) 1855

Page 18: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

86. นกยางไฟหัวดํา / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R,M

Ixobrychus sinensis ( Gmelin ) 1789

87. นกยางไฟธรรมดา - / / / / / / / A, B, D, E,F, H

VC R

I. cinnamomeus ( Gmelin ) 1789

88. นกยางดํา - - - - - / - - F VR M*

Dupetor flavicollis ( Latham ) 1790

วงศนกกระทุง Family Pelecanidae

89. นกกระทุง - - - - - / / / A, C, E, F UC M

Pelecanus philippensis Gmelin, 1789

วงศนกกระสา Family Ciconiidae

90. นกปากหาง / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R,M

Anastomus oscitans ( Boddaert ) 1783

อันดับนกจับคอน Order Passeriformes

วงศนกอีเสือ Family Laniidae

91. นกอีเสือลายเสือ - / / - - / / - E, F, H UC M

Lanius tigrinus Drapiez, 1828

92. นกอีเสือสีนํ้าตาล - - - / / / / / E, F, H C M

L. cristatus Linnaeus, 1758

93. นกอีเสือหัวดํา / / / / / / / / B, C, D, E,F, H

VC R

L. schach Linnaeus, 1758

วงศนกเขียวครามและนกเขียวกานตอง

Family Irenidae

94. นกเขียวกานตองหนาผากสีทอง / - - - - - - - F VR R*

Chloropsis aurifrons ( Temminck ) 1829

วงศอีกา Family Corvidae

95. อีกา / / - - - - / - F UC R

Page 19: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

Corvus macrorhynchos Wagler, 1827

96. นกขมิ้นปากเรียว / / - - - - - - F VR M*

Oriolus tenuirostris Blyth, 1846

97. นกแอนพง / / / / / / / / D, E, F, H VC R

Artamus fuscus Vieillot, 1817

98. นกอีแพรดแถบอกดํา / / / / / / / / D, E, F, H VC R

Rhipidura javanica ( Sparrman ) 1788

99. นกแซงแซวหางปลา / / / / / / / / B, C, D, E,F, H

VC R,M

Dicrurus macrocercus ( Vieillot ) 1817

100. นกแซงแซวสีเทา - - - - - - - / E VR R,M*

D. leucophaeus Vieillot, 1817

101. นกจับแมลงจุดดํา / / / - - - - - E UC R,M

Hypothymis azurea ( Boddaert ) 1783

102. นกแซวสวรรค - - - - - / / / E, F UC R,M*

Terpsiphone paradisi ( Linnaeus ) 1758

103. นกขมิ้นนอยธรรมดา - / - - - / / / F, H UC R*

Aegithina tiphia ( Linnaeus ) 1758

วงศนกจับแมลง Family Muscicapidae

104. นกจับแมลงสีนํ้าตาล / - - - - - - / E, F, H VR R,M

Muscicapa dauurica Pallas, 1811

105. นกจับแมลงคอแดง / / / - - - - - F UC M*

Ficedula parva ( Bechstein ) 1792

106. นกจับแมลงสีคราม - - - - - - - / E VR M*

F. superciliaris ( Jerdon ) 1840

107. นกจับแมลงตะโพกเหลือง - - - - - - / / E, F VR M

F. zanthopygia ( Hay ) 1845

108. นกจับแมลงคิ้วเหลือง - - - - - - / - F VR M

F. narcissina ( Temminck ) 1835

Page 20: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

109. นกจับแมลงอกสมทองขาว - - - - - - - / E VR R

Cyornis tickelliae Blyth, 1843

110. นกจับแมลงสีฟาทองขาว - / - - - - - - F VR M*

Cyanoptila cyanomelana ( Temminck ) 1829

111. นกคอทับทิม - / / / / / / / F, H VC M

Luscinia calliope ( Pallas ) 1776

112. นกกางเขนบาน / / / / / / / / E, F, H VC R

Copsychus saularis ( Linnaeus ) 1758

113. นกยอดหญาหัวดํา / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

Saxicola torquata ( Linnaeus ) 1766

วงศนกเอี้ยง Family Sturnidae

114. นกกิ้งโครงแกลบหัวเทา - - - - - / - / F, H VR R,M

Sturnus malabaricus ( Gmelin ) 1789

115. นกกิ้งโครงแกลบปกขาว / / - - - - / / E, F, H UC M

S. sinensis ( Gmelin ) 1788

116. นกเอี้ยงดาง / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

S. contra Linnaeus, 1758

117. นกกิ้งโครงคอดํา / / - - - - - - F VR R

S. nigricollis ( von Paykull ) 1807

118. นกเอี้ยงสาริกา / / / / / / / / C, E, F, H VC R

Acridotheres tristis ( Linnaeus ) 1766

119. นกเอี้ยงหงอน / / / / / / / / D, E, F, H VC R

A. cinereus Bonaparte, 1851

วงศนกนางแอน Family Hirundinidae

120. นกนางแอนทรายสรอยคอดํา / - - - - - - - F VR M

Riparia riparia ( Linnaeus ) 1758

121. นกนางแอนบาน / / / / / / / / A, B, C, D,E, F, H

VC R,M

Page 21: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

Hirundo rustica Linnaeus, 1758

122. นกนางแอนตะโพกแดง / / / - - - - - F UC R,M

H. daurica Linnaeus, 1776

วงศนกปรอด Family Pycnonotidae

123. นกปรอดหัวโขน - - - - - - / - F VR R*

Pycnonotus jocosus ( Linnaeus ) 1758

124. นกปรอดหัวสีเขมา - / / / / / / / E, F, H VC R

P. aurigaster ( Vieillot ) 1818

125. นกปรอดหนานวล / / / / / / / / E, F, H VC R

P. goiavier ( Scopoli ) 1786

126. นกปรอดสวน / / / / / / / / D, E, F, H VC R

P. blanfordi Jerdon, 1862

วงศนกยอดขาว Family Cisticolidae

127. นกกระจิบหญาสีเรียบ / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

Prinia inornata Sykes, 1832

วงศนกกระจอย Family Sylviidae

128. นกพงใหญพันธุญ่ีปุน / / / / / / - / B, D, E, F,H

VC M

Acrocephalus orientalis ( Temminck and

Schlegel ) 1847

129. นกพงปากหนา - / / - - - - - F VR M

A. aedon ( Pallas ) 1776

130. นกพงคิ้วดํา - - / / - - - - F, H VR M

A. bistrigiceps Swinhoe, 1860

131. นกกระจิบธรรมดา / / / / / / / / D, E, F, H VC R

Orthotomus sutorius ( Pennant ) 1769

132. นกกระจิ๊ดสีคล้ํา - / - - - - - - F VC M

Phylloscopus fuscatus ( Blyth ) 1842

Page 22: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

133. นกกระจิ๊ดธรรมดา / / / / - - / - D, E, F, H C M

P. inornatus ( Blyth ) 1842

134. นกกระจิ๊ดข้ัวโลกเหนือ - - - / - - - - F VR M

P. borealis ( Blasius ) 1853

135. นกหางนาค / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

Megalurus palustris Horsfield, 1821

136. นกกินแมลงตาเหลือง - - - / - - - - F VR R*

Chrysomma sinense ( Gmelin ) 1789

137. นกกินแมลงหนาผากน้ําตาล - - - - - - / - F VR R*

Stachyris rufifrons Hume, 1873

วงศนกจาบฝน Family Alaudidae

138. นกจาบฝนปกแดง - - - / - - / - F, H VR R

Mirafra assamica Horsfield, 1840

วงศนกกินปลี Family Nectariniidae

139. นกสีชมพูสวน / / / / / / / / E, F, H VC R

Dicaeum cruentatum ( Linnaeus ) 1758

140. นกกินปลีอกเหลือง / / / / / / / / E, F, H VC R

Nectarinia jugularis ( Linnaeus ) 1766

วงศนกระจอก Family Passeridae

141. นกกระจอกใหญ - / / / / / / / E, F, H VC R

Passer domesticus ( Linnaeus ) 1758

142. นกกระจอกตาล / / / / - / - / F, H C R

P. flaveolus Blyth, 1844

143. นกกระจอกบาน / / - - - / / / E, F, H C R

P. montanus ( Linnaeus ) 1758

144. นกอุมบาตร - - - - - - - / F VR M

Motacilla alba Linnaeus, 1758

145. นกเดาลมเหลือง / - - - - - - - F VR M

Page 23: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 1 ความหลากชนิดของนกที่พบในบึงบอระเพ็ดอันดับ, วงศ, ชนิด การกระจายในรอบป 2544

กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ถิ่นที่อยูอาศัย

การปรากฏ

สถานภาพ

M. flava Linnaeus, 1758

146. นกเดาลมดง / / / - - - / / F C M*

Dendronanthus indicus ( Gmelin ) 1789

147. นกเดาดินทุง / / / / / / / / B, F, H VC R,M

Anthus richardi Vieillot, 1818

148. นกเดาดินอกแดง - / - - - - - - F VR M

A. cervinus ( Pallas ) 1811

149. นกกระจาบธรรมดา / / / / / / / / E, F, H VC R

Ploceus philippinus ( Linnaeus ) 1766

150. นกกระจาบอกลาย - - - / - - - / E, F, H VR R

P. manyar ( Horsfield ) 1821

151. นกกระจาบทอง - - / / / - / / D, F, H C R

P. hypoxanthus ( Sparrman ) 1788

152. นกกระติ๊ดข้ีหมู / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

Lonchura punctulata ( Linnaeus ) 1758

153. นกกระติ๊ดสีอิฐ / / / / / / / / B, D, E, F,H

VC R

L. malacca ( Linnaeus ) 1766

รวมชนิดนกที่พบในแตละเดือน 93 110 86 84 72 84 98 94

Page 24: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 2 จํานวนชนิดนกที่พบในสภาพถิ่นที่อยูอาศัยแบบตางๆ ในบึงบอระเพ็ด

สภาพถิ่นท่ีอยูอาศัย จํานวนชนิดนก (ชนิด)

บริเวณพ้ืนน้ํา 25 บริเวณพืชลอยน้ํา 40 บริเวณพืชปริ่มน้ํา 31 บริเวณพืชโผลพนน้ํา 64 บริเวณพ้ืนที่เกาะ 85 บริเวณพ้ืนที่ปาพรุ , ปาละเมาะ 132 บริเวณพ้ืนที่เกษตรกรรม , ที่อยูอาศัย 99

Page 25: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 3 ชนิดของนกที่สรางรังวางไขในบึงบอระเพ็ดสภาพพื้นที่ที่พบรัง เดือนที่พบการสรางรังวางไข

ชนิดนกบนบก พื้นน้ํา กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย.

1. เปดแดง2. เปดคับแค3. นกคุมอกลาย4. นกหัวขวานดางอกลายจุด5. นกตีทอง6. นกกระปูดใหญ7. นกเคาจุด8. นกตบยุงเล็ก9. นกพิราบ10. นกเขาใหญ11. นกเขาไฟ12. นกเขาชวา13. นกกวัก14. นกอัญชันคิ้วขาว15. นกอีโกง16. นกอีแจว17. นกพริก18. นกตีนเทียน19. นกกระแตแตแวด20. นกแอนพงใหญ21. เหย่ียวขาว22. เหย่ียวนกเขาชิครา23. เปดผีเล็ก24. นกยางไฟหัวดํา25. นกยางไฟธรรมดา26. นกอีเสือหัวดํา27. นกอีกา28. นกแอนพง29. นกอีแพรดแถบอกดํา30. นกกางเขนบาน31. นกเอี้ยงดาง32. นกเอี้ยงสาริกา

////////////

/////

///////

/

/////

///

//

/

/

/

///

//

//

////

/

//

////

/

/

//

/

/

/

/

/

/

/////

/

///////

/

/

/

/

/

//

////

/

///

/////

/

/

/////////

///

///

//

///

///

///

/

/

Page 26: ⌫ ⌦ pdf (full)/2.7.pdf · ⌫ ⌦ ... ⌫

ตารางที่ 3 (ตอ) ชนิดของนกที่สรางรังวางไขในบึงบอระเพ็ด

สภาพพื้นที่ที่พบรัง เดือนที่พบการสรางรังวางไขชนิดนก

บนบก พื้นน้ํา กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย.33. นกเอี้ยงหงอน34. นกปรอดหัวสีเขมา35. นกปรอดสวน36. นกปรอดหนานวล37. นกกระจิบหญาสีเรียบ38. นกหางนาค39. นกกินปลีอกเหลือง40. นกกระจอกตาล41. นกกระจาบธรรมดา42. นกกระจาบอกลาย43. นกกระจาบทอง44. นกกระติ๊ดสีอิฐ45. นกกระติ๊ดขี้หมู

//////////

//

/

/

/

/

/

/

/

////

///

/

/

/

/

//

/

/////

//

/

//

//

////

//

/

/

/