Ambulatory care sensitive conditions

14
โครงการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อ ประเมินคุณภาพ เชิงผลลัพธ์ของระบบบริการผูป่วยนอก (Ambulatory Care Sensitive Conditions: ACSCs) อาณัติ วรรณศรี สำานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย นำาเสนอ รพ .มหาราชนครราชสีมา และ หน่วยระบาด วิทยา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 28 กันยายน 2555

Transcript of Ambulatory care sensitive conditions

Page 1: Ambulatory care sensitive conditions

โครงการพัฒนาตัวช ี้ว ัดเพ ื่อประเมนิค ุณภาพ

เชิงผลล ัพธ ์ของระบบบร ิการผ ู้ป ่วยนอก

(Ambulatory Care Sensitive Conditions: ACSCs)

อาณัต ิ วรรณศรีส ำาน ักงานว ิจ ัยเพ ื่อการพัฒนาหลักประก ันส ุขภาพไทย

นำาเสนอ รพ . มหาราชนครราชสีมา และ หน่วยระบาด ว ิทยา มหาว ิทยาล ัยสงขลานคร ินทร ์

28 กันยายน 2555

Page 2: Ambulatory care sensitive conditions

ที่มาและความสำาค ัญ (1)

โรคหร ือภาวะที่ไม ่สมควรนอนโรง พยาบาล (Ambulatory care sensitive conditions:

ACSCs)

• เป็นการนอนรักษาในโรงพยาบาลที่ไม่จำาเป็น ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได้ (Avoidable hospitalization)

ปอ้งกันได้ (Preventable hospitalization) หากได้รับบริการที่ระดับปฐมภูมิหรือบริการผูป้่วยนอกที่ทันท่วงที• เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสงู โรคหอบ

หืด เปน็ต้น

Page 3: Ambulatory care sensitive conditions

ที่มาและความสำาค ัญ (2)

การพัฒนาตัวช ีว้ ัด ACSC

• การพัฒนาเคร ื่องมอื ACSC ในต่างประเทศ - เริ่มมีการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1976 โดยRustein และคณะ เพื่อใชเ้ป็น Indexes of the quality of care

- นำาไปสูก่ารพัฒนาตัวชีว้ัดคุณภาพบริการ(Quality) และการเข้าถึงบริการ (Accessibility) ใน

หลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลียสเปน แคนนาดา เป็นต้น

Page 4: Ambulatory care sensitive conditions

ที่มาและความสำาค ัญ (3)

• การพัฒนาเคร ื่องมอื ACSC ในประเทศไทย

- ACSC กับบทบาทหน้าที่ของบริการปฐมภูมิจ.พิษณุโลก

- การศึกษาภาระโรคตามกลุ่มโรคร่วมผูป้่วยนอกและคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิที่ไม่สมควรนอนโรงพยาบาล

- คู่มือการวิเคราะห์อัตราการนอนโรง พยาบาลของภาวะ ACSC (สวปก.)

Page 5: Ambulatory care sensitive conditions

ที่มาและความสำาค ัญ (4)

ความจ ำาเปน็ในการประเมนิการเข ้าถ ึง บริการ และคณุภาพของระบบบร ิการผ ู้

ปว่ยนอกด้วยต ัวช ีว้ ัด ACSC ของไทย

• การเข้าถึงบริการ และคณุภาพของบริการ เป็นหัวใจสำาคญั และเป้าหมายหลักของการ

ปฏิรูประบบสาธารณสุขของไทย• จากการศึกษา พบว่าอัตราการนอนรักษาใน

โรงพยาบาลด้วยภาวะ ACSC ที่สงู สะท้อนการเข้าถึงบริการผู้ปว่ยนอกหรือบริการปฐมภูมิในอัตราสว่นที่ตำ่า• เพื่อให้ได้กลุ่มโรค ACSC ที่สอดคล้องกับบริบทไทย

Page 6: Ambulatory care sensitive conditions

ระบบบร ิการสขุภาพของไทย• แบ่งเป็น 3 ระดับ คอื ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิความสนใจเฉพาะของการศ ึกษาคร ั้งน ี้ ระบบบร ิการปฐมภูม ิ (Primary care)

- บริการด่านแรก ใหก้ารดูแลทีต่่อเนื่อง และให้ บริการรอบด้าน จัดบริการที่ รพ.สต. และ รพ.ชุมชน

ระบบบร ิการผ ูป้ ว่ยนอก (Ambulatory care)

- ไม่ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล เชน่ การ วินิจฉัยโรค การผ่าตัดเล็ก (minor surgery) การฟื้นฟู

สมรรถภาพร่างกาย เปน็ต้น ผูใ้ห้บริการมีความ หลากหลายของหนว่ยบริการ และสาขาวิชาชีพที่

ให้บริการ

ที่มาและความสำาค ัญ (5)

Page 7: Ambulatory care sensitive conditions

ที่มาและความสำาค ัญ (6)

ความซำ้าซ ้อนของระบบบร ิการ• บริการปฐมภูม ิ vs. บริการผ ูป้ ว่ยนอก - คำานยิาม : บริการด่านแรก?

- สถานที่ต ัง้ : โรงพยาบาลขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในแหล่งชมุชน?

- สทิธหิล ักประก ันสขุภาพ : ประกันสังคม, สทิธิข้าราชการ vs. สทิธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ?

Page 8: Ambulatory care sensitive conditions

ที่มาและความสำาค ัญ (7)

สร ุป : บริการผูป้่วยนอกมีความคลอบคลุมของการให้บริการด้านสุขภาพทั้งที่เปน็บริการปฐมภูมิรวมถึงบริการที่จัดโดยแพทย์เฉพาะทางใน

โรงพยาบาลดังน ั้น ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษาจึงสะท้อนการให้บริการผู้ปว่ยนอกสำาหรับโรคที่ไม่ซับ

ซ้อนของ รพ.สต. และบริการที่จัดโดยโรงพยาบาลทุกระดับที่มีการให้บริการผู้ปว่ยนอก

Page 9: Ambulatory care sensitive conditions

ว ัตถ ุประสงค ์

• เพื่อพัฒนาหากลุ่มโรคที่มีความเหมาะสมในการเป็นตัวแทนในการบง่ชีก้ารเข้าถึงบริการและคณุภาพของระบบบริการผูป้่วยนอกที่หมายความรวมถึงระบบบริการปฐมภูมิ

• เพื่อประเมินการเข้าถึงระบบบริการ สาธารณสุขในพื้นที่เขต สปสช.

• เพื่อประเมินคณุภาพระบบบริการ

สาธารณสุขในพื้นที่เขต สปสช.

Page 10: Ambulatory care sensitive conditions

ระเบ ียบว ิธ ีว ิจ ัย

• การศึกษาเชงิคณุภาพ : ประยุกต์ใชเ้ดล

ฟายเทคนิค• เชงิปร ิมาณ : วิเคราะห์อัตรานอนรักษาใน

โรงพยาบาลด้วยภาวะ ACSC ใช้ฐานข้อมูลผู้ ปว่ยในของ สปสช. ปี 2550-2554

• ผูเ้ช ีย่วชาญด้านระบบบร ิการสาธารณสขุ : คณุสมบตัิที่เหมาะสม?

• เกณฑ์พ ิจารณากลุ่มโรค ACSC: อัตราการ นอนรักษาในโรงพยาบาลไม่ตำ่ากว่า 1/10,000

ประชากร, Data clarity, Clinical validity

Page 11: Ambulatory care sensitive conditions

กรอบการคัดเล ือกกลุ่มโรค

Page 12: Ambulatory care sensitive conditions

ขั้นตอนการศึกษา

Page 13: Ambulatory care sensitive conditions

บทบาทของนักว ิจ ัยร ่วมของโครงการฯ

• ให้ข้อคิดเห็น/ เสนอแนะต่อ (ร่าง) โครงการ

และรายงานการศึกษา

• มีส่วนร่วมในการพัฒนาตัวชีว้ัด ACSC ที่มี ความเหมาะสมกับบริบทไทย ทั้งการศึกษา

เชงิคณุภาพและเชงิปริมาณ

• เข้าร่วมประชุมกลุ่มคณะทำางาน และเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาวิชาการของโครงการ

Page 14: Ambulatory care sensitive conditions

ขอบคุณคร ับ