คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine...

25
คํานํา มักจะเปนปญหาอยูเสมอสําหรับผูปวยและ/ หรือญาติผูปวย เมื่อไดรับผลการตรวจเลือด เพราะสวน ใหญโรงพยาบาลหรือคลินิกจะใชศัพทเทคนิคหรือคํายอซึ่งผูที่ไดรับการตรวจก็มิไดร่ําเรียนมาทางการแพทย หรือเทคนิคการแพทย หรือพยาบาล ซึ่งทําใหกระดาษผลการตรวจเลือดหลายๆ แผนที่ไดรับมานั้นไมมี ความหมายและไมมีประโยชน เนื่องจากอานไมรูเรื่อง จึงไมรูวาสุขภาพของตัวเองเปนอยางไร ดังนั้น ศูนยวิจัยแบคทีเรียและไวรัส (BVRC) และศูนยตรวจวิเคราะหและวิจัยทางการแพทย (BRIA LAB) จึงไดจัดทําเอกสาร คูมือการอานคาตางๆ ที่ไดจากการตรวจเลือดโดยไดอธิบายถึง ความสําคัญของผลการตรวจแตละอยางตามวิธีการตรวจของศูนยวิจัยแบคทีเรียและไวรัส (BVRC) และ ศูนยตรวจวิเคราะหและวิจัยทางการแพทย (BRIA LAB) ซึ่งจะเปนประโยชนแกผูที่ไมมีความรูทางดานนีเนื่องจากใหคําอธิบายที่อานเขาใจงาย และจะไดทราบดวยตนเองวาสภาวะของรางกาย (บางอยาง) ซึ่งไดรับ ผลจากการตรวจเลือดเปนเชนไร หวังวาคูมือเลมนี้จะเปนประโยชนกับผูที่ไดรับผลการตรวจเลือด และสามารถอานคาตางๆ ได โดยงาย ศูนยวิจัยแบคทีเรียและไวรัส (BVRC) ศูนยตรวจวิเคราะหและวิจัยทางการแพทย (BRIA LAB) 23 พฤษภาคม 2550

Transcript of คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine...

Page 1: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

คํานํา

มักจะเปนปญหาอยูเสมอสําหรับผูปวยและ/หรือญาติผูปวย เมื่อไดรับผลการตรวจเลือด เพราะสวน

ใหญโรงพยาบาลหรือคลินิกจะใชศัพทเทคนิคหรือคํายอซึ่งผูที่ไดรับการตรวจก็มิไดรํ่าเรียนมาทางการแพทย

หรือเทคนิคการแพทย หรือพยาบาล ซึ่งทําใหกระดาษผลการตรวจเลือดหลายๆ แผนที่ไดรับมาน้ันไมมี

ความหมายและไมมีประโยชน เน่ืองจากอานไมรูเร่ือง จึงไมรูวาสุขภาพของตัวเองเปนอยางไร

ดังน้ัน ศูนยวิจัยแบคทีเรียและไวรัส (BVRC) และศูนยตรวจวิเคราะหและวิจัยทางการแพทย

(BRIA LAB) จึงไดจัดทําเอกสาร “คูมือการอานคาตางๆ ท่ีไดจากการตรวจเลือด” โดยไดอธิบายถึง

ความสําคัญของผลการตรวจแตละอยางตามวิธีการตรวจของศูนยวิจัยแบคทีเรียและไวรัส (BVRC) และ

ศูนยตรวจวิเคราะหและวิจัยทางการแพทย (BRIA LAB) ซึ่งจะเปนประโยชนแกผูที่ไมมีความรูทางดานน้ี

เน่ืองจากใหคําอธิบายที่อานเขาใจงาย และจะไดทราบดวยตนเองวาสภาวะของรางกาย (บางอยาง) ซึ่งไดรับ

ผลจากการตรวจเลือดเปนเชนไร

หวังวาคูมือเลมน้ีจะเปนประโยชนกับผูที่ไดรับผลการตรวจเลือด และสามารถอานคาตางๆ ได

โดยงาย

ศูนยวิจัยแบคทีเรียและไวรัส (BVRC)

ศูนยตรวจวิเคราะหและวิจัยทางการแพทย (BRIA LAB)

23 พฤษภาคม 2550

Page 2: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

1

สารบัญ

การตรวจไวรัสตับอักเสบชนิด บี (B) 1

การตรวจปริมาณนํ้าตาลชนิดกลูโคสในเลือด 1

Creatinine (ครีอาตินิน) 2

การตรวจปริมาณแคลเซี่ยมอิออนในกระแสเลือด 2

การตรวจสารประกอบตางๆ ที่แตกตัวเปนอิออนในเลือด-ซีร่ัม 3

ปริมาณของคารบอนไดออกไซดในกระแสเลือด 4

การตรวจสารยูเรียในเลือดที่จะถูกขับออกทางปสสาวะ 4

การตรวจหาปริมาณแม็กนีเซี่ยมในกระแสเลือด 5

การตรวจขอมูลการทํางานของตับ 6

การตรวจสภาวะของสารที่เกี่ยวกับไขมันในเลือดและรางกาย 9

สัดสวนคาปกติของคอเลสเตอรอล, ไตรกลีเซอไรด, HDL และ LDL คอเลสเตอรอล ในมนุษย 11

การตรวจความสมบูรณของเม็ดโลหิต 12

การตรวจมะเร็งแบบ C12-Biomarkers Protein Chips และ Tumor Markers 17

ศัพทที่ควรรู 18

สิ่งที่ควรรู 19

Page 3: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

2

HBV Prevaccination : การตรวจไวรัสตับอักเสบชนิด บี (B) วาผูปวยเปนโรคไวรัสตับอักเสบชนิดบี

(B) หรือไม และ/หรือมีภูมิคุมกันไวรัสตับอักเสบบีหรือไม เพื่อพิจารณาการใหวัคซีน

จากการรวบรวมขอมูลและวิเคราะหโดยสถาบันมะเร็งแหงสหรัฐอเมริกา และองคการสุขภาพของ

โลก (WHO) แหงสหประชาชาติ พบวาผูปวยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี มีโอกาสเปนมะเร็งตับถึง

94.4% โดยผูปวยที่มีอายุระหวาง 20-30 ป จะเปนมะเร็งตับ หลังจากน้ัน 20-25 ป ผูปวยอายุ 30-40 ป ใช

เวลา 15-20 ป ผูปวยอายุ 40-50 ป ใชเวลา 10-15 ป และผูปวยที่มีอายุมากกวา 50 ป ใชเวลา 5-10 ป

1. HBs Ag : การตรวจเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี (B) วามีเชื้อในรางกายหรือไม

Positive (+) : มีเชื้อ

Negative (-) : ไมพบเชื้อ

2. Anti HBs : การตรวจภูมิคุมกันไวรัสตับอักเสบบี (B)

Positive (+) : มีภูมิคุมกัน

Negative (-) : ไมมีภูมิคุมกัน

3. Anti HBc (Total) : การตรวจวามีเชื้อไวรัสบี (B) ในกระแสโลหิต หรือเคยไดรับเชื้อไวรัสบี (B)

หรือไม

Positive (+) : มีหรือเคยมี

Negative (-) : ไมมีหรือไมเคยมี

Sugar (Glucose) : การตรวจปริมาณนํ้าตาลชนิดกลูโคสในเลือด เปนการตรวจเพื่อหาขอบงชี้ที่วามี

นํ้าตาลในเลือดเปนปกติหรือไม

- ถามีนํ้าตาลในเลือดนอยกวาปกติ (Hypoglycemia) จะทําใหผูปวยไมมีแรง หรือออนเพลียงาย

ลักษณะเชนน้ีมักเกิดขึ้นในภาวะที่อดอาหาร หรือหลังจากที่กลูโคสในลําไสถูกดูดซึมเขารางกาย หรือ

เกิดขึ้นหลังจากการกินอาหารประเภทแปง

- ถามีนํ้าตาลในเลือดมากกวาปกติ (Hyperglycemia) เปนภาวะที่บงชี้ถึงโรคเบาหวาน เน่ืองจากการ

ขาดอินซูลิน (insulin) ซึ่งหลั่งจากตับออน (pancreas) หรือไดรับอินซูลินไมเพียงพอที่จะรักษา

สมดุลของนํ้าตาลกลูโคสในรางกายได นอกจากน้ันยังอาจพบในผูปวยที่มีการติดเชื้อในระบบ

คนปกติ : Negative (-),ไมพบเชื้อ

ระดับท่ีสามารถปองกันเชื้อ (Protective level) : มากกวา 10 (>10)

1

Page 4: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

3

ทางเดินหายใจ, ทอทางเดินปสสาวะ หรือผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บ การขาดอินซูลินอยางรุนแรง อาจทํา

ใหเกิดภาวะกลามเน้ือหัวใจตาย

Creatinine (ครีอาตินิน) : การตรวจสารท่ีเกิดจากการสลายตัวของกลามเน้ือ หรือเน้ือเย่ือและขับท้ิงท่ี

ไต (ถาไตไมดีก็จะมีการขับออกไมดี คาครีอาตินินจะสูง)

ครีอาตินิน เปนสารเคมีชื่อ Methylglycocyamidine เปนผลสุดทายของการสันดาปครีเอทีน

(creatine: methylglycocyamine) ซึ่งเปนกรดอะมิโนที่พบในเน้ือเยื่อสัตวที่มีกระดูกสันหลังโดยเฉพาะ

อยางยิ่งในกลามเน้ือ เมื่อรวมกับอนุมูลฟอสเฟต (PO43-) จะได Phosphorelated creatine ซึ่งเปนตัว

สะสมพลังงานที่สําคัญ บางคร้ังเรียกวา Phosphocreatine สวนครีเอทินิน (Creatinine) ใชเปน

เคร่ืองบงชี้การทํางานของไต และมวลกลามเน้ือ

Calcium (แคลเซ่ียม) : การตรวจปริมาณแคลเซี่ยมอิออนในกระแสเลือด

แคลเซี่ยมชวยใหกระดูกแข็งแรง ระบบประสาททํางานไดดี แตถามีปริมาณแคลเซี่ยมในเลือดสูง

เกินไปก็อาจทําใหปลายเสนโลหิตฝอยถูกเกาะดวยแคลเซี่ยม เสนเลือดจะเปราะและแตกงาย เมื่อความดันใน

หลอดเลือดสูงขึ้น

การที่มีปริมาณแคลเซี่ยมในเลือดมากเกินไป (Hypercalcemia) อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ

เชนการทํางานของไตผิดพลาดหรือลมเหลวอยางตอเน่ือง เกิดจากการผลิตปกติของฮอรโมนที่ผลิตจาก

ตอมธัยรอยด เกิดจากยาประเภทฮอรโมน เชน เอสโตรเจน (Estrogen) และแอนโดรเจน (Androgen) ที่

ใชในระหวางการบําบัดมะเร็งเตานม ฯลฯ สําหรับผูปวยที่มีปริมาณแคลเซี่ยมในกระแสเลือดตํ่า

(Hypocalcemia) อาจเกิดขึ้นไดเพราะเกิดจากการลดการดูดซึมของแคลเซี่ยม เน่ืองจากมีฮอรโมนจากตอม

พาราธัยรอยด (Parathyroid) มากเกินไป, การขาดวิตามิน D, การผิดปกติของการทํางานของไต,

กรรมพันธุ, การขาดธาตุแม็กนีเซี่ยม ฯลฯ

พิกัดปกติ : 0.5-1.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ : 8.5-10.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

2

Page 5: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

4

Electrolyte in serum (อิเล็คโตรไลทในซีร่ัม) : การตรวจสารประกอบตางๆ ท่ีแตกตัวเปนอิออน

ในเลือด-ซีร่ัม

Sodium : ปริมาณโซเดีย้มอิออน (Na+) ในกระแสเลือด

โซเดี้ยมอิออน (Na+) ในเลือดสวนใหญในทางการแพทย มักเปนตัวบงชี้ปริมาณเกลือ (โซเดี้ยมคลอ

ไรด-NaCl) ในกระแสโลหิต ผูที่ชอบบริโภคอาหารเค็มมักพบวา มีปริมาณเกลือในกระแสโลหิตสูง

(Hypersalemia) เกลือเปนสิ่งจําเปนสําหรับรางกาย เพราะเปนตัวการสําคัญในการดูดซึมของเลือดและ

เน้ือเยื่อ ดังน้ันการมีเกลือมากหรือนอยเกินไปในกระแสโลหิตจะมีผลโดยตรงตอการดูดซึม อยางไรก็ตาม

ถามีปริมาณโซเด้ียมอิออนสูง (Hypernatremia) จะทําใหไตทํางานหนัก เน่ืองจากตองขับออกทาง

ปสสาวะ และถาในเวลาเดียวกัน ถามีโปตัสเซี่ยมอิออน (K+) ในเลือดสูงดวย ก็อาจเกิดอาการหัวใจลมเหลว

เฉียบพลันได

Potassium : ปริมาณโปตัสเซ่ียมอิออน (K+) ในกระแสเลือด

โปแตสเซี่ยมอิออน (K+) เปน electrolyte ที่สําคัญมากตัวหน่ึงในกระแสเลือด ถาพบวามีโปแตส

เซี่ยมอิออนสูงกวา 5.5 mEq/l ผูปวยจะอยูในภาวะ Hyperkalemia ถาสูงเกิน 6 mEq/l จะเร่ิมมีอาการทาง

หัวใจ คือแนนหนาอก อึดอัด ชีพจรเตนชาลง และถามีเกิน 7 mEq/l หัวใจอาจหยุดเตนได อาการทางหัวใจ

จะรุนแรงมากขึ้นกรณีที่มีโซเด้ียมอิออนนอยกวาปกติ (Hyponatremia) หรือมีแคลเซี่ยมอิออนนอย

(Hypocalcemia) หรือภาวะที่รางกายมีกรดสะสมมากกวาปกติ (Acidosis) ซึ่งอาจเกิดจากการขาดอาหาร

นานเกินไป, มีการปวยเปนโรคเบาหวาน, การสะสมกรดแลคติก (Lactic acid) ในรางกายมากเกินไป, การ

ลมเหลวของการทํางานของไต ฯลฯ นอกจากน้ีถามีโปแตสเซี่ยมอิออนในกระแสเลือดมากเกินไป จะเกิด

อาการทางระบบประสาทและกลามเน้ือ แขนขาออนแรง ปวกเปยก การหายใจชาลงจนเกิดภาวะขาดอ็อกซิ

เจน และมีคารบอนไดออกไซดในกระแสโลหิตสูงขึ้น ในกรณีที่มีโปตัสเซี่ยมอิออนในกระแสเลือดตํ่า

(Hypokalemia) อาจมีอัมพาตของกลามเน้ือการหายใจจนหยุดหายใจ, ทําใหทองอืด ชีพจรเตนเร็วไม

พิกัดปกติ : 135-150 mEq/l

พิกัดปกติ : 3.5-5.5 mEq/l

3

Page 6: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

5

สม่ําเสมอ ถาโปตัสเซี่ยมอิออนตํ่านานๆ จะทําใหปริมาณปสสาวะมากขึ้น (Polyuria) และไตไมสามารถทํา

ใหปสสาวะเขมขนได และเกิดการติดเชื้อที่ไตไดงายขึ้น ภาวะที่กระแสเลือดมีโปตัสเซี่ยมอิออนมากหรือนอย

ตองทําการตรวจซีร่ัม และการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจ

Chloride : ปริมาณคลอไรดอิออน (Cl-) ในกระแสเลือด

ปริมาณของคลอไรดอิออน (Cl-) สวนใหญในกระแสเลือดจะมีความสัมพันธอยางยิ่งกับปริมาณของ

โซเด้ียมอิออน (Na+) ดังที่กลาวมาแลว ในกรณีที่มีปริมาณโซเด้ียมอิออน (Na+) มากเกินไปในกระแสเลือด

(Hypernatremia) ก็จะทําใหปริมาณของคลอไรดอิออน (Cl-) สูงขึ้นไปดวย (Hyperchloridemia)

ภาวะของการที่มีเกลือในกระแสเลือดสูงหรือตํ่าไดกลาวไปแลว

Total CO2 : ปริมาณของคารบอนไดออกไซดในกระแสเลือด

เปนตัวบงชี้ถึงการเมตะโบลิสซึ่มของเซลลรางกาย และเปนตัวบงชี้ความเปนกรด-ดางของเลือด ควบคู

กันกับแอมโมเนียมไนโตรเจน ซึ่งเปนผลจากการเมตะโบลิสซึ่มของโปรตีน (กรดอะมิโน) โดยปกติคาความ

เปนกรด-ดาง (pH) ของเลือดควรจะอยูระหวาง 6.9-7.1 ซึ่งเปนคาที่ดีที่สุด ถาคารบอนไดอ็อกไซดในเลือด

สูง เลือดจะมีความเปนกรดมาก แตถาคาคารบอนไดอ็อกไซดในเลือดตํ่า และคาแอมโมเนียมไนโตรเจนสูง

จะทําใหคาความเปนกรด-ดาง (pH) ของเลือดสูง ซึ่งจะทําใหเกิด septicemia (โลหิตเปนพิษ) โดยโลหิตมี

สภาพเปนดาง (Alkalosis) จะติดเชื้อไวรัสไดงาย เน่ืองจากเชื้อไวรัสมีสภาพเปนดาง เมื่อคา pH ขึ้นสูงกวา

7.2 เชื้อไวรัสจะแอคถีฟ และขยายพันธุไดรวดเร็ว การใหวิตามินซีกับผูปวยจะชวยลดคา pH ของเลือดไมให

ขึ้นสูงจนไวรัสขยายพันธุได

BUN (Blood Urea Nitrogen) : การตรวจสารยูเรียในเลือดที่จะถูกขับออกทางปสสาวะ

พิกัดปกติ : 3.5-5.5 mEq/l

พิกัดปกติ : 22-30 mEq/l

พิกัดปกติ : 5-25 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

4

Page 7: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

6

สารยูเรียในเลือดซึ่งขับออกทางปสสาวะจะมีคาลดลง เมื่อเน้ือเยื่อตับถูกทําลายหรือเสียหาย จะมีคา

เพิ่มขึ้นเมื่อมีการทําลายโปรตีนในเลือดสูงขึ้นและในผูปวยที่การทํางานของไตไมปกติ ผูปวยที่เสียโลหิตหรือ

มีโลหิตออกในระบบลําไส และในผูปวยที่มีความเครียดมาก คา BUN จะลดลงเมื่อเน้ือเยื่อของผูปวยถูก

ทําลายหรืออักเสบรุนแรง (liver failure) จากพิษหรือเปนไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis) นอกจากน้ียังพบ

ในบุคคลที่มีการใชโปรตีนเพื่อการสรางเน้ือเยื่อเชน สตรีมีครรภ หรือผูที่รับประทานโปรตีนมาก และ

คารโบไฮเดรต (แปง)นอย ผูปวยที่มีการดูดซึมของลําไสไมดี และในผูปวยบางรายที่เปนโรคไต

Magnesium (แม็กนีเซ่ียมอิออน) : การตรวจหาปริมาณแม็กนีเซ่ียมในกระแสเลือด

แม็กนีเซี่ยมอิออนมีประโยชนและสําคัญตอรางกายเปนอยางยิ่ง ผูที่มีปริมาณแม็กนีเซี่ยมในเลือดมาก

เกินไปเรียกวา Hypermagnesemia ซึ่งพบเสมอในผูปวยที่เปนโรคไตเร้ือรังและมีการขับถายของเหลวจาก

ไตนอย มีการขับถายแคลเซี่ยมจากไตนอย และมีแคลเซี่ยมในเลือดมาก (ปกติสัดสวนของแคลเซี่ยมตอแม็กนี

เซี่ยมในกระแสเลือดจะเทากับ 3:1) ผูปวยที่ถูกไฟลวกและผูปวยที่อดอาหารตอเน่ืองเปนเวลานาน

แม็กนีเซี่ยมอิออนมีประโยชนและสําคัญยิ่งตอรางกาย เน่ืองจากเปนตัวควบคุมระบบประสาททั้งหมด

ของรางกายทั้งสวนสมองและประสาทสวนกลาง ถาขาดแม็กนีเซี่ยม จะทําใหไมสามารถควบคุมประสาทได

ทําใหมือสั่น ไมเกรน อัลไซเมอร แม็กนีเซี่ยมควบคุมระบบการยืดหดตัวของกลามเน้ือทั้งหมดของรางกาย

รวมทั้งการบีบตัวเปนปกติของกลามเน้ือหัวใจ และหลอดเลือด การขาดธาตุแม็กนีเซี่ยมจะทําใหมีอาการปวด

เมื่อยกลามเน้ือ การบีบตัวของกลามเน้ือหัวใจและหลอดเลือดผิดปกติ ซึ่งเปนสวนสําคัญของอาการไขมันอุด

ตันในหลอดเลือดผิดปกติ ซึ่งเปนสวนสําคัญของอาการไขมันอุดตันในหลอดเลือดและจะเปนอันตรายอยาง

ยิ่งในเสนเลือดฝอย ที่นําอาหารและอ็อกซิเจนไปเลี้ยงสมอง นอกจากน้ีธาตุแม็กนีเซี่ยมยังคลุมอยูที่ผิวกระดูก

โดยเฉพาะบริเวณขอตอ ถานํ้าเลือดขาดแม็กนีเซี่ยมหรือมีไมเพียงพอรางกายจะนําแม็กนีเซี่ยมที่เคลือบ

บริเวณขอตอกระดูกมาใช ทําใหเกิดอาการกระดูกคลอน ปวดตามขอ และกลามเน้ือในบริเวณน้ี สิ่งสําคัญ

ที่สุดก็คือ แม็กนีเซี่ยมเปนตัวกระตุนใหคอมพลีเมนทซึ่งเปนซีร่ัมโปรตีน 11 ชนิด และเปนสวนสําคัญของ

ระบบภูมิคุมกันเขาทําลายเชื้อตางๆ ไมวาจะเปนเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส รวมทั้งสิ่งแปลกปลอมอ่ืนๆ ที่เขามา

ในรางกาย ดังน้ันการขาดธาตุแม็กนีเซี่ยมจึงถือวาสําคัญมาก เพราะจะทําใหเกิดอาการอ่ืนๆ ตามมา เชน การ

เกร็งของขอมือขอเทา กลามเน้ือเปนตะคริว และกลามเน้ือสั่น ลําบากในการทรงตัว ตากระตุก กลืนอาหาร

ลําบาก และถาขาดแคลเซี่ยม (hypocalcemia) ดวย ก็อาจทําใหเกิดอัมพาตสวนหน่ึงของรางกาย

พิกัดปกติ : 1.8-2.1 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

5

Page 8: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

7

Liver Function Test : การตรวจขอมูลการทํางานของตับ

Total Protein (ปริมาณโปรตีนรวมในกระแสเลือด)

เน่ืองจากโปรตีนเปนสารอาหารที่สําคัญและจําเปนอยางยิ่งประเภทหน่ึงในอาหาร 5 หมู เน่ืองจากตอง

ใชโปรตีนในการสรางสารและเซลลในรางกาย และซอมแซมสวนของเซลลรางกายที่ชํารุด ผูปวยที่ขาด

โ ป ร ตี น ห รื อ มี โ ป ร ตี น ใ น ก ร ะ แ ส โ ล หิ ต ตํ่ า ก ว า พิ กั ด จึ ง อ ยู ใ น ส ภ า ว ะ ที่ เ ป น โ ร ค ข า ด โ ป ร ตี น

(Hypoproteinemia) ซึ่งจําเปนตองใหอาหารหรืออาหารเสริมประเภทโปรตีนอยางเรงดวน อยางไรก็ตาม

ผูปวยที่มีอาการไตบกพรอง และตองฟอกเลือดขับแอมโมเนียออก ตองระมัดระวังในการกินอาหารโปรตีน

เน่ืองจากโปรตีนจะถูกยอยเปนกรดอะมิโน และเมื่อเกิดเมตะโบลิซึ่ม ก็จะกลายเปนแอมโมเนีย (แอมโมเน่ียม

ไนโตรเจน NH4+-N ของเสียที่เปนสารประกอบไนโตรเจน-Nitrogenous waste) ซึ่งไตจะขับไมออก

จึงตองปรึกษาแพทยและผูเชี่ยวชาญทางโภชนาการและตองไดรับการฟอกเลือด

Albumin : ปริมาณอัลบูมินในกระแสเลือด

อัลบูมินเปนโปรตีนที่สําคัญในกระแสเลือด ซึ่งเปนโปรตีนที่มีโมเลกุลจับกันเปนกลุมกอน (Cluster

protein) มีในนม (Lactolbumin) และในไขขาวโดยทั่วไปอัลบูมินในสัตวมีคุณภาพดีกวาในพืช อัลบูมิน

มีทั่วไปในอวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย (Native albumin) แตที่พบในกระแสเลือดเรียกวา ซีร่ัมอัลบูมิน

(serum albumin)

โดยปกติโปรตีนและอัลบูมินเปนตัวอุมนํ้าในกระแสโลหิต ถาทั้งสองอยางน้ีมีนอยกวาพิกัดตํ่าสุด โดย

เฉพาะอัลบูมินจะทําใหกระแสเลือดอุมนํ้าไมไดและจะร่ัวออกทางรูเล็กๆ ของเสนโลหิตฝอย มักพบเสมอใน

ผูปวยมะเร็งตับซึ่งมีอัลบูมินตํ่า นํ้าและเซลลมะเร็งที่อยูในกระแสเลือดจะร่ัวเขาชองทองทําใหทองบวมโต

(Ascites) และจะเกิดเน้ือเยื่อมะเร็งบริเวณผนังทองในที่สุด

พิกัดปกติ : 6.6-8.7 กรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ : 3.5-5.0 กรัม/เดซิลิตร

6

Page 9: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

8

Globulin : การตรวจหาปริมาณโกลบูลินในกระแสเลือด

โกลบูลินเปนโปรตีนประเภทหน่ึงที่ไมละลายนํ้าแตละลายในนํ้าเกลือ โกลบูลินมีหลายชนิดในกระแส

เลือด แตที่สําคัญมากก็คือ immune serum globulin ซึ่งมีแอนติบอด้ีเปนจํานวนมาก Immuno-

globulin (แอนติบอดี้) เปนโมเลกุลโปรตีนที่รวมเปนกลุมกอน ซึ่งสามารถจะรวมหรือเกาะติดกับเชื้อหรือ

สิ่งแปลกปลอม เพื่อใหคอมพลีเมนท (Complement) ซึ่งอยูในซีร่ัมมาทําลายเชื้อหรือสิ่งแปลกปลอมน้ัน

น่ันคือ ผูที่ปวยเปนโรค หรือมีการติดเชื้อ รางกายจะสรางโกลบูลินขึ้นมามากกวาเดิม (มากกวาพิกัดสูงสุด)

แตถารางกายสรางโกลบูลินนอยกวาพิกัดตํ่าสุด หมายถึง สุขภาพของรางกายไมดี หรือไขกระดูกเสื่อม

เน่ืองจากไขกระดูกจะสราง B-cells ซึ่งจะกลายมาเปนเซลลที่ผลิตอิมมูโนโกลบูลิน (เมื่อทําการวิเคราะห

วินิจฉัย ควรดูปริมาณเม็ดโลหิตขาวและเม็ดโลหิตแดงดวย)

A/G : การคํานวณสัดสวนของปริมาณอัลบูมินและโกลบูมิน

สัดสวนของปริมาณอัลบูมินและโกลบูลินในซีร่ัมจะตองมีอัตราสวนพอเหมาะดังแสดงไวในพิกัด

ปกติ ถาสัดสวนดังกลาวนอยกวาพิกัดปกติ แสดงวามีปริมาณโกลบูลินมากและอัลบูมินนอย ในทางกลับกัน

ถามากกวาพิกัดปกติแสดงวามีอัลบูมินมากและโกลบูลินนอยซึ่งหมายความวา เลือดขาดสมดุลของทั้งสอง

ประเภทน้ี

Total Bilirubin : การตรวจปริมาณรงควัตถุของน้ําดีในเลือด

บิลลิรูบิน คือ รงควัตถุของนํ้าดี (ซึ่งเปนกรดยอยไขมัน-Bile acid) จะออกสีสมหรือสีเหลือง

เน่ืองจากการสลายตัวของเม็ดเลือดแดง ขับออกทางนํ้าดี เรียกอีกอยางหน่ึงวา สารนํ้าดีในเลือด จะมีคาสูงเมื่อ

พิกัดปกติ : 2.1-3.3 กรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ : 1.0-1.8

พิกัดปกติ : 0-1.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

7

Page 10: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

9

เซลลตับถูกทําลายหรือมีสิ่งกีดขวางทอนํ้าดีจึงแพรเขาสูกระแสเลือด ซึ่งก็คือถาคาสูงเกินพิกัดก็จะแสดงความ

ผิดปกติของตับ หรือทอนํ้าดี ถาตํ่ากวาพิกัดจะแสดงถึงความผิดปกติของตับ หรือทอนํ้าดี ถาตํ่ากวาพิกัดจะ

แสดงถึงความผิดปกติของการผลิตนํ้าดีจากถุงนํ้าดี ซึ่งจะตองตรวจวินิจฉัยสภาวะของถุงนํ้าดี

Direct Bilirubin : ปริมาณที่แทจริงของจุดสีของน้ําดีในเลือด

เปนการตรวจหาคาปริมาณที่แทจริงของจุดสีของนํ้าดีในเลือด เพื่อเปรียบเทียบกับคา Total

Bilirubin เพื่อจะไดทราบถึงการแตกสลายของเม็ดโลหิตแดงวามีมากนอยเพียงใด และมีนํ้าดีที่ผลิตจากถุง

นํ้าดีซึ่งออกมาในกระแสเลือดมากนอยเพียงใด ซึ่งปกติจะมีการหลุดร่ัวออกมาไดบาง ถาผูที่มีสุขภาพดีและ

การทํางานของตับและถุงนํ้าดีตลอดจนทอนํ้าดีเปนปกติจะมีคานํ้าตํ่า ถาคาน้ีสูงเกินพิกัดก็แสดงวามีความ

ผิดปกติของอวัยวะทั้งสอง

AST (SGOT) : การตรวจปริมาณเอ็นซัยมชนิดหนึ่งของตับ

SGOT เปนคํายอของ Serum Glutamic Oxaloacetic Transaminase (AST : Aspartate

Transaminase) เปนเอ็นซัยมซึ่งพบเปนปกติในเน้ือเยื่อ โดยเฉพาะอยางยิ่งในหัวใจและตับ ซึ่งจะถูกปลอย

เขาไปในซีร่ัมในกรณีที่เน้ือเยื่ออักเสบ, ติดเชื้อหรือเปนแผล ดังน้ันความเขมขนหรือปริมาณของ SGOT ใน

ซีร่ัมอาจเพิ่มขึ้นในกรณีที่เน้ือเยื่อหัวใจตาย เน่ืองจากหลอดโลหิตอุดตัน หรือเน้ือเยื่อตับถูกทําลายอยาง

รุนแรง (ดูพิกัดปกติ)

ALT (SGPT) : การตรวจปริมาณเอ็นซัยมชนิดหนึ่งของตับ

พิกัดปกติ : 0-0.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ : 10-40 ยูนิต/ลิตร

พิกัดปกติ : 10-40 ยูนิต/ลิตร

8

Page 11: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

10

SGPT เปนคํายอของ Serum Glutamic Pyruvic Transaminase (ALT: Alanine

Transaminase) เปนเอ็นซัยมซึ่งพบเปนปกติในซีร่ัมและเน้ือเยื่อของรางกายโดยเฉพาะอยางยิ่งในตับ

เอ็นซัยมน้ีจะถูกปลอยเขาไปในซีร่ัมเมื่อเน้ือเยื่อของอวัยวะภายในเปนแผลหรือฉีกขาด ดังน้ันความเขมขน

หรือปริมาณของ SGPT ในซีร่ัมจะเพิ่มขึ้นในผูปวยที่เน้ือเยื่อตับถูกทําลายหรืออักเสบรายแรง

Alkaline Phosphatase (อัลคาลายน ฟอสฟาเตส) : การตรวจปริมาณเอ็นซัยมชนิดหน่ึงของตับ

เปนเอ็นซัยมซึ่งกระตุนการแตกตัวของ Orthophosphate จาก Orthophosphoric monoesters

ภายใตสภาวะความเปนดาง เปนเอนซัยมที่แตกตางกับ SGOT และ SGPT ที่พบในเน้ือเยื่ออวัยวะ แตการ

ทํางานในซีร่ัมของมันเปนประโยชนในการวินิจฉัยทางคลีนิคในผูปวยที่ปวยเปนโรคชนิดตางๆ หลายชนิด

โดยจะพบวาเอ็นซัยมชนิดน้ีจะมีคาสูงเกินพิกัดเสมอ ในผูปวยเปนมะเร็งตับจะเห็นไดชัดเจน เมื่อเน้ือเยื่อตับ

อักเสบ หรือถูกแทรกแซงดวยกลุมเซลลมะเร็ง จนตับไมสามารถทํางานเปนปกติได

Lipid Profile : การตรวจสภาวะของสารที่เก่ียวกับไขมันในเลือดและรางกาย

Cholesterol : คอเลสเตอรอล

คอเลสเตอรอลเปนไขมันในสัตว พบในเลือด นํ้าดี เน้ือเยื่อสมอง นํ้านม ไขแดง ตับ ไต ฯลฯ มักมีคา

สูงในผูปวยที่ไดรับไขมันน้ีเขาไปทางอาหาร เชนผูปวยที่เปนโรคเกี่ยวกับนํ้าดี ไต ตับออน(เบาหวาน) เปน

ตน นอกจากน้ียังสืบตอเน่ืองทางกรรมพันธุได แตก็มีอีกหลายภาวะที่ทําใหคอเลสเตอรอลในเลือดสูงได มัก

พบรวมกับเบาหวาน, ตอมธัยรอยดเสื่อม, ผูที่มีคอเลสเตอรอลสูง อาจทําใหเกิดโรคอ่ืนๆ ตามมาไดอีกหลาย

อยาง เพราะคอเลสเตอรอลที่มีมากเกินพอน้ีมักไปสะสมอยูในเน้ือเยื่อตางๆ ของรางกาย เชนตามผิวหนัง ใน

เซลลของตับ ของทอไต เปนตน คาคอเลสเตอรอลจะลดลงในผูปวยที่เซลลตับถูกทําลายอยางรุนแรง เชนจาก

พิกัดปกติ : 10-40 ยูนิต/ลิตร

พิกัดปกติ : นอยกวา 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

9

Page 12: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

11

สารเคมี, ยา และไวรัสตับอักเสบ เปนตน นอกจากน้ีก็มีพวกที่เปน hyperthyroid, พวกขาดสารอาหาร

หรืออดอยาก และผูที่มีโรคโลหิตจางเร้ือรังเปนตน

Triglyceride : ไตรกลีเซอไรด

ไตรกลีเซอไรดเปนสารประกอบกลีเซอรอลกับกรดไขมันรวมกัน 3 โมเลกุล พบในกระแสโลหิตและ

เน้ือเยื่อไขมันตางๆ ในรางกาย เปนไขมันปกติซึ่งถูกสะสมในรางกายสัตว ไตรกลีเซอไรดจะมีคาเพิ่มใน

ครอบครัวคนอวน ผูปวยเปนโรคตับ ไตบกพรอง, ตับออนอักเสบ, เบาหวาน, ตอมธัยรอยดทํางานไมเต็มที่

(Hypothyroid), กลามเน้ือหัวใจตายเน่ืองจากหลอดเลือดอุดตัน

HDL : เปนคํายอของ High Density Lipoprotein-โมเลกุลของไขมันรวมกับโมเลกุลของ

โปรตีนแบบหนาแนนมาก

HDL มีคุณสมบัติเปนโปรตีน เน่ืองจากการจับตัวกันอยางแนนทําใหไมคอยสลายตัว จึงไมคอยให

โทษกับรางกายมากนัก

LDL : เปนคํายอของ Low Density Lipoprotein-โมเลกุลของไขมันรวมกับโมเลกุลของ

โปรตีนแบบหนาแนนนอย

โดยปกติ LDL มีคุณสมบัติเปนโปรตีนในสวนที่เปนไขมัน ประกอบดวยคอเลสเตอรอล 50% และ

ไตรกลี-เซอไรด 10% ถา LDL สูงจะทําใหหลอดเลือดหัวใจทํางานผิดปกติ เน่ืองจากการสลายตัวของ

LDL

พิกัดปกติ : นอยกวา 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ : ชาย 35-55 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

หญิง 45-65 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ : นอยกวา 150 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

10

Page 13: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

12

สัดสวนคาปกติของคอเลสเตอรอล, ไตรกลีเซอไรด (195th เปอรเซ็นตไตล), HLD คอเลสเตอรอล (5th

เปอรเซ็นตไตล) ในมนุษย

อายุ คอเลสเตอรอล (มิลลิกรัม/เดซิลิตร) ไตรกลีเซอไรด

(มิลลิกรัม/เดซิลิตร) รวม LDL HDL

เพศชาย

10-14 202 132 37 125 15-19 197 130 30 148 20-24 218 147 30 201 25-29 244 165 31 249 30-34 254 185 28 266 35-44 269 187 28 320 45-54 276 200 29 324 55-64 276 206 29 288

เพศหญิง

10-19 200 135 36 128 20-24 216 136 37 131 25-34 225 150 37 148 35-39 242 172 34 176 40-44 252 174 33 191 45-49 265 187 33 214 50-54 285 215 37 233 55-59 300 213 36 262 60-64 297 234 36 239

11

Page 14: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

13

CBC (Complete Blood Count) : การตรวจความสมบูรณของเม็ดโลหิต

Hemoglobin (Hb) : ฮีโมโกลบิน เปนการตรวจความเขมขนของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง

ฮีโมโกลบินเปนสารสีแดงของเซลลเม็ดเลือดแดง มีหนาที่นําออกซิเจนจากปอดสูเน้ือเยื่อตางๆ ถูก

สรางขึ้นมาในขณะที่มีการพัฒนาเม็ดเลือดแดงในไขกระดูก ฮีโมโกลบินจะมีธาตุเหล็กอยูตรงกลางโมเลกุล

ซึ่งสามารถจับออกซิเจนได 4 อะตอม ในบางกรณีธาตุเหล็กอาจจับออกซิเจนได 1 หรือ 2 อะตอม ทําใหการ

ขนสงออกซิเจนใหกับเซลลหรือเน้ือเยื่อไมเพียงพอ เชน ผูปวยที่เปนธาลลาสซีเมีย จะทําใหเน้ือเยื่อไดรับออก

ซิเจนไมเพียงพอ และมีอันตรายอยางยิ่ง โดยเฉพาะเน้ือเยื่อสมอง ยิ่งถาผูปวยอยูในที่ๆ มีออกซิเจนนอยก็

อาจจะทําใหเกิดอาการขาดออกซิเจนอยางรุนแรงและเกิดอาการ”ไหล”ตายได และเชนกันในผูปวยที่พบวา

ฮีโมโกลบินตํ่าก็จะเกิดปญหาเร่ืองการไดรับออกซิเจนของเซลลและเน้ือเยื่อตางๆ รวมทั้งขบวนการเมตะโบลิ

ซึ่มของอาหารที่ไดรับเขาไปเพื่อใหเกิดพลังงาน ผูปวยจะมีอาการซึมและงวงนอนอยูตลอดเวลา สาเหตุอีก

ประการหน่ึงคือ ผูปวยไดรับหรือธาตุเหล็กในรางกายตํ่า จึงทําใหสรางฮีโมโกลบินไมเพียงพอ

Hematocrit : ฮีมาโตคริท เปนเปอรเซ็นตของปริมาณของเม็ดเลือดแดงหลังนําไปปนให

ตกตะกอนเพ่ือแยกเม็ดโลหิตออกจากพลาสมาของเลือด

คาฮีมาโตคริท เปนตัวบงชี้จํานวนหรือปริมาณของเม็ดเลือดแดง และความเขมขนของเลือด ซึ่งถามีตํ่า

กวาพิกัดจะแสดงวา ผูปวยมีอาการเม็ดโลหิตจาง (Anemia) ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเพราะไขกระดูกไมเจริญ ไข

กระดูกเสื่อม เน่ืองจากถูกทําลายโดยสารเคมี (chemotherapy) หรือไดรับการฉายรังสี (Radiotherapy)

หรือมีธาตุเหล็กไมเพียงพอ (Chlorotic anemia), เม็ดเลือดแดงแตกสลาย (hemolysis), ดีซาน, มามโต,

เม็ดเลือดแดงในมามถูกทําลายมาก, เน้ืองอกในตอมนํ้าเหลือง, เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญกวาปกติ หรือเล็ก

กวาปกติ, เลือดตกในกระเพาะอาหาร, ตับแข็ง

12

พิกัดปกติ ชาย คือ 13-18 กรัม/เดซิลิตร

หญิง คือ 12-16 กรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ ชาย คือ 35-49 %

หญิง คือ 32-42 %

Page 15: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

14

RBC count : การนับจํานวนเม็ดเลือดแดง

ดังที่กลาวมาแลวในเร่ือง Hematocrit สําหรับผูที่มีเม็ดเลือดแดงนอย แตถามีเม็ดเลือดแดงมากเกิน

พิกัด เรียกวา โพลี่ไซธีเมีย (Polycythemia) ซึ่งอาจเกิดจากผูปวยมีมามโต, การผลิตเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น

(Leucocytosis), จํานวนเกล็ดเลือดลดลง (Thrombocytopenia)

*MCV : Mean Corpuscular Volume คือการวัดคาเฉล่ียของปริมาณของเม็ดเลือดแดง

ลวน (ดูในเร่ืองเม็ดโลหิตแดงและฮีมาโตคริท)

*MCH : Mean Corpuscular Hemoglobin คือ การวัดคาเฉลี่ยของปริมาณฮีโมโกลบินในเม็ด

เลือดแดง (ดูในเร่ืองฮีโมโกลบิน)

*MCHC : Mean Corpuscular Hemoglobin Concentration คือ การวัดคาเฉล่ีย

ความเขมขนของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง (ดูในเร่ืองฮีโมโกลบิน)

*RDW : เปนคาเฉล่ียการกระจายตัวของเม็ดเลือดแดง

พิกัดปกติ ชาย คือ 4.7-6.1 M เซลล/มิลลิลิตร

หญิง คือ 4.2-5.1 M เซลล/มิลลิลิตร

พิกัดปกติ ชาย คือ 82.2-99.5 fl

หญิง คือ 80.0-94.5 fl

พิกัดปกติ คือ 26.5-31.2 กรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ คือ 31.8-36.4 กรัม/เดซิลิตร

พิกัดปกติ คือ 11.5-14.5 %

15 13

Page 16: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

15

*RBC Morphology : การตรวจรูปรางลักษณะของเม็ดเลือดแดงวาเปนปกติหรือผิดปกติหรือไม

Anisocytosis : การตรวจความผิดปกติของรูปรางเม็ดเลือดแดง วามีขนาดเทากันหรือไม

Poikilocytosis : การตรวจความผิดปกติของเม็ดเลือดแดงที่มีรูปรางผิดปกติจากธรรมดา

Hypochromia : การตรวจภาวะที่เม็ดเลือดมีปริมาณฮีโมโกลบินนอยกวาปกติ

Target cell : การตรวจเซลลเปาหมาย

หมายเหตุ : เคร่ืองหมายดอกจันทน เปนการตรวจสภาพและปริมาณของเม็ดโลหิตแดงและฮีโมโกลบินวา

เปนปกติหรือไม

Platelet Count : การนับปริมาณเกล็ดเลือด

เกล็ดเลือด (Thrombocyte) มีรูปรางกลมหรือเปนรูปไข มีขนาดคร่ึงหน่ึงของเม็ดเลือดแดง มี

บทบาทเกี่ยวกับการเกิดเปนลิ่มหรือการคลอท (clot) เปนกอนของเลือด ผูปวยที่มีปริมาณเกล็ดเลือดลดลง

(Thrombocytopenia) มีสาเหตุหลายประการเชน ไขกระดูกถูกทําอันตราย อันเน่ืองมาจากสารเคมี

(Chemotherapy), ยา, ถูกฉายรังสี (Radiotherapy), เน้ือเยื่อตาย, การมีเชื้อโรคหรือพิษของเชื้ออยูใน

เน้ือเยื่อ เน้ืองอก, ลูคีเมีย, พังผืด, การขาดวิตามินบี 12

การเกิดเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น (thrombocytosis) อาจจะเกิดขึ้นเน่ืองจากเกิดการสูญเสียเลือด

(bleeding), การติดเชื้อ, การบาดเจ็บ, การตัดมามออกและทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงแตกอยางตอเน่ืองและ

เร้ือรัง, การออกกําลังกาย, ยา หรือเกิดจากการปวยเร้ือรังเน่ืองจากการเกิดบาดแผลหรืออักเสบของลําไสใหญ,

รูมาตอยด, เน้ืองอก, มะเร็ง, การขาดธาตุเหล็ก และเกิดจากอาการมามฝอ เปนตน

Platelet from Smear : การตรวจการกระจายของเกล็ดเลือด บนกระจกสไลดวามีเพียงพอ

หรือไม

พิกัดปกติ คือ 150,000-400,000 เซลล/มิลิลิตร

พิกัดปกติ คือ Adequate (เพียงพอ)

16 14

Page 17: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

16

WBC (White Blood Cell) : เซลลเม็ดเลือดขาว

เม็ดเลือดขาวถูกผลิตขึ้นในไขกระดูก (bone marrow) โดยพัฒนามาจากเซลลตนแบบหรือ สเต็ม

เซลล (Stem cell – Hematopoietic cell) แลวออกสูกระแสเลือด มีหลายชนิด เชน นิวโตรฟลส

(Neutrophils) มี 60%, อีโอสิโนฟลส (Eosinophils) มี 0.2% และเบโซฟลส (Basophils) มี 2-5% ซึ่ง

เม็ดเลือดขาวดังกลาวเปนเซลลที่กลืนกินเชื้อ หรือสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย

เม็ดเลือดขาวแบงเปน 2 พวกใหญๆ คือ พวกที่มีนิวเคลียส (Nucleus) หลายอันใน 1 เซลลเรียกวา

พวก กรานูโลไซท (granulocyte) หรือเรียกวา PMN (polymorphonuclear-โพลี่มอรนิวเคลียร) ซึ่ง

ไดแกเม็ดเลือดขาว 3 ชนิด ที่กลาวมาแลว และยังมีปลีกยอยอีกชนิดหน่ึงคือ มาสตเซลล (Mast cell) ซึ่ง

คลายกับเบโซฟลสแตมีขนาดใหญกวา

เม็ดเลือดขาวอีกจําพวกหน่ึง คือพวกที่มีนิวเคลียส 1 อันในเซลลเรียกวา อะกรานูลโลไซท

(agranulocyte) ซึ่งไดแกเม็ดเลือดขาวที่จะกลาวถึงตอไปน้ี

Lymphocyte : ลิมโฟไซท

ลิมโฟไซท มีปริมาณ 20% ของเม็ดโลหิตทั้งหมด แบงเปน 3 กลุม คือ

1. กลุม T-lymphocyte พัฒนาขึ้นในตอมธัยมัส (thymus gland)

2. กลุม B-lymphocyte พัฒนาขึ้นในแองของเหลวบริเวณขอตอ

3. กลุม NK-lymphocyte หรือเซลลพิฆาต

พิกัดปกติ : 5,000-10,000 เซลล/มม.3

พิกัด PMN ปกติ คือ 55-75%

พิกัดปกติ คือ 20-35 %

15

Page 18: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

17

เซลลตนแบบ (stem cell) จะพัฒนาไปเปน B-lymphocyte ไดเร็วมาก คือประมาณ 3 วัน และได

ปริมาณมาก ลิมโฟไซทจะกระจายอยูทั่วไปในรางกาย ในกระแสเลือด และระบบนํ้าเหลือง และมีปริมาณ

มากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับเซลลชนิดตางๆ ที่ผลิตขึ้นโดยไขกระดูก มีลิมโฟไซท 2 ประเภทที่เกี่ยวของกับ

การรับรูของระบบภูมิคุมกัน ไดแก B-lymphocyte และ T-lymphocyte ซึ่งเซลลตนแบบจะถูกสงไป

สรางที่ตอมธัยมัส (Thymus gland)โดยที่ B-lymphocyte จะพัฒนาตอไปเพื่อสรางแอนติบอดี้

น่ันก็คือ เมื่อมีเซลลผิดปกติเกิดขึ้นในรางกายหรือมีสิ่งแปลกปลอมเขาสูรางกาย รางกายก็จะสรางแอน

ติบอด้ี และเม็ดโลหิตขาวอ่ืนๆ ขึ้นมาทําลาย อยางไรก็ตาม ถาสุขภาพรางกายไมดี หรือไขกระดูกถูกกด หรือ

เสื่อม เซลลเหลาน้ีก็จะสรางไดนอยลง และไมสามารถทําลายเชื้อไดหมดจนเกิดการเจ็บปวยขึ้น

หมายเหตุ : สําหรับผูปวยมะเร็ง เมื่อไดรับการบําบัดดวยสารเคมี (chemotherapy) จะทําให

ไขกระดูกผลิตเม็ดโลหิตขาว เม็ดโลหิตแดง และแอนติบอด้ีไดนอยลง และจะเปนอันตรายอยางยิ่ง ถาเกิดมี

โรคแทรกซอนหรือมีเชื้ออ่ืนๆ เขาในกระแสโลหิต จะเกิดอาการโลหิตติดเชื้อ

Monocyte : โมโนไซท

โมโนไซทมีปริมาณ 2-11% ของเม็ดโลหิตขาวทั้งหมดที่เกิดจากเซลลตนแบบ (stem cell) มีหนาที่

กําจัดเซลลเชื้อหรือเซลลแปลกปลอมโดยการกลืนกิน (phagocytosis)

Eosinophil : อีโอสิโนฟล

มีขนาดเล็กกวา นิวโตรฟล (Neutrophil) มีประมาณ 2-5 % ของเม็ดโลหิตขาวทั้งหมด เปนเม็ด

โลหิตขาวที่กลืนกินสารแปลกปลอมที่เปนสารเชิงซอน (complex) จะมีปริมาณมากเมื่อมีการติดเชื้อ และใน

บริเวณที่มีปฏิกิริยาตอสารที่ทําใหเกิดภูมิแพ และยังบงบอกถึงพยาธิสภาพ และพยาธิในกระแสโลหิต

Basophil : เบโซฟล

เปนเม็ดโลหิตขาวที่มีนิวเคลียสรูปรางไมแนนอน มักเพิ่มจํานวนเมื่อเกิดอาการแพ มีปริมาณ 0.2%

ของเม็ดโลหิตขาวทั้งหมด มีหนาที่จับสิ่งแปลกปลอมและกลืนกิน แตความสามารถนอยกวาอีโอสิโนฟล (Eosinophil)

พิกัดปกติ คือ 2-6 %

พิกัดปกติ คือ 1-3 %

พิกัดปกติ คือ 0-1 %

16

Page 19: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

18

การตรวจมะเร็งแบบ C12-Biomarkers Protein Chips (การตรวจชีวโมเลกุลที่หล่ังจาก

เนื้อเยื่อมะเร็งที่พบในกระแสโลหิต)

Item คําอธิบาย คาปกติ

1. CEA ปอด, กระเพาะอาหาร, ลําไสใหญ, เตานม, ตับออน,หลอดอาหาร, กระเพาะปสสาวะ,

ตอมไทรอยด < 5 ng/ml

2.CA 19-9 มะเร็งลําไสใหญ, ตับ, กระเพาะอาหาร, หลอดอาหาร, ตับออน,ตอมลูกหมาก < 35 U/ml

3.NSE ปอด, ตับออน, ไทรอยด < 13 ng/ml

4.PSA ตอมลูกหมาก, เย่ือบุมดลูก, ตับออน, ตับ, ปอด < 5 ng/ml

5.F-PSA ตอมลูกหมาก, เย่ือบุมดลูก, ตับออน, ตับ, ปอด < 1 ng/ml

6.CA 153 เตานม, รังไข, เย่ือบุมดลูก, ปอด, กระเพาะอาหาร, หลอดอาหาร, ลําไสใหญ, ตับออน < 35 U/ml

7.CA 242 ทวารหนัก, ตับออน,กระเพาะอาหาร < 20 U/ml

8.Ferritin ตับ, ปอด, เตานม, ตับออน, เย่ือบมุดลูก M < 322 ng/ml F < 219 ng/ml

9. β–HCG เย่ือบุมดลูก, รังไข, ปอด, หลอดอาหาร, ตอมลูกหมาก, เตานม, ตับออน, ตอมอัณฑะ < 3 ng/ml

10. HGH ปอด, ตอมใตสมอง, ไต < 7.5 ng/ml

11. AFP ตับ, ปอด, กระเพาะอาหาร, หลอดอาหาร, รังไข, ตับออน, ตอมอัณฑะ < 20 ng/ml

12. CA 125 รังไข, เตานม, ปอด, ตับ, กระเพาะอาหาร, หลอดอาหาร, ตับออน, ลําไสใหญ < 35 U/ml

การตรวจมะเร็งแบบ Tumor Markers (ตรวจเซลลมะเร็งที่พบในกระแสโลหิต)

Item คําอธิบาย คาปกต ิ

1. CEA เหมาะกับลําไสและทั่วไป ระดับมักขึ้นกับ Organ ที่สราง 0-5 ng/ml

2.CA 19-9 Marker ของลําไสกับลําไสเล็ก 0-37 U/ml

3.NSE Marker ของปอด 0-15 ng/ml

4.PSA Marker ของตอมลูกหมาก 0-4 ng/ml

5.F-PSA

Marker ของตอมลูกหมาก เม่ือเอา F-PSA/PSA จะได ratio นี้ จะชวย predict

คนไขที่มี PSA ปกติ คือ ต่ํากวา 4 นั้นวาเปนมะเร็งไหม? พบวาคนไขที่มี PSA

ต่ํากวา 4 นั้น 25% เปนมะเร็ง

6.CA 153 Marker ของเตานม 0-39 U/ml

7.CA 125 Marker ของรังไข 0-35 U/ml

8.NMP 22 Marker ของกระเพาะ

9. AFP Marker ของตับ 0-13.4 ng/ml

10. TPS เปน General Marker ติดตามผลการรักษา เพราะวัด cell proliferation level

11. Occult Blood Colorectal Cancer Screening

17

Page 20: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

19

ศัพทที่ควรรู

1. Microcyte เม็ดโลหิตที่มีขนาดเล็กผิดปกติ

2. Ovalocyte เม็ดเลือดผิดปกติเปนรูปไข

3. Schistocyte โลหิตมีเศษของเม็ดเลือดแดง

4.Hemolyse เม็ดเลือดเปราะแตก

5.Lipemic ในเลือดมีไขมันมาก

6. Icteric เกี่ยวกับอาการดีซาน

7.Adequate เพียงพอ

8.Normal ปกติ

9.Negative ไมมี ไมพบ

10.Positive มี พบ

11.Ferritin ไมใชตัวบงชี้มะเร็ง แตถามีคาสูงจะแสดงถึงการอักเสบของเน้ือเยื่อตับแข็ง, ระยะแรก

ของโรคหัวใจ, มีธาตุเหล็กในเลือดมากเกินไป เปนตน

12. เดซิลิตร 10 มิลลิลิตร (10 ซีซ)ี

13. fl เฟลมโทลิตร (หนวยการวัดการสะทอนของแสงที่มีกับของเหลว 1 ลิตร)

14. pg Picogram (พิโคกรัม = 1 /ลานลานกรัม)

15. M cell/mm3 ลานเซลลตอลูกบาศกมิลลิเมตร

16. U/L หนวยตอลิตร

17. U/ml หนวยตอมิลลิลิตร

18. mEq/L มิลลิอิควิวาเลนทตอลิตร

(มิลลิอิควิวาเลนท = จํานวนกรัมของตัวละลายใน 1 มิลลิลิตรของสารละลายปกติ

19. ng/ml นาโนกรัม/มิลลิลิตร (1 นาโนกรัม = 1/1,000 กรัม), (1 มิลลิลิตร = 1 มล. = 1 ซีซ)ี

18

Page 21: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

20

สิ่งที่ควรรู

I. Stem cell (เซลลตนแบบ)

มีชื่อเต็มวา Hematopoietic stem cell หรือ Hemacytoblast เปนเซลลแรกเร่ิมและเปนตนกําเนิด

ของเซลลในกระแสเลือดทุกชนิด ไมวาจะเปนเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว นอกจากน้ียังเปนตนกําเนิดของ

เซลลที่สรางเกล็ดเลือด Stem cell มีขนาด 8-12 µm (1 ไมครอน = 1/1,000 มิลลิเมตร) พบเซลลน้ีในไข

กระดูก

สเต็มเซลล พัฒนามาจากเน้ือเยื่อชนิดเมโซเดิรม (mesoderm) ในขณะที่ยังเปนคัพภะ (embryo-ตัว

ออน) กลุมเซลลดังกลาวจะเคลื่อนไปอยูที่ถุงหุมไขแดง ซึ่งจะกลายเปน สเต็มเซลล เมื่อตัวออนอายุได 2-8

สัปดาห และเมื่ออายุได 2 เดือน สเต็มเซลลจะเคลื่อนไปตามกระแสเลือดไปอยูที่ตับและมาม หลังจากตัว

ออนมีอายุ 5 เดือน จึงไปอยูในไขกระดูก และรอบนอกของเน้ือเยื่อตอมนํ้าเหลือง และจะอยูไปตลอดชีวิต

โดยปกติเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวชนิดมีหลายนิวเคลียสในหน่ึงเซลล (granulocytes) มีกําเนิดจาก

ไขกระดูก แตเม็ดโลหิตขาวชนิดลิมโฟไซท (lymphocyte) และเม็ดนํ้าเหลือง (Plasma cell) มีกําเนิดจาก

สวนรอบๆ ของเน้ือเยื่อของระบบนํ้าเหลืองเปนสวนใหญ และกําเนิดจากไขกระดูกเปนสวนนอย

II. Blood Platelets (เกล็ดเลือด)

นอกจากเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวแลว เกล็ดเลือดยังเปนชนิดที่ 3 ที่พบในกระแสเลือดเปน

จํานวนมาก (150,000-400,000 /ml หรือเฉลี่ยประมาณ 250 ลานชิ้นตอเลือด1 ซีซี) ที่เรียกวาเกล็ดเลือด

เน่ืองจากไมใชเซลลเต็มๆ แตเปนชิ้นสวนเล็กๆ ของเซลล (fragment) ขนาด 2-4 ไมครอน (1 ไมครอน =

1/1,000 มิลลิเมตร) ซึ่งเปนการแตกออกของเซลลที่อยูติดกับไขกระดูกที่เรียกวา เมกะคารีโอไซท

(megacaryocytes) โดยปกติ เมกะคารีโอไซท 1 หนวยจะผลิตเกล็ดเลือดได 1,000 ชิ้น ซึ่งเมกะคารีโอไซท

เองก็ผลิตจากสเต็มเซลล

III. ในผูเจริญเต็มวัย (adult) และมีสุขภาพดี มีนํ้าหนักมาตรฐานตามอายุ จะมีเลือดประมาณ 5-5.5 ลิตร

ซึ่งจะมีเม็ดโลหิตแดง 42-45% มีเม็ดโลหิตขาวและเกล็ดเลือดนอยกวา 1% และ 55-58% ของนํ้าเลือด

(plasma) ปริมาตรของเม็ดเลือดแดงทั้งหมดตอหนวย วัดไดเปนหนวยของฮีมาโตคริท (hematocrit)

19

Page 22: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

21

IV. Plasma (พลาสมา)

เปนของเหลวเชิงซอน (complex lipid) ซึ่งประกอบดวยนํ้าถึง 90% เปนตัวกลางสําหรับสงผาน

อาหาร และแรธาตุในกระแสโลหิต แรธาตุที่มีมากที่สุดในพลาสมา คือ โซเดี้ยม (Na+) และคลอไรดอิออน

(Cl-) สําหรับสารอินทรียที่มีมากทีสุด คือ พลาสมาโปรตีน (plasma protein) สารประกอบในพลาสมาจะ

ซึมผานเสนโลหิตฝอยไดอยางเปนอิสระ ยกเวนพลาสมาโปรตีน ซึ่งจะยังคงอยูในพลาสมา สารเหลาน้ีไดแก

อัลบูมิน (albumins), โกลบูลิน (Globulin) และไฟบริโนเจน (Fibrinogen) ซึ่งเปนโปรตีนในพลาสมาที่

จะกลายเปนไฟบร้ินส (fibrins) ซึ่งเปนตัวรวมทําใหเลือดคลอท (clot) สารโกลบูลิน (Globulin) ใน

พลาสมาเปนสวนหน่ึงที่ทําหนาที่ในระบบภูมิคุมกันเชนเดียวกับเม็ดเลือดขาว

V. WBC (White Blood Cell-เม็ดเลือดขาว) ที่เรียกวาเม็ดเลือดขาวเน่ืองจากเมื่อนําเลือดไปปนให

ตกตะกอน เม็ดเลือดแดงจะจมอยูขางลาง พลาสมา(นํ้าเลือด) ซึ่งเปนสีเหลืองใส แตตรงกลางระหวางชั้นเม็ด

เลือดแดง และพลาสมาจะมีชั้นสีขาวบางๆ คั่นอยู ซึ่งก็คือเม็ดเลือดขาว จึงเปนที่มาของชื่อเม็ดเลือดขาว

ชนิดเมด็เลือดขาว ภาพถาย ภาพโครงสรางวาดขยาย

Neutrophils (นิวโตรฟลส)

Eosinophils (อีโอสิโนฟลส)

Basiophils (เบโซฟลส)

Lymphocyte (ลิมโฟไซท)

Monocyte (โมโนไซท)

20

Page 23: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

22

VI. เม็ดเลือดขาวที่ปรากฏในกระแสเลือดพบในขณะที่มันออกจากแหลงผลิต และแหลงเก็บในไขกระดูก

(ในกรณีของลิมโฟไซทจะเก็บไวในเน้ือเยื่อลิมฟอยด) เดินทางไปยังสวนตางๆ ของรางกายและสวนของ

เน้ือเยื่อติดเชื้อที่มันตองไปทําปฏิกิริยาดวย

VII. เน้ือเย่ือลิมฟอยด (Lymphoid tissue) เปนเน้ือเยื่อที่ผลิต, เก็บ และสรางสวนประกอบของลิมโฟ

ไซท เน้ือเยื่อลิมฟอยดประกอบดวย ไขกระดูก, ตอมนํ้าเหลือง, มาม, ตอมธัยมัส, ตอมทอนซิล เน้ือเยื่อน้ีจะ

เปนตัวสกัดกั้นเชื้อที่เขาสูรางกายโดยไมใหกระจายไปสวนอ่ืนๆ

VIII. Life span of RBC (อายุของเม็ดเลือดแดง) เม็ดเลือดแดงมีอายุ 120 วัน แตระยะที่แอ็คถีฝสั้นมาก

คือ 18-30 วัน เม็ดเลือดแดงเดินทางไปทั่วรางกายเปนระยะเวลา 700 ไมล กอนมันจะไปตายที่มาม

IX. Life span of WBC (อายุของเม็ดเลือดขาว)

Neutrophils เปนเม็ดเลือดขาวชนิดแรกที่ปองกันเชื้อและทําลายเชื้อโดยการกลืนกิน ถาคาสูงขึ้น

แสดงวามีการติดเชื้อ การคํานวณอายุเปนเร่ืองยากเพราะมันจะทําลายเชื้อไปเร่ือยๆ และตัวมันเองก็ตาย

Monocyte เปน macrophage ขนาดใหญอายุหลายเดือนถึงหลายป

Lymphocyte 100-300 วัน

Basophils มีอายุ 1 วัน จะเขาสูเน้ือเยื่อและมีชีวิตอยูอีก 3-4 วัน หรือตายเร็วกวาน้ัน ถามันกลืนกิน

เชื้อเขาไป

21

Page 24: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

23

Blood cell lineage

Page 25: คํานําfile.siam2web.com/bvrc/files[document]/Vichakarn/2013116_41259.pdf · Creatinine (ครีอาตินิน: การตรวจสารที่เกิดจากการสลา)

24